• สนธิเล่าเรื่อง 5-5-2568
    .
    สวัสดี วันจันทร์ในบรรยากาศสบาย ๆ เนื่องในวันหยุดชดเชยวันฉัตรมงคล คุณสนธิมีหลายเรื่องมาเล่าให้ฟังหลังจากที่วานนี้ 4 พ.ค. ไปทำบุญวันคล้ายวันเกิดของ อ.จันทน์ทิพย์ ลิ้มทองกุล ภรรยาที่ล่วงลับไปแล้วที่วัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ กับบ้านพระอาทิตย์เช่นทุกปี รวมไปถึงเหตุการณ์บ้านเมืองเรื่องอื่น ๆ ที่คุณสนธิจะนำมาแบ่งปันกับท่านสมาชิก และแฟน ๆ รายการทุกท่าน
    .
    คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=xWv-OtatU_Y
    .
    #สนธิเล่าเรื่อง #SondhiTalk #วัดบวรนิเวศวิหาร #วัดบวร
    สนธิเล่าเรื่อง 5-5-2568 . สวัสดี วันจันทร์ในบรรยากาศสบาย ๆ เนื่องในวันหยุดชดเชยวันฉัตรมงคล คุณสนธิมีหลายเรื่องมาเล่าให้ฟังหลังจากที่วานนี้ 4 พ.ค. ไปทำบุญวันคล้ายวันเกิดของ อ.จันทน์ทิพย์ ลิ้มทองกุล ภรรยาที่ล่วงลับไปแล้วที่วัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ กับบ้านพระอาทิตย์เช่นทุกปี รวมไปถึงเหตุการณ์บ้านเมืองเรื่องอื่น ๆ ที่คุณสนธิจะนำมาแบ่งปันกับท่านสมาชิก และแฟน ๆ รายการทุกท่าน . คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=xWv-OtatU_Y . #สนธิเล่าเรื่อง #SondhiTalk #วัดบวรนิเวศวิหาร #วัดบวร
    Like
    1
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 65 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ ไพรีพินาศ วัดบวรนิเวศวิหาร
    พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ ไพรีพินาศ เนื้อโลหะรมดำ วัดบวรนิเวศวิหาร //พระดีพิธีใหญ่ พิธีพุทธาภิเษก ณ อุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเมตตา โชคลาภ รวมทั้งแคล้วคลาด ขจัดอุปสรรค ยับยั้ง ศัตรู คนคิดร้าย อุปสรรค อันตรายต่างๆ กำราบศัตรูทั้งปวงที่คิดร้าย แคล้วคลาด คงกระพัน เจริญรุ่งเรือง และขจัดคู่อริศัตรู >>

    ** พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ "ไพรีพินาศ" วัดบวรนิเวศวิหาร ปี 2550 พระดีพิธีใหญ่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงอธิษฐานจิตปลุกเสก 1 ชุด รวม 2 องค์ สภาพไม่ผ่านการใช้ พร้อมกล่องเดิมๆ >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ ไพรีพินาศ วัดบวรนิเวศวิหาร พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ ไพรีพินาศ เนื้อโลหะรมดำ วัดบวรนิเวศวิหาร //พระดีพิธีใหญ่ พิธีพุทธาภิเษก ณ อุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเมตตา โชคลาภ รวมทั้งแคล้วคลาด ขจัดอุปสรรค ยับยั้ง ศัตรู คนคิดร้าย อุปสรรค อันตรายต่างๆ กำราบศัตรูทั้งปวงที่คิดร้าย แคล้วคลาด คงกระพัน เจริญรุ่งเรือง และขจัดคู่อริศัตรู >> ** พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ "ไพรีพินาศ" วัดบวรนิเวศวิหาร ปี 2550 พระดีพิธีใหญ่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงอธิษฐานจิตปลุกเสก 1 ชุด รวม 2 องค์ สภาพไม่ผ่านการใช้ พร้อมกล่องเดิมๆ >> ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☯️☆#เปิดสอบถาม☆☯️💥💥
    ㊙️☆พระสมเด็จ☆บ้านช่างศิลป์☆
    🉑️☆ขอนำเสนอพระเครื่อง Premium✨️
    ㊗️☆#พระปิดตามหาลาภ✨️หลวงพ่อคูณรุ่น คูณ ลาภ ปี17💥 #พระอายุกว่า 51ปี✨️🇹🇭
    💥พระดีพุทธคุณสูงโดดเด่นมากในเรื่อง
    ✨️โภคทรัพย์
    ✨️ค้าขายธุรกิจเจริญรุ่งเรืองร่ำรวยมั่งมีเงินทอง
    ✨️โชคลาภ
    💥️สุดยอดมวลสารเก่าของวัดระฆัง วัดบวรฯ หลวงปู่โต๊ะฯลฯและยังมีมวลสารวิเศษอีกมาก✨
    💥หลวงพ่อคูณท่านตั้งใจสร้างพระชุดนี้เป็นอย่างมาก ท่านตำผงมวลสารด้วยตัวเอง และระหว่างบดตำมวลสาร ท่านได้ตั้งจิตบริกรรมคาถาตลอดเวลา
    💥พระปิดตาเนื้อผงพุทธคุณ รุ่น คูณ ลาภ ปี17✨️เป็นสุดยอดมวลสารของท่านที่สร้างเอง ผสมกับสุดยอดมวลสารอื่นๆที่ใช้ในการสร้างได้แก่💥
    ✨️ผงพระสมเด็จวัดระฆัง
    ✨️ผงเสากุฎิของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) วัดระฆัง
    ✨️ผงสมเด็จพระสังฆราช(ป๋า) วัดโพธิ์
    ✨️ผงสมเด็จพระญาณสังวร
    ✨️ผงสมเด็จจิตรลดา วัดบวรนิเวศ
    ✨️ผงไตรมาสหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ
    ✨️ผงหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    ✨️ผงหลวงพ่อวัดปากน้ำ
    ✨️ผงหลวงพ่อโสธร
    ✨️ผงพระสมเด็จปิลันทน์
    ✨️ผงพระสมเด็จบึงพระยาสุเรนทร์
    ✨️ผงพระวัดสามปลื้ม
    ✨️ผงพระบาง
    ✨️ผงสมเด็จพระสังฆราช (แพ), ✨️ผงพระกำแพงสรรค์
    ✨️ผงนางพญางิ้วดำ
    ✨️ผงใบเงินใบทองทำน้ำพุทธมนต์ในพิธีพุทธาภิเษกของหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ, ลูกอมหลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก, ลูกอมหลวงปู่ทิม อิสริโก วัดละหารไร่
    ✨️เกศาหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ และว่าน 108
    💥เห็นมวลสารทั้งหมดแล้วขนลุกเลยครับ☆✨️หลวงพ่อคูณปลุกเสกเดี่ยวที่วัดสระแก้ว จ.นครราชสีมา ในช่วงกลางคืนของวันที่ 29 มิ.ย.2517 โดยดับไฟเสกตั้งแต่ 5 ทุ่ม จนกระทั่ง ตี 2 เศษ✨️มีผู้เห็นแสงสว่างจ้าติดต่อกันถึง 5 ครั้งจากในกุฎิที่ทำพิธี💥🙏🙏🙏
    ✨️เป็นสุดยอด️️พระปิดตาที่ใช้แทนหลวงพ่อแก้ว หลวงปู่เอี่ยมที่มีราคาหลักหลายสิบล้านร้อยล้านได้เช่นกัน✨️รุ่นนี้สร้างน้อย ตอนนี้เริ่มหายากต้องรีบเก็บมาบูชานะครับ🙏💥
    ☯️ #พระดีมีพุทธศิลป์ #พระแท้มีพุทธคุณ💥🈯️

    ㊙️☆เปิด1,490🪙🪙
    #มีบริการเก็บ💰ปลายทาง+เพิ่ม 60 ครับ☆🇹🇭

    🉑️แอดไลน์ขอรูปและรายละเอียดเพิ่มได้เลยครับ⚛️

    🔰ไอดี sixty75🙏🇹🇭☯️

    ㊗️ #ฝากเพจที่1 Amulet FineArt พระสมเด็จบ้านช่างศิลป์✨️
    #เพจที่2 พระสมเด็จบ้านช่างศิลป์✨️️ ด้วยครับ🙏🙏☯️
    ☯️☆#เปิดสอบถาม☆☯️💥💥 ㊙️☆พระสมเด็จ☆บ้านช่างศิลป์☆ 🉑️☆ขอนำเสนอพระเครื่อง Premium✨️ ㊗️☆#พระปิดตามหาลาภ✨️หลวงพ่อคูณรุ่น คูณ ลาภ ปี17💥 #พระอายุกว่า 51ปี✨️🇹🇭 💥พระดีพุทธคุณสูงโดดเด่นมากในเรื่อง ✨️โภคทรัพย์ ✨️ค้าขายธุรกิจเจริญรุ่งเรืองร่ำรวยมั่งมีเงินทอง ✨️โชคลาภ 💥️สุดยอดมวลสารเก่าของวัดระฆัง วัดบวรฯ หลวงปู่โต๊ะฯลฯและยังมีมวลสารวิเศษอีกมาก✨ 💥หลวงพ่อคูณท่านตั้งใจสร้างพระชุดนี้เป็นอย่างมาก ท่านตำผงมวลสารด้วยตัวเอง และระหว่างบดตำมวลสาร ท่านได้ตั้งจิตบริกรรมคาถาตลอดเวลา 💥พระปิดตาเนื้อผงพุทธคุณ รุ่น คูณ ลาภ ปี17✨️เป็นสุดยอดมวลสารของท่านที่สร้างเอง ผสมกับสุดยอดมวลสารอื่นๆที่ใช้ในการสร้างได้แก่💥 ✨️ผงพระสมเด็จวัดระฆัง ✨️ผงเสากุฎิของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต) วัดระฆัง ✨️ผงสมเด็จพระสังฆราช(ป๋า) วัดโพธิ์ ✨️ผงสมเด็จพระญาณสังวร ✨️ผงสมเด็จจิตรลดา วัดบวรนิเวศ ✨️ผงไตรมาสหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ ✨️ผงหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ✨️ผงหลวงพ่อวัดปากน้ำ ✨️ผงหลวงพ่อโสธร ✨️ผงพระสมเด็จปิลันทน์ ✨️ผงพระสมเด็จบึงพระยาสุเรนทร์ ✨️ผงพระวัดสามปลื้ม ✨️ผงพระบาง ✨️ผงสมเด็จพระสังฆราช (แพ), ✨️ผงพระกำแพงสรรค์ ✨️ผงนางพญางิ้วดำ ✨️ผงใบเงินใบทองทำน้ำพุทธมนต์ในพิธีพุทธาภิเษกของหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ, ลูกอมหลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก, ลูกอมหลวงปู่ทิม อิสริโก วัดละหารไร่ ✨️เกศาหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ และว่าน 108 💥เห็นมวลสารทั้งหมดแล้วขนลุกเลยครับ☆✨️หลวงพ่อคูณปลุกเสกเดี่ยวที่วัดสระแก้ว จ.นครราชสีมา ในช่วงกลางคืนของวันที่ 29 มิ.ย.2517 โดยดับไฟเสกตั้งแต่ 5 ทุ่ม จนกระทั่ง ตี 2 เศษ✨️มีผู้เห็นแสงสว่างจ้าติดต่อกันถึง 5 ครั้งจากในกุฎิที่ทำพิธี💥🙏🙏🙏 ✨️เป็นสุดยอด️️พระปิดตาที่ใช้แทนหลวงพ่อแก้ว หลวงปู่เอี่ยมที่มีราคาหลักหลายสิบล้านร้อยล้านได้เช่นกัน✨️รุ่นนี้สร้างน้อย ตอนนี้เริ่มหายากต้องรีบเก็บมาบูชานะครับ🙏💥 ☯️ #พระดีมีพุทธศิลป์ #พระแท้มีพุทธคุณ💥🈯️ ㊙️☆เปิด1,490🪙🪙 #มีบริการเก็บ💰ปลายทาง+เพิ่ม 60 ครับ☆🇹🇭 🉑️แอดไลน์ขอรูปและรายละเอียดเพิ่มได้เลยครับ⚛️ 🔰ไอดี sixty75🙏🇹🇭☯️ ㊗️ #ฝากเพจที่1 Amulet FineArt พระสมเด็จบ้านช่างศิลป์✨️ #เพจที่2 พระสมเด็จบ้านช่างศิลป์✨️️ ด้วยครับ🙏🙏☯️
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 656 มุมมอง 0 รีวิว
  • #วัดธาตุทอง
    #กรุงเทพมหานครฯ

    วัดธาตุ​ทอง​ -​ ผมว่าหลาย​ ๆ​ ท่านที่โดยสารรถไฟฟ้า​ BTS.​ เป็น​ประจำ​ เมื่อผ่านสถานีเอกมัย​ มองไปจะเห็นเจดีย์​สีทองอร่าม​ ประดิษฐาน​ อยู่​ไกล​ๆ​ สวยงามมาก ที่สำคัญ​ดู​ contrast. กับตึกรามห้างสรรพสินค้า​ที่ตั้งตรงข้ามราวกับ​ โลกในอดีตกับปัจจุบัน​ประจันหน้ากันแบบ​ ไม่เกรงใจ

    ส่วนตัว​ จำได้ว่าเคยลงภาพและเรื่องราวของวัดธาตุทองไปแล้ว​ แต่ตอนนั้น​ พระมหาเจดีย์​กำลัง​บูรณะ​ วันนี้ขอแก้ตัว​ นำภาพสวย​ ๆ​ และเรื่องราววัดในเมือง​ ของชาวสุขุมวิท​แห่งนี้กลับมาอีกครั้ง​ มาฟังกันครับ​ วัดธาตุทอง

    พื้นที่แห่งนี้​ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของวัดหน้าพระธาตุกับวัดทองล่าง ซึ่งวัดหน้าพระธาตุเป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา โดยที่มาของชื่อวัดก็มาจากหน้าวัดมีพระเจดีย์องค์ใหญ่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุอยู่ภายใน ส่วนวัดทองล่างนั้นเดิมทีเป็นสวนผลไม้ที่มีต้นโพธิ์ขนาดใหญ่ตั้งอยู่กลางสวน เจ้าของสวนเห็นว่าต้นโพธิ์ควรเป็นต้นไม้ในวัดมากกว่าที่จะปลูกไว้ในบ้าน ประกอบกับไม่ต้องการโค่นทิ้ง เพราะเกรงว่าจะก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเองและครอบครัว จึงได้บริจาคที่ดินในบริเวณนั้นเพื่อสร้างเป็นวัดเล็ก ๆ ขึ้นมาและตั้งชื่อว่า วัดโพธิ์สุวรรณาราม หรือ วัดโพธิ์ทอง ต่อมาชาวบ้านในแถบนั้นเรียกชื่ออย่างสั้น ๆ ว่า วัดทอง แต่ทว่าตามริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาทั้งตอนบนและตอนล่างมีวัดทองอยู่หลายแห่ง ชาวบ้านจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดทองล่าง นั่นเอง

    ต่อมาในปี พ.ศ. 2480 รัฐบาลในสมัยนั้นต้องการขอเวนคืนพื้นที่วัดหน้าพระธาตุและวัดทองล่าง เพื่อสร้างท่าเรือกรุงเทพฯ โดยชดเชยเงินให้ทั้ง 2 วัด เพื่อไปรวมกับวัดอื่นหรือสร้างวัดใหม่ขึ้นมา ทำให้คณะสงฆ์มีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้น และมีความเห็นพ้องต้องกันในการซื้อที่ดินปัจจุบัน พร้อมกับย้ายเสนาสนะถาวรวัตถุของทั้ง 2 วัดมาปลูกสร้างรวมกันที่ตำบล คลองบ้านกล้วย โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร เป็นองค์อุปถัมภ์ และตั้งชื่อว่า วัดธาตุทอง โดยมีที่มาจากการนำชื่อของทั้ง 2 วัดรวมเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ. 2481

    ในปี พ.ศ. 2550 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับวัดธาตุทองไว้ในพระอุปถัมภ์ และประทานตราสัญลักษณ์ใหม่ให้แก่วัด จากนั้นในเดือนตุลาคมปีเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกให้ วัดธาตุทอง เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ มาจนถึงปัจจุบัน

    สิ่งที่ห้ามพลาด​ ไปกราบพระในพระอุโบสถ ภายใน​ ประดิษฐาน พระสัพพัญญู พระประธานประจำพระอุโบสถ มีลักษณะเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 70 นิ้ว สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2495 พระพุทธชินินทร ที่เป็นพระประจำอุโบสถ สมัยอู่ทอง และพระพุทธมนต์ปรีชา สุโขทัย ที่เป็นพระประธานหอประชุม

    ถัดจากนั้น​เดินไปด้านหลัง​ ไปสักการะ​ พระมหาเจดีย์ 84 พรรษา ราชนครินทร์ เป็นพระเจดีย์ที่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2553 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยใช้เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและพระพุทธรูปจากทั่วโลก รวมถึงพระบรมสารีริกธาตุจากหลวงพ่อไจทีเซา เจ้าอาวาสวัดไจทีเซา ในประเทศพม่าด้วยครับ​

    เป็น​ไงครับ​ แค่ลงรถไฟฟ้า​ สถานีเอกมัย​ มาไม่กี่ก้าว​ ก็จะพบกับ ความยิ่งใหญ่​ ความงาม​ และ​ความสงบ​ วัดธาตุ​ทอง​ ใกล้แค่นี้เอง

    #ชีวิตนี้ต้องมี1000วัด #เที่ยวไทยไปกับส้มโจ #เที่ยววัด #วัด #ไหว้พระ #ทำบุญ #travel #thailand #amazingthailand #thaitour #temple #history #architecture #culture #thaitemple #ท่องเที่ยว #CultureTrip
    #วัดธาตุทอง #กรุงเทพมหานครฯ วัดธาตุ​ทอง​ -​ ผมว่าหลาย​ ๆ​ ท่านที่โดยสารรถไฟฟ้า​ BTS.​ เป็น​ประจำ​ เมื่อผ่านสถานีเอกมัย​ มองไปจะเห็นเจดีย์​สีทองอร่าม​ ประดิษฐาน​ อยู่​ไกล​ๆ​ สวยงามมาก ที่สำคัญ​ดู​ contrast. กับตึกรามห้างสรรพสินค้า​ที่ตั้งตรงข้ามราวกับ​ โลกในอดีตกับปัจจุบัน​ประจันหน้ากันแบบ​ ไม่เกรงใจ ส่วนตัว​ จำได้ว่าเคยลงภาพและเรื่องราวของวัดธาตุทองไปแล้ว​ แต่ตอนนั้น​ พระมหาเจดีย์​กำลัง​บูรณะ​ วันนี้ขอแก้ตัว​ นำภาพสวย​ ๆ​ และเรื่องราววัดในเมือง​ ของชาวสุขุมวิท​แห่งนี้กลับมาอีกครั้ง​ มาฟังกันครับ​ วัดธาตุทอง พื้นที่แห่งนี้​ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของวัดหน้าพระธาตุกับวัดทองล่าง ซึ่งวัดหน้าพระธาตุเป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา โดยที่มาของชื่อวัดก็มาจากหน้าวัดมีพระเจดีย์องค์ใหญ่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุอยู่ภายใน ส่วนวัดทองล่างนั้นเดิมทีเป็นสวนผลไม้ที่มีต้นโพธิ์ขนาดใหญ่ตั้งอยู่กลางสวน เจ้าของสวนเห็นว่าต้นโพธิ์ควรเป็นต้นไม้ในวัดมากกว่าที่จะปลูกไว้ในบ้าน ประกอบกับไม่ต้องการโค่นทิ้ง เพราะเกรงว่าจะก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเองและครอบครัว จึงได้บริจาคที่ดินในบริเวณนั้นเพื่อสร้างเป็นวัดเล็ก ๆ ขึ้นมาและตั้งชื่อว่า วัดโพธิ์สุวรรณาราม หรือ วัดโพธิ์ทอง ต่อมาชาวบ้านในแถบนั้นเรียกชื่ออย่างสั้น ๆ ว่า วัดทอง แต่ทว่าตามริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาทั้งตอนบนและตอนล่างมีวัดทองอยู่หลายแห่ง ชาวบ้านจึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดทองล่าง นั่นเอง ต่อมาในปี พ.ศ. 2480 รัฐบาลในสมัยนั้นต้องการขอเวนคืนพื้นที่วัดหน้าพระธาตุและวัดทองล่าง เพื่อสร้างท่าเรือกรุงเทพฯ โดยชดเชยเงินให้ทั้ง 2 วัด เพื่อไปรวมกับวัดอื่นหรือสร้างวัดใหม่ขึ้นมา ทำให้คณะสงฆ์มีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้น และมีความเห็นพ้องต้องกันในการซื้อที่ดินปัจจุบัน พร้อมกับย้ายเสนาสนะถาวรวัตถุของทั้ง 2 วัดมาปลูกสร้างรวมกันที่ตำบล คลองบ้านกล้วย โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร เป็นองค์อุปถัมภ์ และตั้งชื่อว่า วัดธาตุทอง โดยมีที่มาจากการนำชื่อของทั้ง 2 วัดรวมเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ. 2481 ในปี พ.ศ. 2550 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับวัดธาตุทองไว้ในพระอุปถัมภ์ และประทานตราสัญลักษณ์ใหม่ให้แก่วัด จากนั้นในเดือนตุลาคมปีเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกให้ วัดธาตุทอง เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ มาจนถึงปัจจุบัน สิ่งที่ห้ามพลาด​ ไปกราบพระในพระอุโบสถ ภายใน​ ประดิษฐาน พระสัพพัญญู พระประธานประจำพระอุโบสถ มีลักษณะเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 70 นิ้ว สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2495 พระพุทธชินินทร ที่เป็นพระประจำอุโบสถ สมัยอู่ทอง และพระพุทธมนต์ปรีชา สุโขทัย ที่เป็นพระประธานหอประชุม ถัดจากนั้น​เดินไปด้านหลัง​ ไปสักการะ​ พระมหาเจดีย์ 84 พรรษา ราชนครินทร์ เป็นพระเจดีย์ที่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2553 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยใช้เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและพระพุทธรูปจากทั่วโลก รวมถึงพระบรมสารีริกธาตุจากหลวงพ่อไจทีเซา เจ้าอาวาสวัดไจทีเซา ในประเทศพม่าด้วยครับ​ เป็น​ไงครับ​ แค่ลงรถไฟฟ้า​ สถานีเอกมัย​ มาไม่กี่ก้าว​ ก็จะพบกับ ความยิ่งใหญ่​ ความงาม​ และ​ความสงบ​ วัดธาตุ​ทอง​ ใกล้แค่นี้เอง #ชีวิตนี้ต้องมี1000วัด #เที่ยวไทยไปกับส้มโจ #เที่ยววัด #วัด #ไหว้พระ #ทำบุญ #travel #thailand #amazingthailand #thaitour #temple #history #architecture #culture #thaitemple #ท่องเที่ยว #CultureTrip
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1484 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญพระสยามเทวาธิราช วัดเทพศิรินทร์ กทม. ปี2515
    เหรียญพระสยามเทวาธิราช หลัง นวม. (ผิวปีกแมลงทับ เหรียญสวยมาก) วัดเทพศิรินทร์ กทม. ปี2515 //พระดีพิธีใหญ๋ พิธีพุทธาภิเษกครั้งใหญ่ที่วัดบวรนิเวศฯ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ปลุกเสก ยังได้นำเข้าพิธีปลุกเสกเพิ่มเติมอีก 9 พิธี // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พระเลื่ยมกรอบเก่า เลื่ยมโบราณแบบคลาสสิค สวยพร้อมใช้ >>

    ** พุทธคุณขจัดทุกข์ โรคภัยความโศก ศัตรู อุปัทวะ และอันตรายมิใช่น้อยให้พินาศไปโดยไม่เหลือ ขอชัยชนะความสำเร็จแห่งกิจการทรัพย์ ลาภ ความสวัสดี ความมีโชค ความสุข กำลัง ศรี อายุ วรรณะ โภคสมบัติ ความ เจริญและยศ มีอายุยืน >>

    ** เหรียญพระสยามเทวาธิราช นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกครั้งใหญ่ที่วัดบวรนิเวศฯ โดยมีสมเด็จพระวันรัต(ปุ่น ปุณณสิริ)
    เป็นประธานสงฆ์ พระเถราจารย์เข้าร่วมพิธีดังนี้ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ หลวงพ่อฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิต สมเด็จพระสังฆราช(วาส)ในขณะที่ยังทรงดำรงสมณศักดิ์ที่พระพุทธโฆษาจารย์ หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ พระธรรมไตรโลกาจารย์ รองเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทร์ เมื่อวันที่ 3 ก.ค. 2515

    ** นอกจากนั้นยังได้นำเข้าพิธีปลุกเสกเพิ่มเติมอีก 9 พิธีดังนี้ >>

    1. เสาร์ที่ 16 ก.พ. 2516 โดยท่านพระศีลขันธโสภณ เป็นผู้นำเข้าพิธี ที่วัดเทพศิรินทร์
    2. เสาร์ที่ 7 เม.ษ. 2516 เข้าพิธีเสาร์ห้า ที่ วัดศีลขันธ์ อ่างทอง พร้อมกับสมเด็จสายรุ้ง
    3. พุธที่ 11 เม.ษ. 2516 พิธีพุทธาภิเษกที่วัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่ มีพระเถราจารย์เข้าร่วมดังนี้ หลวงปู่สิม หลวงปู่คำแสน หลวงปู่คำมี หลวงปู่ตื้อ
    4. พุธที่ 23 และพฤหัส ที่ 24 ต.ค. 2517 หลวงปู่สิมปลุกเสกเดี่ยว
    5. เสาร์ที่ 30 พ.ย. 2517 ร่วมพิธีพร้อมพระปิดตาอุตตมะและเหรียญของคุณถนอมศักดิ์ อนุกูล โดย หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน ลำปาง
    6. พุธที่ 25 ถึงศุกร์ที่ 27 ธ.ค. 2517 หลวงพ่อฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิต ปลุกเสกเดี่ยว
    7. ศุกร์ที่ 14 ก.พ. 2518 หลวงพ่อสาลี่ เจ้าอาวาสวัดห้วยยาง ชลบุรี ปลุกเสกเดี่ยวด้วยคาถาชินบัญชร
    8. เสาร์ที่ 15 ก.พ. 2518 หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ปลุกเสกเดี่ยว
    9. อาทตย์ที่ 16 ก.พ. 2518 หลวงพ่อหอม วัดชากหมาก ปลุกเสกเดี่ยว... >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131

    เหรียญพระสยามเทวาธิราช วัดเทพศิรินทร์ กทม. ปี2515 เหรียญพระสยามเทวาธิราช หลัง นวม. (ผิวปีกแมลงทับ เหรียญสวยมาก) วัดเทพศิรินทร์ กทม. ปี2515 //พระดีพิธีใหญ๋ พิธีพุทธาภิเษกครั้งใหญ่ที่วัดบวรนิเวศฯ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ปลุกเสก ยังได้นำเข้าพิธีปลุกเสกเพิ่มเติมอีก 9 พิธี // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พระเลื่ยมกรอบเก่า เลื่ยมโบราณแบบคลาสสิค สวยพร้อมใช้ >> ** พุทธคุณขจัดทุกข์ โรคภัยความโศก ศัตรู อุปัทวะ และอันตรายมิใช่น้อยให้พินาศไปโดยไม่เหลือ ขอชัยชนะความสำเร็จแห่งกิจการทรัพย์ ลาภ ความสวัสดี ความมีโชค ความสุข กำลัง ศรี อายุ วรรณะ โภคสมบัติ ความ เจริญและยศ มีอายุยืน >> ** เหรียญพระสยามเทวาธิราช นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกครั้งใหญ่ที่วัดบวรนิเวศฯ โดยมีสมเด็จพระวันรัต(ปุ่น ปุณณสิริ) เป็นประธานสงฆ์ พระเถราจารย์เข้าร่วมพิธีดังนี้ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ หลวงพ่อฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิต สมเด็จพระสังฆราช(วาส)ในขณะที่ยังทรงดำรงสมณศักดิ์ที่พระพุทธโฆษาจารย์ หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ พระธรรมไตรโลกาจารย์ รองเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทร์ เมื่อวันที่ 3 ก.ค. 2515 ** นอกจากนั้นยังได้นำเข้าพิธีปลุกเสกเพิ่มเติมอีก 9 พิธีดังนี้ >> 1. เสาร์ที่ 16 ก.พ. 2516 โดยท่านพระศีลขันธโสภณ เป็นผู้นำเข้าพิธี ที่วัดเทพศิรินทร์ 2. เสาร์ที่ 7 เม.ษ. 2516 เข้าพิธีเสาร์ห้า ที่ วัดศีลขันธ์ อ่างทอง พร้อมกับสมเด็จสายรุ้ง 3. พุธที่ 11 เม.ษ. 2516 พิธีพุทธาภิเษกที่วัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่ มีพระเถราจารย์เข้าร่วมดังนี้ หลวงปู่สิม หลวงปู่คำแสน หลวงปู่คำมี หลวงปู่ตื้อ 4. พุธที่ 23 และพฤหัส ที่ 24 ต.ค. 2517 หลวงปู่สิมปลุกเสกเดี่ยว 5. เสาร์ที่ 30 พ.ย. 2517 ร่วมพิธีพร้อมพระปิดตาอุตตมะและเหรียญของคุณถนอมศักดิ์ อนุกูล โดย หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน ลำปาง 6. พุธที่ 25 ถึงศุกร์ที่ 27 ธ.ค. 2517 หลวงพ่อฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิต ปลุกเสกเดี่ยว 7. ศุกร์ที่ 14 ก.พ. 2518 หลวงพ่อสาลี่ เจ้าอาวาสวัดห้วยยาง ชลบุรี ปลุกเสกเดี่ยวด้วยคาถาชินบัญชร 8. เสาร์ที่ 15 ก.พ. 2518 หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ปลุกเสกเดี่ยว 9. อาทตย์ที่ 16 ก.พ. 2518 หลวงพ่อหอม วัดชากหมาก ปลุกเสกเดี่ยว... >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 525 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญหลวงพ่อบุญรอด วัดประดู่พัฒนาราม จ.นครศรีธรรมราช ปี2505
    เหรียญหลวงพ่อบุญรอด วัดประดู่พัฒนาราม จ.นครศรีธรรมราช ปี2505 // หลวงพ่อบุญรอด เป็น ๑ ใน ๒ องค์ของเกจิสายใต้ที่ได้รับกิจนิมนต์ ร่วมพิธีพุทธาภิเษก พระเครื่องชุด ๒๕ ศรรตวรรษ ณ มณฑลพิธีพุทธมณฑล คือ1. พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน 2. หลวงพ่อบุญรอด // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณ สมบูรณ์พูนทรัพย์ อยู่เย็นเป็นสุข คุ้มครอง แคล้วคลาด คงกะพันชาตรี ป้องกันสรรพภัยต่างๆ และบันดาลความร่ำรวย โชคลาภเงินทอง เจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน หนุนดวงชะตา >>

    ** หลวงพ่อบุญรอด หรือ ท่านบุญรอด วัดประดู่พัฒนาราม นครศรีธรรมราช พระเกจิที่มีพลังจิตแก่กล้า แต่ไม่เปิดเผยตัวเอง ท่านคือผู้อยู่เบื้องหลังความศักดิ์สิทธ์ของวัตถุมงคลต่างๆ ท่านเป็นหนึ่งใน ๑๐๘ เกจิที่ร่วมพิธีพุทธาภิเษก พระเครื่องชุด ๒๕ ศรรตวรรษ ณ มณฑลพิธีพุทธมณฑล ครับ และเป็น ๑ ในจำนวน ๒ องค์ของเกจิสายใต้ที่ได้รับกิจนิมนต์นี้ คือ
    1. พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน
    2. ท่านพระครูบุญรอด

    ** ชื่อเสียงเกียรติคุณของท่านบุญรอดที่มีมา ท่านเป็นศิษย์ที่มีอาจารย์ดี เพราะอาจารย์ท่านเป็นพระเถระที่ทรงไปด้วยกฤติยาคมในยุคก่อน อันมี ท่านพระครูกาเดิม (ทอง) วัดจันทารามซึ่งพระอุปัชฌาย์ตอนท่านบรรชาเป็นสามเณร และท่านครูวิสุทธิจารี (พุ่ม) วัดจันพอ ซึ่งเป็นพระอุปชฌาย์ท่านตอนอุปสมบท และพ่อท่านเอียด วันในเขียว ซึ่งเป็นเกจิบ้านเกิดของท่าน นอกเหนือจากพิธีปลุกเสก 25 พุทธศตวรรษ เมื่อปีพ.ศ. 2500 แล้ว ท่านหลวงพ่อบุญรอดยังได้รับนิมนต์ให้ไปร่วมปลุกเสกในพิธีพุทธาภิเษกใหญ่ๆอีกมากมาย อาทิเช่น...
    พิธี..พระพุทธรูปภ.ป.ร.‘กฐินต้น' ‘ปี๒๕๐๖ วัดเทวสังฆาราม
    พิธี...พระพุทธรูปภ.ป.ร ปี๒๕๐๘ วัดบวรฯ
    พิธี....พระกริ่งนเรศวร ปี2507 ประกอบพิธีพุทธาภิเษกเททองเมื่อวันที่ 19 พ.ย.2507
    พิธ๊....เหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513 ฯลฯ.

    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญหลวงพ่อบุญรอด วัดประดู่พัฒนาราม จ.นครศรีธรรมราช ปี2505 เหรียญหลวงพ่อบุญรอด วัดประดู่พัฒนาราม จ.นครศรีธรรมราช ปี2505 // หลวงพ่อบุญรอด เป็น ๑ ใน ๒ องค์ของเกจิสายใต้ที่ได้รับกิจนิมนต์ ร่วมพิธีพุทธาภิเษก พระเครื่องชุด ๒๕ ศรรตวรรษ ณ มณฑลพิธีพุทธมณฑล คือ1. พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน 2. หลวงพ่อบุญรอด // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณ สมบูรณ์พูนทรัพย์ อยู่เย็นเป็นสุข คุ้มครอง แคล้วคลาด คงกะพันชาตรี ป้องกันสรรพภัยต่างๆ และบันดาลความร่ำรวย โชคลาภเงินทอง เจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน หนุนดวงชะตา >> ** หลวงพ่อบุญรอด หรือ ท่านบุญรอด วัดประดู่พัฒนาราม นครศรีธรรมราช พระเกจิที่มีพลังจิตแก่กล้า แต่ไม่เปิดเผยตัวเอง ท่านคือผู้อยู่เบื้องหลังความศักดิ์สิทธ์ของวัตถุมงคลต่างๆ ท่านเป็นหนึ่งใน ๑๐๘ เกจิที่ร่วมพิธีพุทธาภิเษก พระเครื่องชุด ๒๕ ศรรตวรรษ ณ มณฑลพิธีพุทธมณฑล ครับ และเป็น ๑ ในจำนวน ๒ องค์ของเกจิสายใต้ที่ได้รับกิจนิมนต์นี้ คือ 1. พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน 2. ท่านพระครูบุญรอด ** ชื่อเสียงเกียรติคุณของท่านบุญรอดที่มีมา ท่านเป็นศิษย์ที่มีอาจารย์ดี เพราะอาจารย์ท่านเป็นพระเถระที่ทรงไปด้วยกฤติยาคมในยุคก่อน อันมี ท่านพระครูกาเดิม (ทอง) วัดจันทารามซึ่งพระอุปัชฌาย์ตอนท่านบรรชาเป็นสามเณร และท่านครูวิสุทธิจารี (พุ่ม) วัดจันพอ ซึ่งเป็นพระอุปชฌาย์ท่านตอนอุปสมบท และพ่อท่านเอียด วันในเขียว ซึ่งเป็นเกจิบ้านเกิดของท่าน นอกเหนือจากพิธีปลุกเสก 25 พุทธศตวรรษ เมื่อปีพ.ศ. 2500 แล้ว ท่านหลวงพ่อบุญรอดยังได้รับนิมนต์ให้ไปร่วมปลุกเสกในพิธีพุทธาภิเษกใหญ่ๆอีกมากมาย อาทิเช่น... พิธี..พระพุทธรูปภ.ป.ร.‘กฐินต้น' ‘ปี๒๕๐๖ วัดเทวสังฆาราม พิธี...พระพุทธรูปภ.ป.ร ปี๒๕๐๘ วัดบวรฯ พิธี....พระกริ่งนเรศวร ปี2507 ประกอบพิธีพุทธาภิเษกเททองเมื่อวันที่ 19 พ.ย.2507 พิธ๊....เหรียญพระยาพิชัยดาบหัก รุ่นแรก ปีพ.ศ.2513 ฯลฯ. ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 395 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญพระพุทธนวราชบพิตรหลัง ภปร. เนื้อทองระฆัง วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพ ปี2529 //พระดีพิธีใหญ่ พิธีพุทธาภิเษก 3 ครั้ง หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ปลุกเสก !! //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ พร้อมกล่องเดิมๆ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ // >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ //>>>

    ** พุทธคุณโดดเด่นทางด้านแคล้วคลาด และค้าขายร่ำรวย ช่วยเสริมบารมี เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย >>

    ** เหรียญพระพุทธนวราชบพิตรหลัง ภปร. ปี 2529 พิธี"พระกริ่งปวเรศปี 30" นำเข้าพิธีพุทธาภิเษก 3 ครั้ง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ทรงเสด็จพระราชดำเนิน ในการประกอบพิธี ณ.วัดบวรฯ ในวันเสาร์ ที่ 12 เมษายน 2529 สมเด็จพระสังฆราช ทรงเป็นประธาน พิธีอธิฐานจิต โดยมีพระอาจารย์ ผู้ทรงศีลาจริยวัตร ร่วมพิธี ดังนี้

    1.พระญาณโพธิ์ (เข็ม) วัดสุทัศน์
    2.หลวงปู่เมฆ วัดลำกระดาน
    3.หลวงพ่อสิม วัดถ้ำผาปล่อง
    4.หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวนาราม
    5.หลวงพ่อพุทธ ฐานิโย
    6.หลวงพ่อมงคลธรรมสุนทร วัดบางนา
    7.หลวงพ่อเกตุ วัดเกาะหลัก
    8.หลวงพ่อพรหม วัดขนอนเหนือ
    9.หลวงพ่อหยอด วัดแก้วเจริญ
    10.หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม
    11.หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม
    12.หลวงพ่อไพฑูรย์ วัดโพธินิมิต
    13.หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (ฤๅษีลิงดำ)ฯลฯ >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญพระพุทธนวราชบพิตรหลัง ภปร. เนื้อทองระฆัง วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพ ปี2529 //พระดีพิธีใหญ่ พิธีพุทธาภิเษก 3 ครั้ง หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ปลุกเสก !! //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ พร้อมกล่องเดิมๆ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ // >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ //>>> ** พุทธคุณโดดเด่นทางด้านแคล้วคลาด และค้าขายร่ำรวย ช่วยเสริมบารมี เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย >> ** เหรียญพระพุทธนวราชบพิตรหลัง ภปร. ปี 2529 พิธี"พระกริ่งปวเรศปี 30" นำเข้าพิธีพุทธาภิเษก 3 ครั้ง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ทรงเสด็จพระราชดำเนิน ในการประกอบพิธี ณ.วัดบวรฯ ในวันเสาร์ ที่ 12 เมษายน 2529 สมเด็จพระสังฆราช ทรงเป็นประธาน พิธีอธิฐานจิต โดยมีพระอาจารย์ ผู้ทรงศีลาจริยวัตร ร่วมพิธี ดังนี้ 1.พระญาณโพธิ์ (เข็ม) วัดสุทัศน์ 2.หลวงปู่เมฆ วัดลำกระดาน 3.หลวงพ่อสิม วัดถ้ำผาปล่อง 4.หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวนาราม 5.หลวงพ่อพุทธ ฐานิโย 6.หลวงพ่อมงคลธรรมสุนทร วัดบางนา 7.หลวงพ่อเกตุ วัดเกาะหลัก 8.หลวงพ่อพรหม วัดขนอนเหนือ 9.หลวงพ่อหยอด วัดแก้วเจริญ 10.หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม 11.หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม 12.หลวงพ่อไพฑูรย์ วัดโพธินิมิต 13.หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (ฤๅษีลิงดำ)ฯลฯ >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 505 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลอนุมัติหมายจับ“สมหวัง” 3 ข้อหา ผู้ต้องหาจ้างวาน “แ” สังหาร “ลิม กิมยา” อดีต สส.ฝ่ายค้านกัมพูชา

    จากกรณีนายเอกลักษณ์ แพน้อย หรือจ่าเอ็ม กองเรือ อายุ 41 ปีก่อเหตุยิงนายลิม กิมยา อายุ 73 ปี อดีตสส.ฝ่ายค้านของกัมพูชาดับบริเวณเกาะกลางถนน ตรงข้ามวัดบวรนิเวศ เมื่อวันที่ 7 ม.ค.ที่ผ่านมา โดยจ่าเอ็ม ได้หลบหนีตำรวจข้ามแดนไปยังประเทศกัมพูชาผ่านช่องทางธรรมชาติ ก่อนที่เจ้าหน้าที่กัมพูชาจะสามารถจับกุมขณะที่จ่แวะพักทานอาหารใน ต.ปเรยสวย อ.โมงรึไทร จ.พระตะบอง เมื่อวันที่ 8 ม.ค.ที่ผ่านมา และ ส่งตัว จ่าเอ็ม มาดำเนินคดีในไทย พร้อมสารภาพรับงานจ้างผู้มีพระคุณนั้น

    ความคืบหน้าล่าสุดวันนี้ (15 ม.ค.) มีรายงานว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจสน.ชนะสงคราม ได้รวบรวมพยานหลักฐาน ขออำนาจศาลอนุมัติหมายจับ นายลี รัตนรัศมี หรือชื่อไทย นายสมหวัง บำรุงกิจ อายุ 43 ปี ชาวกัมพูชา ใน 3 ข้อหา เป็นผู้ใช้จ้างวานให้ผู้อื่นกระทำความผิดฐานร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน พาอาวุธปืนไปในเมืองหมู่บ้านหรือทางสาธารณะโดยไม่มีเหตุอันควร ยิงปืนซึ่งใช้ดินระเบิดซึ่งใช่เหตุในเมือง ซึ่งศาลอนุมัติหมายจับแล้ว

    #MGROnline #จ่าเอ็ม
    ศาลอนุมัติหมายจับ“สมหวัง” 3 ข้อหา ผู้ต้องหาจ้างวาน “แ” สังหาร “ลิม กิมยา” อดีต สส.ฝ่ายค้านกัมพูชา • จากกรณีนายเอกลักษณ์ แพน้อย หรือจ่าเอ็ม กองเรือ อายุ 41 ปีก่อเหตุยิงนายลิม กิมยา อายุ 73 ปี อดีตสส.ฝ่ายค้านของกัมพูชาดับบริเวณเกาะกลางถนน ตรงข้ามวัดบวรนิเวศ เมื่อวันที่ 7 ม.ค.ที่ผ่านมา โดยจ่าเอ็ม ได้หลบหนีตำรวจข้ามแดนไปยังประเทศกัมพูชาผ่านช่องทางธรรมชาติ ก่อนที่เจ้าหน้าที่กัมพูชาจะสามารถจับกุมขณะที่จ่แวะพักทานอาหารใน ต.ปเรยสวย อ.โมงรึไทร จ.พระตะบอง เมื่อวันที่ 8 ม.ค.ที่ผ่านมา และ ส่งตัว จ่าเอ็ม มาดำเนินคดีในไทย พร้อมสารภาพรับงานจ้างผู้มีพระคุณนั้น • ความคืบหน้าล่าสุดวันนี้ (15 ม.ค.) มีรายงานว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจสน.ชนะสงคราม ได้รวบรวมพยานหลักฐาน ขออำนาจศาลอนุมัติหมายจับ นายลี รัตนรัศมี หรือชื่อไทย นายสมหวัง บำรุงกิจ อายุ 43 ปี ชาวกัมพูชา ใน 3 ข้อหา เป็นผู้ใช้จ้างวานให้ผู้อื่นกระทำความผิดฐานร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน พาอาวุธปืนไปในเมืองหมู่บ้านหรือทางสาธารณะโดยไม่มีเหตุอันควร ยิงปืนซึ่งใช้ดินระเบิดซึ่งใช่เหตุในเมือง ซึ่งศาลอนุมัติหมายจับแล้ว • #MGROnline #จ่าเอ็ม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 414 มุมมอง 0 รีวิว
  • “เกาะกูด” CONSPIRACY MOU44 ชนวนสังหารโหด “ลิม กึมยา”!?
    .
    การสังหารโหด “ลิม กึมยา” อดีต ส.ส.ฝ่ายค้านกัมพูชาและนักเคลื่อนไหวคนสำคัญ ระหว่างเดินทางมาประเทศไทยกับภรรยาชาวฝรั่งเศส ที่บริเวณเกาะกลางถนน ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2568 ที่ผ่านมา ถือเป็นเรื่องที่สะท้านสะเทือนไปทั้งโลก
    .
    เนื่องเพราะเป็น “คำสั่งฆ่า” และเปิด “ปฏิบัติการข้ามชาติ” อย่างอุกอาจชนิดที่ไม่เกรงกลัวกฎหมายเลยแม้แต่น้อย
    .
    แน่นอน ในส่วนของ “มือปืน” ชัดเจนแล้วว่าเป็นอดีตนาวิกโยธิน ซึ่งปัจจุบันประกอบอาชีพขี่มอเตอร์ไซค์รับจ้างในซอยสุขุมวิท 22 ที่ชื่อ “จ่าเอ็ม” หรือ “เอกลักษณ์ แพน้อย”
    .
    หลังปฏิบัติการเสร็จ “จ่าเอ็ม” มือปืนหลังสังหารโหดมีรถมารับหลบหนีออกนอกประเทศ ก่อนที่จะจับกุมตัวได้ที่จังหวัดพระตะบอง
    .
    ส่วน “คนชี้เป้า” จากหลักฐานกล้องวงจรปิด พบชายคนดังกล่าวเป็นชาวกัมพูชา เดินทางมากับรถบัสท่องเที่ยวข้ามประเทศคันเดียวกับ “ลิม กึมยา” จากด่านคลองลึก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ซึ่งหลังจากนั้นไม่กี่ชั่วโมงก็ได้เดินทางออกนอกประเทศ โดยสายการบินสกายอังกอร์ ปลายทางที่กรุงพนมเปญทันที
    .
    คนชี้เป้ารายนี้ ได้รับการเปิดเผยจากทางการไทยว่าคือ “นายคิมริน พิช”
    .
    ปฏิบัติการสังหารโหดดังกล่าวสะท้อนให้เห็นชัดเจนว่า มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ขณะที่ “คนสั่งการ” ถือว่า “ไม่ธรรมดา” เพราะไม่เช่นนั้นคงไม่สามารถมีเส้นสายติดต่อ “มือปืนระดับพระกาฬ” ในประเทศไทยให้เป็นผู้ลงมือได้
    .
    คำถามมีเพียงประการเดียวคือ ทำไม “ลิม กึมยา” ถึงต้องตาย?
    .
    ที่มา https://news1live.com/detail/9680000003016
    “เกาะกูด” CONSPIRACY MOU44 ชนวนสังหารโหด “ลิม กึมยา”!? . การสังหารโหด “ลิม กึมยา” อดีต ส.ส.ฝ่ายค้านกัมพูชาและนักเคลื่อนไหวคนสำคัญ ระหว่างเดินทางมาประเทศไทยกับภรรยาชาวฝรั่งเศส ที่บริเวณเกาะกลางถนน ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2568 ที่ผ่านมา ถือเป็นเรื่องที่สะท้านสะเทือนไปทั้งโลก . เนื่องเพราะเป็น “คำสั่งฆ่า” และเปิด “ปฏิบัติการข้ามชาติ” อย่างอุกอาจชนิดที่ไม่เกรงกลัวกฎหมายเลยแม้แต่น้อย . แน่นอน ในส่วนของ “มือปืน” ชัดเจนแล้วว่าเป็นอดีตนาวิกโยธิน ซึ่งปัจจุบันประกอบอาชีพขี่มอเตอร์ไซค์รับจ้างในซอยสุขุมวิท 22 ที่ชื่อ “จ่าเอ็ม” หรือ “เอกลักษณ์ แพน้อย” . หลังปฏิบัติการเสร็จ “จ่าเอ็ม” มือปืนหลังสังหารโหดมีรถมารับหลบหนีออกนอกประเทศ ก่อนที่จะจับกุมตัวได้ที่จังหวัดพระตะบอง . ส่วน “คนชี้เป้า” จากหลักฐานกล้องวงจรปิด พบชายคนดังกล่าวเป็นชาวกัมพูชา เดินทางมากับรถบัสท่องเที่ยวข้ามประเทศคันเดียวกับ “ลิม กึมยา” จากด่านคลองลึก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ซึ่งหลังจากนั้นไม่กี่ชั่วโมงก็ได้เดินทางออกนอกประเทศ โดยสายการบินสกายอังกอร์ ปลายทางที่กรุงพนมเปญทันที . คนชี้เป้ารายนี้ ได้รับการเปิดเผยจากทางการไทยว่าคือ “นายคิมริน พิช” . ปฏิบัติการสังหารโหดดังกล่าวสะท้อนให้เห็นชัดเจนว่า มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ขณะที่ “คนสั่งการ” ถือว่า “ไม่ธรรมดา” เพราะไม่เช่นนั้นคงไม่สามารถมีเส้นสายติดต่อ “มือปืนระดับพระกาฬ” ในประเทศไทยให้เป็นผู้ลงมือได้ . คำถามมีเพียงประการเดียวคือ ทำไม “ลิม กึมยา” ถึงต้องตาย? . ที่มา https://news1live.com/detail/9680000003016
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 914 มุมมอง 0 รีวิว
  • 11 มกราคม 2568-รายงานพิเศษของเว็บไซต์ The Structure เกี่ยวกับประเด็นเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทย โดยรศ. ดร.ปณิธาน วัฒนายากร ได้สะท้อนภาพจากเหตุการณ์ลอบสังหาร “ลิม กิมยา”กลางกรุงเทพมหานครว่า เกิดอะไรขึ้น กับประเทศไทย? ‘รศ.ดร.ปณิธาน’ สะท้อนภาพที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ ลอบสังหาร ‘ลิม กินยา’ กลางกรุงเทพมหานคร
    On 2025-01-10
    สืบเนื่องจากกรณีการลอบสังหาร ลิม กิมยา อดีต สส. พรรคสงเคราะห์ชาติกัมพูชา (Cambodia National Rescue Party) และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ถูกลอบยิงที่บริเวณเกาะกลางถนน วงเวียนสิบสามห้าง ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร ในช่วงค่ำของวันที่ 7 ม.ค. 2568

    ซึ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจของไทย สามารถระบุตัวคนร้ายจนพบว่าเป็นจ่าเอ็ม-เอกลักษณ์ แพน้อย อดีตทหารนาวิกโยธินของไทย ซึ่งถูกให้ออกจากราชการไปตั้งแต่ปี 2566 แล้ว และสามารถตามจับตัวจ่าเอ็มได้ที่จังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชา ในช่วงค่ำวันที่ 8 ม.ค. 2568

    และในเวลานี้ จ่าเอ็มยังอยู่ในระหว่างการควบคุมตัวเพื่อสอบสวนของทางการกัมพูชา เนื่องจากฝ่ายกัมพูชาจะมีการดำเนินคดีกับจ่าเอ็มในข้อหาลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายก่อน

    รศ.ดร.ปณิธาน วัฒนายากร นักวิเคราะห์และผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง ได้กล่าวว่ากรณีนี้นั้น สะท้อนให้เห็นว่าได้เกิดช่องว่าง หรืออุปสรรค์ในการรักษาความปลอดภัยของฝ่ายความมั่นคงของไทย ทั้งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ตำรวจสันติบาล, ศูนย์รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ, สำนักข่าวกรอง หรือแม้แต่สภาความมั่นคงเอง

    ที่อาจจะต้องทำงานให้สอดประสานกันเพื่อการกำหนดแนวทางการคุ้มกันบุคคลสำคัญ ซึ่งจริง ๆ แล้วมีการกำหนดหลักปฎิบัติ หรือระเบียบปฎิบัติประจำ (รปจ.) อยู่แล้ว

    แต่สำหรับกรณีนี้ ถึงแม้ว่าตัวผู้ถูกลอบสังหารจะไม่ได้ทำการร้องขอการคุ้มกันจากฝ่ายไทย จึงทำให้การจัดชุดรักษาความปลอดภัยนั้นอาจจะทำได้ไม่เต็มที่ แต่ในเมื่อพิจารณาดูแล้วว่า ลิม กินยานั้นเป็นเป้าหมายสำคัญที่อาจจะถูกคุกคาม จนมีความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน อีกทั้งยังมีผลกระทบต่อความมั่นคง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย

    หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจส่งชุดรักษาความปลอดภัยไปดูแลลิม กินยา ตั้งแต่เข้าเมือง หรืออาจจะปฎิเสธการให้เข้าเมืองตั้งแต่แรกเลยก็ทำได้ ถ้าพิจารณาแล้วว่าอาจจะคุ้มครองเขาไม่ได้ ซึ่งกรณีนี้จะต้องมีการพิจารณาในรายละเอียดว่าเกิดอะไรขึ้น

    ทั้งนี้ ที่ผ่านมา ทางการไทยนั้นมีประสบการณ์ในการให้ความคุ้มครองบุคคลสำคัญจากประเทศเพื่อนบ้านมามากพอสมควร ไม่ว่าจะจากลาว, กัมพูชา, มาเลเซีย และเมียนมา ไทยก็เคยให้การดูแลคุ้มกันมาแล้ว

    ทางการไทยจะต้องมีการดำเนินการเพื่อการป้องกันเหตุการณ์ที่จะสร้างผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของไทย ว่าเป็นพื้นที่สังหารบุคคลสำคัญ, ไม่มีความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว หรือมีการซ่องสุมกองกำลังติดอาวุธต่าง ๆ โดยมีการใช้คนไทยเข้ามาเป็นเครือข่ายในการปฏิบัติการหลายอย่าง ซึ่งเรื่องนี้มีความสำคัญที่จะต้องดูแลกันให้ดี

    สำหรับแนวทางในการนำตัวจ่าเอ็ม ผู้ก่อเหตุกลับมาดำเนินคดีในประเทศไทยนั้น มีอยู่ 2 แนวทาง ได้แก่

    1 การดำเนินการตามช่องทางปกติ โดยจะต้องมีการดำเนินคดีในฝั่งกัมพูชาก่อนสักระยะหนึ่ง ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร โดยจะมีการพิจารณาลงโทษ-ลดโทษ-อภัยโทษ แล้วส่งคืนมายังไทยตามสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน

    ทั้งนี้ได้มีการตั้งข้อหาเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายแล้ว แต่อาจจะมีการกล่าวโทษในคดีอื่นเพิ่มเช่น พกพาอาวุธ และความมีส่วนเกี่ยวข้องกับเครือข่ายอาชญากรรมข้ามแดน ซึ่งทั้งหมดนี้ต้องใช้เวลานานและสร้างความคลุมเครือ

    2 การดำเนินการในช่องทางพิเศษ ด้วยวิธีต่างตอบแทน โดยการแลกตัว หรือร้องขอให้ทางกัมพูชาส่งตัวผู้ก่อเหตุให้มาถูกดำเนินคดีในไทยได้อย่างรวดเร็ว แต่กรณีนี้จะต้องระมัดระวังว่าจะกระทบต่อสิทธิมนุษยชน และต้องพิจารณาความตั้งใจจริงของฝ่ายกัมพูชาด้วย เพราะว่าเรื่องนี้นั้นจะเป็นการสะท้อนถึงระดับความสัมพันธ์ หรือเรื่องราวมีความซับซ้อนมากน้อยเพียงใด

    แต่ทั้งนี้นั้น ควรจะต้องมีการดำเนินการผ่านกลไกของอาเซียน และตำรวจสากล ที่มีข้อตกลงที่ค่อนข้างชัดเจน และเป็นทางการ แทนการใช้ระบบต่างตอบแทน เพื่อป้องกันข้อครหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดหรือห่างเหินระหว่างผู้นำทั้ง 2 ประเทศในบางสมัย ซึ่งจะต้องมีการเปิดเผยข้อเท็จจริงในเรื่องเหล่านี้ผ่านทางอาเซียน

    สำหรับคำถามที่ว่า ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการคุ้มครองผู้เห็นต่างทางการเมืองจากประเทศอื่นที่เข้ามาลี้ภัยในประเทศไทยหรือไม่ รศ.ดร. ปณิธานกล่าวว่า ในบางช่วงประเทศไทยก็มีขีดความสามารถในการดำเนินการในเรื่องนี้ได้ดี

    ไทยเคยสามารถจับกุมตัวผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศได้หลายครั้ง อย่างกรณี “ฮัม บาลี” ผู้ก่อเหตุวางระเบิดในอินโดนีเซีย หรือกรณีของ วิกเตอร์ บุช ผู้ค้าอาวุธสงครามชาวรัสเซีย และมีการส่งตัวกลับไปยังประเทศต้นทางได้ และได้รับความชื่นชมจากนานาชาติเป็นอย่างมาก

    อีกทั้งยังเคยสามารถสกัดกั้นไม่ให้กลุ่มบุคคลต้องสงสัยเข้าประเทศ อย่างเช่นกลุ่มจากประเทศเกาหลีเหนือ และกลุ่มอื่น ๆ ที่อยู่ในบัญชีรายชื่อกว่า 30 กลุ่ม ซึ่งบางครั้งเราก็ทำได้ดี แต่บางครั้งเราก็มีปัญหา ซึ่งในภาพรวมแล้วเราควรจะปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดกรณีเช่นนี้อีก และกรณีนี้ได้สร้างความเสียหายให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก

    สำหรับกรณีที่พรรคฝ่ายค้านของกัมพูชากล่าวหาฮุน เซน อดีตนายกฯ กัมพูชาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการลอบสังหารในครั้งนี้นั้น รศ.ดร. ปณิธานกล่าวว่าเรื่องนี้นั้นถือเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อน ที่จะต้องมีการพิสูจน์ทราบกันให้ชัดเจน ก่อนที่จะมีการกระทบในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

    แต่ทั้งนี้การที่ฝ่ายรัฐบาล หรือฝ่ายค้านกล่าวหาพุ่งเป้าใส่กัน โดยมีการดึงประเทศไทยเข้าไปเกี่ยวข้องนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่เลย อีกทั้งตลอดเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา ทางการกัมพูชาได้ทำเรื่องร้องขอให้มีการส่งตัวนักเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลกัมพูชา เช่น สม รังสี อดีตผู้นำพรรคฝ่ายค้านกัมพูชากลับ ซึ่งก็มีทั้งกรณีที่ทางการไทยส่งตัวกลับ และไม่ส่งตัวกลับ

    ดังนั้นเรื่องนี้นั้น ไม่ถือว่าเป็นเรื่องใหม่ และหน่วยงานราชการไทย และฝ่ายความมั่นคงนั้นมีความคุ้นเคยเป็นอย่างดี

    แต่ทั้งนี้ไทยต้องดำเนินการป้องกันให้มากกว่านี้ เพื่อการป้องกันไม่ให้ไทยถูกดึงเข้าไปอยู่ในวงความขัดแย้ง ซึ่งกรณีนี้ไม่ได้มีเฉพาะกับกัมพูชาเท่านั้น แต่เกิดขึ้นกับลาว, เมียนมา และมาเลเซียด้วย

    นอกจากนี้ ทางการไทยเองก็มีการดำเนินการขอตัวแกนนำสั่งการต่าง ๆ ที่อยู่ในมาเลเซีย มาดำเนินคดีในประเทศไทย ซึ่งได้บ้าง ไม่ได้บ้าง บางกรณีมีการเสียชีวิตในระหว่างทาง ซึ่งเรื่องนี้มีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดระเบียบกันอย่างจริงจัง ก่อนที่จะเกิดความเสียหายกับประเทศไทยไปมากกว่านี้

    สำหรับการสืบสาวหาต้นตอ/ขบวนการ/ผู้จ้างวาน ให้มีการลอบสังหารในครั้งนี้นั้น ไม่น่าจะเป็นเรื่องที่ยากนัก เพราะทราบมาว่าฝ่ายนั้นมีการดำเนินการสื่อสารผ่านระบบสมัยใหม่ ซึ่งทางเราสามารถดักจับ และบันทึกอยู่ในฐานข้อมูลของเรา

    ดังนั้นการดำเนินการสืบค้นเพื่อเอาหลักฐานเหล่านั้นมาพิสูจน์ในทางนิติวิทยาศาสตร์นั้นก็คงไม่ยากเท่าไรนัก แต่ทั้งนี้จะต้องได้รับความร่วมมือจากทางกัมพูชาด้วย

    อย่างไรก็ดี การที่ลิม กินยานั้น เป็นผู้ถือสัญชาติฝรั่งเศสด้วยนั้น ทำให้ฝรั่งเศส, สหภาพยุโรป และนานาชาติต่างก็จับตาดูกรณีนี้เป็นพิเศษ และก็คงจะมีการดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภรรยาของลิม กินยา ซึ่งถือสัญชาติฝรั่งเศสด้วย และอาจจะเข้ามาร่วมประสานงานกับประเทศไทย ซึ่งจะทำให้เรื่องราวมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น

    (ทางการฝรั่งเศสได้ประกาศว่าจะมีการติดตามการสืบสวนของฝ่ายไทยอย่างใกล้ชิด เมื่อวานนี้)

    ซึ่งเรื่องนี้กระทรวงต่างประเทศจะต้องมีการตั้งชุดทำงานขึ้นมา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบมากไปกว่านี้ และในขณะนี้เกิดความแปรปรวนขึ้นพอสมควร เนื่องจากเกิดความเชื่อหลายอย่างขึ้นในโลกออนไลน์ ซึ่งก็อาจจะไม่ใช่ข้อเท็จจริง
    11 มกราคม 2568-รายงานพิเศษของเว็บไซต์ The Structure เกี่ยวกับประเด็นเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทย โดยรศ. ดร.ปณิธาน วัฒนายากร ได้สะท้อนภาพจากเหตุการณ์ลอบสังหาร “ลิม กิมยา”กลางกรุงเทพมหานครว่า เกิดอะไรขึ้น กับประเทศไทย? ‘รศ.ดร.ปณิธาน’ สะท้อนภาพที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ ลอบสังหาร ‘ลิม กินยา’ กลางกรุงเทพมหานคร On 2025-01-10 สืบเนื่องจากกรณีการลอบสังหาร ลิม กิมยา อดีต สส. พรรคสงเคราะห์ชาติกัมพูชา (Cambodia National Rescue Party) และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ถูกลอบยิงที่บริเวณเกาะกลางถนน วงเวียนสิบสามห้าง ตรงข้ามวัดบวรนิเวศวิหาร ในช่วงค่ำของวันที่ 7 ม.ค. 2568 ซึ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจของไทย สามารถระบุตัวคนร้ายจนพบว่าเป็นจ่าเอ็ม-เอกลักษณ์ แพน้อย อดีตทหารนาวิกโยธินของไทย ซึ่งถูกให้ออกจากราชการไปตั้งแต่ปี 2566 แล้ว และสามารถตามจับตัวจ่าเอ็มได้ที่จังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชา ในช่วงค่ำวันที่ 8 ม.ค. 2568 และในเวลานี้ จ่าเอ็มยังอยู่ในระหว่างการควบคุมตัวเพื่อสอบสวนของทางการกัมพูชา เนื่องจากฝ่ายกัมพูชาจะมีการดำเนินคดีกับจ่าเอ็มในข้อหาลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายก่อน รศ.ดร.ปณิธาน วัฒนายากร นักวิเคราะห์และผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง ได้กล่าวว่ากรณีนี้นั้น สะท้อนให้เห็นว่าได้เกิดช่องว่าง หรืออุปสรรค์ในการรักษาความปลอดภัยของฝ่ายความมั่นคงของไทย ทั้งในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ตำรวจสันติบาล, ศูนย์รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ, สำนักข่าวกรอง หรือแม้แต่สภาความมั่นคงเอง ที่อาจจะต้องทำงานให้สอดประสานกันเพื่อการกำหนดแนวทางการคุ้มกันบุคคลสำคัญ ซึ่งจริง ๆ แล้วมีการกำหนดหลักปฎิบัติ หรือระเบียบปฎิบัติประจำ (รปจ.) อยู่แล้ว แต่สำหรับกรณีนี้ ถึงแม้ว่าตัวผู้ถูกลอบสังหารจะไม่ได้ทำการร้องขอการคุ้มกันจากฝ่ายไทย จึงทำให้การจัดชุดรักษาความปลอดภัยนั้นอาจจะทำได้ไม่เต็มที่ แต่ในเมื่อพิจารณาดูแล้วว่า ลิม กินยานั้นเป็นเป้าหมายสำคัญที่อาจจะถูกคุกคาม จนมีความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน อีกทั้งยังมีผลกระทบต่อความมั่นคง และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจส่งชุดรักษาความปลอดภัยไปดูแลลิม กินยา ตั้งแต่เข้าเมือง หรืออาจจะปฎิเสธการให้เข้าเมืองตั้งแต่แรกเลยก็ทำได้ ถ้าพิจารณาแล้วว่าอาจจะคุ้มครองเขาไม่ได้ ซึ่งกรณีนี้จะต้องมีการพิจารณาในรายละเอียดว่าเกิดอะไรขึ้น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา ทางการไทยนั้นมีประสบการณ์ในการให้ความคุ้มครองบุคคลสำคัญจากประเทศเพื่อนบ้านมามากพอสมควร ไม่ว่าจะจากลาว, กัมพูชา, มาเลเซีย และเมียนมา ไทยก็เคยให้การดูแลคุ้มกันมาแล้ว ทางการไทยจะต้องมีการดำเนินการเพื่อการป้องกันเหตุการณ์ที่จะสร้างผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของไทย ว่าเป็นพื้นที่สังหารบุคคลสำคัญ, ไม่มีความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว หรือมีการซ่องสุมกองกำลังติดอาวุธต่าง ๆ โดยมีการใช้คนไทยเข้ามาเป็นเครือข่ายในการปฏิบัติการหลายอย่าง ซึ่งเรื่องนี้มีความสำคัญที่จะต้องดูแลกันให้ดี สำหรับแนวทางในการนำตัวจ่าเอ็ม ผู้ก่อเหตุกลับมาดำเนินคดีในประเทศไทยนั้น มีอยู่ 2 แนวทาง ได้แก่ 1 การดำเนินการตามช่องทางปกติ โดยจะต้องมีการดำเนินคดีในฝั่งกัมพูชาก่อนสักระยะหนึ่ง ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร โดยจะมีการพิจารณาลงโทษ-ลดโทษ-อภัยโทษ แล้วส่งคืนมายังไทยตามสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน ทั้งนี้ได้มีการตั้งข้อหาเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายแล้ว แต่อาจจะมีการกล่าวโทษในคดีอื่นเพิ่มเช่น พกพาอาวุธ และความมีส่วนเกี่ยวข้องกับเครือข่ายอาชญากรรมข้ามแดน ซึ่งทั้งหมดนี้ต้องใช้เวลานานและสร้างความคลุมเครือ 2 การดำเนินการในช่องทางพิเศษ ด้วยวิธีต่างตอบแทน โดยการแลกตัว หรือร้องขอให้ทางกัมพูชาส่งตัวผู้ก่อเหตุให้มาถูกดำเนินคดีในไทยได้อย่างรวดเร็ว แต่กรณีนี้จะต้องระมัดระวังว่าจะกระทบต่อสิทธิมนุษยชน และต้องพิจารณาความตั้งใจจริงของฝ่ายกัมพูชาด้วย เพราะว่าเรื่องนี้นั้นจะเป็นการสะท้อนถึงระดับความสัมพันธ์ หรือเรื่องราวมีความซับซ้อนมากน้อยเพียงใด แต่ทั้งนี้นั้น ควรจะต้องมีการดำเนินการผ่านกลไกของอาเซียน และตำรวจสากล ที่มีข้อตกลงที่ค่อนข้างชัดเจน และเป็นทางการ แทนการใช้ระบบต่างตอบแทน เพื่อป้องกันข้อครหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดหรือห่างเหินระหว่างผู้นำทั้ง 2 ประเทศในบางสมัย ซึ่งจะต้องมีการเปิดเผยข้อเท็จจริงในเรื่องเหล่านี้ผ่านทางอาเซียน สำหรับคำถามที่ว่า ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการคุ้มครองผู้เห็นต่างทางการเมืองจากประเทศอื่นที่เข้ามาลี้ภัยในประเทศไทยหรือไม่ รศ.ดร. ปณิธานกล่าวว่า ในบางช่วงประเทศไทยก็มีขีดความสามารถในการดำเนินการในเรื่องนี้ได้ดี ไทยเคยสามารถจับกุมตัวผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศได้หลายครั้ง อย่างกรณี “ฮัม บาลี” ผู้ก่อเหตุวางระเบิดในอินโดนีเซีย หรือกรณีของ วิกเตอร์ บุช ผู้ค้าอาวุธสงครามชาวรัสเซีย และมีการส่งตัวกลับไปยังประเทศต้นทางได้ และได้รับความชื่นชมจากนานาชาติเป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเคยสามารถสกัดกั้นไม่ให้กลุ่มบุคคลต้องสงสัยเข้าประเทศ อย่างเช่นกลุ่มจากประเทศเกาหลีเหนือ และกลุ่มอื่น ๆ ที่อยู่ในบัญชีรายชื่อกว่า 30 กลุ่ม ซึ่งบางครั้งเราก็ทำได้ดี แต่บางครั้งเราก็มีปัญหา ซึ่งในภาพรวมแล้วเราควรจะปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดกรณีเช่นนี้อีก และกรณีนี้ได้สร้างความเสียหายให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก สำหรับกรณีที่พรรคฝ่ายค้านของกัมพูชากล่าวหาฮุน เซน อดีตนายกฯ กัมพูชาว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการลอบสังหารในครั้งนี้นั้น รศ.ดร. ปณิธานกล่าวว่าเรื่องนี้นั้นถือเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อน ที่จะต้องมีการพิสูจน์ทราบกันให้ชัดเจน ก่อนที่จะมีการกระทบในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แต่ทั้งนี้การที่ฝ่ายรัฐบาล หรือฝ่ายค้านกล่าวหาพุ่งเป้าใส่กัน โดยมีการดึงประเทศไทยเข้าไปเกี่ยวข้องนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่เลย อีกทั้งตลอดเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา ทางการกัมพูชาได้ทำเรื่องร้องขอให้มีการส่งตัวนักเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลกัมพูชา เช่น สม รังสี อดีตผู้นำพรรคฝ่ายค้านกัมพูชากลับ ซึ่งก็มีทั้งกรณีที่ทางการไทยส่งตัวกลับ และไม่ส่งตัวกลับ ดังนั้นเรื่องนี้นั้น ไม่ถือว่าเป็นเรื่องใหม่ และหน่วยงานราชการไทย และฝ่ายความมั่นคงนั้นมีความคุ้นเคยเป็นอย่างดี แต่ทั้งนี้ไทยต้องดำเนินการป้องกันให้มากกว่านี้ เพื่อการป้องกันไม่ให้ไทยถูกดึงเข้าไปอยู่ในวงความขัดแย้ง ซึ่งกรณีนี้ไม่ได้มีเฉพาะกับกัมพูชาเท่านั้น แต่เกิดขึ้นกับลาว, เมียนมา และมาเลเซียด้วย นอกจากนี้ ทางการไทยเองก็มีการดำเนินการขอตัวแกนนำสั่งการต่าง ๆ ที่อยู่ในมาเลเซีย มาดำเนินคดีในประเทศไทย ซึ่งได้บ้าง ไม่ได้บ้าง บางกรณีมีการเสียชีวิตในระหว่างทาง ซึ่งเรื่องนี้มีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดระเบียบกันอย่างจริงจัง ก่อนที่จะเกิดความเสียหายกับประเทศไทยไปมากกว่านี้ สำหรับการสืบสาวหาต้นตอ/ขบวนการ/ผู้จ้างวาน ให้มีการลอบสังหารในครั้งนี้นั้น ไม่น่าจะเป็นเรื่องที่ยากนัก เพราะทราบมาว่าฝ่ายนั้นมีการดำเนินการสื่อสารผ่านระบบสมัยใหม่ ซึ่งทางเราสามารถดักจับ และบันทึกอยู่ในฐานข้อมูลของเรา ดังนั้นการดำเนินการสืบค้นเพื่อเอาหลักฐานเหล่านั้นมาพิสูจน์ในทางนิติวิทยาศาสตร์นั้นก็คงไม่ยากเท่าไรนัก แต่ทั้งนี้จะต้องได้รับความร่วมมือจากทางกัมพูชาด้วย อย่างไรก็ดี การที่ลิม กินยานั้น เป็นผู้ถือสัญชาติฝรั่งเศสด้วยนั้น ทำให้ฝรั่งเศส, สหภาพยุโรป และนานาชาติต่างก็จับตาดูกรณีนี้เป็นพิเศษ และก็คงจะมีการดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภรรยาของลิม กินยา ซึ่งถือสัญชาติฝรั่งเศสด้วย และอาจจะเข้ามาร่วมประสานงานกับประเทศไทย ซึ่งจะทำให้เรื่องราวมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น (ทางการฝรั่งเศสได้ประกาศว่าจะมีการติดตามการสืบสวนของฝ่ายไทยอย่างใกล้ชิด เมื่อวานนี้) ซึ่งเรื่องนี้กระทรวงต่างประเทศจะต้องมีการตั้งชุดทำงานขึ้นมา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบมากไปกว่านี้ และในขณะนี้เกิดความแปรปรวนขึ้นพอสมควร เนื่องจากเกิดความเชื่อหลายอย่างขึ้นในโลกออนไลน์ ซึ่งก็อาจจะไม่ใช่ข้อเท็จจริง
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1092 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตำรวจ เข้าตรวจสอบรถ จยย.ที่ “จ่าเอ็ม” ใช้ก่อเหตุยิงอดีต สส.ฝ่ายค้านกัมพูชาเสียชีวิต หลังนำมาจอดทิ้งไว้ในปั้มน้ำมันเรียบถนนมอเตอร์เวย์

    กรณีคนร้ายใช้อาวุธปืนยิงนายลิม กิมยา อดีต สส.ฝ่ายค้าน ประเทศกัมพูชา นักเคลื่อนไหวทางการเมือง เสียชีวิตบนเกาะกลางถนน ย่านบางลำภู ตรงข้ามวัดบวรนิเวศฯ โดยภาพวงจรปิดพบคนร้ายขับขี่จยย. มาจอดรอ ก่อนจะข้ามถนนไปยิงผู้เสียชีวิต แล้วกลับมาขี่จยย.หลบหนีไป จากนั้นหลังศาลอนุมัติหมายจับผู้ต้องหาคือ นายเอกลักษณ์ แพน้อย หรือจ่าเอ็ม ผู้ต้องหาคดีฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน พกอาวุธไปในทางสาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต

    ความคืบหน้าล่าสุดวันนี้ (8 ม.ค.) พล.ต.ท.สยาม บุญสม ผบช.น. พร้อมด้วย พล.ต.ต.ธีรเดช ธรรมสุธีร์ ผบก.สส.บช.น. เจ้าหน้าที่ บก.สส.บช.น. พฐ. เข้าตรวจสอบรถจยย.ฮอนด้า เวฟ 100 สีแดง ทะเบียน 1 กช 845 สมุทรปราการ ที่คนร้ายนำมาจอดทิ้งไว้บริเวณปั๊มน้ำมันพีที (ปั๊มแก๊สแอลพีจี) ถนนเรียบมอเตอร์เวย์ แขวงและเขตสวนหลวง กทม.

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/crime/detail/9680000002219

    #MGROnline #จ่าเอ็ม #ฝ่ายค้าน #กัมพูชา
    ตำรวจ เข้าตรวจสอบรถ จยย.ที่ “จ่าเอ็ม” ใช้ก่อเหตุยิงอดีต สส.ฝ่ายค้านกัมพูชาเสียชีวิต หลังนำมาจอดทิ้งไว้ในปั้มน้ำมันเรียบถนนมอเตอร์เวย์ • กรณีคนร้ายใช้อาวุธปืนยิงนายลิม กิมยา อดีต สส.ฝ่ายค้าน ประเทศกัมพูชา นักเคลื่อนไหวทางการเมือง เสียชีวิตบนเกาะกลางถนน ย่านบางลำภู ตรงข้ามวัดบวรนิเวศฯ โดยภาพวงจรปิดพบคนร้ายขับขี่จยย. มาจอดรอ ก่อนจะข้ามถนนไปยิงผู้เสียชีวิต แล้วกลับมาขี่จยย.หลบหนีไป จากนั้นหลังศาลอนุมัติหมายจับผู้ต้องหาคือ นายเอกลักษณ์ แพน้อย หรือจ่าเอ็ม ผู้ต้องหาคดีฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน พกอาวุธไปในทางสาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต • ความคืบหน้าล่าสุดวันนี้ (8 ม.ค.) พล.ต.ท.สยาม บุญสม ผบช.น. พร้อมด้วย พล.ต.ต.ธีรเดช ธรรมสุธีร์ ผบก.สส.บช.น. เจ้าหน้าที่ บก.สส.บช.น. พฐ. เข้าตรวจสอบรถจยย.ฮอนด้า เวฟ 100 สีแดง ทะเบียน 1 กช 845 สมุทรปราการ ที่คนร้ายนำมาจอดทิ้งไว้บริเวณปั๊มน้ำมันพีที (ปั๊มแก๊สแอลพีจี) ถนนเรียบมอเตอร์เวย์ แขวงและเขตสวนหลวง กทม. • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/crime/detail/9680000002219 • #MGROnline #จ่าเอ็ม #ฝ่ายค้าน #กัมพูชา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 634 มุมมอง 0 รีวิว
  • คดีนักการเมืองฝ่ายค้านกัมพูชา นาย ลิม คิมยา ถูกมือปืนสังหารอุกอาจข้างวัดบวรฯ ได้ก่อเกิดคำถามมากมาย

    #ลิมคิมยา #ลอบยิงกลางกรุงเทพ #ใบสั่งฆ่าจากใคร? #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
    คดีนักการเมืองฝ่ายค้านกัมพูชา นาย ลิม คิมยา ถูกมือปืนสังหารอุกอาจข้างวัดบวรฯ ได้ก่อเกิดคำถามมากมาย #ลิมคิมยา #ลอบยิงกลางกรุงเทพ #ใบสั่งฆ่าจากใคร? #Sondhix #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิฯ
    Like
    8
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1496 มุมมอง 88 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑✨

    ขณะยังทรงผนวช ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เสด็จพระราชดำเนินมาถวายสักการะบูชาพระร่วงโรจนฤทธิ์ เวียนเทียนประทักษิณรอบองค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม

    cr : สำนักประชาสัมพันธ์เขต ๘ กรมประชาสัมพันธ์
    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #19พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๑✨ ขณะยังทรงผนวช ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เสด็จพระราชดำเนินมาถวายสักการะบูชาพระร่วงโรจนฤทธิ์ เวียนเทียนประทักษิณรอบองค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม cr : สำนักประชาสัมพันธ์เขต ๘ กรมประชาสัมพันธ์ #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #19พฤศจิกายน
    Love
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1080 มุมมอง 0 รีวิว
  • #รอบสนามยามว่าง#
    ..วันนึงเดินผ่านร้าน บ. ท่าพระจันทร์ เห็นลุงคนนึง ถอดพระสร้อยแสตนเลส พร้อมกล่องพระอีก 3_4 กล่อง...มาจะเสนอขาย...เราก็หยุดดู...เผือมีอะไรเข้าตา แล้วจบกันไม่ได้..จะได้สวมต่อเลย....
    ...ท้งหมดคือ พระไพรีพินาศ วัดบวร สมเด็จพระสังฆราช...ลุงแกบอกเก็บมา 30 ปีแล้ว...พระดี พิธีใหญ่ โน่นนี่สารพัด..เปิด องค์ละ 15000 ขายยกหมดเลย...น่าจะมีหลายสิบองค์
    พนักงานร้านก็เปิดกล่องแรก...แล้วก็ผลักออก...แล้วก็ถามลุงว่า แบบนี้ทุกกล่องเลยไหม? ...ลุงตอบว่า ใช่ และโอ้อวดคุณวิเศษต่อ....พนักงานก็ตอบว่า แบบนี้ไม่รับครับ....
    ...ตาลุง ขึ้นเสียง เฮ้ย...พระผมแท้นะ รับจากวัดตรงๆ เก็บมา 30 ปี.......
    ...พนักงานร้าน..ใช่ครับ ..พระดี พิธีดี...แต่เขาเล่นกันหลักร้อย....ลุงขายไหมละ....ถ้าขายจะข่วยซื้อไว้แบ่งเด็กๆ พวกๆ กัน เอาไป live ....ลุงหงุดหงิด...อะไรวะ พระ 30 ปี พิธีดี สมเด็จพระสังฆราช ราคาแบบนี้...ไม่ขายหรอก .....
    .....จบ...
    #ภาพประกอบพระของผู้เขียนเอง# รับจากวัดแท้ๆ เหมือนกัน...
    #รอบสนามยามว่าง# ..วันนึงเดินผ่านร้าน บ. ท่าพระจันทร์ เห็นลุงคนนึง ถอดพระสร้อยแสตนเลส พร้อมกล่องพระอีก 3_4 กล่อง...มาจะเสนอขาย...เราก็หยุดดู...เผือมีอะไรเข้าตา แล้วจบกันไม่ได้..จะได้สวมต่อเลย.... ...ท้งหมดคือ พระไพรีพินาศ วัดบวร สมเด็จพระสังฆราช...ลุงแกบอกเก็บมา 30 ปีแล้ว...พระดี พิธีใหญ่ โน่นนี่สารพัด..เปิด องค์ละ 15000 ขายยกหมดเลย...น่าจะมีหลายสิบองค์ พนักงานร้านก็เปิดกล่องแรก...แล้วก็ผลักออก...แล้วก็ถามลุงว่า แบบนี้ทุกกล่องเลยไหม? ...ลุงตอบว่า ใช่ และโอ้อวดคุณวิเศษต่อ....พนักงานก็ตอบว่า แบบนี้ไม่รับครับ.... ...ตาลุง ขึ้นเสียง เฮ้ย...พระผมแท้นะ รับจากวัดตรงๆ เก็บมา 30 ปี....... ...พนักงานร้าน..ใช่ครับ ..พระดี พิธีดี...แต่เขาเล่นกันหลักร้อย....ลุงขายไหมละ....ถ้าขายจะข่วยซื้อไว้แบ่งเด็กๆ พวกๆ กัน เอาไป live ....ลุงหงุดหงิด...อะไรวะ พระ 30 ปี พิธีดี สมเด็จพระสังฆราช ราคาแบบนี้...ไม่ขายหรอก ..... .....จบ... #ภาพประกอบพระของผู้เขียนเอง# รับจากวัดแท้ๆ เหมือนกัน...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 307 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✨วันนี้ในอดีต ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๙✨

    บนที่ประทับพระตำหนักทรงพรต วัดบวรนิเวศวิหาร ภายหลังทรงลาผนวชแล้ว

    #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #5พฤศจิกายน
    ✨วันนี้ในอดีต ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๙✨ บนที่ประทับพระตำหนักทรงพรต วัดบวรนิเวศวิหาร ภายหลังทรงลาผนวชแล้ว #วันนี้ในอดีต #เรารักสถาบันพระมหากษัตริย์ #พระราชกรณียกิจ #ราชวงศ์จักรี #5พฤศจิกายน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 668 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,564
    วันพระ: แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ (31 October 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดบวรสามัคคี อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
    (ทอดกฐินสามัคคี 31 ต.ค.67)
    02. วัดหนองบัวใหญ่ อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด
    (ทอดกฐินสามัคคี 31 ต.ค.67)
    03. วัดเกล็ดแรด อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินสามัคคี 01 พ.ย.67)
    04. วัดคุณพุ่ม อ.บึงนาราง จ.พิจิตร
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    05. วัดนิวาสสถาน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.66)
    06. วัดสวัสดิ์วารีสีมาราม เขตดุสิต กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    07. วัดคัมภีร์โรอนุสรณ์ อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    08. วัดดอนกระเบื้อง อ.โพธาราม จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    09. วัดต้นสน อ.เมือง จ.อ่างทอง
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    10. วัดเทพนิมิต อ.เมือง จ.เลย
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 104 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,564 วันพระ: แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ (31 October 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดบวรสามัคคี อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก (ทอดกฐินสามัคคี 31 ต.ค.67) 02. วัดหนองบัวใหญ่ อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด (ทอดกฐินสามัคคี 31 ต.ค.67) 03. วัดเกล็ดแรด อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินสามัคคี 01 พ.ย.67) 04. วัดคุณพุ่ม อ.บึงนาราง จ.พิจิตร (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 05. วัดนิวาสสถาน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.66) 06. วัดสวัสดิ์วารีสีมาราม เขตดุสิต กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 07. วัดคัมภีร์โรอนุสรณ์ อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 08. วัดดอนกระเบื้อง อ.โพธาราม จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 09. วัดต้นสน อ.เมือง จ.อ่างทอง (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 10. วัดเทพนิมิต อ.เมือง จ.เลย (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 104 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 491 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,564
    วันพระ: แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ (31 October 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดบวรสามัคคี อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
    (ทอดกฐินสามัคคี 31 ต.ค.67)
    02. วัดหนองบัวใหญ่ อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด
    (ทอดกฐินสามัคคี 31 ต.ค.67)
    03. วัดเกล็ดแรด อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินสามัคคี 01 พ.ย.67)
    04. วัดคุณพุ่ม อ.บึงนาราง จ.พิจิตร
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    05. วัดนิวาสสถาน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.66)
    06. วัดสวัสดิ์วารีสีมาราม เขตดุสิต กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    07. วัดคัมภีร์โรอนุสรณ์ อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    08. วัดดอนกระเบื้อง อ.โพธาราม จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    09. วัดต้นสน อ.เมือง จ.อ่างทอง
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    10. วัดเทพนิมิต อ.เมือง จ.เลย
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 104 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,564 วันพระ: แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ (31 October 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดบวรสามัคคี อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก (ทอดกฐินสามัคคี 31 ต.ค.67) 02. วัดหนองบัวใหญ่ อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด (ทอดกฐินสามัคคี 31 ต.ค.67) 03. วัดเกล็ดแรด อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินสามัคคี 01 พ.ย.67) 04. วัดคุณพุ่ม อ.บึงนาราง จ.พิจิตร (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 05. วัดนิวาสสถาน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.66) 06. วัดสวัสดิ์วารีสีมาราม เขตดุสิต กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 07. วัดคัมภีร์โรอนุสรณ์ อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 08. วัดดอนกระเบื้อง อ.โพธาราม จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 09. วัดต้นสน อ.เมือง จ.อ่างทอง (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 10. วัดเทพนิมิต อ.เมือง จ.เลย (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 104 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 485 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,549
    วันพุธ: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๗ (16 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา
    (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67)
    22. วัดสุทธิวาตวราราม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
    (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67)
    23. วัดอมรินทราราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67)
    24. วัดหลวงสุมังคลาราม อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 30 ต.ค.67)
    25. วัดคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67)
    26. วัดทองธรรมชาติ เขตคลองสาน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67)
    27. วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67)
    28. วัดเฉลิมพระเกียรติ อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    29. วัดนางนองวรวิหาร เขตจอมทอง กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    30. วัดบวรมงคล เขตบางพลัด กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๙ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,549 วันพุธ: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๗ (16 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67) 22. วัดสุทธิวาตวราราม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67) 23. วัดอมรินทราราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67) 24. วัดหลวงสุมังคลาราม อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ (ทอดกฐินพระราชทาน 30 ต.ค.67) 25. วัดคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67) 26. วัดทองธรรมชาติ เขตคลองสาน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67) 27. วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67) 28. วัดเฉลิมพระเกียรติ อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 29. วัดนางนองวรวิหาร เขตจอมทอง กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 30. วัดบวรมงคล เขตบางพลัด กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๙ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,549
    วันพุธ: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๗ (16 October 2024)

    รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา
    (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67)
    22. วัดสุทธิวาตวราราม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
    (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67)
    23. วัดอมรินทราราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67)
    24. วัดหลวงสุมังคลาราม อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 30 ต.ค.67)
    25. วัดคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67)
    26. วัดทองธรรมชาติ เขตคลองสาน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67)
    27. วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67)
    28. วัดเฉลิมพระเกียรติ อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    29. วัดนางนองวรวิหาร เขตจอมทอง กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    30. วัดบวรมงคล เขตบางพลัด กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๙ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,549 วันพุธ: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๗ (16 October 2024) รายชื่อทำบุญ Photo Album ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินพระราชทาน 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67) 22. วัดสุทธิวาตวราราม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67) 23. วัดอมรินทราราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 29 ต.ค.67) 24. วัดหลวงสุมังคลาราม อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ (ทอดกฐินพระราชทาน 30 ต.ค.67) 25. วัดคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67) 26. วัดทองธรรมชาติ เขตคลองสาน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67) 27. วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 31 ต.ค.67) 28. วัดเฉลิมพระเกียรติ อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 29. วัดนางนองวรวิหาร เขตจอมทอง กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) 30. วัดบวรมงคล เขตบางพลัด กรุงเทพฯ (ทอดกฐินพระราชทาน 1 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๙ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 230 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชียChoawalit Chotwattanaphong พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วันChoawalit Chotwattanaphong


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1576 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,543
    วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (10 October 2024)

    รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 1/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดธงไทยยาราม อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    02. วัดธาตุมังคลาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    03. วัดน้ำเต้า อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    04. วัดบดมาดสามัคคี อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    05. วัดบวรนิเวชธาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    06. วัดบางเลนเจริญ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    07. วัดบึงพระราม อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระเเก้ว
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    08. วัดประตูดิน อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    09. วัดป่าคีรีเขต อ.แก่งหางแมว จ.จันทรบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    10. วัดปางมะกง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,543 วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (10 October 2024) รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 1/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดธงไทยยาราม อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 02. วัดธาตุมังคลาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 03. วัดน้ำเต้า อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 04. วัดบดมาดสามัคคี อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 05. วัดบวรนิเวชธาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 06. วัดบางเลนเจริญ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 07. วัดบึงพระราม อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระเเก้ว (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 08. วัดประตูดิน อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 09. วัดป่าคีรีเขต อ.แก่งหางแมว จ.จันทรบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 10. วัดปางมะกง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 109 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,543
    วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (10 October 2024)

    รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 1/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดธงไทยยาราม อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    02. วัดธาตุมังคลาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    03. วัดน้ำเต้า อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    04. วัดบดมาดสามัคคี อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    05. วัดบวรนิเวชธาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    06. วัดบางเลนเจริญ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    07. วัดบึงพระราม อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระเเก้ว
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    08. วัดประตูดิน อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    09. วัดป่าคีรีเขต อ.แก่งหางแมว จ.จันทรบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    10. วัดปางมะกง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,543 วันพระ: ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (10 October 2024) รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 1/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดธงไทยยาราม อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 02. วัดธาตุมังคลาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 03. วัดน้ำเต้า อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 04. วัดบดมาดสามัคคี อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 05. วัดบวรนิเวชธาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 06. วัดบางเลนเจริญ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 07. วัดบึงพระราม อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระเเก้ว (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 08. วัดประตูดิน อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 09. วัดป่าคีรีเขต อ.แก่งหางแมว จ.จันทรบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) 10. วัดปางมะกง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 09 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 54 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายงานจากเพจLiving Pop เกี่ยวกับผลกระทบผู้ใช้เส้นทางสัญจรในโซนเกาะรัตนโกสินทร์หรือเขตเมืองเก่า พื้นที่ประวัติศาสตร์ในเขตพระนครต้องรู้ถึงอนาคตถนนสายหลักของย่านเมืองเก่าจะถูกปิดเบี่ยงการจราจรเพื่อก่อสร้างสถานี interchange ใหญ่ เนื้อหาระบุว่า

    “ 🧡 สายสีม่วงก็ยังมี สายสีส้มก็กำลังมา ใครใช้ถนนในเขตเมืองเก่าเดินทางทุกวันต้องปรับตัวรับการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายใหม่ เพราะทางเลือกน้อยลงกว่าเดิมอีกครับ

    ทุกวันนี้ใครที่เดินทางผ่านตัวเมืองเก่าคงเห็นสภาพการปิดถนนก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง ไล่มาตามถนนพระสุเมรุตั้งแต่วัดบวรนิเวศ แยกผ่านฟ้า ลงมาจนถึงสวนรมณีนาถ แยกสามยอด ไปสุดที่เชิงสะพานพระปกเกล้า

    แต่ในอนาคตอันใกล้นี้ ถนนสายหลักของย่านเมืองเก่าจะถูกปิดเบี่ยงการจราจรเพื่อก่อสร้างสถานี interchange ใหญ่ นั่นก็คือ...

    "ถนนราชดำเนินกลาง"

    โดยแนว "🧡 สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย" จะอยู่ใต้ถนนราชดำเนินกลาง ค่อนไปทางฝั่งทิศเหนือ (ขาออก) โดยตัวสถานีจะทอดยาวตั้งแต่นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ ไปจนถึงวงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเลยครับ

    สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย จะเป็นสถานีที่เชื่อมต่อกันกับสถานีชื่อเดียวกันของสายสีม่วง ที่กำลังก่อสร้างอยู่ใต้ถนนพระสุเมรุ โดยมีทางเดินเชื่อมถึงกันทั้งแบบสาธารณะ (unpaid area) และพื้นที่ผู้โดยสาร (paid area) แยกกันคนละชั้นเลย โดยทางเชื่อมจะอ้อมไปด้านหลังตึกเทเวศประกันภัย ที่อยู่ตรงหัวมุมแยกป้อมมหากาฬ

    ---------------

    นอกจากสถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ใกล้เคียงกันยังมีอีกสถานีนึงครับ นั่นก็คือ "🧡 สถานีสนามหลวง" ซึ่งจะตั้งอยู่เชิงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า บนถนนราชินี ด้านหน้าโรงละครแห่งชาติและวัดบวรสถานสุทธาวาส

    โดยจะมีอุโมงค์ทางเข้าออกลอดใต้เชิงทางขึ้นสะพานปิ่นเกล้า ไปโผล่ฝั่งหอศิลป์และพิพิธภัณฑ์เหรียญด้วย รวมถึงมีทางเข้าออกที่ริมขอบสนามหลวงด้วยอีก ซึ่งการขุดทางเชื่อมทางเข้าออกก็อาจจะต้องมีการเปิดหน้าดินบ้างนิดหน่อย

    ---------------

    อย่างไรก็ตาม ตามข้อมูลในเอกสาร EIA ระบุเอาไว้ว่าทั้ง 2 สถานีนี้จะใช้เทคนิคการก่อสร้างแบบพิเศษที่เรียกว่า Pipe Roof คือการหล่อผนังด้านข้างสถานีลงไปก่อน แล้วดันท่อขนาดใหญ่จากด้านข้าง เสียบเข้าไปเชื่อมผนังสถานีทั้งสองฝั่ง โดยจะดันท่อแบบนี้เรียงติดกันเป็นพืดๆ ให้ทำหน้าที่เหมือนเป็นหลังคาสถานีชั่วคราว จากนั้นจะขุดลงไปเพื่อก่อสร้างสถานี "โดยไม่เปิดหน้าดินบนถนน" เทคนิคนี้ถูกใช้ครั้งแรกที่สถานีสนามไชย ซึ่งก็ต้องดูกันต่อไปครับ แต่ผมว่าสุดท้ายก็ต้องมีปิดมีเบี่ยงเลนอยู่ดี

    ---------------

    ภาพแผนผังทางเข้าออกสถานีทั้ง 2 สถานี ผมใส่ไว้ให้ใน comment เหมือนเดิมนะครับ แล้วพรุ่งนี้มาดูกันต่อในตอนสุดท้าย กับโซนฝั่งธน ช่วงศิริราช-บางขุนนนท์ครับ ☺️”

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/kfP8GVeDZx3ftnLy/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    รายงานจากเพจLiving Pop เกี่ยวกับผลกระทบผู้ใช้เส้นทางสัญจรในโซนเกาะรัตนโกสินทร์หรือเขตเมืองเก่า พื้นที่ประวัติศาสตร์ในเขตพระนครต้องรู้ถึงอนาคตถนนสายหลักของย่านเมืองเก่าจะถูกปิดเบี่ยงการจราจรเพื่อก่อสร้างสถานี interchange ใหญ่ เนื้อหาระบุว่า “ 🧡 สายสีม่วงก็ยังมี สายสีส้มก็กำลังมา ใครใช้ถนนในเขตเมืองเก่าเดินทางทุกวันต้องปรับตัวรับการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายใหม่ เพราะทางเลือกน้อยลงกว่าเดิมอีกครับ ทุกวันนี้ใครที่เดินทางผ่านตัวเมืองเก่าคงเห็นสภาพการปิดถนนก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง ไล่มาตามถนนพระสุเมรุตั้งแต่วัดบวรนิเวศ แยกผ่านฟ้า ลงมาจนถึงสวนรมณีนาถ แยกสามยอด ไปสุดที่เชิงสะพานพระปกเกล้า แต่ในอนาคตอันใกล้นี้ ถนนสายหลักของย่านเมืองเก่าจะถูกปิดเบี่ยงการจราจรเพื่อก่อสร้างสถานี interchange ใหญ่ นั่นก็คือ... "ถนนราชดำเนินกลาง" โดยแนว "🧡 สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย" จะอยู่ใต้ถนนราชดำเนินกลาง ค่อนไปทางฝั่งทิศเหนือ (ขาออก) โดยตัวสถานีจะทอดยาวตั้งแต่นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ ไปจนถึงวงเวียนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเลยครับ สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย จะเป็นสถานีที่เชื่อมต่อกันกับสถานีชื่อเดียวกันของสายสีม่วง ที่กำลังก่อสร้างอยู่ใต้ถนนพระสุเมรุ โดยมีทางเดินเชื่อมถึงกันทั้งแบบสาธารณะ (unpaid area) และพื้นที่ผู้โดยสาร (paid area) แยกกันคนละชั้นเลย โดยทางเชื่อมจะอ้อมไปด้านหลังตึกเทเวศประกันภัย ที่อยู่ตรงหัวมุมแยกป้อมมหากาฬ --------------- นอกจากสถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ใกล้เคียงกันยังมีอีกสถานีนึงครับ นั่นก็คือ "🧡 สถานีสนามหลวง" ซึ่งจะตั้งอยู่เชิงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า บนถนนราชินี ด้านหน้าโรงละครแห่งชาติและวัดบวรสถานสุทธาวาส โดยจะมีอุโมงค์ทางเข้าออกลอดใต้เชิงทางขึ้นสะพานปิ่นเกล้า ไปโผล่ฝั่งหอศิลป์และพิพิธภัณฑ์เหรียญด้วย รวมถึงมีทางเข้าออกที่ริมขอบสนามหลวงด้วยอีก ซึ่งการขุดทางเชื่อมทางเข้าออกก็อาจจะต้องมีการเปิดหน้าดินบ้างนิดหน่อย --------------- อย่างไรก็ตาม ตามข้อมูลในเอกสาร EIA ระบุเอาไว้ว่าทั้ง 2 สถานีนี้จะใช้เทคนิคการก่อสร้างแบบพิเศษที่เรียกว่า Pipe Roof คือการหล่อผนังด้านข้างสถานีลงไปก่อน แล้วดันท่อขนาดใหญ่จากด้านข้าง เสียบเข้าไปเชื่อมผนังสถานีทั้งสองฝั่ง โดยจะดันท่อแบบนี้เรียงติดกันเป็นพืดๆ ให้ทำหน้าที่เหมือนเป็นหลังคาสถานีชั่วคราว จากนั้นจะขุดลงไปเพื่อก่อสร้างสถานี "โดยไม่เปิดหน้าดินบนถนน" เทคนิคนี้ถูกใช้ครั้งแรกที่สถานีสนามไชย ซึ่งก็ต้องดูกันต่อไปครับ แต่ผมว่าสุดท้ายก็ต้องมีปิดมีเบี่ยงเลนอยู่ดี --------------- ภาพแผนผังทางเข้าออกสถานีทั้ง 2 สถานี ผมใส่ไว้ให้ใน comment เหมือนเดิมนะครับ แล้วพรุ่งนี้มาดูกันต่อในตอนสุดท้าย กับโซนฝั่งธน ช่วงศิริราช-บางขุนนนท์ครับ ☺️” ที่มา : https://www.facebook.com/share/kfP8GVeDZx3ftnLy/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Love
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 906 มุมมอง 0 รีวิว
  • #เล่าสู่กันฟัง

    คนที่ติดตามเพจพวกเรามาตั้งแต่ต้นหลายคนจะรู้ดีเลยว่าถ้าพวกเราเล่นใครคือจะไม่เคยเล่นแบบเลื่อนลอย

    นั่นเพราะเราเป็นเงาซึ่งมันไม่น่าเชื่อถือเป็นทุนเดิมอยู่แล้วเราจึงต้องขุดหาข้อมูลให้ลึกๆเอามาแนบบทความให้เห็นความจริงที่จับต้องได้

    เราเปิดเพจขึ้นมาโดยใช้ภาพของโจวเหวินฟะเป็นภาพโพรไฟล์ ในขณะที่ช่องส่องผีมีตัวตนจริง

    ชสผ.มีคนติดตามร่วม 2 ล้าน แถมรายการ on air อยู่ช่อง 8 ส่วนเราเปิดเพจได้ 3 เดือนมีคนติดตามหลักสิบ..มองไม่เห็นแสงแห่งชัยชนะ แต่สุดท้ายเราชนะขาด

    ในทุกๆวันจะมีพี่ติ่งส่องผีเป็นร้อยๆเลยขับเฟซมาจอดที่เพจเหยื่อโชว์สกิลสมถานะกระบือบินเสร็จแล้วก็งับเบ็ดที่เราวางไว้ติดปากกลับไปทุกราย

    เราเลือกเป้าโจมตีไปที่ เรนนี่ ผู้วิเศษดาวดังตัวชูโรงประจำช่องส่องผี การบ้านที่พวกเราต้องทำคือหาข้อมูลมาหักร้าง ให้โลกเห็นว่าเรนนี่ ของปลอมลวงโลก

    ซึ่งการตามหาประวัติอาชญากรสำหรับพวกเราแล้วมันเป็นงานไม่ยากหรอก คนที่ตามหายากที่สุดคือ..คนดีๆคนที่ไม่เคยทำผิดบาป คนที่ไม่เคยมีคดีติดตัว

    บ๊วย..อาศัยความเป็นคนในวงการบันเทิง จึงรู้ช่องทางการจะปั้นเรนนี่ให้โด่งดัง พาเรนนี่เดินสายออกทีวี

    และจุดสลบของคนลวงโลกคือ..โกหกให้ถูกจับได้

    ทีมงานเราลงพื้นที่ไปย่านบ้านย่านโรงเรียนของเรนนี่ เราค้นหาคลิปทุกนาที ภาพทุกใบที่เรนนี่เคยเผยแพร่เอาไว้บนโลกออนไลน์ทุกช่องทาง

    แล้วเอาคลิปเอาเรื่องเล่าจากคนข้างบ้านเรนนี่ที่มีมากมายมาถอดหาช่องโจมตี แล้วก็เห็นช่องทางโจมตี

    นั่นคือเราต้องโจมตีไปที่สารตั้งต้นที่เรนนี่อ้างว่าได้พลังวิเศษมา ถ้าเราพิสูจน์ได้ว่าสตอรี่การได้มาซึ่งพลังวิเศษของเรนนี่เป็นเรื่องโกหก..พังทั้งคณะ

    เรนนี่..อ้างว่าตอนเด็กรถคว่ำ คอหักตุย พร้อมคนอื่นอีก 4 ศพ ตัวเองตุยในที่เกิดเหตุ แล้วไปฟื้นในห้องดับจิต

    ออกจากห้องดับจิตมานอนพักฟื้นในโรงพยาบาล 90 วัน ระหว่างที่อยู่ในห้องดับจิตเรนนี่ไปนรก เจอกับท่านยมซึ่งเป็นพ่อของเรนนี่ในอดีตชาติ

    พ่อยมของเรนนี่จึงส่งพ่อปู่ 3 ตามาสอนวิชาทุกค่ำคืน พอฟื้นคืนชีพขึ้นมาเลยมีตาทิพย์ ออกต้มตุ๋นผู้คน

    เรานับ 1 จากการหาประวัติในใบ opd-ipd ว่าตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบันเรนนี่เข้าโรงพยาบาลเพราะอุบัติเหตุหนักๆบ้างไหม

    ผลที่ได้คือเรนนี่เข้าโรงพยาบาล 4 ครั้ง เป็นการคลอดลูกผู้หญิง 2 ครั้ง เล่นชู้โดนผัวกระทืบ 1 ครั้ง ป่วย 1 ครั้ง

    เรนนี่..ไม่เคยเข้าโรงพยาบาลเพราะรถคว่ำและไม่เคยนอนโรงพยาบาล 90 วัน ดังนั้นจึงเป็นความบ้งที่ 1 ของเรนนี่

    ถ้าไม่เคยเข้าโรงพยาบาลเพราะอุบัติเหตุ=โกหกเรื่องการได้มาของพลังวิเศษตาทิพย์..ปลอมในปลอม

    เรนนี่..อ้างว่าเรียนจบนักธรรมเอกจากวัดบวร พวกเราก็สืบค้นไปที่วัดบวรไม่มีชื่อเรนนี่

    พวกเราจึงเช็คไปที่สำนักแม่กองธรรมสนามหลวง จึงพบว่าเรนนี่เรียนจบธรรมศึกษาชั้นโท จากวัดบึงบา เมื่อปี ๒๕๔๘

    จบนักธรรมโท ก็โกหกว่าจบนักธรรมเอก จบวัดบึงบาก็บอกว่าจบจากวัดบวร นั่นคือบ้งที่ 2

    เรนนี่..บอกว่าได้ทุนไปเรียนธรรมที่อินเดียมา 6 เดือน เคยไปเที่ยวยุโรปมา 6 ประเทศ ไปเจอผีที่ญี่ปุ่น ไปเดินเล่นที่เกาหลี

    เราจึงเช็คประวัติการเดินทางของเรนนี่ ผลที่ได้คือเดินทางออกนอกประเทษ 9 ครั้ง พม่า-เขมร 8 ครั้งและไปไต้หวัน 1 ครั้งรวมเป็น 9 ครั้ง นั่นคือบ้งที่ 3

    และถูกพวกเราจับผิดได้อีกนับร้อยบ้ง จากผู้วิเศษตาทิพย์กลายเป็นนักต้มตุ๋นออนไลน์ ได้คดีกันไปทั่วหน้า

    พอถูกดำเนินคดี ความร้าวฉานก็เริ่มก่อตัว สุดท้ายวงแตกแยกทางกันไป จะมาพบเจอกันพร้อมหน้าพร้อมตาก็ต่อเมื่อ..อยู่ในบัลลังก์

    ทุกวันนี้ที่เราไม่ได้ฟาดเพราะปล่อยให้พวกมันก่อคดีเพิ่มไปเรื่อยๆ ถ้าสอบสวนกลางมีความเห็นสั่งฟ้องศาล

    เราจะแจ้งหมายข่าวไปทุกช่อง ส่งข่าวไปหาเพจดาร์กที่เป็นพันธมิตร แล้วคดีฉ้อโกงประชาชนมันจะดังเอามากๆเลย

    เหยื่อ..ที่เคยถูกเรียกเก็บค่าทำพิธีกรรมต่างๆ ก็จะรู้ตัวว่าอ้าวนี่กูให้นักต้มตุ๋นแก้กรรมให้กูเหรอวะเนี่ย ถถถ

    ถ้าเราโชคดี เหยื่อของเรนนี่อาจจะทักมาหาเราก็ได้ 1 คนก็ 1 คดี มาหาเรา 2 คนก็ 2 คดี ถ้ามาหลายคนยิ่งสนุกเลย

    #อย่าให้ได้ขุด
    @King
    #เล่าสู่กันฟัง คนที่ติดตามเพจพวกเรามาตั้งแต่ต้นหลายคนจะรู้ดีเลยว่าถ้าพวกเราเล่นใครคือจะไม่เคยเล่นแบบเลื่อนลอย นั่นเพราะเราเป็นเงาซึ่งมันไม่น่าเชื่อถือเป็นทุนเดิมอยู่แล้วเราจึงต้องขุดหาข้อมูลให้ลึกๆเอามาแนบบทความให้เห็นความจริงที่จับต้องได้ เราเปิดเพจขึ้นมาโดยใช้ภาพของโจวเหวินฟะเป็นภาพโพรไฟล์ ในขณะที่ช่องส่องผีมีตัวตนจริง ชสผ.มีคนติดตามร่วม 2 ล้าน แถมรายการ on air อยู่ช่อง 8 ส่วนเราเปิดเพจได้ 3 เดือนมีคนติดตามหลักสิบ..มองไม่เห็นแสงแห่งชัยชนะ แต่สุดท้ายเราชนะขาด ในทุกๆวันจะมีพี่ติ่งส่องผีเป็นร้อยๆเลยขับเฟซมาจอดที่เพจเหยื่อโชว์สกิลสมถานะกระบือบินเสร็จแล้วก็งับเบ็ดที่เราวางไว้ติดปากกลับไปทุกราย เราเลือกเป้าโจมตีไปที่ เรนนี่ ผู้วิเศษดาวดังตัวชูโรงประจำช่องส่องผี การบ้านที่พวกเราต้องทำคือหาข้อมูลมาหักร้าง ให้โลกเห็นว่าเรนนี่ ของปลอมลวงโลก ซึ่งการตามหาประวัติอาชญากรสำหรับพวกเราแล้วมันเป็นงานไม่ยากหรอก คนที่ตามหายากที่สุดคือ..คนดีๆคนที่ไม่เคยทำผิดบาป คนที่ไม่เคยมีคดีติดตัว บ๊วย..อาศัยความเป็นคนในวงการบันเทิง จึงรู้ช่องทางการจะปั้นเรนนี่ให้โด่งดัง พาเรนนี่เดินสายออกทีวี และจุดสลบของคนลวงโลกคือ..โกหกให้ถูกจับได้ ทีมงานเราลงพื้นที่ไปย่านบ้านย่านโรงเรียนของเรนนี่ เราค้นหาคลิปทุกนาที ภาพทุกใบที่เรนนี่เคยเผยแพร่เอาไว้บนโลกออนไลน์ทุกช่องทาง แล้วเอาคลิปเอาเรื่องเล่าจากคนข้างบ้านเรนนี่ที่มีมากมายมาถอดหาช่องโจมตี แล้วก็เห็นช่องทางโจมตี นั่นคือเราต้องโจมตีไปที่สารตั้งต้นที่เรนนี่อ้างว่าได้พลังวิเศษมา ถ้าเราพิสูจน์ได้ว่าสตอรี่การได้มาซึ่งพลังวิเศษของเรนนี่เป็นเรื่องโกหก..พังทั้งคณะ เรนนี่..อ้างว่าตอนเด็กรถคว่ำ คอหักตุย พร้อมคนอื่นอีก 4 ศพ ตัวเองตุยในที่เกิดเหตุ แล้วไปฟื้นในห้องดับจิต ออกจากห้องดับจิตมานอนพักฟื้นในโรงพยาบาล 90 วัน ระหว่างที่อยู่ในห้องดับจิตเรนนี่ไปนรก เจอกับท่านยมซึ่งเป็นพ่อของเรนนี่ในอดีตชาติ พ่อยมของเรนนี่จึงส่งพ่อปู่ 3 ตามาสอนวิชาทุกค่ำคืน พอฟื้นคืนชีพขึ้นมาเลยมีตาทิพย์ ออกต้มตุ๋นผู้คน เรานับ 1 จากการหาประวัติในใบ opd-ipd ว่าตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบันเรนนี่เข้าโรงพยาบาลเพราะอุบัติเหตุหนักๆบ้างไหม ผลที่ได้คือเรนนี่เข้าโรงพยาบาล 4 ครั้ง เป็นการคลอดลูกผู้หญิง 2 ครั้ง เล่นชู้โดนผัวกระทืบ 1 ครั้ง ป่วย 1 ครั้ง เรนนี่..ไม่เคยเข้าโรงพยาบาลเพราะรถคว่ำและไม่เคยนอนโรงพยาบาล 90 วัน ดังนั้นจึงเป็นความบ้งที่ 1 ของเรนนี่ ถ้าไม่เคยเข้าโรงพยาบาลเพราะอุบัติเหตุ=โกหกเรื่องการได้มาของพลังวิเศษตาทิพย์..ปลอมในปลอม เรนนี่..อ้างว่าเรียนจบนักธรรมเอกจากวัดบวร พวกเราก็สืบค้นไปที่วัดบวรไม่มีชื่อเรนนี่ พวกเราจึงเช็คไปที่สำนักแม่กองธรรมสนามหลวง จึงพบว่าเรนนี่เรียนจบธรรมศึกษาชั้นโท จากวัดบึงบา เมื่อปี ๒๕๔๘ จบนักธรรมโท ก็โกหกว่าจบนักธรรมเอก จบวัดบึงบาก็บอกว่าจบจากวัดบวร นั่นคือบ้งที่ 2 เรนนี่..บอกว่าได้ทุนไปเรียนธรรมที่อินเดียมา 6 เดือน เคยไปเที่ยวยุโรปมา 6 ประเทศ ไปเจอผีที่ญี่ปุ่น ไปเดินเล่นที่เกาหลี เราจึงเช็คประวัติการเดินทางของเรนนี่ ผลที่ได้คือเดินทางออกนอกประเทษ 9 ครั้ง พม่า-เขมร 8 ครั้งและไปไต้หวัน 1 ครั้งรวมเป็น 9 ครั้ง นั่นคือบ้งที่ 3 และถูกพวกเราจับผิดได้อีกนับร้อยบ้ง จากผู้วิเศษตาทิพย์กลายเป็นนักต้มตุ๋นออนไลน์ ได้คดีกันไปทั่วหน้า พอถูกดำเนินคดี ความร้าวฉานก็เริ่มก่อตัว สุดท้ายวงแตกแยกทางกันไป จะมาพบเจอกันพร้อมหน้าพร้อมตาก็ต่อเมื่อ..อยู่ในบัลลังก์ ทุกวันนี้ที่เราไม่ได้ฟาดเพราะปล่อยให้พวกมันก่อคดีเพิ่มไปเรื่อยๆ ถ้าสอบสวนกลางมีความเห็นสั่งฟ้องศาล เราจะแจ้งหมายข่าวไปทุกช่อง ส่งข่าวไปหาเพจดาร์กที่เป็นพันธมิตร แล้วคดีฉ้อโกงประชาชนมันจะดังเอามากๆเลย เหยื่อ..ที่เคยถูกเรียกเก็บค่าทำพิธีกรรมต่างๆ ก็จะรู้ตัวว่าอ้าวนี่กูให้นักต้มตุ๋นแก้กรรมให้กูเหรอวะเนี่ย ถถถ ถ้าเราโชคดี เหยื่อของเรนนี่อาจจะทักมาหาเราก็ได้ 1 คนก็ 1 คดี มาหาเรา 2 คนก็ 2 คดี ถ้ามาหลายคนยิ่งสนุกเลย #อย่าให้ได้ขุด @King
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 959 มุมมอง 0 รีวิว
  • ป้อมปราการ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

    กำแพงเมืองพระนครกรุงรัตนโกสินทร์นั้นสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 7 กิโลเมตร ครอบคลุมเขตเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ มีป้อมสังเกตุการณ์จำนวนถึง 14 ป้อม ป้อมปราการที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งมี 14 ป้อม คือ

    1. ป้อมพระสุเมรุ ป้อมที่อยู่เหนือสุดของเกาะรัตนโกสินทร์
    2. ป้อมยุคุนธร ตรงหน้าวัดบวรนิเวศวิหาร บัดนี้เหลือแต่กำแพงและประตูเมืองเท่านั้น
    3. ป้อมมหาปราบ ระหว่างสะพานเฉลิมวันชาติกับแยกผ่านฟ้าลีลาศ ตรงหัวโค้งถนนพระสุเมรุ
    4. ป้อมมหากาฬ เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ
    5. ป้อมหมู่ทะลวง (ทลวง) ใกล้หัวถนนหลวง ตรงข้ามสวนรมณีนาถและร้านเครื่องหวายข้างสวนรมณีนาถ แต่ก่อนสวนรมณีนาถคือเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ก่อนถูกยุบเป็นสวนสาธารณะกับพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ ส่วนป้อมหมู่ทลวงโดนทุบทิ้งไปบางส่วนเมื่อเมื่อปี พ.ศ. 2440 เพื่อนำอิฐไปสร้างทางรถไฟจากอยุธยาไปบ้านภาชีและแก่งคอย
    6. ป้อมเสือทะยาน (ทยาน) อยู่ใกล้สะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) ตรงโรงแรมมิรามา
    7. ป้อมมหาไชย ปัจจุบันคือธนาคารทหารไทย สาขาวังบูรพา หัวถนนเยาวราช แถวสะพานหัน ทุบทิ้งเมื่อปลายธันวาคม พ.ศ. 2469
    8. ป้อมจักรเพชร ป้อมที่อยู่ใต้สุดของเกาะรัตนโกสินทร์ อยู่ตรงปากคลองรอบกรุง เชิงสะพานพุทธยอดฟ้า
    9. ป้อมผีเสื้อ ปัจจุบันปากคลองคูเมืองเดิมด้านใต้ ฝั่งปากคลองตลาด
    10. ป้อมมหาฤกษ์ ปัจจุบันอยู่ในบริเวณโรงเรียนราชินี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับป้อมวิชัยประสิทธิ์ซึ่งอยู่ฝั่งธนบุรี
    11. ป้อมมหายักษ์ อยู่บริเวณท่าเตียน แถว ๆ ตึกกรมการค้าภายใน เก่า
    12. ป้อมพระจันทร์ ปัจจุบันคือท่าพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    13. ป้อมพระอาทิตย์ ปัจจุบันคือเชิงสะพานพระปิ่นเกล้า ปากคลองคูเมืองเดิม
    14. ป้อมอิสินธร ปัจจุบันคือพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตรงข้ามซอยชนะสงคราม ทางลัดเข้าวัดชนะสงคราม

    โดยประตูเมืองและกำแพงเมือง ทางทิศเหนือนั้นกรมศิลปากรได้บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นประตูเมืองตามแบบในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นประตูยอด โดยแตกต่างจากประตูไม้ทาดินแดงในสมัยรัชกาลที่ 1 และประตูก่ออิฐข้างบนซึ่งใช้เป็นหอรบในสมัยรัชกาลที่ 3

    ส่วนกำแพงเมืองทางด้านป้อมมหากาฬนั้น ได้ถูกรื้อถอนออกเป็นจำนวนมากเพื่อสร้างถนน และที่อยู่อาศัย จะเหลือให้เห็นเพียงระยะประมาณ 100 เมตร ติดต่อกับตัวป้อมมหากาฬ ด้านหลังกำแพงปัจจุบันเป็นสวนสาธารณะ เป็นอีกหนึ่งสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวกรุงเทพมหานครและนักท่องเที่ยว

    ทั้งนี้เนื่องจากรัชกาลที่ 1 ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านความมั่นคงมาตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า และมีตำแหน่งเป็น “แม่ทัพ” เมื่อครั้งสมัยกรุงธนบุรี ทำให้ทรงเชี่ยวชาญการศึก และเข้าใจตำราพิไชยสงคราม การตั้งหลักเมืองของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีการอ้างอิงการตั้งทัพหรือแต่งทัพ ที่สอดคล้องกับภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม

    รัชกาลที่ 1 เข้าพระราชหฤทัยชัยภูมิของ “บางกอก” ที่มีลักษณะตรงกับการตั้งทัพตามคติ “นาคนาม” กล่าวคือ เป็นบริเวณที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ดังนั้น ในการเลือกที่ตั้งศูนย์กลางของเมือง และการตั้ง “หลักเมือง” พระองค์จึงทรงเล็งเห็นประเด็นของ “ชัยภูมิ” เป็นลำดับแรก จากนั้นจึงดูฤกษ์ยาม วัน และเดือน ที่เหมาะสมตามคติ “โหราศาสตร์” ในการลงหลักเมืองตามมาเป็นลำดับ

    และเมื่อได้ดูลักษณะรูปร่างของการวางผังของ กำแพงเมืองพระนครจะเหมือนลักษณะคันธนู โดยยึดหลักฮวงจุ้ยของจีนมาประกอบการวางผังกำแพงเมือง หากสังเกตุดีๆ จะเห็นว่าสายธนูจะง้างออกไปทางทิศตะวันออก ส่วนลูกธนูจะพุ่งไปทางทิศตะวันตกอันเป็นทิศที่ตั้งของคู่ปรับสำคัญนั่นคือเมืองอังวะ พม่านั่นเอง
    .
    อ้างอิง
    พินิจพระนคร 2475-2545, กรมแผนที่ทหาร, กองบัญชาการทหารสูงสุด, พ.ศ. 2549
    แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2450 - 2550, โดย บัณฑิต จุลาสัยและคณะ, กรุงเทพฯ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2550
    เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 5
    เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 6
    เอกสารชุดกระทรวงมหาดไทย สมัยรัชกาลที่ 7
    เพจบางกอกไอเลิฟยู

    เรียบเรียงโดย เพจเกร็ดประวัติศาสตร์ v2

    #Thaitimes
    ป้อมปราการ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ กำแพงเมืองพระนครกรุงรัตนโกสินทร์นั้นสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 7 กิโลเมตร ครอบคลุมเขตเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ มีป้อมสังเกตุการณ์จำนวนถึง 14 ป้อม ป้อมปราการที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งมี 14 ป้อม คือ 1. ป้อมพระสุเมรุ ป้อมที่อยู่เหนือสุดของเกาะรัตนโกสินทร์ 2. ป้อมยุคุนธร ตรงหน้าวัดบวรนิเวศวิหาร บัดนี้เหลือแต่กำแพงและประตูเมืองเท่านั้น 3. ป้อมมหาปราบ ระหว่างสะพานเฉลิมวันชาติกับแยกผ่านฟ้าลีลาศ ตรงหัวโค้งถนนพระสุเมรุ 4. ป้อมมหากาฬ เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ 5. ป้อมหมู่ทะลวง (ทลวง) ใกล้หัวถนนหลวง ตรงข้ามสวนรมณีนาถและร้านเครื่องหวายข้างสวนรมณีนาถ แต่ก่อนสวนรมณีนาถคือเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ก่อนถูกยุบเป็นสวนสาธารณะกับพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ ส่วนป้อมหมู่ทลวงโดนทุบทิ้งไปบางส่วนเมื่อเมื่อปี พ.ศ. 2440 เพื่อนำอิฐไปสร้างทางรถไฟจากอยุธยาไปบ้านภาชีและแก่งคอย 6. ป้อมเสือทะยาน (ทยาน) อยู่ใกล้สะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) ตรงโรงแรมมิรามา 7. ป้อมมหาไชย ปัจจุบันคือธนาคารทหารไทย สาขาวังบูรพา หัวถนนเยาวราช แถวสะพานหัน ทุบทิ้งเมื่อปลายธันวาคม พ.ศ. 2469 8. ป้อมจักรเพชร ป้อมที่อยู่ใต้สุดของเกาะรัตนโกสินทร์ อยู่ตรงปากคลองรอบกรุง เชิงสะพานพุทธยอดฟ้า 9. ป้อมผีเสื้อ ปัจจุบันปากคลองคูเมืองเดิมด้านใต้ ฝั่งปากคลองตลาด 10. ป้อมมหาฤกษ์ ปัจจุบันอยู่ในบริเวณโรงเรียนราชินี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับป้อมวิชัยประสิทธิ์ซึ่งอยู่ฝั่งธนบุรี 11. ป้อมมหายักษ์ อยู่บริเวณท่าเตียน แถว ๆ ตึกกรมการค้าภายใน เก่า 12. ป้อมพระจันทร์ ปัจจุบันคือท่าพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 13. ป้อมพระอาทิตย์ ปัจจุบันคือเชิงสะพานพระปิ่นเกล้า ปากคลองคูเมืองเดิม 14. ป้อมอิสินธร ปัจจุบันคือพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตรงข้ามซอยชนะสงคราม ทางลัดเข้าวัดชนะสงคราม โดยประตูเมืองและกำแพงเมือง ทางทิศเหนือนั้นกรมศิลปากรได้บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นประตูเมืองตามแบบในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นประตูยอด โดยแตกต่างจากประตูไม้ทาดินแดงในสมัยรัชกาลที่ 1 และประตูก่ออิฐข้างบนซึ่งใช้เป็นหอรบในสมัยรัชกาลที่ 3 ส่วนกำแพงเมืองทางด้านป้อมมหากาฬนั้น ได้ถูกรื้อถอนออกเป็นจำนวนมากเพื่อสร้างถนน และที่อยู่อาศัย จะเหลือให้เห็นเพียงระยะประมาณ 100 เมตร ติดต่อกับตัวป้อมมหากาฬ ด้านหลังกำแพงปัจจุบันเป็นสวนสาธารณะ เป็นอีกหนึ่งสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวกรุงเทพมหานครและนักท่องเที่ยว ทั้งนี้เนื่องจากรัชกาลที่ 1 ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านความมั่นคงมาตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า และมีตำแหน่งเป็น “แม่ทัพ” เมื่อครั้งสมัยกรุงธนบุรี ทำให้ทรงเชี่ยวชาญการศึก และเข้าใจตำราพิไชยสงคราม การตั้งหลักเมืองของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีการอ้างอิงการตั้งทัพหรือแต่งทัพ ที่สอดคล้องกับภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม รัชกาลที่ 1 เข้าพระราชหฤทัยชัยภูมิของ “บางกอก” ที่มีลักษณะตรงกับการตั้งทัพตามคติ “นาคนาม” กล่าวคือ เป็นบริเวณที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ดังนั้น ในการเลือกที่ตั้งศูนย์กลางของเมือง และการตั้ง “หลักเมือง” พระองค์จึงทรงเล็งเห็นประเด็นของ “ชัยภูมิ” เป็นลำดับแรก จากนั้นจึงดูฤกษ์ยาม วัน และเดือน ที่เหมาะสมตามคติ “โหราศาสตร์” ในการลงหลักเมืองตามมาเป็นลำดับ และเมื่อได้ดูลักษณะรูปร่างของการวางผังของ กำแพงเมืองพระนครจะเหมือนลักษณะคันธนู โดยยึดหลักฮวงจุ้ยของจีนมาประกอบการวางผังกำแพงเมือง หากสังเกตุดีๆ จะเห็นว่าสายธนูจะง้างออกไปทางทิศตะวันออก ส่วนลูกธนูจะพุ่งไปทางทิศตะวันตกอันเป็นทิศที่ตั้งของคู่ปรับสำคัญนั่นคือเมืองอังวะ พม่านั่นเอง . อ้างอิง พินิจพระนคร 2475-2545, กรมแผนที่ทหาร, กองบัญชาการทหารสูงสุด, พ.ศ. 2549 แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2450 - 2550, โดย บัณฑิต จุลาสัยและคณะ, กรุงเทพฯ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2550 เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 5 เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 6 เอกสารชุดกระทรวงมหาดไทย สมัยรัชกาลที่ 7 เพจบางกอกไอเลิฟยู เรียบเรียงโดย เพจเกร็ดประวัติศาสตร์ v2 #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1319 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts