• อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 606
    ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :-
    (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ;
    (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ;
    (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ;
    (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ;
    (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ;
    (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ;
    (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว.
    อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย
    และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน
    เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ
    เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก
    ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 606 ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 เนื้อความทั้งหมด :- --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :- (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15. http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    -(ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า เมื่อบุรุษนั้นกำลังปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์อยู่ วิราคะก็เกิดขึ้นได้ เมื่อเขาเพ่งดูเหตุแห่งความทุกข์ยิ่ง ๆ ขึ้นไป วิราคะก็ยิ่งเกิดขึ้น จนกระทั่งว่าเขาสามารถละราคะ ในหญิงคือทุกข์นั้นเสียได้. ผู้ที่ยังไม่มีความทุกข์ ก็อย่าไปปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์ขึ้นมาเลย มีความสุขโดยชอบธรรมอยู่แล้วเพียงใด ก็ไม่มัวเมาในความสุขนั้น ก็จะชื่อว่า ไม่เอาความทุกข์มาทับถมตนซึ่งไม่มีความทุกข์อยู่แล้ว และมีวิราคะในความทุกข์ได้ นี้ย่อมเป็นสิ่งที่กระทำได้). ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ : (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. แต่ว่าสัทธาเป็นต้นของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แลเรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย. และ สัทธาเป็นต้นของเขา ไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพ- พานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 Comments 0 Shares 76 Views 0 Reviews
  • “ท่านปู่ชีวกโกมารภัจจ์”
    • ความจริงเรื่องของท่านไม่หาย แต่ไม่มีใครเขียนต่อ เมื่อเขาเผาศพพระพุทธเจ้าเสร็จ ท่านโกมารภัจจ์ท่านก็เสียใจ ความจริงท่านโกมารภัจจ์ท่านเป็นพระโสดาบันนะ ใช่ไหม เกิดทันใช่ไหม เกิดพร้อมกัน (หัวเราะ) ต่อนะ ท่านโกมารภัจจ์ในเมื่อเขาเผาพระพุทธเจ้าเสร็จ ท่านก็ไม่เข้าบ้าน บอกเราคิดว่าเราจะตายก่อนพระพุทธเจ้า ทีนี้พระพุทธเจ้ามานิพพานก่อนเราเราก็หมดที่พึ่งไม่มีใครสอน ทุกสิ่งทุกอย่างในเมื่อพระพุทธเจ้านิพพานเสียก่อนแล้ว ก็เหมือนกับเราคนไม่มีอะไรเลย ท่านคิดว่าอย่างนั้นนะ ก็เลยไม่คิดถึงบ้าน ไม่คิดถึงลูก ไม่คิดถึงเมีย ไม่คิดถึงทรัพย์สิน ไม่คิดถึงชีวิต เข้าไปนอนในถ้ำเข้าป่าไปเลย เข้าป่าไปท่านบอกว่าเข้าป่าหวังจะให้มันตายไปเลย ยังมีคนตามไปขอยาอีก ใช่ไหม หมอซะอย่าง ในเมื่อมีคนตามมาขอยา ท่านก็รำคาญ เราเป็นคนไม่มีอะไรแล้วไม่ต้องการทำอะไรทั้งหมด เข้าป่าลึก
    • พอเข้าป่าลึกไปนอนในถ้ำ นอนอย่างเดียวเราจะไม่ลุกจากที่นี้ จะเป็นไงก็ช่างมัน หมายความว่าจะตายก็ตายไปเสียนะ พอตัดสินใจว่ามันจะตายก็ตายตรงนี้ เราจะไม่ลุกไปอีกแล้ว ก็มีเสียงเหมือนแสงฟ้าแลบ แลบแป๊บเดียวก็มีเสียงเหมือนคล้ายฟ้าผ่าเปรี้ยง แล้วก็มีเสียงบอก โกมารภัจจ์ เธอเป็นสาวกขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าใช่ไหม ท่านก็บอกว่าใช่แล้วก็นอน เดี๋ยวมาเป็นแบบนั้นอยู่สามครั้ง พอครั้งที่สามท่านหลับ ท่านบอกก็เลยหลับสนิทไปเลย ไม่ตื่นต่อไปอีก
    • “อาการตัดสินใจแบบนั้นไม่อาลัยในชีวิตนะ เป็นอารมณ์อรหันต์ นั่นท่านเป็นพระโสดาบันอยู่แล้วนะ ก็เลยเป็นพระอรหันต์นิพพานทันที” แต่ว่าหนังสือแบบเรียนเราไม่มีนะ ต้องหาที่อื่น นี่พูดเรื่องท่านโกมารภัจจ์ให้ฟัง ว่าเรื่องมันหายไปนะ ความจริงท่านไม่หาย ท่านโกมารภัจจ์ทำให้เรามีประโยชน์มากให้รู้ว่าพระพุทธเจ้าเป็นใคร และตระกูลพระพุทธเจ้าเราจะสังเกตได้ว่าชาวกรุงกบิลพัสดุ์นี่รังเกียจคนเผ่าอื่น คือไม่ยอมแต่งงานกับคนเมืองอื่นเลย จะต้องแต่งงานเฉพาะชาวกรุงกบิลพัสดุ์เท่านั้นนะ เราก็อ่านหนังสือแล้วเราคิดว่าคนพวกนี้มีมานะถือตัวมาก แต่ความจริงไม่ใช่หรอก นั่นแขกด้วยกัน แต่ความจริงพระพุทธเจ้าท่านไม่ใช่แขก ท่านเป็นคนไทย เป็นลูกชาวไทยอาหม ไทยในแขกมีอยู่สองไทย คือ หนึ่ง ไทยอาหม สอง ไทยมะลิวัลย์
    • ไทยอาหมนั่นเขามาถึงอินเดียก่อนไทยมะลิวัลย์ ๑๐๐ ปี ในเมื่อไทยกับแขกมันกินข้าวด้วยกันไม่ไหวแล้ว ไหวไหม ไม่ไหวนะ ทีนี้มาตอนหนึ่งท่านโกมารภัจจ์ท่านลาพระพุทธเจ้ามาที่ทวาราวดี ลามาเที่ยว ๒ ปี แต่ว่าฎีกาจารย์ล่อสิบสองปี นี่มันจะมากไปหน่อย ตอนนั้นก็มาทางเรือนะ อินเดียมาประเทศไทยก็ไม่ไกลนักใช่ไหม เวลากลับไปก็ไปกราบเรียนพระพุทธเจ้าให้ทราบว่าชาวทวาราวดีใช้ภาษาโดด และพูดเพราะมาก คำว่าโดดหมายถึงเดี่ยว
    • อย่างเรากิน เราเรียกว่า ‘กิน’ นะ ของเขา ‘ภุญชะติ’ เรา ‘ไป’ เขา ‘คันตะวา’ นะ ของเราโดดกว่านะ นี่เทียบให้ฟังนะ พระพุทธเจ้าเลยถามว่าชาวทวาราวดีเขาพูดยังไง ลองพูดให้ฟังสักคำสิ พอท่านโกมารกัจจ์พูดให้ฟัง พระพุทธเจ้าก็พูดภาษาทวาราวดี คุยกันสนุกสนาน ก็คุยไปคุยมาคุยสนุกสนาน ต่อมาระหว่างที่คุยท่านโกมารภัจจ์ท่านนึกขึ้นมาว่าพระพุทธเจ้าเป็นพระพุทธเจ้าย่อมรู้ภาษาทุกภาษา หรือว่าท่านรู้มาจากไหน เลยถามพระพุทธเจ้าว่าการที่พระองค์รู้ภาษาทวาราวดี อาศัยปฏิสัมภิทาญาณหรือรู้มาจากไหน พระพุทธเจ้าบอกว่า ชาวกรุงกบิลพัสดุ์ทั้งหมดใช้ภาษานี้เป็นภาษาพื้นเมือง ใช่ไหม ก็แสดงว่าพระพุทธเจ้าเป็นลูกคนไทย ไทยอาหม

    ================

    จากหนังสือ : ธรรมปฏิบัติ เล่ม ๕๕ หน้า ๖๐-๖๒
    หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร)
    ภาพถ่ายสถานที่ : วัดจันทาราม (ท่าซุง)
    “ท่านปู่ชีวกโกมารภัจจ์” • ความจริงเรื่องของท่านไม่หาย แต่ไม่มีใครเขียนต่อ เมื่อเขาเผาศพพระพุทธเจ้าเสร็จ ท่านโกมารภัจจ์ท่านก็เสียใจ ความจริงท่านโกมารภัจจ์ท่านเป็นพระโสดาบันนะ ใช่ไหม เกิดทันใช่ไหม เกิดพร้อมกัน (หัวเราะ) ต่อนะ ท่านโกมารภัจจ์ในเมื่อเขาเผาพระพุทธเจ้าเสร็จ ท่านก็ไม่เข้าบ้าน บอกเราคิดว่าเราจะตายก่อนพระพุทธเจ้า ทีนี้พระพุทธเจ้ามานิพพานก่อนเราเราก็หมดที่พึ่งไม่มีใครสอน ทุกสิ่งทุกอย่างในเมื่อพระพุทธเจ้านิพพานเสียก่อนแล้ว ก็เหมือนกับเราคนไม่มีอะไรเลย ท่านคิดว่าอย่างนั้นนะ ก็เลยไม่คิดถึงบ้าน ไม่คิดถึงลูก ไม่คิดถึงเมีย ไม่คิดถึงทรัพย์สิน ไม่คิดถึงชีวิต เข้าไปนอนในถ้ำเข้าป่าไปเลย เข้าป่าไปท่านบอกว่าเข้าป่าหวังจะให้มันตายไปเลย ยังมีคนตามไปขอยาอีก ใช่ไหม หมอซะอย่าง ในเมื่อมีคนตามมาขอยา ท่านก็รำคาญ เราเป็นคนไม่มีอะไรแล้วไม่ต้องการทำอะไรทั้งหมด เข้าป่าลึก • พอเข้าป่าลึกไปนอนในถ้ำ นอนอย่างเดียวเราจะไม่ลุกจากที่นี้ จะเป็นไงก็ช่างมัน หมายความว่าจะตายก็ตายไปเสียนะ พอตัดสินใจว่ามันจะตายก็ตายตรงนี้ เราจะไม่ลุกไปอีกแล้ว ก็มีเสียงเหมือนแสงฟ้าแลบ แลบแป๊บเดียวก็มีเสียงเหมือนคล้ายฟ้าผ่าเปรี้ยง แล้วก็มีเสียงบอก โกมารภัจจ์ เธอเป็นสาวกขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าใช่ไหม ท่านก็บอกว่าใช่แล้วก็นอน เดี๋ยวมาเป็นแบบนั้นอยู่สามครั้ง พอครั้งที่สามท่านหลับ ท่านบอกก็เลยหลับสนิทไปเลย ไม่ตื่นต่อไปอีก • “อาการตัดสินใจแบบนั้นไม่อาลัยในชีวิตนะ เป็นอารมณ์อรหันต์ นั่นท่านเป็นพระโสดาบันอยู่แล้วนะ ก็เลยเป็นพระอรหันต์นิพพานทันที” แต่ว่าหนังสือแบบเรียนเราไม่มีนะ ต้องหาที่อื่น นี่พูดเรื่องท่านโกมารภัจจ์ให้ฟัง ว่าเรื่องมันหายไปนะ ความจริงท่านไม่หาย ท่านโกมารภัจจ์ทำให้เรามีประโยชน์มากให้รู้ว่าพระพุทธเจ้าเป็นใคร และตระกูลพระพุทธเจ้าเราจะสังเกตได้ว่าชาวกรุงกบิลพัสดุ์นี่รังเกียจคนเผ่าอื่น คือไม่ยอมแต่งงานกับคนเมืองอื่นเลย จะต้องแต่งงานเฉพาะชาวกรุงกบิลพัสดุ์เท่านั้นนะ เราก็อ่านหนังสือแล้วเราคิดว่าคนพวกนี้มีมานะถือตัวมาก แต่ความจริงไม่ใช่หรอก นั่นแขกด้วยกัน แต่ความจริงพระพุทธเจ้าท่านไม่ใช่แขก ท่านเป็นคนไทย เป็นลูกชาวไทยอาหม ไทยในแขกมีอยู่สองไทย คือ หนึ่ง ไทยอาหม สอง ไทยมะลิวัลย์ • ไทยอาหมนั่นเขามาถึงอินเดียก่อนไทยมะลิวัลย์ ๑๐๐ ปี ในเมื่อไทยกับแขกมันกินข้าวด้วยกันไม่ไหวแล้ว ไหวไหม ไม่ไหวนะ ทีนี้มาตอนหนึ่งท่านโกมารภัจจ์ท่านลาพระพุทธเจ้ามาที่ทวาราวดี ลามาเที่ยว ๒ ปี แต่ว่าฎีกาจารย์ล่อสิบสองปี นี่มันจะมากไปหน่อย ตอนนั้นก็มาทางเรือนะ อินเดียมาประเทศไทยก็ไม่ไกลนักใช่ไหม เวลากลับไปก็ไปกราบเรียนพระพุทธเจ้าให้ทราบว่าชาวทวาราวดีใช้ภาษาโดด และพูดเพราะมาก คำว่าโดดหมายถึงเดี่ยว • อย่างเรากิน เราเรียกว่า ‘กิน’ นะ ของเขา ‘ภุญชะติ’ เรา ‘ไป’ เขา ‘คันตะวา’ นะ ของเราโดดกว่านะ นี่เทียบให้ฟังนะ พระพุทธเจ้าเลยถามว่าชาวทวาราวดีเขาพูดยังไง ลองพูดให้ฟังสักคำสิ พอท่านโกมารกัจจ์พูดให้ฟัง พระพุทธเจ้าก็พูดภาษาทวาราวดี คุยกันสนุกสนาน ก็คุยไปคุยมาคุยสนุกสนาน ต่อมาระหว่างที่คุยท่านโกมารภัจจ์ท่านนึกขึ้นมาว่าพระพุทธเจ้าเป็นพระพุทธเจ้าย่อมรู้ภาษาทุกภาษา หรือว่าท่านรู้มาจากไหน เลยถามพระพุทธเจ้าว่าการที่พระองค์รู้ภาษาทวาราวดี อาศัยปฏิสัมภิทาญาณหรือรู้มาจากไหน พระพุทธเจ้าบอกว่า ชาวกรุงกบิลพัสดุ์ทั้งหมดใช้ภาษานี้เป็นภาษาพื้นเมือง ใช่ไหม ก็แสดงว่าพระพุทธเจ้าเป็นลูกคนไทย ไทยอาหม ================ จากหนังสือ : ธรรมปฏิบัติ เล่ม ๕๕ หน้า ๖๐-๖๒ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร) ภาพถ่ายสถานที่ : วัดจันทาราม (ท่าซุง)
    0 Comments 0 Shares 119 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 596
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม
    และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง
    เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 596 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 179 Views 0 Reviews
  • #คนต้องการพระนิพพานจะมีความรู้สึกอย่างไร

    องค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้ากล่าวว่า

    "ต้องใช้อากิญจัญญายตนะฌาณเป็นประจำใจ"

    คำว่า #อากิญจัญญายตนะฌาณ ฟังแล้วหนักใจ แต่ความจริงถ้าคนฉลาดก็ไม่หนัก ถ้าคนโง่ก็หนัก
    เพราะอากิญจัญญายตนะฌาน เป็นอารมณ์ของคนฉลาด คือ
    มีความรู้สึกตามความเป็นจริงว่า
    โลกนี้ไม่มีอะไรเหลือ คนเกิดมากี่คนตายหมดเท่านั้น สัตว์เกิดมาเท่าไหร่ตายหมดเท่านั้น
    สภาพของวัตถุทั้งหลายไม่มีการทรงตัว เสื่อมไปแล้วพังหมดเท่านั้น วันนี้ไม่พังวันหน้ามันก็พัง
    คนวันนี้ไม่ตายวันหน้าก็ตาย สัตว์วันนี้ไม่ตายวันหน้าก็ตาย
    ฉะนั้นโลกทั้งหลายไม่เป็นที่น่าอยู่สำหรับเรา เราไม่ต้องการ

    ถ้าบุคคลทั้งหลาย ใช้อารมณ์
    ของอากิญจัญญายตนะฌาณเป็นปกติ
    บุคคลประเภทนี้จะเป็นคนที่มีจิตสบาย คือ
    จิตยอมรับความเป็นจริงว่า
    ร่างกายของเราสักวันหนึ่งมันต้องตาย
    กฏแน่นอนของมันก็คือเดินเข้าไปหาความตายทุกวัน
    เรื่องความตายนี่ไม่ต้องไปคำนึง
    ไม่ต้องคิดถึงว่ามันจะตายเมื่อไหร่ก็เชิญฉันพร้อมแล้ว
    คำว่า พร้อม ก็คือ ยึดเอาพระธรรม คำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระประทีปแก้วไปปฏิบัติ ได้แก่
    สักกายทิฏฐิ มีความรู้สึกว่าชีวิตนี่มันต้องตาย จะตายเมื่อไรก็เชิญฉันมีความดีพร้อม

    ความดีของเราคือ ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์ และทรงกำลังใจไว้ไม่เสื่อมคลาย
    ยึดมั่นในศีล จะเป็นจะตายอย่างไรก็ตามไม่ยอมละเมิดศีล 5 สำหรับฆราวาสอารมณ์ของพระโสดาบัน
    ถ้าคนที่เขาทรงอารมณ์ของศีล 8 เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี พระเณรก็เช่นเดียวกัน ต้องรักษาศีลของตน
    นี่แหละบรรดาท่านพุทธศาสนิกชน การเดินเข้ามาหานิพพานเป็นของไม่ยาก

    หลังจากนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้พิจารณาว่า โลกมันไม่ดี มนุษยโลกก็ไม่ดี เทวโลกก็ไม่ดี พรหมโลกก็ไม่ดี เทวโลกกับพรหมโลกนั้นดีเหมือนกัน แต่ดีชั่วคราว ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีก็ต้องหล่นมาใหม่ หล่นมาค้างที่บนไม่เป็นไร ส่วนใหญ่ลงมาจากเทวโลกและพรหมโลกก็พุ่งลงนรกไป เพราะบาปเก่ายังไม่ชำระหนี้เขา

    ถ้ามีกำลังใจทรงอารมณ์พระโสดาบันไว้มันก็ไม่ไป อย่างเลวที่สุดมันก็มาค้างที่มนุษย์ แต่ก็ไม่ดีกลับมาค้างในดินแดนที่เราต้องมีทุกข์จะดีอะไร เราก็เป็นคนโง่ถ้าจะเป็นเทวดาหรือพรหม นานเท่าไรมันก็เป็นไม่ได้ หมดบุญวาสนาต้องมา กำลังใจที่ดีที่สุดก็ตัดสินใจว่า

    "ถ้าชีวิตร่างกายมันพังเมื่อไหร่ ขึ้นชื่อว่าความเป็นคนก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี จะไม่มีสำหรับเรา เราต้องการจุดเดียว คือ นิพพาน"

    อันนี้พูดกันสำหรับคนที่เจริญทางด้านสุกขวิปัสสโก

    ===================
    จากธัมมวิโมกข์ ฉบับที่ ๑๗๓ เดือนสิงหาคม ๒๕๓๘ หน้า ๓๗-๓๘
    #คนต้องการพระนิพพานจะมีความรู้สึกอย่างไร องค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้ากล่าวว่า "ต้องใช้อากิญจัญญายตนะฌาณเป็นประจำใจ" คำว่า #อากิญจัญญายตนะฌาณ ฟังแล้วหนักใจ แต่ความจริงถ้าคนฉลาดก็ไม่หนัก ถ้าคนโง่ก็หนัก เพราะอากิญจัญญายตนะฌาน เป็นอารมณ์ของคนฉลาด คือ มีความรู้สึกตามความเป็นจริงว่า โลกนี้ไม่มีอะไรเหลือ คนเกิดมากี่คนตายหมดเท่านั้น สัตว์เกิดมาเท่าไหร่ตายหมดเท่านั้น สภาพของวัตถุทั้งหลายไม่มีการทรงตัว เสื่อมไปแล้วพังหมดเท่านั้น วันนี้ไม่พังวันหน้ามันก็พัง คนวันนี้ไม่ตายวันหน้าก็ตาย สัตว์วันนี้ไม่ตายวันหน้าก็ตาย ฉะนั้นโลกทั้งหลายไม่เป็นที่น่าอยู่สำหรับเรา เราไม่ต้องการ ถ้าบุคคลทั้งหลาย ใช้อารมณ์ ของอากิญจัญญายตนะฌาณเป็นปกติ บุคคลประเภทนี้จะเป็นคนที่มีจิตสบาย คือ จิตยอมรับความเป็นจริงว่า ร่างกายของเราสักวันหนึ่งมันต้องตาย กฏแน่นอนของมันก็คือเดินเข้าไปหาความตายทุกวัน เรื่องความตายนี่ไม่ต้องไปคำนึง ไม่ต้องคิดถึงว่ามันจะตายเมื่อไหร่ก็เชิญฉันพร้อมแล้ว คำว่า พร้อม ก็คือ ยึดเอาพระธรรม คำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระประทีปแก้วไปปฏิบัติ ได้แก่ สักกายทิฏฐิ มีความรู้สึกว่าชีวิตนี่มันต้องตาย จะตายเมื่อไรก็เชิญฉันมีความดีพร้อม ความดีของเราคือ ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์ และทรงกำลังใจไว้ไม่เสื่อมคลาย ยึดมั่นในศีล จะเป็นจะตายอย่างไรก็ตามไม่ยอมละเมิดศีล 5 สำหรับฆราวาสอารมณ์ของพระโสดาบัน ถ้าคนที่เขาทรงอารมณ์ของศีล 8 เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี พระเณรก็เช่นเดียวกัน ต้องรักษาศีลของตน นี่แหละบรรดาท่านพุทธศาสนิกชน การเดินเข้ามาหานิพพานเป็นของไม่ยาก หลังจากนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้พิจารณาว่า โลกมันไม่ดี มนุษยโลกก็ไม่ดี เทวโลกก็ไม่ดี พรหมโลกก็ไม่ดี เทวโลกกับพรหมโลกนั้นดีเหมือนกัน แต่ดีชั่วคราว ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีก็ต้องหล่นมาใหม่ หล่นมาค้างที่บนไม่เป็นไร ส่วนใหญ่ลงมาจากเทวโลกและพรหมโลกก็พุ่งลงนรกไป เพราะบาปเก่ายังไม่ชำระหนี้เขา ถ้ามีกำลังใจทรงอารมณ์พระโสดาบันไว้มันก็ไม่ไป อย่างเลวที่สุดมันก็มาค้างที่มนุษย์ แต่ก็ไม่ดีกลับมาค้างในดินแดนที่เราต้องมีทุกข์จะดีอะไร เราก็เป็นคนโง่ถ้าจะเป็นเทวดาหรือพรหม นานเท่าไรมันก็เป็นไม่ได้ หมดบุญวาสนาต้องมา กำลังใจที่ดีที่สุดก็ตัดสินใจว่า "ถ้าชีวิตร่างกายมันพังเมื่อไหร่ ขึ้นชื่อว่าความเป็นคนก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี จะไม่มีสำหรับเรา เราต้องการจุดเดียว คือ นิพพาน" อันนี้พูดกันสำหรับคนที่เจริญทางด้านสุกขวิปัสสโก =================== จากธัมมวิโมกข์ ฉบับที่ ๑๗๓ เดือนสิงหาคม ๒๕๓๘ หน้า ๓๗-๓๘
    0 Comments 0 Shares 260 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 595
    ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท
    --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่.
    ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด.

    --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี)
    ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​
    ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.-
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย สัทธรรมลำดับที่ : 595 ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่. ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น. --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด. --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง). http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​ ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.- http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241. http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    0 Comments 0 Shares 175 Views 0 Reviews
  • โสดาบันเท่านั้น
    โสดาบันเท่านั้น
    Like
    Love
    4
    0 Comments 0 Shares 463 Views 1 Reviews
  • สิ่งที่ขัดขวางพระนิพพาน ไม่ใช่เดรัจฉานวิชา ดังที่ครูนัทอธิบายไปแล้วเมื่อวาน ท่านใดยังไม่ได้ฟัง ลองฟังดูนะคะ จะกระจ่าง หายติดข้องสงสัยในเรื่องเดรัจฉานวิชาที่เราเข้าใจผิดกันมานานทั้งชีวิต เหตุขัดขวางพระนิพพาน คือ อันตรายิกธรรม (ศัพท์ใหม่มาแว้ววว) โดยอรรถกถาอลคัททูปมสูตร พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ อธิบายว่า “อันตรายิกธรรม” มี 5 อย่าง ได้แก่ กรรม กิเลส วิบาก อริยุปวาท และอาณาวีติกกมะอันตรายิกธรรมในส่วนของ “กรรม” คือ “อนันตริยกรรม” ซึ่งหมายถึงกรรมที่เป็นบาปหนักที่สุดได้แก่ 1. “มาตุฆาต” คือฆ่ามารดา2. “ปิตุฆาต” คือฆ่าบิดา3. “อรหันตฆาต” คือฆ่าพระอรหันต์4. “โลหิตุปบาท” คือทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป5. “สังฆเภท” คือทำสงฆ์ให้แตกกัน (สงฆ์เท่านั้นที่ทำสงฆ์ให้แตกกันได้ ชาวบ้านไม่เกี่ยว ดังนั้นข้อนี้ขาวบ้านอย่างเรารอด)อันตรายิกธรรมในส่วนของ “กิเลส” คือ นิยตมิจฉาทิฏฐิซึ่งหมายถึง ความเห็นผิดที่มีโทษมาก แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่1. “อเหตุกทิฏฐิ” คือ ความเห็นว่าไม่มีเหตุ คือ เห็นว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นเองเป็นเองไม่อาศัยเหตุปัจจัยให้เกิดให้มีขึ้น (ความเชื่อที่เลื่อนลอย) 2. “อกิริยทิฏฐิ” คือ เห็นว่าการกระทำใดๆ ไม่ชื่อว่าเป็นอันกระทำ ผลบาปบุญไม่มีแก่ผู้ทำกระทำ หรือเห็นว่าการกระทำไม่มีผล.3 “นัตถิกทิฏฐิ” คือ ความเห็นว่าไม่มี เชื่อว่าไม่มีอะไรทั้งนั้น เช่น เห็นว่าผลบุญผลบาปไม่มี บิดามารดาไม่มี ความดีความชั่วไม่มี ตายแล้วสูญ เป็นต้นอันตรายิกธรรมในส่วนของ “วิบาก” คือเช่น เกิดเป็นบัณเฑาะก์ หรือ สัตว์เดรัจฉาน หรืออุภโตพยัญชนก (คนที่มีสองเพศ) เหล่านี้จักบวชหรือบำเพ็ญภาวนาจนถึงมรรคผลนิพพานไม่ได้ อันตรายิกธรรมในส่วนของ “ธรรม” ชื่อว่า อุปวาทันตรายิกธรรมคือการเข้าไปว่าร้ายพระอริยเจ้า เช่น ไปด่าว่าพระเทวทัต จิกหัวด่าด้วยอารมณ์ โดยลืมไปว่า ท่านได้รับการพยากรณ์แล้วว่าจะเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า หรือไปด่าว่า พระโปฐิลเถระ (พระใบลานเปล่า) นั่นท่านเป็นพระอรหันต์ ด่าว่าท้าวเวสสุวรรณ ซึ่งท่านเป็นพระโสดาบัน ด่าว่าพระอรรถกถาจารย์ ซึ่งท่านเป็นพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ (วันนี้เราจะเรียนเรื่องอรรถกถาค่ะ) โดยอุปวาทันตรายิกธรรมนี้ ย่อมกระทำอันตรายตลอดเวลาที่พระอริยเจ้าทั้งหลายยังไม่ได้ยกโทษให้ต่อมาหากพระอริยเจ้าได้ยกโทษให้แล้ว ย่อมไม่กระทำอันตราย ดังนั้น ถ้าเราเคยว่าท่าน ตั้งจิตขอขมากรรมท่านเสียอันตรายิกธรรมในส่วนของ “อาณาวีติกกมะ” ชื่อว่า อาณาวีติกกมันตรายิกธรรม คือ อาบัติ ๗ กองที่ภิกษุจงใจล่วงละเมิดแล้ว อาณาวีติกกมันตรายิกธรรมเหล่านี้ย่อมกระทำอันตรายตลอดเวลาที่ภิกษุต้องอาบัติแล้วยังปฏิญญาตนว่าเป็นภิกษุอยู่ก็ดี ไม่อยู่ปริวาสกรรมก็ดี ไม่แสดงอาบัติก็ดี (ภิกษุพวกไม่สวดปาฎิโมกข์ สวดไม่ครบ ไม่แสดงอาบัติ เปิดเผยอาบัติ ปลงอาบัติ) ต่อมาหากได้อยู่ปริวาสกรรมแล้ว หรือแสดงอาบัติแล้วก็ดี ย่อมไม่กระทำอันตรายดังนั้น การเลี้ยงชีพ เลี้ยงชีวิต ด้วยวิชาชีพ (เดรัจฉานวิชา) จึงไม่ใช่การขัดขวาง ขวางกั้น พระนิพพานแต่อย่างใด เดรัจฉานวิชา คือวิชาเลี้ยงชีพธรรมดา ไม่ใช่ความชั่วร้าย ที่ชั่วร้ายคือคนที่ประกอบอาชีพด้วยมิจฉา (มิจฉาชีพ) ต่างหาก และชั่วร้ายได้ทุกอาชีพ เหตุเพราะคนมีกิเลสที่ประกอบอาชีพนั้นอาชีพต้องห้าม วิณิชชา อาชีพมิจฉา ไว้ค่อยว่ากันสัปดาห์หน้าค่ะ
    สิ่งที่ขัดขวางพระนิพพาน ไม่ใช่เดรัจฉานวิชา ดังที่ครูนัทอธิบายไปแล้วเมื่อวาน ท่านใดยังไม่ได้ฟัง ลองฟังดูนะคะ จะกระจ่าง หายติดข้องสงสัยในเรื่องเดรัจฉานวิชาที่เราเข้าใจผิดกันมานานทั้งชีวิต เหตุขัดขวางพระนิพพาน คือ อันตรายิกธรรม (ศัพท์ใหม่มาแว้ววว) โดยอรรถกถาอลคัททูปมสูตร พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ อธิบายว่า “อันตรายิกธรรม” มี 5 อย่าง ได้แก่ กรรม กิเลส วิบาก อริยุปวาท และอาณาวีติกกมะอันตรายิกธรรมในส่วนของ “กรรม” คือ “อนันตริยกรรม” ซึ่งหมายถึงกรรมที่เป็นบาปหนักที่สุดได้แก่ 1. “มาตุฆาต” คือฆ่ามารดา2. “ปิตุฆาต” คือฆ่าบิดา3. “อรหันตฆาต” คือฆ่าพระอรหันต์4. “โลหิตุปบาท” คือทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป5. “สังฆเภท” คือทำสงฆ์ให้แตกกัน (สงฆ์เท่านั้นที่ทำสงฆ์ให้แตกกันได้ ชาวบ้านไม่เกี่ยว ดังนั้นข้อนี้ขาวบ้านอย่างเรารอด)อันตรายิกธรรมในส่วนของ “กิเลส” คือ นิยตมิจฉาทิฏฐิซึ่งหมายถึง ความเห็นผิดที่มีโทษมาก แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่1. “อเหตุกทิฏฐิ” คือ ความเห็นว่าไม่มีเหตุ คือ เห็นว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นเองเป็นเองไม่อาศัยเหตุปัจจัยให้เกิดให้มีขึ้น (ความเชื่อที่เลื่อนลอย) 2. “อกิริยทิฏฐิ” คือ เห็นว่าการกระทำใดๆ ไม่ชื่อว่าเป็นอันกระทำ ผลบาปบุญไม่มีแก่ผู้ทำกระทำ หรือเห็นว่าการกระทำไม่มีผล.3 “นัตถิกทิฏฐิ” คือ ความเห็นว่าไม่มี เชื่อว่าไม่มีอะไรทั้งนั้น เช่น เห็นว่าผลบุญผลบาปไม่มี บิดามารดาไม่มี ความดีความชั่วไม่มี ตายแล้วสูญ เป็นต้นอันตรายิกธรรมในส่วนของ “วิบาก” คือเช่น เกิดเป็นบัณเฑาะก์ หรือ สัตว์เดรัจฉาน หรืออุภโตพยัญชนก (คนที่มีสองเพศ) เหล่านี้จักบวชหรือบำเพ็ญภาวนาจนถึงมรรคผลนิพพานไม่ได้ อันตรายิกธรรมในส่วนของ “ธรรม” ชื่อว่า อุปวาทันตรายิกธรรมคือการเข้าไปว่าร้ายพระอริยเจ้า เช่น ไปด่าว่าพระเทวทัต จิกหัวด่าด้วยอารมณ์ โดยลืมไปว่า ท่านได้รับการพยากรณ์แล้วว่าจะเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า หรือไปด่าว่า พระโปฐิลเถระ (พระใบลานเปล่า) นั่นท่านเป็นพระอรหันต์ ด่าว่าท้าวเวสสุวรรณ ซึ่งท่านเป็นพระโสดาบัน ด่าว่าพระอรรถกถาจารย์ ซึ่งท่านเป็นพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ (วันนี้เราจะเรียนเรื่องอรรถกถาค่ะ) โดยอุปวาทันตรายิกธรรมนี้ ย่อมกระทำอันตรายตลอดเวลาที่พระอริยเจ้าทั้งหลายยังไม่ได้ยกโทษให้ต่อมาหากพระอริยเจ้าได้ยกโทษให้แล้ว ย่อมไม่กระทำอันตราย ดังนั้น ถ้าเราเคยว่าท่าน ตั้งจิตขอขมากรรมท่านเสียอันตรายิกธรรมในส่วนของ “อาณาวีติกกมะ” ชื่อว่า อาณาวีติกกมันตรายิกธรรม คือ อาบัติ ๗ กองที่ภิกษุจงใจล่วงละเมิดแล้ว อาณาวีติกกมันตรายิกธรรมเหล่านี้ย่อมกระทำอันตรายตลอดเวลาที่ภิกษุต้องอาบัติแล้วยังปฏิญญาตนว่าเป็นภิกษุอยู่ก็ดี ไม่อยู่ปริวาสกรรมก็ดี ไม่แสดงอาบัติก็ดี (ภิกษุพวกไม่สวดปาฎิโมกข์ สวดไม่ครบ ไม่แสดงอาบัติ เปิดเผยอาบัติ ปลงอาบัติ) ต่อมาหากได้อยู่ปริวาสกรรมแล้ว หรือแสดงอาบัติแล้วก็ดี ย่อมไม่กระทำอันตรายดังนั้น การเลี้ยงชีพ เลี้ยงชีวิต ด้วยวิชาชีพ (เดรัจฉานวิชา) จึงไม่ใช่การขัดขวาง ขวางกั้น พระนิพพานแต่อย่างใด เดรัจฉานวิชา คือวิชาเลี้ยงชีพธรรมดา ไม่ใช่ความชั่วร้าย ที่ชั่วร้ายคือคนที่ประกอบอาชีพด้วยมิจฉา (มิจฉาชีพ) ต่างหาก และชั่วร้ายได้ทุกอาชีพ เหตุเพราะคนมีกิเลสที่ประกอบอาชีพนั้นอาชีพต้องห้าม วิณิชชา อาชีพมิจฉา ไว้ค่อยว่ากันสัปดาห์หน้าค่ะ
    0 Comments 0 Shares 611 Views 0 Reviews
  • คนที่ฟังดีเบตวันนี้แล้วบอกว่าไม่มีประโยชน์ จะสรุปง่ายๆ ให้อ่านค่ะ ว่า สาระมีตรงไหนบ้าง รวมได้ 6 ข้อ สิ่งที่ครูณัฐสอน อ่านค่ะ 👇1. ตอนอ่านหนังสือธรรมะ อ่านหนังสืออะไรก็ได้ สำหรับคนทั่วไปที่อยากศึกษา แต่ถ้าจะเอามาสอนคนอื่น ต้องมาตรวจดูพระไตรปิฎกเสมอว่าพระสูตรนั้น มีในพระไตรปิฎกจริงไหม ถูกต้องไหมและไม่มีหนังสืออะไรใช้แทนพระไตรปิฎกได้ ——-2. ถ้าคำสอนใดไม่มีในพระไตรปิฎก แต่เป็นความเห็นของผู้สอนเอง ให้แจ้งว่า เป็นความเห็นของตน อย่าบอกว่า พระไตรปิฎกเขียนไว้ชัด ———3. ถ้าอ่านพยัญชนะผิด = อรรถ ผิด หมายความว่า เวลาเราอ่านหนังสือ หากเขียนผิดหรือเราอ่านผิด ความหมายก็ผิดตามเช่น คำว่า ทำนาย - หากเขียนผิดเป็น ทำลาย - ผิด 1 ตัว ความหมายเปลี่ยน หรืออ่านผิด เข้าใจผิด ก็ผิดไปหมดทั้งยวง ได้เช่นกัน———4.แม่มดที่กลายเป็นเปรต (ที่พระโมคคัลลานะเห็น ) คือแม่มดที่เป็นทาสยักษ์ ยักษ์ที่กล่าวถึงในพระไตรปิฎกในเนื้อเรื่องที่คุยกันคือยักษ์ชั่วร้ายที่กินเด็ก ไม่ใช่ยักษ์ท้าวเวสสุวรรณ เพราะท้าวเวสสุวรรณ เป็นพระโสดาบัน 🙏———-5.เดรัจฉานวิชา ไม่ใช่แค่หมอดู แต่มีหลายวิชาชีพ ในพระไตรปิฎก ที่เรียกว่า เดรัจฉานวิชา แม้กระทั่งหมอผ่าตัด หมอยา หมอสูติ และอื่นๆ ฯลฯ พระพุทธเจ้าห้ามมิให้ภิษุ ใช้เดรัจฉานวิชา เพื่อเลี้ยงชีพ ** ห้ามเฉพาะใช้ทำเพื่อเลี้ยงชีพ เพราะเดรัจฉาน แปลว่า ขวาง เดรัจฉานวิชา คือวิชาที่ขวางการไปนิพพานของภิกษุ👉แต่ฆราวาส ไม่ได้ห้าม ————-6.พระไตรปิฎกไม่ได้เข้าถึงยากอย่างที่คิด อ่านฟรีในเว็บ 84000.org ได้ฟรีนะทุกคน ใครอยากเรียนรู้ ไปตามเรียนที่เฟซครูณัฐต่อได้เลย ( ข้อสุดท้ายความเห็น ผู้เขียน ) ————กราบขอบพระคุณสำหรับความรู้ที่ท่านชี้แนะ 🙏แม้การปกป้องคำสอนที่ถูกต้องด้วยใจที่รักพระไตรปิฎก จะต้องแลกกับการฝ่ากระแสคำวิพากษ์วิจารณ์ว่าหาแสงบ้าง ว่าเป็นพวกเดียวกับหมอดูบ้าง แต่สุดท้ายความไม่จริง จะแพ้ความจริงเสมอ “ เพราะความจริงคือสิ่งที่มันจะจริงตลอดไป ”ขอส่งความรัก ให้ครูณัฐค่ะ ❤️#อาจารย์ควีนมหาเลียบ
    คนที่ฟังดีเบตวันนี้แล้วบอกว่าไม่มีประโยชน์ จะสรุปง่ายๆ ให้อ่านค่ะ ว่า สาระมีตรงไหนบ้าง รวมได้ 6 ข้อ สิ่งที่ครูณัฐสอน อ่านค่ะ 👇1. ตอนอ่านหนังสือธรรมะ อ่านหนังสืออะไรก็ได้ สำหรับคนทั่วไปที่อยากศึกษา แต่ถ้าจะเอามาสอนคนอื่น ต้องมาตรวจดูพระไตรปิฎกเสมอว่าพระสูตรนั้น มีในพระไตรปิฎกจริงไหม ถูกต้องไหมและไม่มีหนังสืออะไรใช้แทนพระไตรปิฎกได้ ——-2. ถ้าคำสอนใดไม่มีในพระไตรปิฎก แต่เป็นความเห็นของผู้สอนเอง ให้แจ้งว่า เป็นความเห็นของตน อย่าบอกว่า พระไตรปิฎกเขียนไว้ชัด ———3. ถ้าอ่านพยัญชนะผิด = อรรถ ผิด หมายความว่า เวลาเราอ่านหนังสือ หากเขียนผิดหรือเราอ่านผิด ความหมายก็ผิดตามเช่น คำว่า ทำนาย - หากเขียนผิดเป็น ทำลาย - ผิด 1 ตัว ความหมายเปลี่ยน หรืออ่านผิด เข้าใจผิด ก็ผิดไปหมดทั้งยวง ได้เช่นกัน———4.แม่มดที่กลายเป็นเปรต (ที่พระโมคคัลลานะเห็น ) คือแม่มดที่เป็นทาสยักษ์ ยักษ์ที่กล่าวถึงในพระไตรปิฎกในเนื้อเรื่องที่คุยกันคือยักษ์ชั่วร้ายที่กินเด็ก ไม่ใช่ยักษ์ท้าวเวสสุวรรณ เพราะท้าวเวสสุวรรณ เป็นพระโสดาบัน 🙏———-5.เดรัจฉานวิชา ไม่ใช่แค่หมอดู แต่มีหลายวิชาชีพ ในพระไตรปิฎก ที่เรียกว่า เดรัจฉานวิชา แม้กระทั่งหมอผ่าตัด หมอยา หมอสูติ และอื่นๆ ฯลฯ พระพุทธเจ้าห้ามมิให้ภิษุ ใช้เดรัจฉานวิชา เพื่อเลี้ยงชีพ ** ห้ามเฉพาะใช้ทำเพื่อเลี้ยงชีพ เพราะเดรัจฉาน แปลว่า ขวาง เดรัจฉานวิชา คือวิชาที่ขวางการไปนิพพานของภิกษุ👉แต่ฆราวาส ไม่ได้ห้าม ————-6.พระไตรปิฎกไม่ได้เข้าถึงยากอย่างที่คิด อ่านฟรีในเว็บ 84000.org ได้ฟรีนะทุกคน ใครอยากเรียนรู้ ไปตามเรียนที่เฟซครูณัฐต่อได้เลย ( ข้อสุดท้ายความเห็น ผู้เขียน ) ————กราบขอบพระคุณสำหรับความรู้ที่ท่านชี้แนะ 🙏แม้การปกป้องคำสอนที่ถูกต้องด้วยใจที่รักพระไตรปิฎก จะต้องแลกกับการฝ่ากระแสคำวิพากษ์วิจารณ์ว่าหาแสงบ้าง ว่าเป็นพวกเดียวกับหมอดูบ้าง แต่สุดท้ายความไม่จริง จะแพ้ความจริงเสมอ “ เพราะความจริงคือสิ่งที่มันจะจริงตลอดไป ”ขอส่งความรัก ให้ครูณัฐค่ะ ❤️#อาจารย์ควีนมหาเลียบ
    0 Comments 0 Shares 621 Views 0 Reviews
  • #เรื่องหลวงพ่อฤาษีขึ้นไปบนนิพพาน #ฟังพระพุทธองค์ทรงสอนบารมี๑๐ทัศ..." วันนี้ต้องสอนบรรดาท่านพุทธบริษัท เรียกว่าเอากันเฉือนขั้นสุดท้ายเลย เรียกว่าทิ้งทวนหรือทิ้งไพ่ใบสุดท้าย และพุ่งทวนเล่มใหญ่ท้ายสุดที่มีอยู่..🌸นั่นคือคำแนะนำขององค์สมเด็จพระบรมครู ที่เรียกว่า.. บารมี ๑๐ ทัศ* วันนั้นสอนบารมี ๑๐ ทัศ แก่บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านทั้งหลายจะมีความเข้าใจหรือไม่เข้าใจเพียงใด อาตมาก็ไม่ทราบ เพราะสอนไม่ค่อยตรงเป้าหมาย..🌸 เมื่อสอนเสร็จ เวลาผ่านไปก็ดับไฟ สั่งให้บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายพากันเจริญพระกรรมฐาน ทรงสติสัมปชัญญะ คือว่า.. ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติให้มั่น กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนา หรือพิจารณาตามอัธยาศัย เพราะการภาวนาก็ดี พิจารณาก็ดี นี่ อาตมาไม่ขัดใจใคร ใครเคยทำแบบไหนคล่องมาแล้ว ให้ทำอย่างนั้นไม่เปลี่ยนแปลง เพราะอะไร..🌼 เพราะว่า.. การภาวนาหรือพิจารณาที่ทำมาแล้ว ถ้าไม่ผิดก็ไม่ควรจะเปลี่ยน เพราะแบบปฏิบัติมีมากด้วยกัน ไม่จำเป็นว่าจะต้องทำอย่างนั้นทำอย่างนี้ จึงจะถูก ทำอย่างไรก็ตาม ถ้าปรารภจิตเป็นสมาธิระงับจากนิวรณ์ หรือปรารภจิตเป็นปฏิปักษ์กับขันธ์ ๕ ใช้ได้หมด ถ้าตรงกับแนวคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระบรมสุคตแล้ว อาตมาไม่ปฏิเสธการปฏิบัติของบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน..* เมื่อบรรดาท่านพุทธบริษัทเริ่มปฏิบัติ อาตมาก็คิดในใจว่า.. ร่างกายไม่ดีแบบนี้ เราจะทนมันอยู่ทำไม ไปเสียจากร่างกายดีกว่า ปล่อยให้มันนั่งอยู่ตรงนี้ พอสัญญาณบอกเวลาปรากฏเราจึงจะกลับมา.* ฉะนั้น จึงไปได้เสียจากกาย ไปไหว้พระ จะไปแบบไหนอันนี้บรรดาท่านพุทธบริษัท อาตมาไม่บอก บอกไม่ได้.. ไปอย่างไร ไปโดยวิธีไหน อยากรู้ก็ปฏิบัติกันเอาเอง.🌼 แต่ความจริงมันก็ไม่ใช่ของดีเด่นอะไรนัก การไปได้ มาได้ ถ้าใจเหลิงเกินไปก็ลงนรกได้ ไม่ใช่ของพิเศษ เมื่อออกไปแล้วก็พบองค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์* นี่ขวางกับชาวบ้านเขาแล้ว เขาบอกว่า.. พระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว จะพบได้ยังไง นั่นมันเรื่องของเขา บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย นี่มันเรื่องของอาตมา อาตมาพบกันได้ก็แล้วกัน.🌸 เมื่อพบแล้ว ก็เข้าไปนมัสการองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว พอเงยหน้าขึ้นมา..🌸 พระองค์ก็ทรงตรัสถามว่า : " สัมพเกษี วันนี้เธอสอนบารมี ๑๐ ทัศใช่ไหม.?"🌸 ก็กราบทูลพระองค์ท่านว่า : " ใช่พระพุทธเจ้าข้า "🌸 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสถามว่า : " สัมพเกษี บารมีแปลว่าอะไร.? ”* ตอนนี้ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ขอได้โปรดทราบว่า.. ถ้าอาตมาสอนถูก พระองค์จะไม่ตรัสแบบนั้น อาตมารู้ทันรู้เท่าเข้าใจทันทีว่า.. การสอนวันนี้ผิดพุทธพจน์บทพระบาลี..🌼 นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท การสอนนี้ ไม่ใช่ว่ามันจะถูกเสมอไป มันก็ผิดได้เหมือนกัน เมื่อองค์สมเด็จพระจอมไตร มีพระพุทธฎีกาตรัสถามแบบนั้น อาตมาก็ทราบ..🌼 จึงได้กราบทูลพระพุทธองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้าไม่แน่ใจนัก พระพุทธเจ้าข้า แต่ที่เรียนกันมา ครูสอนว่า บารมี แปลว่า เต็ม "🌼 พระพุทธองค์ จึงตรัสถามว่า : " อะไรมันเต็ม และมันเต็มแบบไหน สมมุติว่า เธอจะปฏิบัติในทานบารมี.. ทำยังไง ทานบารมีมันถึงจะเต็ม ถ้าหากว่า จะนำของมาให้เต็มโลก เธอจะไปขนมาจากไหน.. ถ้าเราไม่นำของมาให้ ทำยังไงทานบารมีมันจึงจะเต็ม "🌼 แบบนี้มันก็อยู่ด้วยกันทั้งนั้นแหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้าคนอย่างอาตมา ถ้าหากว่า ท่านที่เป็นนักปราชญ์ ดีกว่าอาตมาก็ไม่เป็นไร ท่านไปได้ เพราะท่านมีความเข้าใจ ท่านมีความฉลาด อาตมาบอกแล้วนี่ ว่า.. อาตมามีความรู้ไม่เท่าหางอึ่ง คือยาวไม่เท่าหางอึ่ง หรือไม่แค่หางอึ่ง เพราะความโง่มันมาก..🌼 เมื่อองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสแบบนั้น..🌼 ก็ทูลถามพระองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้า ไม่เข้าใจในบารมีพระพุทธเจ้าข้า "🌺 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษี เธอเข้าใจ ไม่ใช่ไม่เข้าใจ แต่ว่าเธอดีแต่เฉพาะบริโภคเองเท่านั้น แต่การที่จะแบ่งปันให้บุคคลอื่นน่ะ เธอไม่มีความฉลาด การที่เธอตั้งกำลังใจในบารมี ๑๐ ทัศ เป็น ๓๐ ทัศ ด้วยกัน ๓ ชั้น เธอทำได้ แต่ว่าวันนี้ เธอสอนท่านบรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย เธอทำไม่ถูก เธอจงมีความเข้าใจเสียใหม่ว่า.. คำว่า บารมี มันแปลว่า เต็ม แต่อะไรมันเต็ม ตถาคตจะบอกให้ว่า.. บารมีนี่ควรจะแปลว่า "กำลังใจเต็ม "* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท จำไว้ให้ดีว่า.. คำว่า บารมี ก็คือกำลังใจ ทำกำลังใจให้เต็ม..🌺 ตอนนี้ซิ ชักจะฉลาดขึ้นมาทันที มานึกในใจว่า เรานี่มันแสนจะโง่เสียมาก🌺 กำลังใจเต็ม ตอนไหน บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านก็ทรงให้ทวนเรื่องบารมี ๑๐ ทัศ ว่ามีอะไรบ้าง อาตมาก็ถวายคำตอบแก่พระองค์ว่า..๑. ทานบารมี๒. ศีลบารมี๓. เนกขัมมบารมี๔. ปัญญาบารมี๕. วิริยบารมี๖. ขันติบารมี๗. สัจจบารมี๘. อธิษฐานบารมี๙. เมตตาบารมี๑๐. อุเบกขาบารมี* องค์สมเด็จพระชินสีห์ จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษีถูกแล้ว บารมีทั้งหมดนี้ใช้กำลังใจ สร้างกำลังใจให้มันทรงอยู่ในใจทั้งหมด ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ ไม่มีอะไรบกพร่องคือ..๑. จิตของเรา พร้อมที่จะให้ทานเป็นปกติ.๒. จิตพร้อมในการทรงศีล..🌻 นี่ซิ บรรดาท่านพุทธบริษัท พร้อมในการทรงศีลเป็นปกติ ไม่ใช่ปล่อยให้ศีลมันหล่นหายไป..๓. จิตพร้อมในการทรง เนกขัมมะ เป็นปกติ..🌻 เนกขัมมะ ก็แปลว่า การถือบวช บวชผมยาว บวชผมสั้น บวชโกนหัว ไม่โกนหัวได้ทั้งนั้น..๔. จิตพร้อมที่จะใช้ ปัญญา เป็นเครื่องประหัตประหารอุปาทานให้พินาศไป..๕. วิริยะ มีความเพียรทุกขณะ ควบคุมใจไว้เสมอ..๖. ขันติ มีทั้งอดทั้งทน อดกลั้นต่อสิ่งที่เป็นปฏิปักษ์..๗. สัจจะ ทรงตัวไว้ตลอดเวลาว่า เราจะจริงทุกอย่าง ไม่มีอะไรในคำว่าไม่จริงสำหรับเรา ในด้านของการทำความดี..๘. อธิษฐานบารมี ตั้งใจไว้ให้ตรงโดยเฉพาะพระนิพพาน๙. เมตตาบารมี สร้างอารมณ์ความดี ไม่เป็นศัตรูกับใคร มีความรักตน เสมอด้วยบุคคลอื่น๑๐. อุเบกขาบารมี วางเฉยเข้าไว้ ในเมื่อร่างกายมันไม่ทรงตัว อย่างที่เธอเป็นในวันนี้..💎 อุเบกขาบารมี ตัวนี้ พระองค์ทรงตรัสว่า : ตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันเป็นปกติว่า " ช่างมัน " ขันติบารมีนี่ก็เหมือนกัน ใช้คำว่า " ช่างมัน " ตรงตัวดี..* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ทั้งหลายโดยถ้วนหน้า วันนี้ยังไม่สอนอะไรบรรดาท่านพุทธบริษัท เรามาคุยกันในคำว่า " บารมี " เสียก่อน เพื่อที่จะให้บรรดาพระโยคาวจรทั้งหลาย ได้ทราบชัดว่า.. บารมีที่องค์สมเด็จพระทรงสวัสดิโสภาคย์ ให้เราสร้างให้มันเต็มนั้น ก็คือ สร้างกำลังใจ ปลูกฝังกำลังใจ ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์สมบูรณ์.. 💎 ไม่ใช่ว่า เราจะมานั่งคิด จะมานอนคิด เราจะมาทรงจิตว่า เอ๊..! บารมีของเรามันไม่มีนี่ ชาติก่อนบารมีของเรามันไม่พอ บารมีของเรายังไม่เต็ม เราจะเป็นพระโสดาบัน สกิทาคา อนาคา อรหันต์ ยังไงได้..* ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย มีความเข้าใจตามนี้ พอยังจะรู้รึยังว่า.. เราจะสามารถะสร้างบารมีได้ ด้วยอาศัยกำลังใจ 💎 ความดีของบรรดาท่านพุทธบริษัท มีกำลังใจอย่างเดียวเท่านั้น ที่เราจะสามารถทำมันให้ดีหรือไม่ดี อันนี้ก็ตรงกับพระบาลีที่องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ในเรื่อง พระจักขุบาล ว่า.." มโนปุพพังคมา ธัมมา มโนเสฏฐา มโนมยา "" ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจประเสริฐสุด สำเร็จด้วยใจ " 💎 นี่ความจริง เรื่องนี้ก็เรียนกันมาแล้วท่านบรรดาพุทธบริษัท แต่เวลาปฏิบัติจริง ๆ ทำไมมันถึงลืมก็ไม่ทราบ..💎 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย หวังว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน คงจะเข้าใจคำว่า บารมี แล้วอย่าลืม บารมี แปลว่าเต็ม แต่ส่วนที่เราจะทำให้เต็มนั้นก็คือ กำลังใจ ให้กำลังใจมันพร้อม พร้อมที่จะทรงความดีในด้านบารมีไว้..💎 ถ้ากำลังใจของเราพร้อมทรงบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ครบถ้วนเพียงใด บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ความเป็นพระอริยเจ้าเป็นของง่าย..* ที่นำบารมีทั้ง ๑๐ ประการ มากล่าวในตอนนี้ ก็เพราะว่า.. ในตอนต้น พูดเรื่องพระโสดาบันเข้าไว้ เห็นว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายอาจจะคิดว่า.. แหม.. มันยากเกินไป ถ้ากำลังใจในการสร้างตนเป็นพระโสดาบัน มันยังครบถ้วนไม่ได้ ก็หันมาจัดการกับบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ให้มันครบถ้วนบริบูรณ์..* ทาน การให้ เป็นการตัดความโลภ.* ศีล เราก็ตัดความโกรธ* เนกขัมมะ ตัดอารมณ์ของกามคุณ* ปัญญา ตัดความโง่* วิริยะ ตัดความขี้เกียจ* ขันติ ตัดความไม่รู้จักการอดทน* สัจจะ ตัดความไม่จริงใจ มีอารมณ์ใจกลับกลอก* อธิษฐาน ทรงกำลังไว้ให้สมบูรณ์บริบูรณ์* เมตตา สร้างความเยือกเย็นของจิตใจ* อุเบกขา วางเฉยเข้าไว้ในเรื่องของกาย เราไม่ปรารภ🌺 เท่านี้แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัทสมบูรณ์เพียงใด คำว่า.. พระโสดาบัน นั้น บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย จะรู้สึกว่าง่ายเกินไปสำหรับบรรดาท่านพุทธบริษัท..🌼 ทำไมจึงว่าอย่างนั้น.. ก็เพราะว่า คนที่มีบารมีเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ มีกำลังใจเต็มทุกอย่างใน ๑๐ ประการนี้ องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่เรียกว่า "พระโสดาบัน" แล้ว ท่านเรียกว่าอะไร.. ท่านเรียกว่า "พระขีณาสพ" แปลว่า ผู้มีอาสวะอันสิ้นไปแล้ว หรือเรียกว่า "พระอรหัตผล" เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาอันดับสูงสุด เข้าถึงซึ่งพระนิพพานได้..🌸 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย วันนี้ก็ขอยุติไว้แต่เพียงเท่านี้..🌷 ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลสมบูรณ์พูนผล จงมีแด่บรรดาท่านพุทธศาสนิกชนทุกท่าน สวัสดี..."( จากหนังสือ *บารมี ๑๐* โดย พระราชพรหมยานฯ หน้าที่ ๘-๑๖ ของวัดท่าซุง จ.อุทัยธานี) #ที่มานิพพานังปรมังสุขัง.
    #เรื่องหลวงพ่อฤาษีขึ้นไปบนนิพพาน #ฟังพระพุทธองค์ทรงสอนบารมี๑๐ทัศ..." วันนี้ต้องสอนบรรดาท่านพุทธบริษัท เรียกว่าเอากันเฉือนขั้นสุดท้ายเลย เรียกว่าทิ้งทวนหรือทิ้งไพ่ใบสุดท้าย และพุ่งทวนเล่มใหญ่ท้ายสุดที่มีอยู่..🌸นั่นคือคำแนะนำขององค์สมเด็จพระบรมครู ที่เรียกว่า.. บารมี ๑๐ ทัศ* วันนั้นสอนบารมี ๑๐ ทัศ แก่บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านทั้งหลายจะมีความเข้าใจหรือไม่เข้าใจเพียงใด อาตมาก็ไม่ทราบ เพราะสอนไม่ค่อยตรงเป้าหมาย..🌸 เมื่อสอนเสร็จ เวลาผ่านไปก็ดับไฟ สั่งให้บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายพากันเจริญพระกรรมฐาน ทรงสติสัมปชัญญะ คือว่า.. ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติให้มั่น กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนา หรือพิจารณาตามอัธยาศัย เพราะการภาวนาก็ดี พิจารณาก็ดี นี่ อาตมาไม่ขัดใจใคร ใครเคยทำแบบไหนคล่องมาแล้ว ให้ทำอย่างนั้นไม่เปลี่ยนแปลง เพราะอะไร..🌼 เพราะว่า.. การภาวนาหรือพิจารณาที่ทำมาแล้ว ถ้าไม่ผิดก็ไม่ควรจะเปลี่ยน เพราะแบบปฏิบัติมีมากด้วยกัน ไม่จำเป็นว่าจะต้องทำอย่างนั้นทำอย่างนี้ จึงจะถูก ทำอย่างไรก็ตาม ถ้าปรารภจิตเป็นสมาธิระงับจากนิวรณ์ หรือปรารภจิตเป็นปฏิปักษ์กับขันธ์ ๕ ใช้ได้หมด ถ้าตรงกับแนวคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระบรมสุคตแล้ว อาตมาไม่ปฏิเสธการปฏิบัติของบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน..* เมื่อบรรดาท่านพุทธบริษัทเริ่มปฏิบัติ อาตมาก็คิดในใจว่า.. ร่างกายไม่ดีแบบนี้ เราจะทนมันอยู่ทำไม ไปเสียจากร่างกายดีกว่า ปล่อยให้มันนั่งอยู่ตรงนี้ พอสัญญาณบอกเวลาปรากฏเราจึงจะกลับมา.* ฉะนั้น จึงไปได้เสียจากกาย ไปไหว้พระ จะไปแบบไหนอันนี้บรรดาท่านพุทธบริษัท อาตมาไม่บอก บอกไม่ได้.. ไปอย่างไร ไปโดยวิธีไหน อยากรู้ก็ปฏิบัติกันเอาเอง.🌼 แต่ความจริงมันก็ไม่ใช่ของดีเด่นอะไรนัก การไปได้ มาได้ ถ้าใจเหลิงเกินไปก็ลงนรกได้ ไม่ใช่ของพิเศษ เมื่อออกไปแล้วก็พบองค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์* นี่ขวางกับชาวบ้านเขาแล้ว เขาบอกว่า.. พระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว จะพบได้ยังไง นั่นมันเรื่องของเขา บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย นี่มันเรื่องของอาตมา อาตมาพบกันได้ก็แล้วกัน.🌸 เมื่อพบแล้ว ก็เข้าไปนมัสการองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว พอเงยหน้าขึ้นมา..🌸 พระองค์ก็ทรงตรัสถามว่า : " สัมพเกษี วันนี้เธอสอนบารมี ๑๐ ทัศใช่ไหม.?"🌸 ก็กราบทูลพระองค์ท่านว่า : " ใช่พระพุทธเจ้าข้า "🌸 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสถามว่า : " สัมพเกษี บารมีแปลว่าอะไร.? ”* ตอนนี้ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ขอได้โปรดทราบว่า.. ถ้าอาตมาสอนถูก พระองค์จะไม่ตรัสแบบนั้น อาตมารู้ทันรู้เท่าเข้าใจทันทีว่า.. การสอนวันนี้ผิดพุทธพจน์บทพระบาลี..🌼 นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท การสอนนี้ ไม่ใช่ว่ามันจะถูกเสมอไป มันก็ผิดได้เหมือนกัน เมื่อองค์สมเด็จพระจอมไตร มีพระพุทธฎีกาตรัสถามแบบนั้น อาตมาก็ทราบ..🌼 จึงได้กราบทูลพระพุทธองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้าไม่แน่ใจนัก พระพุทธเจ้าข้า แต่ที่เรียนกันมา ครูสอนว่า บารมี แปลว่า เต็ม "🌼 พระพุทธองค์ จึงตรัสถามว่า : " อะไรมันเต็ม และมันเต็มแบบไหน สมมุติว่า เธอจะปฏิบัติในทานบารมี.. ทำยังไง ทานบารมีมันถึงจะเต็ม ถ้าหากว่า จะนำของมาให้เต็มโลก เธอจะไปขนมาจากไหน.. ถ้าเราไม่นำของมาให้ ทำยังไงทานบารมีมันจึงจะเต็ม "🌼 แบบนี้มันก็อยู่ด้วยกันทั้งนั้นแหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้าคนอย่างอาตมา ถ้าหากว่า ท่านที่เป็นนักปราชญ์ ดีกว่าอาตมาก็ไม่เป็นไร ท่านไปได้ เพราะท่านมีความเข้าใจ ท่านมีความฉลาด อาตมาบอกแล้วนี่ ว่า.. อาตมามีความรู้ไม่เท่าหางอึ่ง คือยาวไม่เท่าหางอึ่ง หรือไม่แค่หางอึ่ง เพราะความโง่มันมาก..🌼 เมื่อองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสแบบนั้น..🌼 ก็ทูลถามพระองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้า ไม่เข้าใจในบารมีพระพุทธเจ้าข้า "🌺 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษี เธอเข้าใจ ไม่ใช่ไม่เข้าใจ แต่ว่าเธอดีแต่เฉพาะบริโภคเองเท่านั้น แต่การที่จะแบ่งปันให้บุคคลอื่นน่ะ เธอไม่มีความฉลาด การที่เธอตั้งกำลังใจในบารมี ๑๐ ทัศ เป็น ๓๐ ทัศ ด้วยกัน ๓ ชั้น เธอทำได้ แต่ว่าวันนี้ เธอสอนท่านบรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย เธอทำไม่ถูก เธอจงมีความเข้าใจเสียใหม่ว่า.. คำว่า บารมี มันแปลว่า เต็ม แต่อะไรมันเต็ม ตถาคตจะบอกให้ว่า.. บารมีนี่ควรจะแปลว่า "กำลังใจเต็ม "* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท จำไว้ให้ดีว่า.. คำว่า บารมี ก็คือกำลังใจ ทำกำลังใจให้เต็ม..🌺 ตอนนี้ซิ ชักจะฉลาดขึ้นมาทันที มานึกในใจว่า เรานี่มันแสนจะโง่เสียมาก🌺 กำลังใจเต็ม ตอนไหน บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านก็ทรงให้ทวนเรื่องบารมี ๑๐ ทัศ ว่ามีอะไรบ้าง อาตมาก็ถวายคำตอบแก่พระองค์ว่า..๑. ทานบารมี๒. ศีลบารมี๓. เนกขัมมบารมี๔. ปัญญาบารมี๕. วิริยบารมี๖. ขันติบารมี๗. สัจจบารมี๘. อธิษฐานบารมี๙. เมตตาบารมี๑๐. อุเบกขาบารมี* องค์สมเด็จพระชินสีห์ จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษีถูกแล้ว บารมีทั้งหมดนี้ใช้กำลังใจ สร้างกำลังใจให้มันทรงอยู่ในใจทั้งหมด ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ ไม่มีอะไรบกพร่องคือ..๑. จิตของเรา พร้อมที่จะให้ทานเป็นปกติ.๒. จิตพร้อมในการทรงศีล..🌻 นี่ซิ บรรดาท่านพุทธบริษัท พร้อมในการทรงศีลเป็นปกติ ไม่ใช่ปล่อยให้ศีลมันหล่นหายไป..๓. จิตพร้อมในการทรง เนกขัมมะ เป็นปกติ..🌻 เนกขัมมะ ก็แปลว่า การถือบวช บวชผมยาว บวชผมสั้น บวชโกนหัว ไม่โกนหัวได้ทั้งนั้น..๔. จิตพร้อมที่จะใช้ ปัญญา เป็นเครื่องประหัตประหารอุปาทานให้พินาศไป..๕. วิริยะ มีความเพียรทุกขณะ ควบคุมใจไว้เสมอ..๖. ขันติ มีทั้งอดทั้งทน อดกลั้นต่อสิ่งที่เป็นปฏิปักษ์..๗. สัจจะ ทรงตัวไว้ตลอดเวลาว่า เราจะจริงทุกอย่าง ไม่มีอะไรในคำว่าไม่จริงสำหรับเรา ในด้านของการทำความดี..๘. อธิษฐานบารมี ตั้งใจไว้ให้ตรงโดยเฉพาะพระนิพพาน๙. เมตตาบารมี สร้างอารมณ์ความดี ไม่เป็นศัตรูกับใคร มีความรักตน เสมอด้วยบุคคลอื่น๑๐. อุเบกขาบารมี วางเฉยเข้าไว้ ในเมื่อร่างกายมันไม่ทรงตัว อย่างที่เธอเป็นในวันนี้..💎 อุเบกขาบารมี ตัวนี้ พระองค์ทรงตรัสว่า : ตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันเป็นปกติว่า " ช่างมัน " ขันติบารมีนี่ก็เหมือนกัน ใช้คำว่า " ช่างมัน " ตรงตัวดี..* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ทั้งหลายโดยถ้วนหน้า วันนี้ยังไม่สอนอะไรบรรดาท่านพุทธบริษัท เรามาคุยกันในคำว่า " บารมี " เสียก่อน เพื่อที่จะให้บรรดาพระโยคาวจรทั้งหลาย ได้ทราบชัดว่า.. บารมีที่องค์สมเด็จพระทรงสวัสดิโสภาคย์ ให้เราสร้างให้มันเต็มนั้น ก็คือ สร้างกำลังใจ ปลูกฝังกำลังใจ ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์สมบูรณ์.. 💎 ไม่ใช่ว่า เราจะมานั่งคิด จะมานอนคิด เราจะมาทรงจิตว่า เอ๊..! บารมีของเรามันไม่มีนี่ ชาติก่อนบารมีของเรามันไม่พอ บารมีของเรายังไม่เต็ม เราจะเป็นพระโสดาบัน สกิทาคา อนาคา อรหันต์ ยังไงได้..* ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย มีความเข้าใจตามนี้ พอยังจะรู้รึยังว่า.. เราจะสามารถะสร้างบารมีได้ ด้วยอาศัยกำลังใจ 💎 ความดีของบรรดาท่านพุทธบริษัท มีกำลังใจอย่างเดียวเท่านั้น ที่เราจะสามารถทำมันให้ดีหรือไม่ดี อันนี้ก็ตรงกับพระบาลีที่องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ในเรื่อง พระจักขุบาล ว่า.." มโนปุพพังคมา ธัมมา มโนเสฏฐา มโนมยา "" ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจประเสริฐสุด สำเร็จด้วยใจ " 💎 นี่ความจริง เรื่องนี้ก็เรียนกันมาแล้วท่านบรรดาพุทธบริษัท แต่เวลาปฏิบัติจริง ๆ ทำไมมันถึงลืมก็ไม่ทราบ..💎 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย หวังว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน คงจะเข้าใจคำว่า บารมี แล้วอย่าลืม บารมี แปลว่าเต็ม แต่ส่วนที่เราจะทำให้เต็มนั้นก็คือ กำลังใจ ให้กำลังใจมันพร้อม พร้อมที่จะทรงความดีในด้านบารมีไว้..💎 ถ้ากำลังใจของเราพร้อมทรงบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ครบถ้วนเพียงใด บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ความเป็นพระอริยเจ้าเป็นของง่าย..* ที่นำบารมีทั้ง ๑๐ ประการ มากล่าวในตอนนี้ ก็เพราะว่า.. ในตอนต้น พูดเรื่องพระโสดาบันเข้าไว้ เห็นว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายอาจจะคิดว่า.. แหม.. มันยากเกินไป ถ้ากำลังใจในการสร้างตนเป็นพระโสดาบัน มันยังครบถ้วนไม่ได้ ก็หันมาจัดการกับบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ให้มันครบถ้วนบริบูรณ์..* ทาน การให้ เป็นการตัดความโลภ.* ศีล เราก็ตัดความโกรธ* เนกขัมมะ ตัดอารมณ์ของกามคุณ* ปัญญา ตัดความโง่* วิริยะ ตัดความขี้เกียจ* ขันติ ตัดความไม่รู้จักการอดทน* สัจจะ ตัดความไม่จริงใจ มีอารมณ์ใจกลับกลอก* อธิษฐาน ทรงกำลังไว้ให้สมบูรณ์บริบูรณ์* เมตตา สร้างความเยือกเย็นของจิตใจ* อุเบกขา วางเฉยเข้าไว้ในเรื่องของกาย เราไม่ปรารภ🌺 เท่านี้แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัทสมบูรณ์เพียงใด คำว่า.. พระโสดาบัน นั้น บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย จะรู้สึกว่าง่ายเกินไปสำหรับบรรดาท่านพุทธบริษัท..🌼 ทำไมจึงว่าอย่างนั้น.. ก็เพราะว่า คนที่มีบารมีเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ มีกำลังใจเต็มทุกอย่างใน ๑๐ ประการนี้ องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่เรียกว่า "พระโสดาบัน" แล้ว ท่านเรียกว่าอะไร.. ท่านเรียกว่า "พระขีณาสพ" แปลว่า ผู้มีอาสวะอันสิ้นไปแล้ว หรือเรียกว่า "พระอรหัตผล" เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาอันดับสูงสุด เข้าถึงซึ่งพระนิพพานได้..🌸 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย วันนี้ก็ขอยุติไว้แต่เพียงเท่านี้..🌷 ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลสมบูรณ์พูนผล จงมีแด่บรรดาท่านพุทธศาสนิกชนทุกท่าน สวัสดี..."( จากหนังสือ *บารมี ๑๐* โดย พระราชพรหมยานฯ หน้าที่ ๘-๑๖ ของวัดท่าซุง จ.อุทัยธานี) #ที่มานิพพานังปรมังสุขัง.
    0 Comments 0 Shares 1653 Views 0 Reviews
  • 🍁อย่าลืมว่าเราเกิดมาเป็นมนุษย์ได้เพราะอาศัยความดีหลายอย่างธ​รรมทาน #หลวงคำสอนหลวงพ่อ ๑.​ เราเคยมีศีล ๕ บริสุทธิ์ หรือมีกรรมบถ ๑๐ บริสุทธิ์ เราจึงเป็นมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์ได้๒.​ เรามีทรัพย์สินเพราะเราเคยให้ทาน๓.​ เรามีปัญญาคิดอะไรได้บ้าง เพราะเราเคยอบรมในด้านความดี ในด้านธรรมมาก่อน🔸️เราต้องคำนึงของ ๓ อย่างนี้ เพราะมันเป็นความดีเดิมในเมื่อเราเป็นมนุษย์ได้แล้ว เราจะกลับไปเป็นสัตว์นรกอีกไหม​ ถ้าเราทำลายศีลข้อใดข้อหนึ่ง นั่นแสดงว่ามันจะกลับไปนรกอีก ประการที่ ๒ เราเกิดมาเป็นคนตระหนี่ เป็นคนดี​พอกลับไปเราก็ต้องกลับไปแก้กันใหม่ และประการที่ ๓ เราทำลายสติสัมปชัญญะของเราให้มันเสื่อมทรามลง เป็นการทำลายของเดิมที่เราก่อมาแล้วให้สลายตัวไป ถ้าเราคิดอย่างนี้แล้วจะดีขึ้น​ ฉะนั้น พระพุทธเจ้าท่านจึงทรงสั่งสอน ✅️#อย่าตามนึกถึงสิ่งที่ล่วงมาแล้ว ✅️#และจงอย่าคำนึงถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง✅️#พยายามรักษาความดีปัจจุบัน​ ⭕️ ถ้าปัจจุบันของเราดี เพราะอารมณ์ของเราจริงๆไม่มีอดีตไม่มีอนาคตหรอก มันมีแต่ปัจจุบันคือ ให้มีความรู้สึกว่าเดี่ยวนี้อยู่เสมอ คือ อารมณ์ทำเป็นอาจิณกรรม ถึงแม้ว่าครั้งละเล็กละน้อยมันก็ชิน อาจิณกรรมถ้าเป็นฝ่ายอกุศล มันมีโทษถึงอนันตริยกรรมได้ แต่ถ้าอาจิณกรรมฝ่ายกุศลมันก็มีผลมหันต์เหมือนกัน ถ้าเราไม่ตามนึกถึงมัน เรามุ่งหน้าทำแต่ความดี อันดับเลวที่สุดถ้าเราเป็นพระโสดาบัน กรรมที่ไม่ดีนั้นจะให้ผลลงอบายภูมิไม่ได้ มันจะให้ผลแต่เพียงว่าเราเกิดมาเป็นมนุษย์ใหม่เท่านั้น มันตัดอบายภูมิ ใช่ไหม​ ได้กำไรตั้งเยอะ ดีไม่ดีเป็นอรหันต์เสียชาตินี้หมดเรื่องหมดราวไปเลย เพราะมันเหลือแค่เศษกรรม ใช่ไหม​ ดอกเบี้ยมันนิดหน่อย เอาอย่างนั้นนะ จำไว้แค่นี้ก็แล้วกันนะ #เอาเวลานี้ให้มันดีอยู่เสมอ อย่าไปเอาเวลาอื่นนะ เวลาปัจจุบันนี้เมื่อความรู้สึกยังมีอยู่ #ให้จิตมันว่างจากอารมณ์ที่เป็นอกุศล ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ #ทรงอนุสสติ​ 🔺️ #อนุสสติ แปลว่า #การตามนึกถึง คือให้นึกถึงความดีอยู่เสมอ​ อนุสสติ ก็มี พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ จาคานุสสติ เทวตานุสสติ มรณานุสสติ กายคตานุสสติ อุปสมานุสสติ และ อานาปานุสสติ ถ้าเราตามนึกถึงอนุสสติอย่างใดอย่างหนึ่ง มันเป็นเรื่องของความดี ทีนี้ความดีที่เราจะไปชำระหนี้ความชั่วเดิมให้หมดไป ถ้าจะไปนิพพานรับรองไม่ได้ไปแน่เพราะอะไร เกิดทุกชาติก็สร้างเรื่อยเสริมความชั่วอยู่เสมอ ทีนี้ทางพระพุทธศาสนาเราไม่มีการล้างบาป แต่ว่าในทางพุทธศาสนาให้สร้างกำลังจิตในด้านความดีให้มีกำลังสูงเพื่อหนีบาปให้พ้นไป====================== จากหนังสือหลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่ม ๓ หน้า ๔๘-๕๘
    🍁อย่าลืมว่าเราเกิดมาเป็นมนุษย์ได้เพราะอาศัยความดีหลายอย่างธ​รรมทาน #หลวงคำสอนหลวงพ่อ ๑.​ เราเคยมีศีล ๕ บริสุทธิ์ หรือมีกรรมบถ ๑๐ บริสุทธิ์ เราจึงเป็นมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์ได้๒.​ เรามีทรัพย์สินเพราะเราเคยให้ทาน๓.​ เรามีปัญญาคิดอะไรได้บ้าง เพราะเราเคยอบรมในด้านความดี ในด้านธรรมมาก่อน🔸️เราต้องคำนึงของ ๓ อย่างนี้ เพราะมันเป็นความดีเดิมในเมื่อเราเป็นมนุษย์ได้แล้ว เราจะกลับไปเป็นสัตว์นรกอีกไหม​ ถ้าเราทำลายศีลข้อใดข้อหนึ่ง นั่นแสดงว่ามันจะกลับไปนรกอีก ประการที่ ๒ เราเกิดมาเป็นคนตระหนี่ เป็นคนดี​พอกลับไปเราก็ต้องกลับไปแก้กันใหม่ และประการที่ ๓ เราทำลายสติสัมปชัญญะของเราให้มันเสื่อมทรามลง เป็นการทำลายของเดิมที่เราก่อมาแล้วให้สลายตัวไป ถ้าเราคิดอย่างนี้แล้วจะดีขึ้น​ ฉะนั้น พระพุทธเจ้าท่านจึงทรงสั่งสอน ✅️#อย่าตามนึกถึงสิ่งที่ล่วงมาแล้ว ✅️#และจงอย่าคำนึงถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง✅️#พยายามรักษาความดีปัจจุบัน​ ⭕️ ถ้าปัจจุบันของเราดี เพราะอารมณ์ของเราจริงๆไม่มีอดีตไม่มีอนาคตหรอก มันมีแต่ปัจจุบันคือ ให้มีความรู้สึกว่าเดี่ยวนี้อยู่เสมอ คือ อารมณ์ทำเป็นอาจิณกรรม ถึงแม้ว่าครั้งละเล็กละน้อยมันก็ชิน อาจิณกรรมถ้าเป็นฝ่ายอกุศล มันมีโทษถึงอนันตริยกรรมได้ แต่ถ้าอาจิณกรรมฝ่ายกุศลมันก็มีผลมหันต์เหมือนกัน ถ้าเราไม่ตามนึกถึงมัน เรามุ่งหน้าทำแต่ความดี อันดับเลวที่สุดถ้าเราเป็นพระโสดาบัน กรรมที่ไม่ดีนั้นจะให้ผลลงอบายภูมิไม่ได้ มันจะให้ผลแต่เพียงว่าเราเกิดมาเป็นมนุษย์ใหม่เท่านั้น มันตัดอบายภูมิ ใช่ไหม​ ได้กำไรตั้งเยอะ ดีไม่ดีเป็นอรหันต์เสียชาตินี้หมดเรื่องหมดราวไปเลย เพราะมันเหลือแค่เศษกรรม ใช่ไหม​ ดอกเบี้ยมันนิดหน่อย เอาอย่างนั้นนะ จำไว้แค่นี้ก็แล้วกันนะ #เอาเวลานี้ให้มันดีอยู่เสมอ อย่าไปเอาเวลาอื่นนะ เวลาปัจจุบันนี้เมื่อความรู้สึกยังมีอยู่ #ให้จิตมันว่างจากอารมณ์ที่เป็นอกุศล ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ #ทรงอนุสสติ​ 🔺️ #อนุสสติ แปลว่า #การตามนึกถึง คือให้นึกถึงความดีอยู่เสมอ​ อนุสสติ ก็มี พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ จาคานุสสติ เทวตานุสสติ มรณานุสสติ กายคตานุสสติ อุปสมานุสสติ และ อานาปานุสสติ ถ้าเราตามนึกถึงอนุสสติอย่างใดอย่างหนึ่ง มันเป็นเรื่องของความดี ทีนี้ความดีที่เราจะไปชำระหนี้ความชั่วเดิมให้หมดไป ถ้าจะไปนิพพานรับรองไม่ได้ไปแน่เพราะอะไร เกิดทุกชาติก็สร้างเรื่อยเสริมความชั่วอยู่เสมอ ทีนี้ทางพระพุทธศาสนาเราไม่มีการล้างบาป แต่ว่าในทางพุทธศาสนาให้สร้างกำลังจิตในด้านความดีให้มีกำลังสูงเพื่อหนีบาปให้พ้นไป====================== จากหนังสือหลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่ม ๓ หน้า ๔๘-๕๘
    0 Comments 0 Shares 1046 Views 0 Reviews
  • #จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ

    #แต่ว่าถ้าสมัยนี้บรรดาท่านพุทธบริษัทคนใดมีจิตใจมุ่งหวังพระนิพพานเป็นอารมณ์ #หากว่าท่านเป็นพระโสดาบันก็ดีหรือยังไม่เป็นพระโสดาบันก็ตาม #พยายามมีความเคารพพระพุทธเจ้า #พระธรรม #พระอริยสงฆ์ #ให้มั่นคงนึกถึงความตายไว้เป็นปกติ #ว่าชีวิตมันต้องตายแต่ว่าถ้าตายเมื่อไรขอไปนิพพานเมื่อนั้น #จิตใจรักพระนิพพานเป็นอารมณ์ ถึงแม้ศีลหรือกรรมบถ ๑๐ จะบกพร่องบ้างก็ตาม ถ้าจิตคิดอย่างนี้อยู่ ตายแล้วไม่ลงอบายภูมิแน่ ก็ไปสวรรค์ ถ้าไปสวรรค์แล้วภายในไม่ช้าถ้าไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เทวดาหรือนางฟ้าชั้นดาวดึงส์นี่มีอายุ ๑๐๐๐ ปีทิพย์ จะมีอายุในดาวดึงส์ไม่ถึง ๓๐๐ปีทิพย์ #พระศรีอาริย์ฯก็จะตรัสเป็นพระพุทธเจ้า ตอนนั้นขณะที่ท่านเป็นเทวดาเป็นนางฟ้า ได้ฟังเทศน์เพียงครั้งเดียวในชีวิตก็สามารถเป็นพระอรหันต์ได้

    นี่ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ ถ้าไม่มีบุญจริงๆ ญาติโยมทั้งหลายมานั่งอยู่ตรงนี้ไม่ได้ ทนไม่ได้เพราะมันเมื่อย เหยียดแข้งเหยียดขาก็ไม่ออก นังก็แสนจะลำบาก อาศัยบุญบารมีเก่าของท่านดีมากจึงสามารถมาทนนั่งอย่างนี้ได้ และตั้งใจโดยเฉพาะว่าเราต้องการบุญกุศล โดยเฉพาะอย่างยิ่งวันนี้พูดเรื่องพระโสดาบันและนิพพาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง #สำหรับบุคคลใดยังต้องเกิดพระศรีอาริย์ฯท่านเคยบอกฝากไว้ #บอกว่าคนของผมอยู่ในระหว่างของท่านหลายแสนคน #คนที่เกิดทันสมัยท่านบำเพ็ญบารมีมาด้วยกันนะประมาณ๓แสนคน #ผมฝากด้วยขอให้ทุกคนรักษากรรมบถ ๑๐ให้ครบถ้วนทุกวัน

    ถ้าเป็นการบังเอิญครบถ้วนทุกวันไม่ได้ วันปกติบกพร่องบ้างก็ตาม แต่ว่าวันพระอย่าให้บกพร่อง วันพระต้องเต็ม อย่างนี้คนพวกนั้นจะเกิดทันสมัยผม และฟังเทศน์เพียงครั้งเดียว ถ้าอย่างอ่อนฟังเทศน์ครั้งแรกก็เป็นพระโสดาบัน ถ้ารักษากรรมบถ ๑๐ ได้ครบถ้วนตลอดวันทุกวัน ทั้งวันดีวันพระอย่างนี้ฟังเทศน์จบจะเป็นพระอรหันต์ทันที ก็รวมความว่าบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายโดยทั่วหน้า ที่มานั่งวันนี้ตรงนี้ทุกคนก็เป็นคนมีบุญ บุญเก่าทำมาแล้วมากจึงสามารถมานั่งได้ ต่อไปก็ตั้งใจหวังโดยเฉพาะว่าเราต้องการพระนิพพาน

    เอาล่ะบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย เสียงก็ไปไม่ไหว ขอทุกท่านตั้งใจสมาทานศีล สมาทานพระกรรมฐาน

    จากหนังสือธรรมปฏิบัติ ๓๘ หน้าที่๘๒~๘๓
    #จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ #แต่ว่าถ้าสมัยนี้บรรดาท่านพุทธบริษัทคนใดมีจิตใจมุ่งหวังพระนิพพานเป็นอารมณ์ #หากว่าท่านเป็นพระโสดาบันก็ดีหรือยังไม่เป็นพระโสดาบันก็ตาม #พยายามมีความเคารพพระพุทธเจ้า #พระธรรม #พระอริยสงฆ์ #ให้มั่นคงนึกถึงความตายไว้เป็นปกติ #ว่าชีวิตมันต้องตายแต่ว่าถ้าตายเมื่อไรขอไปนิพพานเมื่อนั้น #จิตใจรักพระนิพพานเป็นอารมณ์ ถึงแม้ศีลหรือกรรมบถ ๑๐ จะบกพร่องบ้างก็ตาม ถ้าจิตคิดอย่างนี้อยู่ ตายแล้วไม่ลงอบายภูมิแน่ ก็ไปสวรรค์ ถ้าไปสวรรค์แล้วภายในไม่ช้าถ้าไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เทวดาหรือนางฟ้าชั้นดาวดึงส์นี่มีอายุ ๑๐๐๐ ปีทิพย์ จะมีอายุในดาวดึงส์ไม่ถึง ๓๐๐ปีทิพย์ #พระศรีอาริย์ฯก็จะตรัสเป็นพระพุทธเจ้า ตอนนั้นขณะที่ท่านเป็นเทวดาเป็นนางฟ้า ได้ฟังเทศน์เพียงครั้งเดียวในชีวิตก็สามารถเป็นพระอรหันต์ได้ นี่ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ ถ้าไม่มีบุญจริงๆ ญาติโยมทั้งหลายมานั่งอยู่ตรงนี้ไม่ได้ ทนไม่ได้เพราะมันเมื่อย เหยียดแข้งเหยียดขาก็ไม่ออก นังก็แสนจะลำบาก อาศัยบุญบารมีเก่าของท่านดีมากจึงสามารถมาทนนั่งอย่างนี้ได้ และตั้งใจโดยเฉพาะว่าเราต้องการบุญกุศล โดยเฉพาะอย่างยิ่งวันนี้พูดเรื่องพระโสดาบันและนิพพาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง #สำหรับบุคคลใดยังต้องเกิดพระศรีอาริย์ฯท่านเคยบอกฝากไว้ #บอกว่าคนของผมอยู่ในระหว่างของท่านหลายแสนคน #คนที่เกิดทันสมัยท่านบำเพ็ญบารมีมาด้วยกันนะประมาณ๓แสนคน #ผมฝากด้วยขอให้ทุกคนรักษากรรมบถ ๑๐ให้ครบถ้วนทุกวัน ถ้าเป็นการบังเอิญครบถ้วนทุกวันไม่ได้ วันปกติบกพร่องบ้างก็ตาม แต่ว่าวันพระอย่าให้บกพร่อง วันพระต้องเต็ม อย่างนี้คนพวกนั้นจะเกิดทันสมัยผม และฟังเทศน์เพียงครั้งเดียว ถ้าอย่างอ่อนฟังเทศน์ครั้งแรกก็เป็นพระโสดาบัน ถ้ารักษากรรมบถ ๑๐ ได้ครบถ้วนตลอดวันทุกวัน ทั้งวันดีวันพระอย่างนี้ฟังเทศน์จบจะเป็นพระอรหันต์ทันที ก็รวมความว่าบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายโดยทั่วหน้า ที่มานั่งวันนี้ตรงนี้ทุกคนก็เป็นคนมีบุญ บุญเก่าทำมาแล้วมากจึงสามารถมานั่งได้ ต่อไปก็ตั้งใจหวังโดยเฉพาะว่าเราต้องการพระนิพพาน เอาล่ะบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย เสียงก็ไปไม่ไหว ขอทุกท่านตั้งใจสมาทานศีล สมาทานพระกรรมฐาน จากหนังสือธรรมปฏิบัติ ๓๘ หน้าที่๘๒~๘๓
    0 Comments 0 Shares 1267 Views 0 Reviews
  • ผลงานชิ้นเอก ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

    เป็นหนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนา ที่ดีที่สุดในยุคแผ่นดินรัชกาลที่ ๙

    เป็นหนังสือที่เป็นแรงบันดาลใจ ให้พระไพศาล วิสาโล บวชไม่คิดสึก

    ‘พุทธธรรม’ ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์. (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)) คือ หนังสือที่พระไพศาลยกย่อง ถึงขั้นที่ว่าถ้ามีหนังสือเพียงเล่มเดียวที่สามารถติดตัวไปได้ในชีวิต ‘พุทธธรรม’ คือ เล่มที่ท่านเลือก...

    “หนังสือเล่มนี้อาตมาอ่านจบช่วงเข้าพรรษาสมัยที่เป็นฆราวาส เมื่อ พ.ศ. 2525 ตั้งใจว่าอ่านให้ได้วันละ 10 หน้า ก็อ่านได้ทุกวัน พรรษาหนึ่งประมาณ 90 กว่าวัน หนังสือมีความหนาประมาณพันกว่าหน้า อ่านตั้งแต่วันแรกจนถึงวันสุดท้ายก็พอดี เป็นการฝึกความเพียรและวินัยด้วย บางทีเราเดินทางไปต่างจังหวัดก่อนหน้านั้นวันหนึ่งจะต้องอ่านเพิ่มอีก 10 หน้าเพื่อชดเชยกับวันที่ต้องเดินทาง”

    นอกจากความเพียรในการอ่านแล้ว ช่วงนั้นพระไพศาลซึ่งเป็นเพียงเด็กหนุ่มที่เพิ่งจบมหาวิทยาลัยยังได้รับความเมตตาจากพระราชวรมุนี (สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์) อนุญาตให้เข้าพบเป็นประจำทุกเดือน เพื่อสนทนาธรรมสอบถามข้อสงสัยจากหนังสืออีกด้วย

    “อ่านหนังสือแล้วไปถามท่านเราก็ได้ความกระจ่างเยอะ ถือเป็นความโชคดีในฐานะนักอ่าน ยิ่งได้คุยกับท่านยิ่งรู้ว่า ท่านเป็นผู้มีสติปัญญาล้ำเลิศ ถ้าจัดเรตให้ต้องถือว่าเฟิร์สตเรต อัศจรรย์มาก”

    พุทธธรรมเป็นวรรณกรรมพุทธศาสนา ที่ได้รับการยอมรับว่าแสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างซื่อตรงต่อพระ ไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง นำเสนอหลักการและสาระสำคัญของพระพุทธศาสนาอย่างครบถ้วน และเป็นระบบอย่างชัดเจน พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2514 ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 ผู้เขียนได้ปรับปรุงและขยายความเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นหนังสือเล่มใหญ่หนาเป็นพันหน้า

    “อ่านไปก็อดทึ่งคนเขียนไม่ได้ว่าทั้งฉลาดทั้งมีความเพียรสูง ค้นข้อมูลมามากทีเดียวกว่าจะเขียนได้อย่างนี้ คือไม่ใช่แค่สรุปความย่อความเหมือนหนังสือบางเล่ม แต่เป็นการเขียนขึ้นมาใหม่ โดยมีพระไตรปิฎก เป็นพื้นฐาน นำเสนอด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ด้วยวิธีคิดของคนสมัยใหม่ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่เราจะไม่เจอแบบนี้ในงานเขียนพระพุทธศาสนา บางทีเคยไปเจอหนังสือเกี่ยวกับสาระพระไตรปิฎก เขียนโดยฆราวาสที่เคยบวชพระมาจะเห็นว่าลีลาสไตล์การเขียนแตกต่างกัน บางทีก็แค่ย่อความมาให้เราดู การย่อความก็ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ท่านเจ้าประคุณทำได้มากกว่านั้น จึงนำมาเสนอใหม่ ด้วยชนิดที่เรียกว่าสามารถจะสื่อสารกับเราด้วยภาษาของเราได้ และพยายามโยงให้เข้าถึงปัญหาสังคมสมัยใหม่โดยใช้มุมมองแบบพุทธ ซึ่งสมควรแล้วที่คนจะพูดว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดในยุครัชกาลที่ 9 และถือว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดเล่มหนึ่งของรัตนโกสินทร์”

    อาตมายกให้หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือดีของชีวิต ประการที่หนึ่งเพราะนำเสนอพุทธธรรมอย่างเป็นระบบและรอบด้านที่สุดภายในเล่มเดียว คือมีหลายท่านพูดถึงพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้งแต่พูดเป็นบางแง่ อย่างท่านพุทธทาสก็พูดเป็นบางแง่ เช่น ปฏิจจสมุปบาท อิทัปปัจจยตา แต่เล่มนี้พูดครบทุกแง่อย่างเป็นระบบ ทุกแง่ทุกมุมอยู่ในหนังสือเล่มนี้แล้ว ขอให้ค้นให้เป็น อาตมาเคยพูดนะว่าหนังสือเล่มนี้มี 3 มิติ ทั้งลึก กว้าง ไกล ลึกคือทำให้เราเข้าใจความจริงที่ลึกซึ้งของตัวเอง และทำให้เราเห็นกว้าง เห็นโลกและสังคมได้อย่างกว้าง เล่มนี้จะพูดถึงสังคมสมัยใหม่ไว้พอสมควร ทำให้เราได้เห็นมิติด้านไกล นั่นคือได้เห็นว่าการสอนพุทธศาสนานี้ผ่านการตีความมายังไงบ้าง ประการต่อมาคือใช้ภาษาที่งดงามสละสลวย ภาษาท่านงดงามมาก และสามารถสื่อได้ตรงใจผู้เขียน แม้ว่าเนื้อหาจะลึกซึ้ง คือทุกวันนี้แม้ตัวเองจะอ่านงานท่านเจ้าประคุณมาเยอะ เวลาจะสื่ออะไรบางอย่าง เรารู้สึกว่าเราจนต่อถ้อยคำ ไม่สามารถจะเขียนให้สุดความคิดได้ แต่หนังสือเล่มนี้ท่านเจ้าประคุณสามารถบรรยายให้สุดความคิดได้ อาตมาคิดว่าเป็นแบบอย่างของงานเขียนในทางศาสนาและงานวิชาการได้ คือมีทั้งอรรถและรส อรรถคือเนื้อหา รสคือรสของภาษา”

    ซึ่งพระไพศาลยอมรับว่าได้รับอิทธิพลจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) และท่านพุทธทาส ในการใช้ชีวิตและเขียนหนังสือพอสมควร โดยเฉพาะจากหนังสือพุทธธรรมนั้นมีอิทธิพลต่องานเขียน และการค้นคว้าทางพุทธศาสนาอย่างมาก

    “ถ้ามีเล่มเดียวที่สามารถติดไปได้ในชีวิตก็เล่มนี้แหละ ถึงแม้จะหนักหน่อยก็ตาม อาตมายังรู้สึกเลยนะว่าหนังสือเล่มนี้ทำให้เราภูมิใจที่เป็นคนไทย การที่คุณเป็นคนไทยแล้วได้อ่านหนังสือเล่มนี้ถือว่าโชคดีและคุ้มค่าในการที่ได้เป็นคนไทยแล้ว บางทีเราก็รู้สึกว่าเป็นฝรั่งโชคดีนะ ได้อ่านหนังสือที่ลึกซึ้ง หนังสือเยอะแยะหลากหลาย แต่พุทธธรรมนี่แหละที่ทำให้เราสามารถเป็นที่อิจฉาของฝรั่งได้ เพราะฝรั่งอ่านเล่มนี้ไม่ได้ แต่คนไทยอ่านได้ ฉะนั้นถ้าในแง่ชาวพุทธและในแง่ความเป็นคนไทย หนังสือเล่มนี้จะทำให้เราภูมิใจและรู้สึกโชคดีที่ได้เป็นคนไทย ที่อ่านภาษาไทยออก”

    และถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่มีหนังสือพุทธธรรมในครอบครอง แต่ยังไม่เคยเปิดอ่าน พระไพศาลบอกว่าเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง เพราะรสชาติของหนังสือเล่มนี้แตกต่างจากหนังสือทั่ว ๆ ไป

    “อ่านแล้วจะทำให้เกิดความพิศวงและความปีติเมื่อได้พบความจริง”
    นั่นคือพุทธธรรม...

    Save เก็บได้เลย... 1360 หน้า อัพเดทล่าสุด เป็นฉบับปรับขยายครับ อ่านวันละ 10 หน้าแป๊บเดี๋ยวก็จบแล้ว
    https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/buddhadhamma_extended_edition.pdf?fbclid=IwAR1WFAHlZSqoUQa01X13IvZno7o9FgFuHC450ktPmxfQAxLyUtGOl9ndrSY

    ท่านสามารถดาวโหลดเสียงอ่านหนังสือ
    "พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย"
    ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต))

    เสียงอ่านโดย..พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล

    ได้ที่ Link เสียงอ่าน พุทธธรรม
    http://bit.ly/1nZnfef

    Link สำหรับพุทธธรรม ๒๓ บท ตามนี้ครับ

    ๐๑. ขันธ์5
    http://bit.ly/1qih1Xj

    ๐๒. อายตนะ ๖
    http://bit.ly/1Xq7tVe

    ๐๓.ไตรลักษณ์
    http://bit.ly/1VhCuNd

    ๐๔. ปฏิจสุปบาท
    http://bit.ly/1SYJnj1

    ๐๕. กรรม
    http://bit.ly/20u0M6t

    ๐๖. นิพพาน
    http://bit.ly/1Q2AZKF

    ๐๗. ประเภทนิพพาน
    http://bit.ly/1qIMFOI

    ๐๘. สมถะ-วิปัสสนา
    http://bit.ly/1UUvg1A

    ๐๙. หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน
    http://bit.ly/1VLTVUU

    ๑๐. บทสรุปเรื่องนิพพาน
    http://bit.ly/23wfOdI

    ๑๑. บทนำมัชฌิมาปฏิปทา
    http://bit.ly/1S4wT9r

    ๑๒. ปรโตโฆสะที่ดี_กัลยาณมิตร
    http://bit.ly/1S0ftIV

    ๑๓. โยนิโสมนสิการ
    http://bit.ly/1RNTVlX

    ๑๔. ปัญญา
    http://bit.ly/1RNU211

    ๑๕. ศีล
    http://bit.ly/23nRiid

    ๑๖. สมาธิ
    http://bit.ly/1MoRbve

    ๑๗. บทสรุปอริยสัจ
    http://bit.ly/1qihTv3

    ๑๘. โสดาบัน
    http://bit.ly/1MoRfeq

    ๑๙. วินัย
    http://bit.ly/1SYK63G

    ๒๐. ปาฏิหาริย์
    http://bit.ly/1VLUY7z

    ๒๑. ปัญหาแรงจูงใจ
    http://bit.ly/1N3oUKE

    ๒๒. ความสุข ๑ ฉบับแบบแผน
    http://bit.ly/1VLV3rJ

    ๒๓. ความสุข ๒ ฉบับประมวลความ
    http://bit.ly/1SYK9g0

    เครดิต Kanlayanatam
    ผลงานชิ้นเอก ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) เป็นหนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนา ที่ดีที่สุดในยุคแผ่นดินรัชกาลที่ ๙ เป็นหนังสือที่เป็นแรงบันดาลใจ ให้พระไพศาล วิสาโล บวชไม่คิดสึก ‘พุทธธรรม’ ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์. (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)) คือ หนังสือที่พระไพศาลยกย่อง ถึงขั้นที่ว่าถ้ามีหนังสือเพียงเล่มเดียวที่สามารถติดตัวไปได้ในชีวิต ‘พุทธธรรม’ คือ เล่มที่ท่านเลือก... “หนังสือเล่มนี้อาตมาอ่านจบช่วงเข้าพรรษาสมัยที่เป็นฆราวาส เมื่อ พ.ศ. 2525 ตั้งใจว่าอ่านให้ได้วันละ 10 หน้า ก็อ่านได้ทุกวัน พรรษาหนึ่งประมาณ 90 กว่าวัน หนังสือมีความหนาประมาณพันกว่าหน้า อ่านตั้งแต่วันแรกจนถึงวันสุดท้ายก็พอดี เป็นการฝึกความเพียรและวินัยด้วย บางทีเราเดินทางไปต่างจังหวัดก่อนหน้านั้นวันหนึ่งจะต้องอ่านเพิ่มอีก 10 หน้าเพื่อชดเชยกับวันที่ต้องเดินทาง” นอกจากความเพียรในการอ่านแล้ว ช่วงนั้นพระไพศาลซึ่งเป็นเพียงเด็กหนุ่มที่เพิ่งจบมหาวิทยาลัยยังได้รับความเมตตาจากพระราชวรมุนี (สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์) อนุญาตให้เข้าพบเป็นประจำทุกเดือน เพื่อสนทนาธรรมสอบถามข้อสงสัยจากหนังสืออีกด้วย “อ่านหนังสือแล้วไปถามท่านเราก็ได้ความกระจ่างเยอะ ถือเป็นความโชคดีในฐานะนักอ่าน ยิ่งได้คุยกับท่านยิ่งรู้ว่า ท่านเป็นผู้มีสติปัญญาล้ำเลิศ ถ้าจัดเรตให้ต้องถือว่าเฟิร์สตเรต อัศจรรย์มาก” พุทธธรรมเป็นวรรณกรรมพุทธศาสนา ที่ได้รับการยอมรับว่าแสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างซื่อตรงต่อพระ ไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง นำเสนอหลักการและสาระสำคัญของพระพุทธศาสนาอย่างครบถ้วน และเป็นระบบอย่างชัดเจน พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2514 ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 ผู้เขียนได้ปรับปรุงและขยายความเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นหนังสือเล่มใหญ่หนาเป็นพันหน้า “อ่านไปก็อดทึ่งคนเขียนไม่ได้ว่าทั้งฉลาดทั้งมีความเพียรสูง ค้นข้อมูลมามากทีเดียวกว่าจะเขียนได้อย่างนี้ คือไม่ใช่แค่สรุปความย่อความเหมือนหนังสือบางเล่ม แต่เป็นการเขียนขึ้นมาใหม่ โดยมีพระไตรปิฎก เป็นพื้นฐาน นำเสนอด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ด้วยวิธีคิดของคนสมัยใหม่ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่เราจะไม่เจอแบบนี้ในงานเขียนพระพุทธศาสนา บางทีเคยไปเจอหนังสือเกี่ยวกับสาระพระไตรปิฎก เขียนโดยฆราวาสที่เคยบวชพระมาจะเห็นว่าลีลาสไตล์การเขียนแตกต่างกัน บางทีก็แค่ย่อความมาให้เราดู การย่อความก็ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ท่านเจ้าประคุณทำได้มากกว่านั้น จึงนำมาเสนอใหม่ ด้วยชนิดที่เรียกว่าสามารถจะสื่อสารกับเราด้วยภาษาของเราได้ และพยายามโยงให้เข้าถึงปัญหาสังคมสมัยใหม่โดยใช้มุมมองแบบพุทธ ซึ่งสมควรแล้วที่คนจะพูดว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดในยุครัชกาลที่ 9 และถือว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดเล่มหนึ่งของรัตนโกสินทร์” อาตมายกให้หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือดีของชีวิต ประการที่หนึ่งเพราะนำเสนอพุทธธรรมอย่างเป็นระบบและรอบด้านที่สุดภายในเล่มเดียว คือมีหลายท่านพูดถึงพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้งแต่พูดเป็นบางแง่ อย่างท่านพุทธทาสก็พูดเป็นบางแง่ เช่น ปฏิจจสมุปบาท อิทัปปัจจยตา แต่เล่มนี้พูดครบทุกแง่อย่างเป็นระบบ ทุกแง่ทุกมุมอยู่ในหนังสือเล่มนี้แล้ว ขอให้ค้นให้เป็น อาตมาเคยพูดนะว่าหนังสือเล่มนี้มี 3 มิติ ทั้งลึก กว้าง ไกล ลึกคือทำให้เราเข้าใจความจริงที่ลึกซึ้งของตัวเอง และทำให้เราเห็นกว้าง เห็นโลกและสังคมได้อย่างกว้าง เล่มนี้จะพูดถึงสังคมสมัยใหม่ไว้พอสมควร ทำให้เราได้เห็นมิติด้านไกล นั่นคือได้เห็นว่าการสอนพุทธศาสนานี้ผ่านการตีความมายังไงบ้าง ประการต่อมาคือใช้ภาษาที่งดงามสละสลวย ภาษาท่านงดงามมาก และสามารถสื่อได้ตรงใจผู้เขียน แม้ว่าเนื้อหาจะลึกซึ้ง คือทุกวันนี้แม้ตัวเองจะอ่านงานท่านเจ้าประคุณมาเยอะ เวลาจะสื่ออะไรบางอย่าง เรารู้สึกว่าเราจนต่อถ้อยคำ ไม่สามารถจะเขียนให้สุดความคิดได้ แต่หนังสือเล่มนี้ท่านเจ้าประคุณสามารถบรรยายให้สุดความคิดได้ อาตมาคิดว่าเป็นแบบอย่างของงานเขียนในทางศาสนาและงานวิชาการได้ คือมีทั้งอรรถและรส อรรถคือเนื้อหา รสคือรสของภาษา” ซึ่งพระไพศาลยอมรับว่าได้รับอิทธิพลจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) และท่านพุทธทาส ในการใช้ชีวิตและเขียนหนังสือพอสมควร โดยเฉพาะจากหนังสือพุทธธรรมนั้นมีอิทธิพลต่องานเขียน และการค้นคว้าทางพุทธศาสนาอย่างมาก “ถ้ามีเล่มเดียวที่สามารถติดไปได้ในชีวิตก็เล่มนี้แหละ ถึงแม้จะหนักหน่อยก็ตาม อาตมายังรู้สึกเลยนะว่าหนังสือเล่มนี้ทำให้เราภูมิใจที่เป็นคนไทย การที่คุณเป็นคนไทยแล้วได้อ่านหนังสือเล่มนี้ถือว่าโชคดีและคุ้มค่าในการที่ได้เป็นคนไทยแล้ว บางทีเราก็รู้สึกว่าเป็นฝรั่งโชคดีนะ ได้อ่านหนังสือที่ลึกซึ้ง หนังสือเยอะแยะหลากหลาย แต่พุทธธรรมนี่แหละที่ทำให้เราสามารถเป็นที่อิจฉาของฝรั่งได้ เพราะฝรั่งอ่านเล่มนี้ไม่ได้ แต่คนไทยอ่านได้ ฉะนั้นถ้าในแง่ชาวพุทธและในแง่ความเป็นคนไทย หนังสือเล่มนี้จะทำให้เราภูมิใจและรู้สึกโชคดีที่ได้เป็นคนไทย ที่อ่านภาษาไทยออก” และถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่มีหนังสือพุทธธรรมในครอบครอง แต่ยังไม่เคยเปิดอ่าน พระไพศาลบอกว่าเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง เพราะรสชาติของหนังสือเล่มนี้แตกต่างจากหนังสือทั่ว ๆ ไป “อ่านแล้วจะทำให้เกิดความพิศวงและความปีติเมื่อได้พบความจริง” นั่นคือพุทธธรรม... Save เก็บได้เลย... 1360 หน้า อัพเดทล่าสุด เป็นฉบับปรับขยายครับ อ่านวันละ 10 หน้าแป๊บเดี๋ยวก็จบแล้ว https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/buddhadhamma_extended_edition.pdf?fbclid=IwAR1WFAHlZSqoUQa01X13IvZno7o9FgFuHC450ktPmxfQAxLyUtGOl9ndrSY ท่านสามารถดาวโหลดเสียงอ่านหนังสือ "พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย" ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)) เสียงอ่านโดย..พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล ได้ที่ Link เสียงอ่าน พุทธธรรม http://bit.ly/1nZnfef Link สำหรับพุทธธรรม ๒๓ บท ตามนี้ครับ ๐๑. ขันธ์5 http://bit.ly/1qih1Xj ๐๒. อายตนะ ๖ http://bit.ly/1Xq7tVe ๐๓.ไตรลักษณ์ http://bit.ly/1VhCuNd ๐๔. ปฏิจสุปบาท http://bit.ly/1SYJnj1 ๐๕. กรรม http://bit.ly/20u0M6t ๐๖. นิพพาน http://bit.ly/1Q2AZKF ๐๗. ประเภทนิพพาน http://bit.ly/1qIMFOI ๐๘. สมถะ-วิปัสสนา http://bit.ly/1UUvg1A ๐๙. หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน http://bit.ly/1VLTVUU ๑๐. บทสรุปเรื่องนิพพาน http://bit.ly/23wfOdI ๑๑. บทนำมัชฌิมาปฏิปทา http://bit.ly/1S4wT9r ๑๒. ปรโตโฆสะที่ดี_กัลยาณมิตร http://bit.ly/1S0ftIV ๑๓. โยนิโสมนสิการ http://bit.ly/1RNTVlX ๑๔. ปัญญา http://bit.ly/1RNU211 ๑๕. ศีล http://bit.ly/23nRiid ๑๖. สมาธิ http://bit.ly/1MoRbve ๑๗. บทสรุปอริยสัจ http://bit.ly/1qihTv3 ๑๘. โสดาบัน http://bit.ly/1MoRfeq ๑๙. วินัย http://bit.ly/1SYK63G ๒๐. ปาฏิหาริย์ http://bit.ly/1VLUY7z ๒๑. ปัญหาแรงจูงใจ http://bit.ly/1N3oUKE ๒๒. ความสุข ๑ ฉบับแบบแผน http://bit.ly/1VLV3rJ ๒๓. ความสุข ๒ ฉบับประมวลความ http://bit.ly/1SYK9g0 เครดิต Kanlayanatam
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 990 Views 0 Reviews
  • เรื่อง โคตรภูญาณ คืออย่างไร

    หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ..ตอบปัญหาธรรม

    ผู้ถาม : หลวงพ่อเจ้าขา.. ปฏิบัติอย่างไร จึงจะเข้าถึง โคตรภูญาณ เจ้าคะ..

    หลวงพ่อฯ : โคตรภูญาณ เขาแปลว่า ระหว่าง..

    🔹️ ระหว่าง โลกิยะ กับ โลกุตระ ตอนหนึ่ง..

    🔹️ ระหว่าง พระโสดาบัน กับ พระสกิทาคา ตอนหนึ่ง..

    🔹️ ระหว่าง พระสกิทา กับ พระอนาคา ตอนหนึ่ง..

    🔹️ ระหว่าง พระอนาคา กับ พระอรหันต์ ตอนหนึ่ง..

    💠 มีหลายโคตร มี ๔ โคตร ๕ โคตร..

    ผู้ถาม : ตกลงคำว่า 'โคตร' นี่ หมายถึง ระหว่าง หรือคะ..

    หลวงพ่อฯ : ระหว่าง..

    🛤 เขาสมมุติว่า.. จิตของเรา จะเข้าถึง พระโสดาบัน ใช่ไหม.. มันยังไม่ถึง.. แต่แหย่เข้าไปแล้ว ท่านเปรียบเทียบ บอกว่า.. คล้าย ๆ ลำรางเล็ก ๆ เท้าข้างซ้าย เหยียบฝั่งนี้ เท้าข้างขวา เหยียบฝั่งโน้น ทั้งสองเท้ายังยันดินอยู่ ยังไม่ยกเท้านี้ไป ระหว่างนั้น เรียก 'โคตรภูญาณ' อยู่ในระหว่าง โลกิยะ กับ โลกุตระ..

    แต่ว่า เวลานั้น สำหรับตอนต้น นะ เอาตอนต้น ที่จะเป็น พระโสดาบัน.. จะมีอารมณ์ อารมณ์หนึ่ง ขึ้นในใจ นั่นคือ ต้องการพระนิพพาน อย่างเดียว..

    จิตจะรักพระนิพพานอย่างยิ่ง ใครจะชวนเป็น เทวดา เป็น นางฟ้า ไม่ต้องการหมด ต้องการ นิพพาน อย่างเดียว..

    🌹 พอเข้าถึง พระโสดาบัน ปั๊บ อารมณ์ อารมณ์หนึ่ง จะเกิดขึ้น นั่นคือ ธรรมดา..."

    ( จากหนังสือ หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม เล่มที่ ๑๐ หน้าที่ ๑๒๔-๑๒๕ ของวัดท่าซุง )
    เรื่อง โคตรภูญาณ คืออย่างไร หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ..ตอบปัญหาธรรม ผู้ถาม : หลวงพ่อเจ้าขา.. ปฏิบัติอย่างไร จึงจะเข้าถึง โคตรภูญาณ เจ้าคะ.. หลวงพ่อฯ : โคตรภูญาณ เขาแปลว่า ระหว่าง.. 🔹️ ระหว่าง โลกิยะ กับ โลกุตระ ตอนหนึ่ง.. 🔹️ ระหว่าง พระโสดาบัน กับ พระสกิทาคา ตอนหนึ่ง.. 🔹️ ระหว่าง พระสกิทา กับ พระอนาคา ตอนหนึ่ง.. 🔹️ ระหว่าง พระอนาคา กับ พระอรหันต์ ตอนหนึ่ง.. 💠 มีหลายโคตร มี ๔ โคตร ๕ โคตร.. ผู้ถาม : ตกลงคำว่า 'โคตร' นี่ หมายถึง ระหว่าง หรือคะ.. หลวงพ่อฯ : ระหว่าง.. 🛤 เขาสมมุติว่า.. จิตของเรา จะเข้าถึง พระโสดาบัน ใช่ไหม.. มันยังไม่ถึง.. แต่แหย่เข้าไปแล้ว ท่านเปรียบเทียบ บอกว่า.. คล้าย ๆ ลำรางเล็ก ๆ เท้าข้างซ้าย เหยียบฝั่งนี้ เท้าข้างขวา เหยียบฝั่งโน้น ทั้งสองเท้ายังยันดินอยู่ ยังไม่ยกเท้านี้ไป ระหว่างนั้น เรียก 'โคตรภูญาณ' อยู่ในระหว่าง โลกิยะ กับ โลกุตระ.. แต่ว่า เวลานั้น สำหรับตอนต้น นะ เอาตอนต้น ที่จะเป็น พระโสดาบัน.. จะมีอารมณ์ อารมณ์หนึ่ง ขึ้นในใจ นั่นคือ ต้องการพระนิพพาน อย่างเดียว.. จิตจะรักพระนิพพานอย่างยิ่ง ใครจะชวนเป็น เทวดา เป็น นางฟ้า ไม่ต้องการหมด ต้องการ นิพพาน อย่างเดียว.. 🌹 พอเข้าถึง พระโสดาบัน ปั๊บ อารมณ์ อารมณ์หนึ่ง จะเกิดขึ้น นั่นคือ ธรรมดา..." ( จากหนังสือ หลวงพ่อตอบปัญหาธรรม เล่มที่ ๑๐ หน้าที่ ๑๒๔-๑๒๕ ของวัดท่าซุง )
    0 Comments 0 Shares 412 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/Dk19_AEcyow?si=IzRp_q8dMy0aXjA3
    รักษาศีลอย่างไรให้ได้ไปสวรรค์
    หรือเป็นพระโสดาบัน
    https://youtu.be/Dk19_AEcyow?si=IzRp_q8dMy0aXjA3 รักษาศีลอย่างไรให้ได้ไปสวรรค์ หรือเป็นพระโสดาบัน
    Love
    1
    0 Comments 1 Shares 95 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/uohdDdAe0NU?si=lzf3DeDWoDi0RgcK
    การเข้าถึงพระโสดาบัน
    https://youtu.be/uohdDdAe0NU?si=lzf3DeDWoDi0RgcK การเข้าถึงพระโสดาบัน
    Like
    Love
    2
    0 Comments 1 Shares 98 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/nFvymrMncN8?si=KbJjFAcV39ptyxrv
    รักสาวอายุ 3 โสดาบัน
    https://youtu.be/nFvymrMncN8?si=KbJjFAcV39ptyxrv รักสาวอายุ 3 โสดาบัน
    Like
    1
    0 Comments 1 Shares 144 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/xT3u2EFwaOw?si=0M3PHyp0Ik8Mjg
    อารมณ์ของพระโสดาบัน
    https://youtu.be/xT3u2EFwaOw?si=0M3PHyp0Ik8Mjg อารมณ์ของพระโสดาบัน
    Like
    Love
    2
    0 Comments 1 Shares 133 Views 0 Reviews
  • โสดาบัน ปิดประตูอบายภูมิ
    พระสังโยชน์ 3 ให้ได้
    คือมีความรู้และเข้าใจว่าชีวิตนี้ก็ต้องตาย ชีวิตมีไม่เที่ยงแต่ความตายเป็นของเที่ยง มีความเคารพในพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์อย่างใจจริง ปฏิบัติ
    ตนตามศีล 5 อย่างเคร่งครัด ถ้าถือกุศลกรรมบถ 10 นั้นก็ดีเข้าขึ้นไปอีกทำให้จะละเอียดขึ้นเพื่อธรรมมาสูงกว่าในอนาคต แค่นี้ก็ปิดประตูอบายภูมิ
    โสดาบัน ปิดประตูอบายภูมิ พระสังโยชน์ 3 ให้ได้ คือมีความรู้และเข้าใจว่าชีวิตนี้ก็ต้องตาย ชีวิตมีไม่เที่ยงแต่ความตายเป็นของเที่ยง มีความเคารพในพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์อย่างใจจริง ปฏิบัติ ตนตามศีล 5 อย่างเคร่งครัด ถ้าถือกุศลกรรมบถ 10 นั้นก็ดีเข้าขึ้นไปอีกทำให้จะละเอียดขึ้นเพื่อธรรมมาสูงกว่าในอนาคต แค่นี้ก็ปิดประตูอบายภูมิ
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 61 Views 0 Reviews
  • ละสังโยชน์ ให้หมดไปสู่พิพาน
    สังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์
    หรือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ มี 10 อย่าง คือ

    สังโยชน์ 10 (แบบย่อ)

    สังโยชน์เบื้องต่ำ
    1. สักกายทิฏฐิ - คิดว่ากายนี้เป็นของเรา
    2. วิจิกิจฉา - สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    3. สีลัพพตปรามาส - งมงายในคำสอนของลัทธิอื่น
    4. กามราคะ- ติดใจในกามคุณทั้ง5
    5. ปฏิฆะ(พยาบาท) - มีความกระทบทางใจ โกรธ ผูกโกรธ

    สังโยชน์เบื้องสูง
    6. รูปราคะ - ติดในใน รูปฌาน
    7. อรูปราคะ - ติดในใน อรูปฌาน
    8. มานะ - ถือตัว ยึดมั่นในตัวตน
    9. อุทธัจจะ -ฟุ้งซ่าน
    10. อวิชชา - ความไม่รู้จริง

    .............................................................................................................................................
    ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ได้แก่

    1. สักกายทิฏฐิ -มีความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นของเรา
    2. วิจิกิจฉา - มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    3. สีลัพพตปรามาส - ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้ เพียงด้วยศีลละวัตร หรือนำศีลและพรต ไปใช้เพื่อ เหตุผลอื่น ไม่ใช่เพื่อเป็นปัจจัยแก่การสิ้นกิเลส เช่นการถือศีล เพื่อเอาไว้ข่มไว้ด่า คนอื่น การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็นต้น ซึ่งรวมถึงความเชื่อถือ ในพิธีกรรม ที่งมงายด้วย
    4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณทั้ง ๕
    5. ปฏิฆะ (พยาบาท) - จิตพยาบาท อาฆาตแค้น หงุดหงิด โกรธ
    ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 ได้แก่

    6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุ หรือรูปฌาน
    7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทั้งหลาย
    8. มานะ - ถือตัว/ถ่อมตัว ยกตนเหนือกว่า/ด้อยกว่า
    9. อุทธัจจะ - มีความฟุ้งซ่าน
    10. อวิชชา - ปัญญามืดบอด มีความไม่รู้จริง

    พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อ

    พระสกทาคามี ละสังโยชน์ 3 ข้อ และ 4-5 บางส่วน (กามราคะ-ปฏิฆะ เบาบาง)

    พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อแรกได้หมด

    พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง 10 ข้อ
    ละสังโยชน์ ให้หมดไปสู่พิพาน สังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ หรือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ มี 10 อย่าง คือ สังโยชน์ 10 (แบบย่อ) สังโยชน์เบื้องต่ำ 1. สักกายทิฏฐิ - คิดว่ากายนี้เป็นของเรา 2. วิจิกิจฉา - สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 3. สีลัพพตปรามาส - งมงายในคำสอนของลัทธิอื่น 4. กามราคะ- ติดใจในกามคุณทั้ง5 5. ปฏิฆะ(พยาบาท) - มีความกระทบทางใจ โกรธ ผูกโกรธ สังโยชน์เบื้องสูง 6. รูปราคะ - ติดในใน รูปฌาน 7. อรูปราคะ - ติดในใน อรูปฌาน 8. มานะ - ถือตัว ยึดมั่นในตัวตน 9. อุทธัจจะ -ฟุ้งซ่าน 10. อวิชชา - ความไม่รู้จริง ............................................................................................................................................. ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ได้แก่ 1. สักกายทิฏฐิ -มีความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นของเรา 2. วิจิกิจฉา - มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 3. สีลัพพตปรามาส - ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้ เพียงด้วยศีลละวัตร หรือนำศีลและพรต ไปใช้เพื่อ เหตุผลอื่น ไม่ใช่เพื่อเป็นปัจจัยแก่การสิ้นกิเลส เช่นการถือศีล เพื่อเอาไว้ข่มไว้ด่า คนอื่น การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็นต้น ซึ่งรวมถึงความเชื่อถือ ในพิธีกรรม ที่งมงายด้วย 4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณทั้ง ๕ 5. ปฏิฆะ (พยาบาท) - จิตพยาบาท อาฆาตแค้น หงุดหงิด โกรธ ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 ได้แก่ 6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุ หรือรูปฌาน 7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทั้งหลาย 8. มานะ - ถือตัว/ถ่อมตัว ยกตนเหนือกว่า/ด้อยกว่า 9. อุทธัจจะ - มีความฟุ้งซ่าน 10. อวิชชา - ปัญญามืดบอด มีความไม่รู้จริง พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อ พระสกทาคามี ละสังโยชน์ 3 ข้อ และ 4-5 บางส่วน (กามราคะ-ปฏิฆะ เบาบาง) พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อแรกได้หมด พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง 10 ข้อ
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 165 Views 0 Reviews
  • เรื่อง การทำสมาธิ ถ้าไม่มุ่งพระโสดาบัน จะขาดทุน

    โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ

    ..." สมาธินี่เป็นของดี เพื่อทำจิตให้ทรงตัว จะต้องรู้ว่า การทรงตัว เราทรงตัวเพื่อเอากำลังของสมาธิไปทำอะไร ให้มันเป็นประโยชน์ ประโยชน์ที่มีความสำคัญที่สุด คือ ตัดอบายภูมิ..

    ~ คือว่า การเกิดชาตินี้ ถ้าตายไปเมื่อไร ขึ้นชื่อว่า อบายภูมิ เราจะไม่ไปอีก ถ้ามันจะมีการเกิดอีกกี่ชาติก็ตามที เราจะไม่ยอมลงอบายภูมิ เรื่อง อบายภูมิ ไม่มีสิทธิ์จะดึงเราลงไป นั่นก็คือ ต้องทรงอารมณ์จิตให้เป็น พระโสดาบัน..

    * ฉะนั้น การเจริญสมาธิ ที่เจริญกันเพื่อความเป็น พระโสดาบัน เป็นอย่างต่ำ จึงจะถูก และ เนื้อแท้จริง ๆ คนที่จะเป็น พระโสดาบัน ไม่ต้องหลับตาก็เป็น นั่งลืมตาก็ได้.. ถ้าหลับตาเสมอ พระโสดาบัน ไปชนบ้านช่อง ของเขาพังหมด..! ต้อง ลืมตาเป็นก็ได้..

    ~ คือว่า พระโสดาบัน.. พระพุทธเจ้า ตรัสว่า.. เป็นผู้มีปัญญาเล็กน้อย มีสมาธิเล็กน้อย แต่ว่า มีศีล บริสุทธิ์..

    ~ ทีนี้ อีกนัยหนึ่ง ท่านกล่าวว่า.. พระโสดาบัน กับ สกิทาคามี เป็นผู้ทรง อธิศีล..

    .. พระอนาคามี เป็นผู้ทรง อธิจิต..

    .. พระอรหันต์ เป็นผู้ทรง อธิปัญญา..

    ~ อธิ เขาแปลว่า ยิ่ง .. ฉะนั้น พระโสดาบัน ความสำคัญจริง ๆ อยู่ที่ ศีล ๕ สำหรับ ฆราวาส..

    ~ และ การเจริญสมาธิ ถ้าทำ ฌานสมาบัติ แล้วก็ไม่มุ่งความเป็น พระโสดาบัน.. อาตมาว่า ขาดทุน เอาเวลานั้น ไปทำมาหากินดีกว่า เราทำไปแล้ว ก็ทำอะไรไม่ได้ ได้แต่นั่งภาวนา ทำจิตนิ่ง ๆ

    ~ เลิกมาแล้ว นิวรณ์ มันก็กวนตามเดิม แล้วเราก็ยังมีสิทธิ์ตกนรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย.. มันจะมีประโยชน์อะไร..."

    ( จากหนังสือ รวมคำสอนธรรมปฏิบัติ ของ หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ เล่มที่ ๑๐ หน้าที่ ๒๖ ของวัดท่าซุง )
    เรื่อง การทำสมาธิ ถ้าไม่มุ่งพระโสดาบัน จะขาดทุน โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ ..." สมาธินี่เป็นของดี เพื่อทำจิตให้ทรงตัว จะต้องรู้ว่า การทรงตัว เราทรงตัวเพื่อเอากำลังของสมาธิไปทำอะไร ให้มันเป็นประโยชน์ ประโยชน์ที่มีความสำคัญที่สุด คือ ตัดอบายภูมิ.. ~ คือว่า การเกิดชาตินี้ ถ้าตายไปเมื่อไร ขึ้นชื่อว่า อบายภูมิ เราจะไม่ไปอีก ถ้ามันจะมีการเกิดอีกกี่ชาติก็ตามที เราจะไม่ยอมลงอบายภูมิ เรื่อง อบายภูมิ ไม่มีสิทธิ์จะดึงเราลงไป นั่นก็คือ ต้องทรงอารมณ์จิตให้เป็น พระโสดาบัน.. * ฉะนั้น การเจริญสมาธิ ที่เจริญกันเพื่อความเป็น พระโสดาบัน เป็นอย่างต่ำ จึงจะถูก และ เนื้อแท้จริง ๆ คนที่จะเป็น พระโสดาบัน ไม่ต้องหลับตาก็เป็น นั่งลืมตาก็ได้.. ถ้าหลับตาเสมอ พระโสดาบัน ไปชนบ้านช่อง ของเขาพังหมด..! ต้อง ลืมตาเป็นก็ได้.. ~ คือว่า พระโสดาบัน.. พระพุทธเจ้า ตรัสว่า.. เป็นผู้มีปัญญาเล็กน้อย มีสมาธิเล็กน้อย แต่ว่า มีศีล บริสุทธิ์.. ~ ทีนี้ อีกนัยหนึ่ง ท่านกล่าวว่า.. พระโสดาบัน กับ สกิทาคามี เป็นผู้ทรง อธิศีล.. .. พระอนาคามี เป็นผู้ทรง อธิจิต.. .. พระอรหันต์ เป็นผู้ทรง อธิปัญญา.. ~ อธิ เขาแปลว่า ยิ่ง .. ฉะนั้น พระโสดาบัน ความสำคัญจริง ๆ อยู่ที่ ศีล ๕ สำหรับ ฆราวาส.. ~ และ การเจริญสมาธิ ถ้าทำ ฌานสมาบัติ แล้วก็ไม่มุ่งความเป็น พระโสดาบัน.. อาตมาว่า ขาดทุน เอาเวลานั้น ไปทำมาหากินดีกว่า เราทำไปแล้ว ก็ทำอะไรไม่ได้ ได้แต่นั่งภาวนา ทำจิตนิ่ง ๆ ~ เลิกมาแล้ว นิวรณ์ มันก็กวนตามเดิม แล้วเราก็ยังมีสิทธิ์ตกนรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย.. มันจะมีประโยชน์อะไร..." ( จากหนังสือ รวมคำสอนธรรมปฏิบัติ ของ หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ เล่มที่ ๑๐ หน้าที่ ๒๖ ของวัดท่าซุง )
    Love
    3
    0 Comments 1 Shares 623 Views 0 Reviews
  • เรื่อง อย่างไร จึงจะเป็น พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์

    โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ

    🌷 สังโยชน์ ๑๐ 🌷

    ๑. อารมณ์ที่จะพึงสนใจมากที่สุดหรือโดยตรง นั่นก็คือ สังโยชน์ ๑๐ ตัวตัดอยู่ตรงนี้
    เราจะทำอะไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถจะตัดสังโยชน์ได้
    แม้แต่หนึ่ง ก็ไม่มีผลในการปฏิบัติ..

    ~ เหนื่อยมาเกือบตาย กิเลสก็ยังท่วมตัวอยู่ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ ไม่มีเวลากำจัดก็แย่.. บางท่านก็มีความฉลาด เริ่มปฏิบัติไม่กี่วัน ก็สามารถกำจัดกิเลส เข้าถึงเขตแห่งความเป็นพระอริยเจ้าได้ อันนี้เป็นกำไรมาก..

    ๒. นักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ที่ท่านปฏิบัติกันมา และได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอาสังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ.. เทียบเคียงจิต กับสังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด..

    ~ แล้วจะรู้ผลของการปฏิบัติ ให้ปฏิบัติตามอารมณ์ที่ละนั่นเอง ไม่ใช่คิดเอาเองว่า.. เราเป็น พระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ตามแบบคิดแบบเข้าใจเอาเอง..

    ⚜️ พระโสดาบัน ⚜️

    ๑. ความเป็นพระโสดาบัน ต้องทรงคุณธรรม ๓ ประการ
    จำไว้ให้ดี เป็นของไม่ยาก คือ..

    ~ ประการที่ ๑ มีความเคารพใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริง.. พระสงฆ์ นี่ เลือกเอาพระอริยสงฆ์นะ เพราะถ้าไม่ใช่พระอริยะ แกก็ไม่ค่อยแน่นัก ดีไม่ดี แกก็เลวกว่าชาวบ้านเขาก็มี..

    ~ ประการที่ ๒ งดการละเมิดศีล โดยเด็ดขาด.. เรียกว่ารักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ศีล ๕ ประการนี้ รักษาโดยเด็ดขาด..

    ~ ประการที่ ๓ จิตใจของพระโสดาบัน มุ่งอย่างเดียว คือ นิพพาน.. ขึ้นชื่อว่าทำความดีตั้งแต่ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรม ลงไปถึงเทกระโถน ล้างส้วม ตั้งใจอย่างเดียว เราทำเพราะเมตตาปราณีแก่บุคคลทั้งหลาย..

    ~ ความดีนี้ ไม่ต้องการผลตอบแทนจากบุคคลผู้ใด
    เราต้องการอย่างเดียว ทำเพื่อผลของพระนิพพาน.. เพียงเท่านี้เขาเรียกว่า พระโสดาบัน..

    ~ สอง.. คนที่เขาเป็นพระโสดาบัน เขาทรงอารมณ์แบบนี้ คือ..

    ~ ปรารภความตายเป็นปรกติ
    ไม่ประมาทในชีวิต คิดว่าการเกิดมานี่ มันต้องตาย เมื่อคิดว่าจะต้องตาย เขาก็ไม่ประมาท ไม่ยอมไปอบายภูมิ..

    ~ นั่นคือ เคารพในพระพุทธเจ้าจริง เคารพในพระธรรมจริง เคารพในพระอริยสงฆ์จริง เป็นปกติ และก็มีศีล ๕ บริสุทธิ์ มีจิตต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์..

    ~ การทำความดีทุกอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในปัจจุบัน..
    คิดว่า ผลความดีที่เราต้องการมีอย่างเดียว คือ พระนิพพาน..
    เท่านี้เอง ความเป็นพระโสดาบัน..

    💛 พระสกิทาคามี 💛

    ๑. พระสกิทาคามี อารมณ์ทุกอย่างเหมือนพระโสดาบันทั้งหมด ตัดสังโยชน์ ๓ เหมือนกัน แต่ว่า มีการบรรเทาความรักในระหว่างเพศ บรรเทาความร่ำรวย บรรเทาความโกรธ..

    ~ สิ่งที่เราจะสังเกตได้ง่าย สำหรับพระสกิทาคามี นั่น
    ก็คือ กำลังความโกรธลดลงมาก การถูกด่า ถูกนินทา โกรธเบา บางทีก็โกรธช้าไป..

    🌹 พระอนาคามี 🌹

    ๑. ถ้าจิตของบรรดาท่านพุทธบริษัทอยู่พระอนาคามีมรรคได้ มันเข้ามาเอง ทำไป ๆ จิตมันก็โทรมลงมา คือว่า จิตหมดกำลังใจด้านความชั่ว ทรงความดีมากขึ้น..

    ~ มีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ มีความสลดใจ
    คือ ถ้าจิตไม่มีความรู้สึกระหว่างเพศ อย่างนี้ท่านเรียกว่า.. พระอนาคามี มรรค..

    ~ ถ้าหากว่า จิตเราไม่พอใจในศีล ๕ มีความพอใจในศีล ๘ แล้วก็มีความมั่นคงในศีล ๘ อย่างนี้.. ท่านถือว่า เริ่มเข้าอนาคามี มรรค.. เรียกว่า เดินทางเข้าหาพระอนาคามีต่อไป..

    ~ ถ้าจิตมีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ คือ ถ้าหมดความรู้สึกก็ถือว่า เป็น พระอนาคามี ผล..

    ~ และต่อมา ถ้าจิตลดจากความโกรธ ความไม่พอใจ.. "ปฏิฆะ" คือ อารมณ์กระทบกระทั่งใจนิด ๆ หน่อย ๆ

    ~ ความไม่พอใจการแสดงออก น่าจะมีสำหรับคนในปกครอง ถ้าทำไม่ดี ต้องดุ ต้องด่า ต้องว่า ต้องลงโทษ อันนี้เป็นธรรมดา
    เป็นการหวังดี..

    ~ แต่ว่าเนื้อแท้จริง ๆ จิตคิดประทุษร้ายไม่มี เป็นการหวังดีแก่คนทุกคน คือ ตัดตัว "ปฏิฆะ" ถ้าเป็นอย่างนี้ ก็ถือว่าเต็มภาคภูมิของ พระอนาคามีผล..

    * รวมความว่า.. จากพระสกิทาคามี แล้วจะเป็นพระอนาคามี ก็คือ.. สังเกตว่า ใจเราพอใจในศีล ๘ รักษาศีล ๘ ได้ครบถ้วนจริง ๆ จิตตัดอารมณ์ในกามารมณ์ได้เด็ดขาด ไม่มีความรู้ ตัดความโกรธ ความพยาบาทได้เด็ดขาด อย่างนี้เป็น พระอนาคามี ผล..

    💠 พระอรหันต์ 💠

    ๑. อารมณ์พระอรหันต์ นั่นคือ.. จิตคิดว่าไม่หลงในรูปฌาน และอรูปฌาน จิตไม่มีมานะการถือตัวถือตน จิตไม่มีอารมณ์ฟุ้งซ่านออกนอกรีดนอกรอย จิตไม่ติดในอวิชชา คือ ฉันทะกับราคะ..

    ~ ฉันทะ .. ความพอใจในมนุษย์โลก เทวโลกไม่มี.. ราคะ .. จิตเห็นมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก สวย ไม่มี.. ไม่พอใจใน ๓ โลก จิตพอใจจุดเดียว คือ นิพพาน.. นี่ เป็นอารมณ์พระอรหันต์..

    * โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อารมณ์พระอรหันต์ คือ ยอมรับนับถือ กฎของธรรมดา.. ไล่ลงมาอีกทีนะ จิตยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ว่า.. ธรรมดาคนเกิดมาแล้ว ต้องแก่ ต้องป่วย ต้องมีการพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจ
    คนเกิดมาแล้วต้องตาย
    ความปรารถนาไม่สมหวังย่อมมีแก่ทุกคน..

    ~ ถ้าทุกอย่างมันเกิดขึ้น ใจท่านไม่หวั่นไหว ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาแล้ว ก็จิตคิดว่า..
    ถ้าร่างกายนี้พังเมื่อไร ฉันไปนิพพานเมื่อนั้นใจสบาย..

    ๒. ศีลเราบริสุทธิ์อยู่แล้ว สมาธิทรงตัวอยู่แล้ว วิปัสสนาญาณปลดเปลื้องร่างกายของเรา.. ร่างกายของบุคคลอื่น วัตถุธาตุ.. ขันธ์ ๕ คือ ร่างกาย
    อย่าไปเสียดายมัน มันจะพังเมื่อใดก็เชิญมันพัง เพราะใจเราพร้อมที่จะไปนิพพาน ตัวจิตบริสุทธิ์ อยู่ที่นี่..

    💎 อรหัตผล 💎
    นี่ เป็นของไม่ยาก ก็ตัดกามฉันทะ กับ ราคะ คือ ไม่สนใจกับร่างกายของเราด้วย.. ไม่สนใจกับร่างกายของบุคคลอื่นด้วย ไม่สนใจกับวัตถุธาตุในโลกทั้งหมด คิดว่าสิ่งเหล่านี้ ไม่ช้ามันก็สลายตัว
    ไม่มีอะไรดีสำหรับเรา..

    ~ เราไม่ถือว่า มันเป็นสรณะ
    เป็นที่พึ่งของเรา และเราก็ไม่ถือวาทะของบุคคลอื่น.. ไม่ถืออารมณ์ของบุคคลอื่น ทำใจให้แช่มชื่นอยู่อย่างเดียว ว่า.. ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา.. ทรัพย์สินในโลก ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันเป็นของกิเลส ตัณหา อุปาทาน..

    ~ มันพังเมื่อไร พอใจเมื่อนั้น
    ขึ้นชื่อว่าความเกิดมีขันธ์ ๕
    ร่างกายอย่างนี้ จะไม่มีสำหรับเรา.. ความเป็นเทวดาหรือพรหม จะไม่มีสำหรับเรา
    สิ่งที่เราต้องการ คือ.. นิพพาน..

    * นี่.. แค่นี้เท่านั้นแหละ ไม่เห็นมีอะไรยาก.. ถ้าพูดกันแบบง่าย ๆ แต่ความจริงพูดกันมาเยอะ ทำอารมณ์ให้มันทรงตัวเถอะ มันก็ไม่ลำบาก มันก็สำเร็จมรรค สำเร็จผล..."

    💐 ( จากหนังสือ* ธัมมวิโมกข์* โอวาท หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ ของวัดท่าซุง จ. อุทัยธานี )

    สามารถอ่านที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/community/postid/112/
    เรื่อง อย่างไร จึงจะเป็น พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ 🌷 สังโยชน์ ๑๐ 🌷 ๑. อารมณ์ที่จะพึงสนใจมากที่สุดหรือโดยตรง นั่นก็คือ สังโยชน์ ๑๐ ตัวตัดอยู่ตรงนี้ เราจะทำอะไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถจะตัดสังโยชน์ได้ แม้แต่หนึ่ง ก็ไม่มีผลในการปฏิบัติ.. ~ เหนื่อยมาเกือบตาย กิเลสก็ยังท่วมตัวอยู่ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ ไม่มีเวลากำจัดก็แย่.. บางท่านก็มีความฉลาด เริ่มปฏิบัติไม่กี่วัน ก็สามารถกำจัดกิเลส เข้าถึงเขตแห่งความเป็นพระอริยเจ้าได้ อันนี้เป็นกำไรมาก.. ๒. นักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ที่ท่านปฏิบัติกันมา และได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอาสังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ.. เทียบเคียงจิต กับสังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด.. ~ แล้วจะรู้ผลของการปฏิบัติ ให้ปฏิบัติตามอารมณ์ที่ละนั่นเอง ไม่ใช่คิดเอาเองว่า.. เราเป็น พระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ตามแบบคิดแบบเข้าใจเอาเอง.. ⚜️ พระโสดาบัน ⚜️ ๑. ความเป็นพระโสดาบัน ต้องทรงคุณธรรม ๓ ประการ จำไว้ให้ดี เป็นของไม่ยาก คือ.. ~ ประการที่ ๑ มีความเคารพใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริง.. พระสงฆ์ นี่ เลือกเอาพระอริยสงฆ์นะ เพราะถ้าไม่ใช่พระอริยะ แกก็ไม่ค่อยแน่นัก ดีไม่ดี แกก็เลวกว่าชาวบ้านเขาก็มี.. ~ ประการที่ ๒ งดการละเมิดศีล โดยเด็ดขาด.. เรียกว่ารักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ศีล ๕ ประการนี้ รักษาโดยเด็ดขาด.. ~ ประการที่ ๓ จิตใจของพระโสดาบัน มุ่งอย่างเดียว คือ นิพพาน.. ขึ้นชื่อว่าทำความดีตั้งแต่ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรม ลงไปถึงเทกระโถน ล้างส้วม ตั้งใจอย่างเดียว เราทำเพราะเมตตาปราณีแก่บุคคลทั้งหลาย.. ~ ความดีนี้ ไม่ต้องการผลตอบแทนจากบุคคลผู้ใด เราต้องการอย่างเดียว ทำเพื่อผลของพระนิพพาน.. เพียงเท่านี้เขาเรียกว่า พระโสดาบัน.. ~ สอง.. คนที่เขาเป็นพระโสดาบัน เขาทรงอารมณ์แบบนี้ คือ.. ~ ปรารภความตายเป็นปรกติ ไม่ประมาทในชีวิต คิดว่าการเกิดมานี่ มันต้องตาย เมื่อคิดว่าจะต้องตาย เขาก็ไม่ประมาท ไม่ยอมไปอบายภูมิ.. ~ นั่นคือ เคารพในพระพุทธเจ้าจริง เคารพในพระธรรมจริง เคารพในพระอริยสงฆ์จริง เป็นปกติ และก็มีศีล ๕ บริสุทธิ์ มีจิตต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์.. ~ การทำความดีทุกอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในปัจจุบัน.. คิดว่า ผลความดีที่เราต้องการมีอย่างเดียว คือ พระนิพพาน.. เท่านี้เอง ความเป็นพระโสดาบัน.. 💛 พระสกิทาคามี 💛 ๑. พระสกิทาคามี อารมณ์ทุกอย่างเหมือนพระโสดาบันทั้งหมด ตัดสังโยชน์ ๓ เหมือนกัน แต่ว่า มีการบรรเทาความรักในระหว่างเพศ บรรเทาความร่ำรวย บรรเทาความโกรธ.. ~ สิ่งที่เราจะสังเกตได้ง่าย สำหรับพระสกิทาคามี นั่น ก็คือ กำลังความโกรธลดลงมาก การถูกด่า ถูกนินทา โกรธเบา บางทีก็โกรธช้าไป.. 🌹 พระอนาคามี 🌹 ๑. ถ้าจิตของบรรดาท่านพุทธบริษัทอยู่พระอนาคามีมรรคได้ มันเข้ามาเอง ทำไป ๆ จิตมันก็โทรมลงมา คือว่า จิตหมดกำลังใจด้านความชั่ว ทรงความดีมากขึ้น.. ~ มีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ มีความสลดใจ คือ ถ้าจิตไม่มีความรู้สึกระหว่างเพศ อย่างนี้ท่านเรียกว่า.. พระอนาคามี มรรค.. ~ ถ้าหากว่า จิตเราไม่พอใจในศีล ๕ มีความพอใจในศีล ๘ แล้วก็มีความมั่นคงในศีล ๘ อย่างนี้.. ท่านถือว่า เริ่มเข้าอนาคามี มรรค.. เรียกว่า เดินทางเข้าหาพระอนาคามีต่อไป.. ~ ถ้าจิตมีความเบื่อหน่ายในเรื่องระหว่างเพศ คือ ถ้าหมดความรู้สึกก็ถือว่า เป็น พระอนาคามี ผล.. ~ และต่อมา ถ้าจิตลดจากความโกรธ ความไม่พอใจ.. "ปฏิฆะ" คือ อารมณ์กระทบกระทั่งใจนิด ๆ หน่อย ๆ ~ ความไม่พอใจการแสดงออก น่าจะมีสำหรับคนในปกครอง ถ้าทำไม่ดี ต้องดุ ต้องด่า ต้องว่า ต้องลงโทษ อันนี้เป็นธรรมดา เป็นการหวังดี.. ~ แต่ว่าเนื้อแท้จริง ๆ จิตคิดประทุษร้ายไม่มี เป็นการหวังดีแก่คนทุกคน คือ ตัดตัว "ปฏิฆะ" ถ้าเป็นอย่างนี้ ก็ถือว่าเต็มภาคภูมิของ พระอนาคามีผล.. * รวมความว่า.. จากพระสกิทาคามี แล้วจะเป็นพระอนาคามี ก็คือ.. สังเกตว่า ใจเราพอใจในศีล ๘ รักษาศีล ๘ ได้ครบถ้วนจริง ๆ จิตตัดอารมณ์ในกามารมณ์ได้เด็ดขาด ไม่มีความรู้ ตัดความโกรธ ความพยาบาทได้เด็ดขาด อย่างนี้เป็น พระอนาคามี ผล.. 💠 พระอรหันต์ 💠 ๑. อารมณ์พระอรหันต์ นั่นคือ.. จิตคิดว่าไม่หลงในรูปฌาน และอรูปฌาน จิตไม่มีมานะการถือตัวถือตน จิตไม่มีอารมณ์ฟุ้งซ่านออกนอกรีดนอกรอย จิตไม่ติดในอวิชชา คือ ฉันทะกับราคะ.. ~ ฉันทะ .. ความพอใจในมนุษย์โลก เทวโลกไม่มี.. ราคะ .. จิตเห็นมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก สวย ไม่มี.. ไม่พอใจใน ๓ โลก จิตพอใจจุดเดียว คือ นิพพาน.. นี่ เป็นอารมณ์พระอรหันต์.. * โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อารมณ์พระอรหันต์ คือ ยอมรับนับถือ กฎของธรรมดา.. ไล่ลงมาอีกทีนะ จิตยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ว่า.. ธรรมดาคนเกิดมาแล้ว ต้องแก่ ต้องป่วย ต้องมีการพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจ คนเกิดมาแล้วต้องตาย ความปรารถนาไม่สมหวังย่อมมีแก่ทุกคน.. ~ ถ้าทุกอย่างมันเกิดขึ้น ใจท่านไม่หวั่นไหว ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาแล้ว ก็จิตคิดว่า.. ถ้าร่างกายนี้พังเมื่อไร ฉันไปนิพพานเมื่อนั้นใจสบาย.. ๒. ศีลเราบริสุทธิ์อยู่แล้ว สมาธิทรงตัวอยู่แล้ว วิปัสสนาญาณปลดเปลื้องร่างกายของเรา.. ร่างกายของบุคคลอื่น วัตถุธาตุ.. ขันธ์ ๕ คือ ร่างกาย อย่าไปเสียดายมัน มันจะพังเมื่อใดก็เชิญมันพัง เพราะใจเราพร้อมที่จะไปนิพพาน ตัวจิตบริสุทธิ์ อยู่ที่นี่.. 💎 อรหัตผล 💎 นี่ เป็นของไม่ยาก ก็ตัดกามฉันทะ กับ ราคะ คือ ไม่สนใจกับร่างกายของเราด้วย.. ไม่สนใจกับร่างกายของบุคคลอื่นด้วย ไม่สนใจกับวัตถุธาตุในโลกทั้งหมด คิดว่าสิ่งเหล่านี้ ไม่ช้ามันก็สลายตัว ไม่มีอะไรดีสำหรับเรา.. ~ เราไม่ถือว่า มันเป็นสรณะ เป็นที่พึ่งของเรา และเราก็ไม่ถือวาทะของบุคคลอื่น.. ไม่ถืออารมณ์ของบุคคลอื่น ทำใจให้แช่มชื่นอยู่อย่างเดียว ว่า.. ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา.. ทรัพย์สินในโลก ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันเป็นของกิเลส ตัณหา อุปาทาน.. ~ มันพังเมื่อไร พอใจเมื่อนั้น ขึ้นชื่อว่าความเกิดมีขันธ์ ๕ ร่างกายอย่างนี้ จะไม่มีสำหรับเรา.. ความเป็นเทวดาหรือพรหม จะไม่มีสำหรับเรา สิ่งที่เราต้องการ คือ.. นิพพาน.. * นี่.. แค่นี้เท่านั้นแหละ ไม่เห็นมีอะไรยาก.. ถ้าพูดกันแบบง่าย ๆ แต่ความจริงพูดกันมาเยอะ ทำอารมณ์ให้มันทรงตัวเถอะ มันก็ไม่ลำบาก มันก็สำเร็จมรรค สำเร็จผล..." 💐 ( จากหนังสือ* ธัมมวิโมกข์* โอวาท หลวงพ่อพระราชพรหมยานฯ ของวัดท่าซุง จ. อุทัยธานี ) สามารถอ่านที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/community/postid/112/
    Like
    Love
    2
    0 Comments 0 Shares 1080 Views 0 Reviews
  • จะรู้ได้อย่างไร ว่าเป็นพระโสดาบัน
    บุคคลใดถ้าเจริญกรรมฐาน ได้พระโสดาบันในที่นั่งใด ให้ทำใจให้ถึงอรหันต์ในที่นั่งนั้น หมายความยังไม่ลุกให้ถึงอรหันต์เลย เขาทำกันแบบไหนเขาทำแบบนี้ ในเมื่อจิตเข้าถึงพระโสดาบันคือ​ มีความมั่นคง มีความแน่วแน่ว่า เวลานี้เราเป็นพระโสดาบัน ถ้าญาติโยมจะย้อนถามว่า จะรู้ได้อย่างไร ก็ต้อง

    ขอตอบว่ารู้แน่ การเจริญธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีญาณเป็นเครื่องรู้ ญาณจะบอกคือ

    สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/community/postid/128/
    จะรู้ได้อย่างไร ว่าเป็นพระโสดาบัน บุคคลใดถ้าเจริญกรรมฐาน ได้พระโสดาบันในที่นั่งใด ให้ทำใจให้ถึงอรหันต์ในที่นั่งนั้น หมายความยังไม่ลุกให้ถึงอรหันต์เลย เขาทำกันแบบไหนเขาทำแบบนี้ ในเมื่อจิตเข้าถึงพระโสดาบันคือ​ มีความมั่นคง มีความแน่วแน่ว่า เวลานี้เราเป็นพระโสดาบัน ถ้าญาติโยมจะย้อนถามว่า จะรู้ได้อย่างไร ก็ต้อง ขอตอบว่ารู้แน่ การเจริญธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีญาณเป็นเครื่องรู้ ญาณจะบอกคือ สามารถอ่านเพิ่มเติมที่เว็บบอร์ดพระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/community/postid/128/
    Like
    Love
    4
    0 Comments 0 Shares 415 Views 0 Reviews
  • เรื่อง อย่างไร จึงจะเป็น พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์

    โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ

    🌷 สังโยชน์ ๑๐ 🌷

    ๑. อารมณ์ที่จะพึงสนใจมากที่สุดหรือโดยตรง นั่นก็คือ สังโยชน์ ๑๐ ตัวตัดอยู่ตรงนี้
    เราจะทำอะไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถจะตัดสังโยชน์ได้
    แม้แต่หนึ่ง ก็ไม่มีผลในการปฏิบัติ..

    ~ เหนื่อยมาเกือบตาย กิเลสก็ยังท่วมตัวอยู่ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ ไม่มีเวลากำจัดก็แย่.. บางท่านก็มีความฉลาด เริ่มปฏิบัติไม่กี่วัน ก็สามารถกำจัดกิเลส เข้าถึงเขตแห่งความเป็นพระอริยเจ้าได้ อันนี้เป็นกำไรมาก..

    ๒. นักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ที่ท่านปฏิบัติกันมา และได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอาสังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ.. เทียบเคียงจิต กับสังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด..

    ~ แล้วจะรู้ผลของการปฏิบัติ ให้ปฏิบัติตามอารมณ์ที่ละนั่นเอง ไม่ใช่คิดเอาเองว่า.. เราเป็น พระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ตามแบบคิดแบบเข้าใจเอาเอง..

    ⚜️ พระโสดาบัน ⚜️

    ๑. ความเป็นพระโสดาบัน ต้องทรงคุณธรรม ๓ ประการ
    จำไว้ให้ดี เป็นของไม่ยาก คือ..

    ~ ประการที่ ๑ มีความเคารพใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริง.. พระสงฆ์ นี่ เลือกเอาพระอริยสงฆ์นะ เพราะถ้าไม่ใช่พระอริยะ แกก็ไม่ค่อยแน่นัก ดีไม่ดี แกก็เลวกว่าชาวบ้านเขาก็มี..

    ~ ประการที่ ๒ งดการละเมิดศีล โดยเด็ดขาด.. เรียกว่ารักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ศีล ๕ ประการนี้ รักษาโดยเด็ดขาด..

    ~ ประการที่ ๓ จิตใจของพระโสดาบัน มุ่งอย่างเดียว คือ นิพพาน.. ขึ้นชื่อว่าทำความดีตั้งแต่ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรม ลงไปถึงเทกระโถน ล้างส้วม ตั้งใจอย่างเดียว เราทำเพราะเมตตาปราณีแก่บุคคลทั้งหลาย..

    ~ ความดีนี้ ไม่ต้องการผลตอบแทนจากบุคคลผู้ใด
    เราต้องการอย่างเดียว ทำเพื่อผลของพระนิพพาน.. เพียงเท่านี้เขาเรียกว่า พระโสดาบัน..

    ~ สอง.. คนที่เขาเป็นพระโสดาบัน เขาทรงอารมณ์แบบนี้ คือ..

    ~ ปรารภความตายเป็นปรกติ
    ไม่ประมาทในชีวิต คิดว่าการเกิดมานี่ มันต้องตาย เมื่อคิดว่าจะต้องตาย เขาก็ไม่ประมาท ไม่ยอมไปอบายภูมิ..

    ~ นั่นคือ เคารพในพระพุทธเจ้าจริง เคารพในพระธรรมจริง เคารพในพระอริยสงฆ์จริง เป็นปกติ และก็มีศีล ๕ บริสุทธิ์ มีจิตต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์..

    ~ การทำความดีทุกอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในปัจจุบัน..
    คิดว่า ผลความดีที่เราต้องการมีอย่างเดียว คือ พระนิพพาน..
    เท่านี้เอง ความเป็นพระโสดาบัน..

    สามารถอ่านต่อเพิ่มเติมที่เว็บไซต์พระนิพพาน

    https://www.thenirvanalive.com/community/postid/112/
    เรื่อง อย่างไร จึงจะเป็น พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ โอวาท : หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ~พระราชพรหมยานฯ 🌷 สังโยชน์ ๑๐ 🌷 ๑. อารมณ์ที่จะพึงสนใจมากที่สุดหรือโดยตรง นั่นก็คือ สังโยชน์ ๑๐ ตัวตัดอยู่ตรงนี้ เราจะทำอะไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถจะตัดสังโยชน์ได้ แม้แต่หนึ่ง ก็ไม่มีผลในการปฏิบัติ.. ~ เหนื่อยมาเกือบตาย กิเลสก็ยังท่วมตัวอยู่ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ ไม่มีเวลากำจัดก็แย่.. บางท่านก็มีความฉลาด เริ่มปฏิบัติไม่กี่วัน ก็สามารถกำจัดกิเลส เข้าถึงเขตแห่งความเป็นพระอริยเจ้าได้ อันนี้เป็นกำไรมาก.. ๒. นักปฏิบัติเพื่อมรรคผล ที่ท่านปฏิบัติกันมา และได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอาสังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ.. เทียบเคียงจิต กับสังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด.. ~ แล้วจะรู้ผลของการปฏิบัติ ให้ปฏิบัติตามอารมณ์ที่ละนั่นเอง ไม่ใช่คิดเอาเองว่า.. เราเป็น พระโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี อรหันต์ ตามแบบคิดแบบเข้าใจเอาเอง.. ⚜️ พระโสดาบัน ⚜️ ๑. ความเป็นพระโสดาบัน ต้องทรงคุณธรรม ๓ ประการ จำไว้ให้ดี เป็นของไม่ยาก คือ.. ~ ประการที่ ๑ มีความเคารพใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จริง.. พระสงฆ์ นี่ เลือกเอาพระอริยสงฆ์นะ เพราะถ้าไม่ใช่พระอริยะ แกก็ไม่ค่อยแน่นัก ดีไม่ดี แกก็เลวกว่าชาวบ้านเขาก็มี.. ~ ประการที่ ๒ งดการละเมิดศีล โดยเด็ดขาด.. เรียกว่ารักษาศีลยิ่งกว่าชีวิต ศีล ๕ ประการนี้ รักษาโดยเด็ดขาด.. ~ ประการที่ ๓ จิตใจของพระโสดาบัน มุ่งอย่างเดียว คือ นิพพาน.. ขึ้นชื่อว่าทำความดีตั้งแต่ฟังเทศน์ปฏิบัติธรรม ลงไปถึงเทกระโถน ล้างส้วม ตั้งใจอย่างเดียว เราทำเพราะเมตตาปราณีแก่บุคคลทั้งหลาย.. ~ ความดีนี้ ไม่ต้องการผลตอบแทนจากบุคคลผู้ใด เราต้องการอย่างเดียว ทำเพื่อผลของพระนิพพาน.. เพียงเท่านี้เขาเรียกว่า พระโสดาบัน.. ~ สอง.. คนที่เขาเป็นพระโสดาบัน เขาทรงอารมณ์แบบนี้ คือ.. ~ ปรารภความตายเป็นปรกติ ไม่ประมาทในชีวิต คิดว่าการเกิดมานี่ มันต้องตาย เมื่อคิดว่าจะต้องตาย เขาก็ไม่ประมาท ไม่ยอมไปอบายภูมิ.. ~ นั่นคือ เคารพในพระพุทธเจ้าจริง เคารพในพระธรรมจริง เคารพในพระอริยสงฆ์จริง เป็นปกติ และก็มีศีล ๕ บริสุทธิ์ มีจิตต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์.. ~ การทำความดีทุกอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในปัจจุบัน.. คิดว่า ผลความดีที่เราต้องการมีอย่างเดียว คือ พระนิพพาน.. เท่านี้เอง ความเป็นพระโสดาบัน.. สามารถอ่านต่อเพิ่มเติมที่เว็บไซต์พระนิพพาน https://www.thenirvanalive.com/community/postid/112/
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 583 Views 0 Reviews