• https://youtu.be/lgTHbKmHpJo?si=1M612OAeDnqDJUrt
    https://youtu.be/lgTHbKmHpJo?si=1M612OAeDnqDJUrt
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/30vBOApkmJs?si=_32NwaJq_H7epq17
    https://youtube.com/shorts/30vBOApkmJs?si=_32NwaJq_H7epq17
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 47 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/YVlHRBXJ7ZE?si=n_44v1lqa-u9VXZR
    https://youtu.be/YVlHRBXJ7ZE?si=n_44v1lqa-u9VXZR
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 32 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/4OffThRlFfw?si=nA8GF-CoD2WH1C8-
    https://youtu.be/4OffThRlFfw?si=nA8GF-CoD2WH1C8-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/9pDdPlJOVzU?si=2ebchb17Gxx-b5c7
    https://youtu.be/9pDdPlJOVzU?si=2ebchb17Gxx-b5c7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/6iwBOlsVECI?si=LgiHv1CYyT70r4IL
    https://youtu.be/6iwBOlsVECI?si=LgiHv1CYyT70r4IL
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/6xMEFuJs8WM?si=eHYVeRxYx_u2cXZf
    https://youtube.com/shorts/6xMEFuJs8WM?si=eHYVeRxYx_u2cXZf
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 59 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/czhCtPWu3KY?si=wERbQzATkCL3fLxF
    https://youtube.com/shorts/czhCtPWu3KY?si=wERbQzATkCL3fLxF
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 53 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/Rkdto5Yd858?si=gBf7S9aiYvdusnEv
    https://youtu.be/Rkdto5Yd858?si=gBf7S9aiYvdusnEv
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/uTMiwR1Nv6Q?si=asojl5Hic8LwApKi
    https://youtu.be/uTMiwR1Nv6Q?si=asojl5Hic8LwApKi
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าบาดาลนี้เป็นชื่อของทุกขเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 136
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร.
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร.
    --ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ #ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=ปาตาโล
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง.
    --ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/220/365.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/220/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๕/๓๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ่านเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าบาดาลนี้เป็นชื่อของทุกขเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 136 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136 ชื่อบทธรรม :- ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. --ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ #ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้. http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=ปาตาโล --ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. --ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/220/365. http://etipitaka.com/read/pali/18/220/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๕/๓๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/255/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%95 อ่านเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=136 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล”
    -ความหมายอันแท้จริงของ “บาดาล” ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ พูดกันว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสิ่งนั้น ซึ่งไม่มีอยู่ไม่เป็นอยู่ ว่าบาดาลมีอยู่ใต้มหาสมุทร. ภิกษุ ท. ! คำว่า “บาดาล” นั้น เป็นคำแทนชื่อ ของทุกขเวทนาอันมีอยู่ในสรีระนี้. ภิกษุ ท. ! บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ถูกต้องทุกขเวทนาในสรีระนี้อยู่ ย่อมเศร้าโศก ย่อมลำบากใจ ร่ำไรรำพัน เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมถึงความมีสติฟั่นเฟือน. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า บุถุชนผู้ไม่มีการสดับนี้ จมลงแล้วในบาดาล ไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. ภิกษุ ท. ! ส่วน อริยสาวก ผู้มีการสดับ เมื่อถูกต้องทุกขเวทนาที่เป็นไปในสรีระ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่ลำบากใจ ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือน. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ ไม่จมลงแล้วในบาดาล มีที่ยืนเหยียบถึง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 185 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอนิมิตตวิหารีบุรุษ (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต)
    สัทธรรมลำดับที่ : 571
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571
    ชื่อบทธรรม :- ผู้อนิมิตตวิหารี
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้อนิมิตตวิหารี
    ...
    ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะชื่นชมยินดีภาษิต
    ของท้าวติสสพรหม(มีหกบุคคลผู้มีอุปทานข้นธ์)​
    แล้ว หายจากพรหมโลกไปปรากฏที่เขาคิชฌกูฏ
    เหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น
    แล้วท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
    ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
    ครั้นแล้วได้กราบทูลถ้อยคำสนทนาปราศรัยกับท้าวติสสพรหมทั้งหมด
    แด่พระผู้มีพระภาค ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    ...
    --โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น
    อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ?
    +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค
    จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ด(๗) ผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=สตฺตมํ+อนิมิตฺตวิหารึ+ปุคฺคลํ
    ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”.
    --โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่.
    เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า
    +--“ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
    เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ;
    เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อ
    เสพเสนาสนะที่สมควร
    คบกัลยาณมิตร
    บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่
    ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น
    อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
    อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่,
    ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่”
    ดังนี้.-
    ...
    --ดูกรโมคคัลลานะ​ ! เทวดาเหล่านั้น
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้อย่างนี้ในบุคคลผู้มีอุปาทานขันธ์เหลือว่า #มีอุปาทานขันธ์เหลือ
    ...

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/65/53.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/65/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๙/๕๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=571
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอนิมิตตวิหารีบุรุษ (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) สัทธรรมลำดับที่ : 571 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 ชื่อบทธรรม :- ผู้อนิมิตตวิหารี เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้อนิมิตตวิหารี ... ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะชื่นชมยินดีภาษิต ของท้าวติสสพรหม(มีหกบุคคลผู้มีอุปทานข้นธ์)​ แล้ว หายจากพรหมโลกไปปรากฏที่เขาคิชฌกูฏ เหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น แล้วท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลถ้อยคำสนทนาปราศรัยกับท้าวติสสพรหมทั้งหมด แด่พระผู้มีพระภาค ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ... --โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ? +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ด(๗) ผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ; http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=สตฺตมํ+อนิมิตฺตวิหารึ+ปุคฺคลํ ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”. --โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่. เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า +--“ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ; เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อ เสพเสนาสนะที่สมควร คบกัลยาณมิตร บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่ ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่, ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่” ดังนี้.- ... --ดูกรโมคคัลลานะ​ ! เทวดาเหล่านั้น ย่อมมีญาณหยั่งรู้อย่างนี้ในบุคคลผู้มีอุปาทานขันธ์เหลือว่า #มีอุปาทานขันธ์เหลือ ... #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/65/53. http://etipitaka.com/read/thai/23/65/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๙/๕๓. http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=571 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้อนิมิตตวิหารี
    -ผู้อนิมิตตวิหารี โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ? “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ดผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ; ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”. โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่. เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ; เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อเสพเสนาสนะที่สมควร คบกัลยาณมิตร บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่ ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่, ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 215 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ
    [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า
    พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ
    จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน
    ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97
    พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์
    ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน
    คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ
    หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ
    สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ
    สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น,
    ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน
    คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน
    ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น,
    แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า
    #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ
    ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น
    ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี.

    (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น
    บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม,
    ส่วนคำตอบในสูตรนี้
    ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ.
    และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน
    ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน
    สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น.
    อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง.
    )​

    สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ
    โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว
    ].

    --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งจักษุ (และ) รูป
    ซึ่งโสตะ (และ) เสียง
    ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น
    ซึ่งชิวหา (และ) รส
    ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งอากาสานัญจายตนะ
    ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตน
    ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ
    ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง
    ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ
    แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?”
    --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่.
    --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !”
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย
    เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑
    ดังนี้.
    --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ)
    กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ
    -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม
    -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ
    ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น
    -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ
    ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ;
    แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.-

    *--๑.บาลีว่า
    “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ
    ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
    ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
    ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 ชื่อบทธรรม :- สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. --แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗-๘) http://etipitaka.com/read/pali/24/10/?keywords=%E0%B9%97 พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพาน ดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า #การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) http://etipitaka.com/read/pali/24/11/?keywords=ภวนิโรโธ+นิพฺพานํ ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้น ทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. (ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่ &​การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็น. อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. )​ สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว ]. --“มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจ ซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่ง ได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” --อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. --“มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”*--๑ ดังนี้. --อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ -ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม -ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ -ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น -ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.- *--๑.บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ”. http://etipitaka.com/read/pali/24/344/?keywords=นิพฺพานนฺติ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/346/215. http://etipitaka.com/read/thai/24/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๔๖/๒๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/24/346/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=943 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก.
    -[ต่อไปนี้เป็นคำตอบของพระสารีบุตรต่อคำถามของพระอานนท์ ซึ่งถามอย่างเดียวกันกับที่ทูลถามพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรก็ได้ตอบอย่างเดียวกันกับที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ จนกระทั่งพระอานนท์สรรเสริญว่า พระศาสดาและสาวกมีคำกล่าวตรงกัน ทั้งโดยอรรถะและโดยพยัญชนะ เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก. แต่ในที่อื่นในคราวอื่น (ทสก.อ ๒๔/๑๐/๗) พระสารีบุตรได้ตอบคำถามของพระอานนท์ซึ่งอานนท์ซึ่งถามเรื่องเดียวกัน คือเรื่องสมาธิที่ไม่มีสัญญาในสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ หากแต่ถามเว้นอารมณ์จำพวกสุดท้าย คือ สิ่งที่ได้เห็น สิ่งที่ได้ฟัง สิ่งที่ได้รู้สึก สิ่งที่ไม่รู้แจ้ง สิ่งที่ได้ ๑. บาลีว่า “เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานํ”. บรรลุ สิ่งที่ได้แสวงหา สิ่งที่ใจติดตาม เสียเท่านั้น, ซึ่งโดยหลักเกณฑ์นี้แล้ว ท่านควรจะตอบด้วยคำตอบเดียวกัน คือตอบว่าการได้สมาธิที่มีสัญญาในนิพพานดังบทว่า นั่นสงบระงับ นั่นประณีต ดังนี้เป็นต้น, แต่ท่านกลับไปตอบว่าได้แก่ การได้สมาธิที่มีสัญญาว่า การดับไม่เหลือแห่งภพคือนิพพาน (ภวนิโรโธ นิพฺพานํ) ซึ่งเป็นสัญญาที่เคยเกิดแก่ท่านซ้ำ ๆ กันไปไม่ขาดสายเหมือนเปลวไฟที่เกิดขึ้นทยอยกันฉันนั้น อันเป็นการได้สมาธิที่ได้เมื่อท่านอาศัยอยู่ที่ป่าอันธวันใกล้เมืองสาวัตถี. ขอให้ผู้ศึกษาสังเกตให้เห็นว่า คำตอบอย่างแรกโน้น บรรยายลักษณะของนิพพานในหลายแง่หลายมุม, ส่วนคำตอบในสูตรนี้ ระบุแต่เพียงแง่เดียวประเด็นเดียว ว่าได้แก่การดับไม่เหลือแห่งภพ. และขอให้เห็นลึกลงไปถึงว่า นิพพาน ไม่ได้เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ แต่ก็เป็นอารมณ์แห่งสัญญาได้เหมือนกัน สัญญาจึงเป็นสิ่งที่มีได้ทั้งในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือและในสิ่งที่มิได้เป็นอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ กล่าวคือ ในพระนิพพานนั่นเอง. สรุปความว่า สัญญามีได้ทั้งในสิ่งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยลักษณะที่ตรงกันข้ามทีเดียว]. สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ “มีอยู่หรือหนอ พระเจ้าข้า ! การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่กระทำในใจซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รสซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตน ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้น ๆ แม้กระนั้นก็ยังกระทำในใจอยู่ ?” อานนท์ ! การที่ภิกษุได้สมาธิชนิดที่เธอถามนั้น มีอยู่. “มีอยู่อย่างไร พระเจ้าข้า !” อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม กระทำในใจอย่างนี้ว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”๑ ดังนี้. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่า การที่ภิกษุได้เฉพาะซึ่งสมาธิชนิดที่ไม่ กระทำในใจ ซึ่งจักษุ (และ) รูป ซึ่งโสตะ (และ) เสียง ซึ่งฆานะ (และ) กลิ่น ซึ่งชิวหา (และ) รส ซึ่งกาย (และ) โผฏฐัพพะ ไม่กระทำในใจซึ่งดิน ซึ่งน้ำ ซึ่งไฟ ซึ่งลม ไม่กระทำในใจซึ่งอากาสานัญจายตนะ ซึ่งวิญญาณัญจายตนะ ซึ่งอากิญจัญญายตนะ ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่กระทำในใจ ซึ่งโลกนี้ ซึ่งโลกอื่น ไม่กระทำในใจแม้สิ่งซึ่งได้เห็น ได้ยิน ได้รู้สึก ได้รู้แจ้ง ได้บรรลุ ได้แสวงหา ได้ติดตามด้วยใจ นั้นๆ เลย ; แต่ก็ยังมีการกระทำในใจอยู่.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 205 มุมมอง 0 รีวิว
  • 28/3/68

    เวนิส: เมืองที่ลอยอยู่บนป่าจมใต้น้ำ 🌊🌳

    ตั้งแต่ปี ค.ศ. 421 เวนิสได้ยืนหยัดอยู่บนเสาไม้หลายล้านต้นที่ปักลงไปในดินเหนียวของทะเลสาบ ไม่ใช่เหล็กหรือคอนกรีต แต่เป็นไม้แอลเดอร์เป็นส่วนใหญ่ และไม้โอ๊คบางส่วน ที่รองรับทั้งเมืองเอาไว้

    ในน้ำเค็ม เสาไม้เหล่านี้ค่อยๆ แข็งตัวจนกลายเป็นหิน หอระฆังเซนต์มาร์กเพียงแห่งเดียวใช้เสาไม้ถึง 100,000 ต้น

    ในขณะที่มหาวิหารซานตามาเรียเดลลา ซาลูเต ต้องใช้เสาไม้มากกว่าหนึ่งล้านต้น

    ช่างสมัยโบราณได้ตอกเสาเหล่านี้ลงไปในพื้นดิน สร้างเป็นป่าจมใต้น้ำอย่างแท้จริง

    โครงสร้างพิเศษนี้มีความลึกถึง 3 เมตร โดยเสาแต่ละต้นถูกปักห่างกันเพียง ครึ่งเมตร ที่ระดับความลึก 1.6 เมตร ใต้แนวน้ำ

    ผลงานชิ้นเอกของวิศวกรรมยุคกลางนี้ยังคงรองรับหนึ่งในเมืองที่น่าหลงใหลที่สุดในโลกมานานกว่า 1,500 ปี 🏛️⚒️
    28/3/68 เวนิส: เมืองที่ลอยอยู่บนป่าจมใต้น้ำ 🌊🌳 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 421 เวนิสได้ยืนหยัดอยู่บนเสาไม้หลายล้านต้นที่ปักลงไปในดินเหนียวของทะเลสาบ ไม่ใช่เหล็กหรือคอนกรีต แต่เป็นไม้แอลเดอร์เป็นส่วนใหญ่ และไม้โอ๊คบางส่วน ที่รองรับทั้งเมืองเอาไว้ ในน้ำเค็ม เสาไม้เหล่านี้ค่อยๆ แข็งตัวจนกลายเป็นหิน หอระฆังเซนต์มาร์กเพียงแห่งเดียวใช้เสาไม้ถึง 100,000 ต้น ในขณะที่มหาวิหารซานตามาเรียเดลลา ซาลูเต ต้องใช้เสาไม้มากกว่าหนึ่งล้านต้น ช่างสมัยโบราณได้ตอกเสาเหล่านี้ลงไปในพื้นดิน สร้างเป็นป่าจมใต้น้ำอย่างแท้จริง โครงสร้างพิเศษนี้มีความลึกถึง 3 เมตร โดยเสาแต่ละต้นถูกปักห่างกันเพียง ครึ่งเมตร ที่ระดับความลึก 1.6 เมตร ใต้แนวน้ำ ผลงานชิ้นเอกของวิศวกรรมยุคกลางนี้ยังคงรองรับหนึ่งในเมืองที่น่าหลงใหลที่สุดในโลกมานานกว่า 1,500 ปี 🏛️⚒️
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..เต็มจากภายใน..
    Cr.Wiwan
    ..เต็มจากภายใน.. Cr.Wiwan
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 34 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • 3 ท่า ฝึกบริหารความแข็งแรงสำหรับผู้สูงแายุ
    3 ท่า ฝึกบริหารความแข็งแรงสำหรับผู้สูงแายุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 129 มุมมอง 5 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 118 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • "กรรมเก่าอาจขีดเส้นชีวิตไว้ แต่กรรมใหม่คือพลังที่คุณเลือกได้ว่า จะเดินตามเส้น หรือเขียนเส้นใหม่ด้วยมือของตนเอง"
    "กรรมเก่าอาจขีดเส้นชีวิตไว้ แต่กรรมใหม่คือพลังที่คุณเลือกได้ว่า จะเดินตามเส้น หรือเขียนเส้นใหม่ด้วยมือของตนเอง"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • เลือกตั้ง ปิศาจ เข้ามา, ปลุกผีให้มีอำนาจ,
    คนมีหน้าที่ ถ้าทำหน้าที่ ก่อนหน้านี้ ประเทศคงไม่เอียงตัว หน้าจุดถ่ายรูปภูกระดึง
    ช่วยมารับผิดชอบด้วยน๊า..
    https://youtu.be/x6x_1gJxJ1k?si=Jg-Q1BShOBqCr-3C
    เลือกตั้ง ปิศาจ เข้ามา, ปลุกผีให้มีอำนาจ, คนมีหน้าที่ ถ้าทำหน้าที่ ก่อนหน้านี้ ประเทศคงไม่เอียงตัว หน้าจุดถ่ายรูปภูกระดึง ช่วยมารับผิดชอบด้วยน๊า.. https://youtu.be/x6x_1gJxJ1k?si=Jg-Q1BShOBqCr-3C
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 64 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 117 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • คิดดูว่าเลี่ยงภาษีหรือเปล่า แต่ค่าอากรต่างกัน ความเสี่ยงต่างกันตามรูป

    ตั๋วสัญญาใช้เงิน มีนิยามตามลิ้งค์
    ม.๙๘๓ (๓)

    https://www.drthawip.com/civilandcommercialcode/147
    คิดดูว่าเลี่ยงภาษีหรือเปล่า แต่ค่าอากรต่างกัน ความเสี่ยงต่างกันตามรูป ตั๋วสัญญาใช้เงิน มีนิยามตามลิ้งค์ ม.๙๘๓ (๓) https://www.drthawip.com/civilandcommercialcode/147
    WWW.DRTHAWIP.COM
    หมวด ๓ ตั๋วสัญญาใช้เงิน (มาตรา ๙๘๒ - ๙๘๖) | สถาบันนิติธรรมาลัย
    หมวด ๓ตั๋วสัญญาใช้เงิน------------------------- มาตรา ๙๘๒ อันว่าตั๋วสัญญาใช้เงินนั้น คือหนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ออกตั๋ว ให้คำมั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจำนวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือใช้ให้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้รับเงิน มาตรา ๙๘๓ ตั๋วสัญญาใช้เงินนั้น ต้องมีรายการดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ (๑) คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน (๒)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 49 มุมมอง 0 รีวิว
  • Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 121 มุมมอง 0 0 รีวิว