• ก่อสร้าง-คุมงาน-ออกแบบ มีส่วนตึก สตง.ถล่ม? : [NEWS UPDATE]

    พล.ต.ต.นพศิลป์ พูลสวัสดิ์ รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล เผยความคืบหน้าการดำเนินคดีผู้เกี่ยวข้อง อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่ม ได้สอบปากคำพยาน ผู้บาดเจ็บ สตง. ผู้รับจ้างออกแบบ ผู้ควบคุมงาน ผู้ก่อสร้าง 28 ปาก ญาติผู้บาดเจ็บ 86 ราย รวม 193 ราย และได้รวบรวมพยานหลักฐาน ทั้งพยานบุคคล พยานแวดล้อม พยานวัตถุ พยานเอกสาร ตั้งแต่เริ่มทำ TOR สัญญาจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงาน จ้างก่อสร้าง ชิ้นส่วนเหล็ก คอนกรีต โดยแบ่ง 3 กลุ่ม คือ 1.ผู้ออกแบบ กรรมการผู้มีอำนาจ วิศวกรที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฟอ-รัม อาร์คิเทค จำกัด และ บริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จำกัด 2.ผู้ก่อสร้าง กรรมการผู้มีอำนาจและวิศวกรที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มกิจการร่วมค้า ไอทีดี (อิตาเลียนไทย)-CREC (ไชน่าเรลเวย์ นัมเบอร์ 10 ประเทศไทย) และ 3.ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ที่เกี่ยวข้องกับกิจการร่วมค้า PKW หากหลักฐานเพียงพอ จะขอหมายจับผู้เกี่ยวข้อง 3 ส่วน โดยแยกว่าใครเป็นวิศวกรที่ลงนามในแบบแปลน ผู้ออกแบบในฐานะนิติบุคคล กลุ่มผู้ควบคุมการก่อสร้าง ใครลงนามในสัญญา การดำเนินโครงการผู้ประสานงาน ทั้งการออกแบบ ควบคุมและก่อสร้าง หากพยานหลักฐานไปถึง จะออกหมายจับทั้งหมด

    -ปาดน้ำตาทวงค่าแรง

    -"ทักษิณ"ไม่จำเป็นต้องไป

    -ผู้ออกแบบสภายังค้าน

    -น้ำมั่นคง น้ำยั่งยืน
    ก่อสร้าง-คุมงาน-ออกแบบ มีส่วนตึก สตง.ถล่ม? : [NEWS UPDATE] พล.ต.ต.นพศิลป์ พูลสวัสดิ์ รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล เผยความคืบหน้าการดำเนินคดีผู้เกี่ยวข้อง อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ถล่ม ได้สอบปากคำพยาน ผู้บาดเจ็บ สตง. ผู้รับจ้างออกแบบ ผู้ควบคุมงาน ผู้ก่อสร้าง 28 ปาก ญาติผู้บาดเจ็บ 86 ราย รวม 193 ราย และได้รวบรวมพยานหลักฐาน ทั้งพยานบุคคล พยานแวดล้อม พยานวัตถุ พยานเอกสาร ตั้งแต่เริ่มทำ TOR สัญญาจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงาน จ้างก่อสร้าง ชิ้นส่วนเหล็ก คอนกรีต โดยแบ่ง 3 กลุ่ม คือ 1.ผู้ออกแบบ กรรมการผู้มีอำนาจ วิศวกรที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฟอ-รัม อาร์คิเทค จำกัด และ บริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จำกัด 2.ผู้ก่อสร้าง กรรมการผู้มีอำนาจและวิศวกรที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มกิจการร่วมค้า ไอทีดี (อิตาเลียนไทย)-CREC (ไชน่าเรลเวย์ นัมเบอร์ 10 ประเทศไทย) และ 3.ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ที่เกี่ยวข้องกับกิจการร่วมค้า PKW หากหลักฐานเพียงพอ จะขอหมายจับผู้เกี่ยวข้อง 3 ส่วน โดยแยกว่าใครเป็นวิศวกรที่ลงนามในแบบแปลน ผู้ออกแบบในฐานะนิติบุคคล กลุ่มผู้ควบคุมการก่อสร้าง ใครลงนามในสัญญา การดำเนินโครงการผู้ประสานงาน ทั้งการออกแบบ ควบคุมและก่อสร้าง หากพยานหลักฐานไปถึง จะออกหมายจับทั้งหมด -ปาดน้ำตาทวงค่าแรง -"ทักษิณ"ไม่จำเป็นต้องไป -ผู้ออกแบบสภายังค้าน -น้ำมั่นคง น้ำยั่งยืน
    Like
    4
    0 Comments 0 Shares 600 Views 21 0 Reviews
  • นายสุทธิพงศ์ บุญนิล รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน นำเอกสารข้อมูลการก่อสร้างอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ชี้แจงคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการยกระดับมาตรฐานการก่อสร้าง มาตรฐานความปลอดภัย การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบและการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมรับเหมาก่อสร้างอย่างเป็นระบบ พบใช้วิธี E-bidding ในการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง 2,522,153,000 บาท มีผู้ซื้อเอกสารประกวดราคา 16 ราย ปรากฏชื่อบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์10 (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล็อปเมนต์ จำกัด(มหาชน) แต่มีผู้ยื่นเสนอราคา 7 ราย ซึ่งมีการยื่นประมูลของสองบริษัทในนาม กิจการร่วมค้าไอทีดี-ซีอาร์อีซี และเป็นผู้ชนะประมูล ในวงเงิน 2,136 ล้านบาท มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง 9 ครั้ง อาทิ CORE LIFT อาคาร A, แบบบันได อาคาร B , CORE WALL อาคาร A ในครั้งที่ 4 และปรากฎการแก้ไข Core Wall อาคาร A อีกในการแก้ไขสัญญาครั้งที่ 6 และในการแก้ไขสัญญาครั้งที่ 8 ผู้รับจ้างขอแก้ไขงวดงานก่อสร้าง เนื่องจากมีหลายรายการไม่สอดคล้องกับขั้นตอนการปฎิบัติงาน จำเป็นต้องแก้ไข 18 รายการ ในงวดที่ 20 - 35 ประกอบด้วย งานโครงสร้าง , งานก่ออิฐ , งานผิวผนัง , งานฝ้าเพดาน , งานพื้นและงานผิวพื้น , งานฝังยึดราวบันได , งานสำเร็จบันได , งานประตูหน้าต่าง , งานสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ , งานบัวเชิงผนัง , งานสถาปัตยกรรมห้องเครื่อง , งานหลังคา , งานเบ็ดเตล็ดและอื่นๆ , งาน Curtain Wall , การตกแต่งภายใน , งานป้ายสัญลักษณ์ , งานเฟอร์นิเจอร์ลอยตัว งานภูมิสถาปัตยกรรมและงานภายนอก สำหรับการแก้ไขสัญญาครั้งที่ 9 เป็นการปรับแผนการทำงานใหม่โดยนำระยะเวลาการทำงานจำนวน 1,080 วัน มานับต่อจากวันที่ 30 มิถุนายน 2565 เป็นวันสิ้นสุดระยะเวลาตามแผนการทำงานใหม่

    -9 ต้นตอตึก สตง. ถล่ม
    -หารือจุฬาราชมนตรีดับไฟใต้
    -เร่งเปิด 3 จุด ค้นหา
    -ทัวร์รัฐสภาดูโครงการของบ
    นายสุทธิพงศ์ บุญนิล รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน นำเอกสารข้อมูลการก่อสร้างอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ชี้แจงคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการยกระดับมาตรฐานการก่อสร้าง มาตรฐานความปลอดภัย การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบและการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมรับเหมาก่อสร้างอย่างเป็นระบบ พบใช้วิธี E-bidding ในการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง 2,522,153,000 บาท มีผู้ซื้อเอกสารประกวดราคา 16 ราย ปรากฏชื่อบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์10 (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล็อปเมนต์ จำกัด(มหาชน) แต่มีผู้ยื่นเสนอราคา 7 ราย ซึ่งมีการยื่นประมูลของสองบริษัทในนาม กิจการร่วมค้าไอทีดี-ซีอาร์อีซี และเป็นผู้ชนะประมูล ในวงเงิน 2,136 ล้านบาท มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง 9 ครั้ง อาทิ CORE LIFT อาคาร A, แบบบันได อาคาร B , CORE WALL อาคาร A ในครั้งที่ 4 และปรากฎการแก้ไข Core Wall อาคาร A อีกในการแก้ไขสัญญาครั้งที่ 6 และในการแก้ไขสัญญาครั้งที่ 8 ผู้รับจ้างขอแก้ไขงวดงานก่อสร้าง เนื่องจากมีหลายรายการไม่สอดคล้องกับขั้นตอนการปฎิบัติงาน จำเป็นต้องแก้ไข 18 รายการ ในงวดที่ 20 - 35 ประกอบด้วย งานโครงสร้าง , งานก่ออิฐ , งานผิวผนัง , งานฝ้าเพดาน , งานพื้นและงานผิวพื้น , งานฝังยึดราวบันได , งานสำเร็จบันได , งานประตูหน้าต่าง , งานสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ , งานบัวเชิงผนัง , งานสถาปัตยกรรมห้องเครื่อง , งานหลังคา , งานเบ็ดเตล็ดและอื่นๆ , งาน Curtain Wall , การตกแต่งภายใน , งานป้ายสัญลักษณ์ , งานเฟอร์นิเจอร์ลอยตัว งานภูมิสถาปัตยกรรมและงานภายนอก สำหรับการแก้ไขสัญญาครั้งที่ 9 เป็นการปรับแผนการทำงานใหม่โดยนำระยะเวลาการทำงานจำนวน 1,080 วัน มานับต่อจากวันที่ 30 มิถุนายน 2565 เป็นวันสิ้นสุดระยะเวลาตามแผนการทำงานใหม่ -9 ต้นตอตึก สตง. ถล่ม -หารือจุฬาราชมนตรีดับไฟใต้ -เร่งเปิด 3 จุด ค้นหา -ทัวร์รัฐสภาดูโครงการของบ
    Like
    2
    0 Comments 1 Shares 531 Views 21 0 Reviews
  • รองผู้ว่าสตง.หอบเอกสารแจง กมธ.ฯมาตรฐานการก่อสร้างฯ เปิด 8 ขั้นตอนข้อมูลก่อสร้าง พบแก้แบบ 9 ครั้ง ทั้งปล่องลิฟต์-โครงสร้าง-การก่ออิฐ ก่อนขยายเวลาเพิ่ม พบพิรุธ อิตาเลียน ไทย-ไชน่า เรลเวย์ฯ ยื่นซื้อเอกสารประกวดราคา ก่อนยุบรวมเป็นกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี ประมูลงานก่อสร้าง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000042787

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    รองผู้ว่าสตง.หอบเอกสารแจง กมธ.ฯมาตรฐานการก่อสร้างฯ เปิด 8 ขั้นตอนข้อมูลก่อสร้าง พบแก้แบบ 9 ครั้ง ทั้งปล่องลิฟต์-โครงสร้าง-การก่ออิฐ ก่อนขยายเวลาเพิ่ม พบพิรุธ อิตาเลียน ไทย-ไชน่า เรลเวย์ฯ ยื่นซื้อเอกสารประกวดราคา ก่อนยุบรวมเป็นกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี ประมูลงานก่อสร้าง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000042787 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 468 Views 0 Reviews
  • กิจการร่วมชั่ว ไอทีดี ซีอาร์อีซี เยียวยาเศษเงิน แลกสละสิทธิ์ฟ้องร้องดำเนินคดี ไม่เรียกเงินเพิ่ม ผู้เสียชีวิตพูดไม่ได้แล้ว ยังปิดปากญาติเค้าอีก เลวตั้งแต่ต้นสายยันปลายน้ำ
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #ตึกสตง
    กิจการร่วมชั่ว ไอทีดี ซีอาร์อีซี เยียวยาเศษเงิน แลกสละสิทธิ์ฟ้องร้องดำเนินคดี ไม่เรียกเงินเพิ่ม ผู้เสียชีวิตพูดไม่ได้แล้ว ยังปิดปากญาติเค้าอีก เลวตั้งแต่ต้นสายยันปลายน้ำ #คิงส์โพธิ์แดง #ตึกสตง
    0 Comments 0 Shares 92 Views 0 Reviews
  • ตกแต่งจนทางเดินแคบ ต้องลดผนังปล่องลิฟต์ : [NEWS UPDATE]
    สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ชี้แจงการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์บางจุดในอาคารที่ทำการแห่งใหม่ เกิดขึ้นระหว่างก่อสร้าง โดยผู้รับจ้างก่อสร้าง กิจการร่วมค้าไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด(มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด พบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับแบบสถาปัตยกรรมภายใน ขนาดของผนังปล่องลิฟต์บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบ ทำให้ทางเดินมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ผู้รับจ้างออกแบบจึงปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์(Core Lift) จากความหนา
    0.30 ม. เป็น 0.25 เมตร และเพิ่มปริมาณเหล็กเสริมให้มั่นคงแข็งแรงตามหลักวิศวกรรม พร้อมจัดทำรายการคำนวณ โดยผู้รับจ้างก่อสร้างได้เสนอราคางานที่เปลี่ยนแปลงลดลง 515,195 บาท จากนั้นผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเสนอคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินเพื่อพิจารณาให้ความเห็นแก้ไข โดยไม่เพิ่มวงเงินก่อหนี้ผูกพัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย



    โรงงานลักไก่หลอมเหล็ก

    แค่ยอดภูเขาน้ำแข็ง

    ดีเอสไอรับคดีอั้งยี่เลือก สว.

    เร่งส่งออกหนีภาษีสหรัฐ
    ตกแต่งจนทางเดินแคบ ต้องลดผนังปล่องลิฟต์ : [NEWS UPDATE] สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ชี้แจงการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์บางจุดในอาคารที่ทำการแห่งใหม่ เกิดขึ้นระหว่างก่อสร้าง โดยผู้รับจ้างก่อสร้าง กิจการร่วมค้าไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด(มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด พบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับแบบสถาปัตยกรรมภายใน ขนาดของผนังปล่องลิฟต์บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบ ทำให้ทางเดินมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ผู้รับจ้างออกแบบจึงปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์(Core Lift) จากความหนา 0.30 ม. เป็น 0.25 เมตร และเพิ่มปริมาณเหล็กเสริมให้มั่นคงแข็งแรงตามหลักวิศวกรรม พร้อมจัดทำรายการคำนวณ โดยผู้รับจ้างก่อสร้างได้เสนอราคางานที่เปลี่ยนแปลงลดลง 515,195 บาท จากนั้นผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเสนอคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินเพื่อพิจารณาให้ความเห็นแก้ไข โดยไม่เพิ่มวงเงินก่อหนี้ผูกพัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย โรงงานลักไก่หลอมเหล็ก แค่ยอดภูเขาน้ำแข็ง ดีเอสไอรับคดีอั้งยี่เลือก สว. เร่งส่งออกหนีภาษีสหรัฐ
    Like
    Love
    Angry
    6
    0 Comments 0 Shares 640 Views 49 1 Reviews
  • สตง.แถลงการณ์ยืนยันทำตามขั้นตอน !?! “สตง. ชี้แจงการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ ทำตามขั้นตอนกม.และระเบียบราชการ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ออกเอกสารชี้แจงขั้นตอนการดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารสัญญา (กรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) บางจุด และการแก้ไขสัญญา) หลังมีหลายฝ่ายตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) ซึ่งเป็นจุดสำคัญที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของอาคารและอาจจะเป็นสาเหตุที่ทำให้อาคารที่ทำการสำนักงานแห่งใหม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 สตง. ชี้แจงว่า ในการดำเนินโครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานแห่งใหม่ สตง. ได้ทำสัญญาว่าจ้างผู้รับจ้างออกแบบ คือ กิจการร่วมค้า บริษัท ฟอ-รัม อาร์คิเทค จำกัด และบริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จำกัด และ ผู้รับจ้างก่อสร้าง คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด) มีผู้รับจ้างควบคุมงาน คือ กิจการร่วมค้า PKW บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จำกัด บริษัท ว. และสหาย คอนซัลแตนตส์ จำกัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ จำกัด ซึ่งกรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์บางจุดเกิดขึ้นในช่วงการบริหารสัญญาระหว่างดำเนินการก่อสร้าง โดยผู้รับจ้างก่อสร้างพบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน กล่าวคือ ขนาดของผนังปล่องลิฟต์บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบ ทำให้ทางเดินมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 สตง. จึงทำตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบของทางราชการ ดังนี้ 1.ผู้รับจ้างก่อสร้างมีหน้าที่โดยตรงตามสัญญาที่ต้องดำเนินการก่อสร้างให้ถูกต้องตามข้อกำหนดและเงื่อนไขสัญญารวมทั้งเอกสารแนบท้ายสัญญา (แบบรูปและรายการละเอียด ฯลฯ) โดยผู้รับจ้างก่อสร้างรับรองว่า ได้ตรวจสอบและทำความเข้าใจแบบรูปและรายการละเอียด ซึ่งในกรณีดังกล่าวผู้รับจ้างก่อสร้างพบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับงานสถาปัตยกรรมภายใน จึงได้สอบถาม/ขอความเห็นไปยังผู้รับจ้างควบคุมงาน 2.ผู้รับจ้างควบคุมงานในฐานะตัวแทนสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีหนังสือ (Request For Information: RFI) เพื่อสอบถาม/ขอความเห็นไปยังผู้รับจ้างออกแบบ ซึ่งทั้งผู้รับจ้างออกแบบและผู้รับจ้าง ควบคุมงานเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมตามสัญญาจ้าง 3.ผู้รับจ้างออกแบบให้ความเห็นตามหนังสือ (RFI) โดยกำหนดรายละเอียดการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ จากความหนา 0.30 เมตร เป็น 0.25 เมตร บริเวณด้านทางเดินและเพิ่มปริมาณเหล็กเสริมให้มั่นคงแข็งแรงตามหลักการทางวิศวกรรม พร้อมจัดทำรายการคำนวณและลงนามรับรอง เพื่อให้ความกว้างช่องทางเดินถูกต้องตามกฎหมายกำหนด (กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522) และสอดคล้องกับรูปแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน แล้วส่งกลับมายังผู้รับจ้างควบคุมงาน 4.ผู้รับจ้างควบคุมงานแจ้งรายละเอียดการปรับแก้ของผู้รับจ้างออกแบบเพื่อให้ผู้รับจ้างก่อสร้างดำเนินการจัดทำแบบขยายสำหรับการก่อสร้างตามความเห็นของผู้รับจ้างออกแบบ โดยผู้รับจ้างควบคุมงานได้ตรวจสอบความถูกต้องและส่งให้ผู้รับจ้างออกแบบพิจารณาและรับรองความถูกต้องของแบบที่จัดทำแล้วส่งกลับมายังผู้รับจ้างควบคุมงาน ทั้งนี้ ผู้รับจ้างควบคุมงานโดยวุฒิวิศวกรได้ตรวจสอบและลงนามรับรองอีกครั้ง ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 165 วรรคสอง ซึ่งผู้รับจ้างก่อสร้างได้เสนอราคารายการงานที่เปลี่ยนแปลงโดยมีราคาลดลงเป็นจำนวนเงิน 515,195.36 บาท รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และเสนอขอแก้ไขวงเงินในสัญญาจ้างตามจำนวนเงินดังกล่าว โดยผู้รับจ้างควบคุมงานตรวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้องตามที่ผู้รับจ้างก่อสร้างเสนอ และการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อระยะเวลาก่อสร้างตามสัญญา 5.ผู้รับจ้างควบคุมงานรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดข้างต้นเสนอมายังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้างเพื่อพิจารณาให้ความเห็น 6.คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้างเสนอความเห็นต่อผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินในฐานะผู้ว่าจ้างเพื่อพิจารณาอนุมัติการแก้ไขสัญญา ตาม พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มาตรา 97 และมาตรา 100 ประกอบระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 165 7.ผู้ว่า สตง. เสนอคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของรายการโดยไม่เพิ่มวงเงินก่อหนี้ผูกพัน ตามระเบียบ สตง. ว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อ 20 (1) 8.คู่สัญญาลงนามการแก้ไขสัญญาจ้างก่อสร้าง โดยนำแบบรูปและรายการละเอียดที่แก้ไขเพื่อเป็นเอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา
    สตง.แถลงการณ์ยืนยันทำตามขั้นตอน !?! “สตง. ชี้แจงการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ ทำตามขั้นตอนกม.และระเบียบราชการ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ออกเอกสารชี้แจงขั้นตอนการดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารสัญญา (กรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) บางจุด และการแก้ไขสัญญา) หลังมีหลายฝ่ายตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) ซึ่งเป็นจุดสำคัญที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของอาคารและอาจจะเป็นสาเหตุที่ทำให้อาคารที่ทำการสำนักงานแห่งใหม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 สตง. ชี้แจงว่า ในการดำเนินโครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานแห่งใหม่ สตง. ได้ทำสัญญาว่าจ้างผู้รับจ้างออกแบบ คือ กิจการร่วมค้า บริษัท ฟอ-รัม อาร์คิเทค จำกัด และบริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จำกัด และ ผู้รับจ้างก่อสร้าง คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด) มีผู้รับจ้างควบคุมงาน คือ กิจการร่วมค้า PKW บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จำกัด บริษัท ว. และสหาย คอนซัลแตนตส์ จำกัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ จำกัด ซึ่งกรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์บางจุดเกิดขึ้นในช่วงการบริหารสัญญาระหว่างดำเนินการก่อสร้าง โดยผู้รับจ้างก่อสร้างพบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน กล่าวคือ ขนาดของผนังปล่องลิฟต์บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบ ทำให้ทางเดินมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 สตง. จึงทำตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบของทางราชการ ดังนี้ 1.ผู้รับจ้างก่อสร้างมีหน้าที่โดยตรงตามสัญญาที่ต้องดำเนินการก่อสร้างให้ถูกต้องตามข้อกำหนดและเงื่อนไขสัญญารวมทั้งเอกสารแนบท้ายสัญญา (แบบรูปและรายการละเอียด ฯลฯ) โดยผู้รับจ้างก่อสร้างรับรองว่า ได้ตรวจสอบและทำความเข้าใจแบบรูปและรายการละเอียด ซึ่งในกรณีดังกล่าวผู้รับจ้างก่อสร้างพบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับงานสถาปัตยกรรมภายใน จึงได้สอบถาม/ขอความเห็นไปยังผู้รับจ้างควบคุมงาน 2.ผู้รับจ้างควบคุมงานในฐานะตัวแทนสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีหนังสือ (Request For Information: RFI) เพื่อสอบถาม/ขอความเห็นไปยังผู้รับจ้างออกแบบ ซึ่งทั้งผู้รับจ้างออกแบบและผู้รับจ้าง ควบคุมงานเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมตามสัญญาจ้าง 3.ผู้รับจ้างออกแบบให้ความเห็นตามหนังสือ (RFI) โดยกำหนดรายละเอียดการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ จากความหนา 0.30 เมตร เป็น 0.25 เมตร บริเวณด้านทางเดินและเพิ่มปริมาณเหล็กเสริมให้มั่นคงแข็งแรงตามหลักการทางวิศวกรรม พร้อมจัดทำรายการคำนวณและลงนามรับรอง เพื่อให้ความกว้างช่องทางเดินถูกต้องตามกฎหมายกำหนด (กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522) และสอดคล้องกับรูปแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน แล้วส่งกลับมายังผู้รับจ้างควบคุมงาน 4.ผู้รับจ้างควบคุมงานแจ้งรายละเอียดการปรับแก้ของผู้รับจ้างออกแบบเพื่อให้ผู้รับจ้างก่อสร้างดำเนินการจัดทำแบบขยายสำหรับการก่อสร้างตามความเห็นของผู้รับจ้างออกแบบ โดยผู้รับจ้างควบคุมงานได้ตรวจสอบความถูกต้องและส่งให้ผู้รับจ้างออกแบบพิจารณาและรับรองความถูกต้องของแบบที่จัดทำแล้วส่งกลับมายังผู้รับจ้างควบคุมงาน ทั้งนี้ ผู้รับจ้างควบคุมงานโดยวุฒิวิศวกรได้ตรวจสอบและลงนามรับรองอีกครั้ง ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 165 วรรคสอง ซึ่งผู้รับจ้างก่อสร้างได้เสนอราคารายการงานที่เปลี่ยนแปลงโดยมีราคาลดลงเป็นจำนวนเงิน 515,195.36 บาท รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และเสนอขอแก้ไขวงเงินในสัญญาจ้างตามจำนวนเงินดังกล่าว โดยผู้รับจ้างควบคุมงานตรวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้องตามที่ผู้รับจ้างก่อสร้างเสนอ และการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อระยะเวลาก่อสร้างตามสัญญา 5.ผู้รับจ้างควบคุมงานรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดข้างต้นเสนอมายังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้างเพื่อพิจารณาให้ความเห็น 6.คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้างเสนอความเห็นต่อผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินในฐานะผู้ว่าจ้างเพื่อพิจารณาอนุมัติการแก้ไขสัญญา ตาม พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มาตรา 97 และมาตรา 100 ประกอบระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 165 7.ผู้ว่า สตง. เสนอคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของรายการโดยไม่เพิ่มวงเงินก่อหนี้ผูกพัน ตามระเบียบ สตง. ว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อ 20 (1) 8.คู่สัญญาลงนามการแก้ไขสัญญาจ้างก่อสร้าง โดยนำแบบรูปและรายการละเอียดที่แก้ไขเพื่อเป็นเอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา
    Sad
    Angry
    2
    0 Comments 0 Shares 314 Views 0 Reviews
  • สตง.ออกเอกสารชี้แจงกรณีปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ตึกใหม่ เพราะแบบโครงสร้างเดิม บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ผู้ออกแบบจึงเสนอลดความหนาลงจาก 30 ซม.เป็น 25 ซม. โดยได้ดำเนินการตามขั้นตอนอย่างถูกต้องครบถ้วน

    วันนี้ (24 เม.ย.) สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเผยแพร่เอกสารข่าวประชาสัมพันธ์ชี้แจงขั้นตอนการดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารสัญญา (กรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) บางจุด และการแก้ไขสัญญา) มีรายละเอียดดังนี้

    ตามที่ปรากฏข้อสงสัยเกี่ยวกับการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) ของอาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ ซึ่งเป็นจุดสําคัญที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของอาคารและอาจจะเป็นสาเหตุที่ทําให้อาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมานั้น สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ขอเรียนชี้แจงว่า ในการดําเนินโครงการก่อสร้างอาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ สตง.ได้ทําสัญญาว่าจ้างผู้รับจ้างออกแบบ (กิจการร่วมค้า บริษัท ฟอรัม อาร์คิเทค จํากัด และบริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จํากัด) ผู้รับจ้างก่อสร้าง (กิจการร่วมค้า ไอทีดี - ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด) และผู้รับจ้างควบคุมงาน (กิจการร่วมค้า PKW (บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด บริษัท ว. และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ จํากัด) ซึ่งกรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์บางจุดเกิดขึ้นในช่วงการบริหารสัญญาระหว่างดําเนินการก่อสร้าง โดยผู้รับจ้างก่อสร้างพบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน กล่าวคือ ขนาดของผนังปล่องลิฟต์บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบ ทําให้ทางเดินมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 สตง.จึงได้ดําเนินการตาม ขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบของทางราชการ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000038403

    #MGROnline #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง. #ปรับแก้ #ผนังปล่องลิฟต์ #ตึกใหม่
    สตง.ออกเอกสารชี้แจงกรณีปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ตึกใหม่ เพราะแบบโครงสร้างเดิม บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ผู้ออกแบบจึงเสนอลดความหนาลงจาก 30 ซม.เป็น 25 ซม. โดยได้ดำเนินการตามขั้นตอนอย่างถูกต้องครบถ้วน • วันนี้ (24 เม.ย.) สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเผยแพร่เอกสารข่าวประชาสัมพันธ์ชี้แจงขั้นตอนการดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารสัญญา (กรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) บางจุด และการแก้ไขสัญญา) มีรายละเอียดดังนี้ • ตามที่ปรากฏข้อสงสัยเกี่ยวกับการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) ของอาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ ซึ่งเป็นจุดสําคัญที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของอาคารและอาจจะเป็นสาเหตุที่ทําให้อาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมานั้น สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ขอเรียนชี้แจงว่า ในการดําเนินโครงการก่อสร้างอาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ สตง.ได้ทําสัญญาว่าจ้างผู้รับจ้างออกแบบ (กิจการร่วมค้า บริษัท ฟอรัม อาร์คิเทค จํากัด และบริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จํากัด) ผู้รับจ้างก่อสร้าง (กิจการร่วมค้า ไอทีดี - ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด) และผู้รับจ้างควบคุมงาน (กิจการร่วมค้า PKW (บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด บริษัท ว. และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ จํากัด) ซึ่งกรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์บางจุดเกิดขึ้นในช่วงการบริหารสัญญาระหว่างดําเนินการก่อสร้าง โดยผู้รับจ้างก่อสร้างพบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน กล่าวคือ ขนาดของผนังปล่องลิฟต์บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบ ทําให้ทางเดินมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 สตง.จึงได้ดําเนินการตาม ขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบของทางราชการ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000038403 • #MGROnline #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง. #ปรับแก้ #ผนังปล่องลิฟต์ #ตึกใหม่
    Angry
    1
    0 Comments 1 Shares 316 Views 0 Reviews
  • ดีเอสไอ อายัดไซต์งานก่อสร้างกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี ห้ามเคลื่อนย้ายพยานหลักฐาน จำนวน 24 ตู้คอนเทนเนอร์
    https://www.thai-tai.tv/news/18226/
    ดีเอสไอ อายัดไซต์งานก่อสร้างกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี ห้ามเคลื่อนย้ายพยานหลักฐาน จำนวน 24 ตู้คอนเทนเนอร์ https://www.thai-tai.tv/news/18226/
    0 Comments 0 Shares 99 Views 0 Reviews
  • ผ่านไป 13 วัน สตง.เพิ่งเปิดปาก

    นับเป็นการเปิดปากครั้งแรก สำหรับนายมณเฑียร เจริญผล ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว ทำให้อาคารสูง 30 ชั้น โครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ เขตจตุจักร กทม. ถล่มลงมาเมื่อวันที่ 28 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตและสูญหายจำนวนมาก แต่กลับมีเพียงอีเมลภายใน ที่ทำให้สาธารณชนโกรธแค้น ผ่านพ้นไป 13 วัน เมื่อวันที่ 10 เม.ย. เจ้าตัวได้เข้าร่วมพิธีสวดพระพุทธมนต์เพื่อผู้ประสบภัยและผู้สูญหาย กล่าวว่า รู้สึกเสียใจ ไปงานศพทุกงาน ส่งเจ้าหน้าที่ไปร่วมทำบุญให้กับผู้เสียชีวิต ส่วนผู้บาดเจ็บตนกับผู้บริหารก็ไปเยี่ยมทุกโรงพยาบาล ทุกคน

    ส่วนที่สังคมทัวร์ลง สตง.นั้น ยืนยันว่าเราทำงานตลอดเวลา ตอนนี้ชีวิตคนกับความสูญเสียเป็นเรื่องสำคัญ จะต้องดูแลก่อนว่าญาติพี่น้องที่ลำบากและชีวิตที่สูญเสียไปจะทำอย่างไร ทุกครั้งที่คนของเราไปร่วมงานศพญาติผู้เสียชีวิตก็บอกว่ามีเพียง สตง.ที่เข้าไปดูแลเขา ส่วนผู้ป่วยที่อยู่โรงพยาบาลพวกเขาก็เข้าใจว่าเป็นอุบัติเหตุ ฉะนั้นสิ่งที่จะทำในวันนี้คือจะดูแล ซึ่งญาติได้ประสานใช้ล่ามที่ทำงานประจำอยู่ตลอด 24 ชั่วโมง พาญาติไปติดต่อตรวจ DNA และติดต่อเจ้าหน้าที่ส่วนต่างๆ ทำมาตั้งแต่วันเกิดเหตุ ผมก็อยู่ที่นี่ตั้งแต่วันแรก ว่างก็มา วันแรกที่มาก็กลับถึงบ้านเที่ยงคืน ส่วนการแถลงข่าวอย่างเป็นทางการคาดว่าจะเกิดขึ้นเร็วๆ นี้

    ด้านนายสุทธิพงษ์ บุญนิธ รองผู้ว่าฯ สตง.ชี้แจงในที่ประชุมคณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระฯ ระบุว่า มั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่ แต่ถนนสุดสายวิ่งมาที่ สตง.แมลงวันบินผ่านก็ด่าได้ ยืนยันว่าทุกอย่างยึดหลักกฎหมาย ส่วนกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี ไม่พบช่องว่ามีการฮั้ว คำตอบที่ได้รับคือบริษัทดังกล่าวมีทุนและเทคโนโลยีจากจีน บริษัทก็อ้างว่าทำงานได้แม้จะได้งบประมาณตามที่เสนอราคาไว้ โดยมีระยะเวลาก่อสร้าง 3 ปี แต่ขยาย 2 ครั้ง เนื่องจากโควิดและมีการปรับรูปแบบ

    เมื่อผ่านไป 4 ปี เพิ่งได้ 33% เพราะผู้รับก่อสร้างมีปัญหาเรื่องทุน คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจึงมีมติบอกเลิกสัญญาเมื่อวันที่ 15 ม.ค. อยู่ระหว่างเสนอเรื่องแต่มาเกิดเหตุเสียก่อน ยืนยันว่าไม่เคยรู้เรื่องบริษัทจีน เพราะอิตาเลียนไทยออกหน้าตลอด สตง.ยังดีอยู่เลยที่ได้บริษัทเบอร์ 1 ของประเทศ ถึงกระนั้น ยังคงจะต้องดำเนินการก่อสร้างอาคาร สตง. เช่นเดิม แต่จะไม่สร้างทับจุดที่ตึกถล่ม จะเลื่อนออกมาข้างหน้า ใช้งบประมาณไม่ถึง 2,000 ล้านบาท ใช้แอร์แบบธรรมดา เวลาเสียจะได้ไม่ต้องซ่อมยาก แต่ที่สำคัญต้องใส่เทคโนโลยีความทันสมัยในการทำงาน และคาดว่าจะต้องใช้งบประมาณที่เหลือนำมาสร้าง

    #Newskit
    ผ่านไป 13 วัน สตง.เพิ่งเปิดปาก นับเป็นการเปิดปากครั้งแรก สำหรับนายมณเฑียร เจริญผล ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว ทำให้อาคารสูง 30 ชั้น โครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ เขตจตุจักร กทม. ถล่มลงมาเมื่อวันที่ 28 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตและสูญหายจำนวนมาก แต่กลับมีเพียงอีเมลภายใน ที่ทำให้สาธารณชนโกรธแค้น ผ่านพ้นไป 13 วัน เมื่อวันที่ 10 เม.ย. เจ้าตัวได้เข้าร่วมพิธีสวดพระพุทธมนต์เพื่อผู้ประสบภัยและผู้สูญหาย กล่าวว่า รู้สึกเสียใจ ไปงานศพทุกงาน ส่งเจ้าหน้าที่ไปร่วมทำบุญให้กับผู้เสียชีวิต ส่วนผู้บาดเจ็บตนกับผู้บริหารก็ไปเยี่ยมทุกโรงพยาบาล ทุกคน ส่วนที่สังคมทัวร์ลง สตง.นั้น ยืนยันว่าเราทำงานตลอดเวลา ตอนนี้ชีวิตคนกับความสูญเสียเป็นเรื่องสำคัญ จะต้องดูแลก่อนว่าญาติพี่น้องที่ลำบากและชีวิตที่สูญเสียไปจะทำอย่างไร ทุกครั้งที่คนของเราไปร่วมงานศพญาติผู้เสียชีวิตก็บอกว่ามีเพียง สตง.ที่เข้าไปดูแลเขา ส่วนผู้ป่วยที่อยู่โรงพยาบาลพวกเขาก็เข้าใจว่าเป็นอุบัติเหตุ ฉะนั้นสิ่งที่จะทำในวันนี้คือจะดูแล ซึ่งญาติได้ประสานใช้ล่ามที่ทำงานประจำอยู่ตลอด 24 ชั่วโมง พาญาติไปติดต่อตรวจ DNA และติดต่อเจ้าหน้าที่ส่วนต่างๆ ทำมาตั้งแต่วันเกิดเหตุ ผมก็อยู่ที่นี่ตั้งแต่วันแรก ว่างก็มา วันแรกที่มาก็กลับถึงบ้านเที่ยงคืน ส่วนการแถลงข่าวอย่างเป็นทางการคาดว่าจะเกิดขึ้นเร็วๆ นี้ ด้านนายสุทธิพงษ์ บุญนิธ รองผู้ว่าฯ สตง.ชี้แจงในที่ประชุมคณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระฯ ระบุว่า มั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่ แต่ถนนสุดสายวิ่งมาที่ สตง.แมลงวันบินผ่านก็ด่าได้ ยืนยันว่าทุกอย่างยึดหลักกฎหมาย ส่วนกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี ไม่พบช่องว่ามีการฮั้ว คำตอบที่ได้รับคือบริษัทดังกล่าวมีทุนและเทคโนโลยีจากจีน บริษัทก็อ้างว่าทำงานได้แม้จะได้งบประมาณตามที่เสนอราคาไว้ โดยมีระยะเวลาก่อสร้าง 3 ปี แต่ขยาย 2 ครั้ง เนื่องจากโควิดและมีการปรับรูปแบบ เมื่อผ่านไป 4 ปี เพิ่งได้ 33% เพราะผู้รับก่อสร้างมีปัญหาเรื่องทุน คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจึงมีมติบอกเลิกสัญญาเมื่อวันที่ 15 ม.ค. อยู่ระหว่างเสนอเรื่องแต่มาเกิดเหตุเสียก่อน ยืนยันว่าไม่เคยรู้เรื่องบริษัทจีน เพราะอิตาเลียนไทยออกหน้าตลอด สตง.ยังดีอยู่เลยที่ได้บริษัทเบอร์ 1 ของประเทศ ถึงกระนั้น ยังคงจะต้องดำเนินการก่อสร้างอาคาร สตง. เช่นเดิม แต่จะไม่สร้างทับจุดที่ตึกถล่ม จะเลื่อนออกมาข้างหน้า ใช้งบประมาณไม่ถึง 2,000 ล้านบาท ใช้แอร์แบบธรรมดา เวลาเสียจะได้ไม่ต้องซ่อมยาก แต่ที่สำคัญต้องใส่เทคโนโลยีความทันสมัยในการทำงาน และคาดว่าจะต้องใช้งบประมาณที่เหลือนำมาสร้าง #Newskit
    Sad
    Like
    Wow
    5
    1 Comments 0 Shares 430 Views 0 Reviews
  • นี่ขนาดหลบไปตั้งหลักสิบกว่าวัน ยังแถให้โดนจับโกหกได้

    อ้างว่า คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มีมติบอกเลิกสัญญา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2568 แล้ว แต่ทำไมจึงยังมีการก่อสร้าง มีแรงงานเข้าทำงานมากมาย ถ้าเลิกสัญญาจริง ต้องไม่มีคนเข้าไปทำงาน

    แถมยังยืนยันว่า ไม่เคยรู้เรื่องบริษัทจีนที่มาร่วม เพราะอิตาเลียนไทยออกหน้ามาตลอด จะไม่รู้ได้อย่างไร ก็ในเมื่อชื่อผู้ชนะการประกวดราคามันก็บอกอยู่ว่าเป็น กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี” ซึ่ง ซีอาร์อีซี มันก็คือ ไชน่า เรลเวย์ เอ็นจิเนียริ่ง คอร์ปอเรชั่น
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #สตง
    นี่ขนาดหลบไปตั้งหลักสิบกว่าวัน ยังแถให้โดนจับโกหกได้ อ้างว่า คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มีมติบอกเลิกสัญญา เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2568 แล้ว แต่ทำไมจึงยังมีการก่อสร้าง มีแรงงานเข้าทำงานมากมาย ถ้าเลิกสัญญาจริง ต้องไม่มีคนเข้าไปทำงาน แถมยังยืนยันว่า ไม่เคยรู้เรื่องบริษัทจีนที่มาร่วม เพราะอิตาเลียนไทยออกหน้ามาตลอด จะไม่รู้ได้อย่างไร ก็ในเมื่อชื่อผู้ชนะการประกวดราคามันก็บอกอยู่ว่าเป็น กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี” ซึ่ง ซีอาร์อีซี มันก็คือ ไชน่า เรลเวย์ เอ็นจิเนียริ่ง คอร์ปอเรชั่น #คิงส์โพธิ์แดง #สตง
    Sad
    1
    0 Comments 0 Shares 339 Views 0 Reviews
  • “ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย)” คู่สัญญาก่อสร้างตึก สตง.ออกแถลงการณ์ยันจ่ายค่าจ้างครบถ้วนตามงวดงานและเงื่อนไขสัญญา ไม่เคยติดค้าง ซัด บริษัทก้าวพีเคฯ รับเงินแล้วไม่นำไปจ่ายให้กลุ่มผู้รับเหมา เป็นการผิดสัญญาว่าจ้างฯ และเป็นเหตุแห่งการเลิกสัญญาด้วย

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034022
    “ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย)” คู่สัญญาก่อสร้างตึก สตง.ออกแถลงการณ์ยันจ่ายค่าจ้างครบถ้วนตามงวดงานและเงื่อนไขสัญญา ไม่เคยติดค้าง ซัด บริษัทก้าวพีเคฯ รับเงินแล้วไม่นำไปจ่ายให้กลุ่มผู้รับเหมา เป็นการผิดสัญญาว่าจ้างฯ และเป็นเหตุแห่งการเลิกสัญญาด้วย อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034022
    Like
    Haha
    Yay
    9
    0 Comments 0 Shares 581 Views 0 Reviews
  • ย้อนปม “กระทรวงรถไฟจีน” ที่เคยยิ่งใหญ่และมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานประเทศจีน แต่หลังจากเกิดเหตุรถไฟความเร็วสูงชนกัน และตรวจสอบพบการทุจริต จนรัฐมนตรีถูกตัดสินประหารชีวิต ก็ถูกรัฐบาลสั่งยุบในปี 56 ส่วนหน่วยงานย่อยกลายมาเป็นรัฐวิสาหกิจ ไชน่าเรลเวย์ เอนจิเนียริ่ง คอร์ปอเรชั่น บริษัทแม่ของ “ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์เท็น” รับงานก่อสร้างทั้งในจีนและต่างประเทศ รวมถึงตึก สตง.ในไทย

    ในรายการ “คุยทุกเรื่องกับสนธิ” หรือ “สนธิทอล์ก”เมื่อวันศุกร์ที่ 4 เมษายน 2568 นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์เครือผู้จัดการได้กล่าวถึงความเป็นมาของ บริษัท China Railway No.10 ซึ่งเป็นพันธมิตรในกิจการร่วมค้า “ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย)” คู่สัญญารับเหมาก่อสร้างตึกของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ที่ถล่มลงมาระหว่างเกิดแผ่นดินไหววันศุกร์ที่ 28 มีนาคมที่ผ่านมา ซึ่งในอดีตก็คือหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการรถไฟแห่งประเทศจีน ที่ถูกสั่งยุบไปเมื่อปี 2556 หรือ 12 ปีที่แล้ว เนื่องจากมีการคอร์รับชั่นกันอย่างมโหฬาร ถึงขนาดที่อดีตรัฐมนตรีถูกดำเนินคดีและถูกตัดสินโทษประหารชีวิต

    ทั้งนี้ ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมาประเทศจีนให้ความสำคัญกับการสร้างทางรถไฟอย่างมาก มีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรับผิดชอบโดยเฉพาะตั้งแต่สมัยราชวงศ์ชิง จนถึงเมื่อมีการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยพรรคก๊กมินตั๋ง เมื่อร้อยกว่าปีก่อน ก็ยังเน้นการสร้างชาติด้วยการสร้างทางรถไฟ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000032804

    #MGROnline #กระทรวงรถไฟจีน
    ย้อนปม “กระทรวงรถไฟจีน” ที่เคยยิ่งใหญ่และมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานประเทศจีน แต่หลังจากเกิดเหตุรถไฟความเร็วสูงชนกัน และตรวจสอบพบการทุจริต จนรัฐมนตรีถูกตัดสินประหารชีวิต ก็ถูกรัฐบาลสั่งยุบในปี 56 ส่วนหน่วยงานย่อยกลายมาเป็นรัฐวิสาหกิจ ไชน่าเรลเวย์ เอนจิเนียริ่ง คอร์ปอเรชั่น บริษัทแม่ของ “ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์เท็น” รับงานก่อสร้างทั้งในจีนและต่างประเทศ รวมถึงตึก สตง.ในไทย • ในรายการ “คุยทุกเรื่องกับสนธิ” หรือ “สนธิทอล์ก”เมื่อวันศุกร์ที่ 4 เมษายน 2568 นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์เครือผู้จัดการได้กล่าวถึงความเป็นมาของ บริษัท China Railway No.10 ซึ่งเป็นพันธมิตรในกิจการร่วมค้า “ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย)” คู่สัญญารับเหมาก่อสร้างตึกของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ที่ถล่มลงมาระหว่างเกิดแผ่นดินไหววันศุกร์ที่ 28 มีนาคมที่ผ่านมา ซึ่งในอดีตก็คือหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการรถไฟแห่งประเทศจีน ที่ถูกสั่งยุบไปเมื่อปี 2556 หรือ 12 ปีที่แล้ว เนื่องจากมีการคอร์รับชั่นกันอย่างมโหฬาร ถึงขนาดที่อดีตรัฐมนตรีถูกดำเนินคดีและถูกตัดสินโทษประหารชีวิต • ทั้งนี้ ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมาประเทศจีนให้ความสำคัญกับการสร้างทางรถไฟอย่างมาก มีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรับผิดชอบโดยเฉพาะตั้งแต่สมัยราชวงศ์ชิง จนถึงเมื่อมีการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยพรรคก๊กมินตั๋ง เมื่อร้อยกว่าปีก่อน ก็ยังเน้นการสร้างชาติด้วยการสร้างทางรถไฟ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000032804 • #MGROnline #กระทรวงรถไฟจีน
    Love
    Angry
    2
    0 Comments 1 Shares 412 Views 0 Reviews
  • "ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน"ออกแถลงการณ์ฉบับ 3 ยันวัสดุก่อสร้างตึก "สตง."ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับก่อนเข้าพื้นที่
    https://www.thai-tai.tv/news/18050/
    "ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน"ออกแถลงการณ์ฉบับ 3 ยันวัสดุก่อสร้างตึก "สตง."ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับก่อนเข้าพื้นที่ https://www.thai-tai.tv/news/18050/
    0 Comments 0 Shares 132 Views 0 Reviews
  • ตามหาความจริง ตึกถล่มจตุจักร

    แผ่นดินไหวขนาด 8.2 ลึก 10 กิโลเมตร บริเวณเมืองลอยกอ ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. สั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล หนึ่งในนั้นคือโครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ สูง 30 ชั้น บนถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พังถล่มลงมา ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตที่เกิดเหตุ 11 ราย เสียชีวิตที่โรงพยาบาล 1 ราย บาดเจ็บ 18 ราย สูญหายอีกจำนวนมาก

    สังคมตั้งข้อสงสัยไปที่การก่อสร้างอาคารที่ไม่ได้คุณภาพ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2,136 ล้านบาท ผู้รับจ้างคือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด ส่วนผู้ควบคุมงานก่อสร้างคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และ บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด งบประมาณ 74.653 ล้านบาท

    มีการตรวจสอบบริษัทผู้รับจ้างอย่างไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) พบความผิดปกติตรงที่เมื่อปี 2567 ได้โพสต์ภาพและข่าวการเฉลิมฉลองปิดงานก่อสร้างชั้นดาดฟ้า ในบัญชีโซเชียลมีเดียของบริษัทฯ นำเสนอว่าใช้ระบบโครงสร้างแบบแกนกลางรับแรง และพื้นไร้คาน พอเกิดเหตุได้ลบบทความทิ้ง ไม่นับรวมการตรวจสอบที่ตั้งบริษัท พบว่าเป็นตึกแถวธรรมดาในซอยพุทธบูชา 44 แยก 11 เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ

    ขณะที่ สตง.เจ้าของโครงการ ชี้แจงว่าได้ประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเร่งตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้น ยืนยีนว่ากระบวนการดำเนินโครงการฯ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนการแก้แบบโครงสร้างให้เล็กลงเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะออกแบบให้เสาสี่เหลี่ยมด้านหน้าอาคารสูงสามชั้นมีขนาด 1.40 x 1.40 เมตร ส่วนชั้น 29 ถึงดาดฟ้า เป็นเสากลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร เพื่อรองรับหลังคาตึก เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบกำหนดไว้ไม่มีการแก้ไข

    กระทรวงอุตสาหกรรมได้เก็บตัวอย่างเหล็กที่ใช้ในการก่อสร้างไปตรวจสอบที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย พบว่ามีเหล็กบางส่วนไม่ได้มาตรฐานมาจากบริษัทที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สั่งปิดไปเมื่อเดือน ธ.ค.2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่ได้ตามมาตรฐาน

    ถึงบัดนี้นอกจากความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว การค้นหาความจริงถึงสาเหตุตึกถล่มมาจากภัยธรรมชาติหรือการก่อสร้างไม่ได้มาตรฐานยังคงดำเนินต่อไป ตามที่ รมว.มหาดไทยตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงที่มีวิศวกรใหญ่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นประธาน ซึ่งให้เวลาสืบสวนภายใน 7 วัน

    #Newskit
    ตามหาความจริง ตึกถล่มจตุจักร แผ่นดินไหวขนาด 8.2 ลึก 10 กิโลเมตร บริเวณเมืองลอยกอ ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. สั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล หนึ่งในนั้นคือโครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ สูง 30 ชั้น บนถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พังถล่มลงมา ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตที่เกิดเหตุ 11 ราย เสียชีวิตที่โรงพยาบาล 1 ราย บาดเจ็บ 18 ราย สูญหายอีกจำนวนมาก สังคมตั้งข้อสงสัยไปที่การก่อสร้างอาคารที่ไม่ได้คุณภาพ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2,136 ล้านบาท ผู้รับจ้างคือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด ส่วนผู้ควบคุมงานก่อสร้างคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และ บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด งบประมาณ 74.653 ล้านบาท มีการตรวจสอบบริษัทผู้รับจ้างอย่างไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) พบความผิดปกติตรงที่เมื่อปี 2567 ได้โพสต์ภาพและข่าวการเฉลิมฉลองปิดงานก่อสร้างชั้นดาดฟ้า ในบัญชีโซเชียลมีเดียของบริษัทฯ นำเสนอว่าใช้ระบบโครงสร้างแบบแกนกลางรับแรง และพื้นไร้คาน พอเกิดเหตุได้ลบบทความทิ้ง ไม่นับรวมการตรวจสอบที่ตั้งบริษัท พบว่าเป็นตึกแถวธรรมดาในซอยพุทธบูชา 44 แยก 11 เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ ขณะที่ สตง.เจ้าของโครงการ ชี้แจงว่าได้ประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเร่งตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้น ยืนยีนว่ากระบวนการดำเนินโครงการฯ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนการแก้แบบโครงสร้างให้เล็กลงเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะออกแบบให้เสาสี่เหลี่ยมด้านหน้าอาคารสูงสามชั้นมีขนาด 1.40 x 1.40 เมตร ส่วนชั้น 29 ถึงดาดฟ้า เป็นเสากลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร เพื่อรองรับหลังคาตึก เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบกำหนดไว้ไม่มีการแก้ไข กระทรวงอุตสาหกรรมได้เก็บตัวอย่างเหล็กที่ใช้ในการก่อสร้างไปตรวจสอบที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย พบว่ามีเหล็กบางส่วนไม่ได้มาตรฐานมาจากบริษัทที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สั่งปิดไปเมื่อเดือน ธ.ค.2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่ได้ตามมาตรฐาน ถึงบัดนี้นอกจากความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว การค้นหาความจริงถึงสาเหตุตึกถล่มมาจากภัยธรรมชาติหรือการก่อสร้างไม่ได้มาตรฐานยังคงดำเนินต่อไป ตามที่ รมว.มหาดไทยตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงที่มีวิศวกรใหญ่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นประธาน ซึ่งให้เวลาสืบสวนภายใน 7 วัน #Newskit
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 694 Views 0 Reviews
  • กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย) คู่สัญญาก่อสร้างอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.)แห่งใหม่ ออกแถลงการณ์ลงวันที่ 30 มีนาคม 2568 ชี้แจงกรณีอาคารถล่มหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว มีใจความดังนี้

    เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ตามเวลาประเทศไทย ได้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่ประเทศพม่า ส่งแรงสะเทือนสร้างความเสียหายในหลายพื้นที่ของประเทศไทย และเวลา 13.20 น. ได้เกิดขึ้นที่กรุงเทพฯ ทำให้เกิดผลกระทบวงกว้าง และทำให้โครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ถล่ม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต ผู้สูญหาย และผู้บาดเจ็บเกิดขึ้น

    กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย) เป็นผู้ได้รับประมูลตามสัญญาก่อสร้างอาคาร สตง.ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวผู้สูญเสีย ผู้เสียชีวิต และผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000030505

    #MGROnline #ไอทีดี #ซีอาร์อีซี #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย) คู่สัญญาก่อสร้างอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.)แห่งใหม่ ออกแถลงการณ์ลงวันที่ 30 มีนาคม 2568 ชี้แจงกรณีอาคารถล่มหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว มีใจความดังนี้ • เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ตามเวลาประเทศไทย ได้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่ประเทศพม่า ส่งแรงสะเทือนสร้างความเสียหายในหลายพื้นที่ของประเทศไทย และเวลา 13.20 น. ได้เกิดขึ้นที่กรุงเทพฯ ทำให้เกิดผลกระทบวงกว้าง และทำให้โครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ถล่ม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต ผู้สูญหาย และผู้บาดเจ็บเกิดขึ้น • กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย) เป็นผู้ได้รับประมูลตามสัญญาก่อสร้างอาคาร สตง.ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวผู้สูญเสีย ผู้เสียชีวิต และผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000030505 • #MGROnline #ไอทีดี #ซีอาร์อีซี #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    0 Comments 0 Shares 613 Views 0 Reviews
  • สถานทูตจีนยืนยันพร้อมให้ความร่วมมือกับรัฐบาลไทย ในการสืบสวนเหตุอาคารของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง พังถล่มลงมาสืบเนื่องจากแผ่นดินไหว ที่มีศูนย์กลางอยู่ในประเทศพม่า ในขณะที่ตึกแห่งนี้ดำเนินการก่อสร้างโดยกิจกรรมร่วมค้าระหว่างบริษัทไทยและบริษัทจีน

    เพจเฟซบุ๊กของสถานทูตจีนประเทศไทย โพสต์ข้อความระบุว่าเมื่อวันอาทิตย์(30มี.ค.) เอกอัครราชทูตหาน จื้อเฉียง พร้อมด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการกู้ภัยแผ่นดินไหวของจีน ได้เข้าพบนายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย หารือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจากเกิดเหตุอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ในเขตจตุจักร พังถล่มลงมา จากแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวที่มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ ของพม่า เมื่อช่วงบ่ายวันศุกร์(28มี.ค.)

    สัญญาโครงการก่อสร้างนี้ถูกมอบให้แก่ กิจการร่วมค้าไอทีดี-ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด ของจีน ที่ชนะการประกวดราคาด้วยวงเงิน 2,136 ล้านบาท แต่งบบานปลายไปเกือบ 1,000 ล้านบาท ตามรายงานของ baohaiduong

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/around/detail/9680000030452

    #MGROnline #สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน #สตง.#แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    สถานทูตจีนยืนยันพร้อมให้ความร่วมมือกับรัฐบาลไทย ในการสืบสวนเหตุอาคารของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง พังถล่มลงมาสืบเนื่องจากแผ่นดินไหว ที่มีศูนย์กลางอยู่ในประเทศพม่า ในขณะที่ตึกแห่งนี้ดำเนินการก่อสร้างโดยกิจกรรมร่วมค้าระหว่างบริษัทไทยและบริษัทจีน • เพจเฟซบุ๊กของสถานทูตจีนประเทศไทย โพสต์ข้อความระบุว่าเมื่อวันอาทิตย์(30มี.ค.) เอกอัครราชทูตหาน จื้อเฉียง พร้อมด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการกู้ภัยแผ่นดินไหวของจีน ได้เข้าพบนายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย หารือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น • การประชุมครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจากเกิดเหตุอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ในเขตจตุจักร พังถล่มลงมา จากแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวที่มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ ของพม่า เมื่อช่วงบ่ายวันศุกร์(28มี.ค.) • สัญญาโครงการก่อสร้างนี้ถูกมอบให้แก่ กิจการร่วมค้าไอทีดี-ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด ของจีน ที่ชนะการประกวดราคาด้วยวงเงิน 2,136 ล้านบาท แต่งบบานปลายไปเกือบ 1,000 ล้านบาท ตามรายงานของ baohaiduong • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/around/detail/9680000030452 • #MGROnline #สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน #สตง.#แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    Like
    1
    0 Comments 1 Shares 714 Views 0 Reviews

  • "อัยการธนกฤต"เปิดสัญญาตึกสตง.ถล่ม ชี้สัญญาระบุชัด แม้ตึกถล่มเพราะเหตุสุดวิสัยแผ่นดินไหว กิจการร่วมค้า"อิตาเลียนไทย"ต้องรับผิดชอบสร้างใหม่เอง

    วันนี้ (29 มี.ค.) ดร.ธนกฤต วรธนัชชากุล อัยการผู้เชี่ยวชาญ ให้ความเห็นทางกฎหมายผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว กรณีเหตุการณ์อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างถล่มพังลงมา จากเเหตุการณ์แผ่นดินไหว ว่า ความรับผิดของผู้รับจ้างกรณีตึก สตง.ถล่มกรณีตึกที่ทำการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ซึ่งมีกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์ซีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด) เป็นผู้รับจ้างก่อสร้างจากการเสนอราคาต่ำสุดด้วยวงเงิน 2,136 ล้านบาท ได้ถล่มลงมาหลังจากเกิดเหตุแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มี.ค. 2568 นั้น มีประเด็นเรื่องความรับผิดของผู้รับจ้างตามสัญญาจ้างก่อสร้างที่น่าสนใจ ซึ่งผมขอให้ความเห็นส่วนตัวทางวิชาการเพื่อให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ท่านที่สนใจและเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้อง

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/crime/detail/9680000029976

    #MGROnline #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    "อัยการธนกฤต"เปิดสัญญาตึกสตง.ถล่ม ชี้สัญญาระบุชัด แม้ตึกถล่มเพราะเหตุสุดวิสัยแผ่นดินไหว กิจการร่วมค้า"อิตาเลียนไทย"ต้องรับผิดชอบสร้างใหม่เอง • วันนี้ (29 มี.ค.) ดร.ธนกฤต วรธนัชชากุล อัยการผู้เชี่ยวชาญ ให้ความเห็นทางกฎหมายผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว กรณีเหตุการณ์อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างถล่มพังลงมา จากเเหตุการณ์แผ่นดินไหว ว่า ความรับผิดของผู้รับจ้างกรณีตึก สตง.ถล่มกรณีตึกที่ทำการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ซึ่งมีกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์ซีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด) เป็นผู้รับจ้างก่อสร้างจากการเสนอราคาต่ำสุดด้วยวงเงิน 2,136 ล้านบาท ได้ถล่มลงมาหลังจากเกิดเหตุแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มี.ค. 2568 นั้น มีประเด็นเรื่องความรับผิดของผู้รับจ้างตามสัญญาจ้างก่อสร้างที่น่าสนใจ ซึ่งผมขอให้ความเห็นส่วนตัวทางวิชาการเพื่อให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ท่านที่สนใจและเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้อง • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/crime/detail/9680000029976 • #MGROnline #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    0 Comments 0 Shares 541 Views 0 Reviews
  • ยุติค้นหา ตึกใหม่ สตง. ถล่ม! ยืนยันตาย 7 ศพ สูญหาย 47 คน เปิดเบื้องหลังบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ชิมลางสร้างตึกสูงในไทย แห่งแรกในต่างแดน ที่จบไม่สวย

    📌 เหตุการณ์สั่นสะเทือนวงการก่อสร้างไทย-จีน ที่สะท้อนความเสี่ยงระดับชาติ

    🏗️ แผ่นดินไหวแรงสะเทือนถึงใจ ตึกใหม่ สตง. ถล่มกลางกรุง! ในช่วงบ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้น... อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในย่านจตุจักร กรุงเทพฯ พังถล่มลงมาอย่างรุนแรง หลังเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งแรงสั่นสะเทือนส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ

    เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่เพียงแต่สะเทือนชีวิตผู้คน มีผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 7 ศพ สูญหาย 47 คน และมีผู้ติดอยู่ใต้ซากอาคาร 30 คน แต่ยังเป็น จุดจบของความหวังทางยุทธศาสตร์ ที่จะให้บริษัทจีนเข้ามาชิมลาง สร้างอาคารสูงพิเศษในไทย เป็นครั้งแรกในต่างแดน 🇹🇭🇨🇳

    📌 เมื่อช่วงบ่ายของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งมีศูนย์กลางลึกใต้ดินกว่า 90 กม. แม้จะห่างจากกรุงเทพฯ หลายร้อยกิโลเมตร แต่แรงสั่นสะเทือน สามารถรับรู้ได้ถึงกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 🌀

    จุดพังถล่มคือ อาคารสำนักงาน สตง. แห่งใหม่ บริเวณถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และเพิ่งสร้างโครงสร้างเสร็จไปได้เพียง 30% ของแผนงาน

    แม้อาคารจะยังไม่เปิดใช้งาน แต่ในขณะนั้นมีวิศวกร ช่างเทคนิค และคนงานกว่า 100 ชีวิต อยู่ภายใน เนื่องจากกำลังเร่งติดตั้งระบบภายใน เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ และระบบอาคารอัจฉริยะต่างๆ

    ⛑️ ทันทีหลังจากเหตุการณ์ถล่ม เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัยหลายทีม ได้เข้าพื้นที่อย่างเร่งด่วน พร้อมอุปกรณ์ค้นหา และกู้ภัยทันสมัย เช่น กล้องจับความร้อน, โดรน, เครื่องตรวจจับเสียง ฯลฯ

    📉 ภาพรวมความเสียหาย และภารกิจค้นหาผู้รอดชีวิต
    🚨 สรุปสถานการณ์ ณ วันที่ 29 มีนาคม เวลา 05.00 น.
    - เสียชีวิตแล้ว 7 ศพ นำออกมาได้แล้ว 5 ศพ
    - ผู้รอดชีวิต 9 คน บาดเจ็บหลากหลายระดับ
    - ผู้ติดใต้ซาก 30 คน มีสัญญาณชีพ 15 คน
    - ผู้สูญหาย 47 คน
    - ยืนยันตัวตนแล้ว 85 คน

    การค้นหาแบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่ A, B, C, D
    📍โซน A พบผู้มีสัญญาณชีพ 10 ราย
    📍โซน B พบผู้มีสัญญาณชีพ 2 ราย
    📍โซน D พบผู้มีสัญญาณชีพ 3 ราย

    การค้นหาต้องหยุดชั่วคราว เพื่อประเมินแผนใหม่ เนื่องจากโครงสร้างบางจุดยังไม่เสถียร เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ค้นหาเองด้วย

    💬 “เรากำลังแข่งกับเวลา และแข่งกับซากปูนที่อาจถล่มซ้ำอีกทุกวินาที” หนึ่งในทีมกู้ภัยกล่าว

    🏢 โครงการก่อสร้างอาคาร สตง. เป้าหมายสู่อนาคตรัฐ อาคารสำนักงานแห่งใหม่นี้ ถูกวางเป้าหมายให้เป็น ศูนย์กลางการเงิน และการควบคุมงบประมาณของรัฐ โดยมีโครงสร้าง 30 ชั้น ความสูงรวม 137 เมตร รวมพื้นที่ก่อสร้างกว่า 96,000 ตารางเมตร

    👉 อาคารนี้ประกอบด้วย อาคารสำนักงานหลัก อาคารประชุม และอาคารจอดรถอัตโนมัติ

    โครงการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2563 ด้วยงบประมาณ 2,136 ล้านบาท โดยผู้รับเหมาก่อสร้างหลัก คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี และควบคุมงานโดยกลุ่มวิศวกร PKW โดยมีการลงนาม Integrity Pact กับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อความโปร่งใสในการจัดจ้าง

    🏗️ "ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10" บริษัทยักษ์จากจีนผู้หวังปักหมุดในไทย “China Railway No.10 Engineering Group” หรือ CRCC เป็นบริษัทลูกของกลุ่มรัฐวิสาหกิจจีน ที่มีชื่อเสียงด้านโครงสร้างพื้นฐาน

    โครงการ สตง. คือ โครงการอาคารสูงพิเศษแห่งแรกในต่างแดน ของบริษัทนี้ นำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากจีนเข้ามาใช้เต็มที่ เช่น
    - ระบบ “แกนกลางรับแรง + พื้นไร้คาน”
    - เทคนิคแบบสไลด์คอนกรีต (Slip Form)
    - ระบบนั่งร้านปีนไต่อัตโนมัติ
    - ระบบติดตั้งไฟฟ้า แบบไม่ให้ท่อชนกันแม้แต่นิดเดียว

    👷 ทั้งหมดนี้แสดงถึงความพร้อมด้านวิศวกรรม และความหวังจะก้าวเข้าตลาดอาเซียนอย่างยิ่งใหญ่ แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น กลับกลายเป็นวิกฤตแห่งความเชื่อมั่น...

    🔍 ความเสียหายเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่ตึกถล่ม แต่คือภาพลักษณ์ล่มสลาย ผลกระทบหลัก 3 ด้าน
    - ชีวิตคนงาน การสูญเสียชีวิต7 ศพ และผู้ติดอยู่ใต้ซากหลายสิบคน คือความสูญเสียที่ไม่มีเม็ดเงินใดทดแทนได้

    - ความเชื่อมั่นในบริษัทจีน โครงการนี้เคยเป็นความหวังว่าจะเป็น “โชว์เคสระดับอาเซียน” กลายเป็น “บทเรียนราคาแพง”

    - ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน โครงการยุทธศาสตร์ไทย-จีนในอนาคตอาจถูกชะลอ ตรวจสอบมากขึ้น และถูกตั้งคำถามมากขึ้น

    🧑‍💼 การตอบสนองของหน่วยงานรัฐ เดินหน้าแก้ไข เร่งค้นหาความจริง
    – นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม. ลงพื้นที่พร้อมทีมวิศวกรกว่า 100 คน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารทั่วกรุงเทพฯ ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว

    – นายสุทธิพงษ์ บุญนิธิ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ในฐานะโฆษกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เร่งตรวจสอบคุณภาพโครงการ และประเมินความเสียหาย พร้อมยืนยัน จะเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะอย่างโปร่งใส

    – นายสุริยชัย รวิวรรณ ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กทม. รายงานสถานการณ์ค้นหาอย่างต่อเนื่อง พร้อมแบ่งโซนและใช้เทคโนโลยี ช่วยระบุตำแหน่งผู้ติดใต้ซาก

    ✅ จุดจบที่ไม่ควรเกิด กับความหวังที่ดับไปกลางซากอาคาร โศกนาฏกรรมครั้งนี้ เป็นจุดเตือนที่สะเทือนใจว่า การลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ไม่อาจวัดด้วยเทคโนโลยี หรือเงินทุนเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัย มาตรฐาน ความปลอดภัย และความโปร่งใสระดับสูงสุด

    หากสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป... แม้จะเป็นโครงการที่ดูดีแค่ไหน ก็พร้อมจะพังถล่มลงมาในพริบตา 🕯️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 291100 มี.ค. 2568

    🔖#ตึกสตงถล่ม #CRCCไทย #ไชน่าเรลเวย์10 #ข่าวด่วน #แผ่นดินไหว #อาคารสูงพิเศษ #ก่อสร้างไทยจีน #ข่าวโศกนาฏกรรม #ตึกถล่ม #ไทยจีน
    ยุติค้นหา ตึกใหม่ สตง. ถล่ม! ยืนยันตาย 7 ศพ สูญหาย 47 คน เปิดเบื้องหลังบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ชิมลางสร้างตึกสูงในไทย แห่งแรกในต่างแดน ที่จบไม่สวย 📌 เหตุการณ์สั่นสะเทือนวงการก่อสร้างไทย-จีน ที่สะท้อนความเสี่ยงระดับชาติ 🏗️ แผ่นดินไหวแรงสะเทือนถึงใจ ตึกใหม่ สตง. ถล่มกลางกรุง! ในช่วงบ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้น... อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในย่านจตุจักร กรุงเทพฯ พังถล่มลงมาอย่างรุนแรง หลังเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งแรงสั่นสะเทือนส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่เพียงแต่สะเทือนชีวิตผู้คน มีผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 7 ศพ สูญหาย 47 คน และมีผู้ติดอยู่ใต้ซากอาคาร 30 คน แต่ยังเป็น จุดจบของความหวังทางยุทธศาสตร์ ที่จะให้บริษัทจีนเข้ามาชิมลาง สร้างอาคารสูงพิเศษในไทย เป็นครั้งแรกในต่างแดน 🇹🇭🇨🇳 📌 เมื่อช่วงบ่ายของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งมีศูนย์กลางลึกใต้ดินกว่า 90 กม. แม้จะห่างจากกรุงเทพฯ หลายร้อยกิโลเมตร แต่แรงสั่นสะเทือน สามารถรับรู้ได้ถึงกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 🌀 จุดพังถล่มคือ อาคารสำนักงาน สตง. แห่งใหม่ บริเวณถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และเพิ่งสร้างโครงสร้างเสร็จไปได้เพียง 30% ของแผนงาน แม้อาคารจะยังไม่เปิดใช้งาน แต่ในขณะนั้นมีวิศวกร ช่างเทคนิค และคนงานกว่า 100 ชีวิต อยู่ภายใน เนื่องจากกำลังเร่งติดตั้งระบบภายใน เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ และระบบอาคารอัจฉริยะต่างๆ ⛑️ ทันทีหลังจากเหตุการณ์ถล่ม เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัยหลายทีม ได้เข้าพื้นที่อย่างเร่งด่วน พร้อมอุปกรณ์ค้นหา และกู้ภัยทันสมัย เช่น กล้องจับความร้อน, โดรน, เครื่องตรวจจับเสียง ฯลฯ 📉 ภาพรวมความเสียหาย และภารกิจค้นหาผู้รอดชีวิต 🚨 สรุปสถานการณ์ ณ วันที่ 29 มีนาคม เวลา 05.00 น. - เสียชีวิตแล้ว 7 ศพ นำออกมาได้แล้ว 5 ศพ - ผู้รอดชีวิต 9 คน บาดเจ็บหลากหลายระดับ - ผู้ติดใต้ซาก 30 คน มีสัญญาณชีพ 15 คน - ผู้สูญหาย 47 คน - ยืนยันตัวตนแล้ว 85 คน การค้นหาแบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่ A, B, C, D 📍โซน A พบผู้มีสัญญาณชีพ 10 ราย 📍โซน B พบผู้มีสัญญาณชีพ 2 ราย 📍โซน D พบผู้มีสัญญาณชีพ 3 ราย การค้นหาต้องหยุดชั่วคราว เพื่อประเมินแผนใหม่ เนื่องจากโครงสร้างบางจุดยังไม่เสถียร เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ค้นหาเองด้วย 💬 “เรากำลังแข่งกับเวลา และแข่งกับซากปูนที่อาจถล่มซ้ำอีกทุกวินาที” หนึ่งในทีมกู้ภัยกล่าว 🏢 โครงการก่อสร้างอาคาร สตง. เป้าหมายสู่อนาคตรัฐ อาคารสำนักงานแห่งใหม่นี้ ถูกวางเป้าหมายให้เป็น ศูนย์กลางการเงิน และการควบคุมงบประมาณของรัฐ โดยมีโครงสร้าง 30 ชั้น ความสูงรวม 137 เมตร รวมพื้นที่ก่อสร้างกว่า 96,000 ตารางเมตร 👉 อาคารนี้ประกอบด้วย อาคารสำนักงานหลัก อาคารประชุม และอาคารจอดรถอัตโนมัติ โครงการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2563 ด้วยงบประมาณ 2,136 ล้านบาท โดยผู้รับเหมาก่อสร้างหลัก คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี และควบคุมงานโดยกลุ่มวิศวกร PKW โดยมีการลงนาม Integrity Pact กับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อความโปร่งใสในการจัดจ้าง 🏗️ "ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10" บริษัทยักษ์จากจีนผู้หวังปักหมุดในไทย “China Railway No.10 Engineering Group” หรือ CRCC เป็นบริษัทลูกของกลุ่มรัฐวิสาหกิจจีน ที่มีชื่อเสียงด้านโครงสร้างพื้นฐาน โครงการ สตง. คือ โครงการอาคารสูงพิเศษแห่งแรกในต่างแดน ของบริษัทนี้ นำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากจีนเข้ามาใช้เต็มที่ เช่น - ระบบ “แกนกลางรับแรง + พื้นไร้คาน” - เทคนิคแบบสไลด์คอนกรีต (Slip Form) - ระบบนั่งร้านปีนไต่อัตโนมัติ - ระบบติดตั้งไฟฟ้า แบบไม่ให้ท่อชนกันแม้แต่นิดเดียว 👷 ทั้งหมดนี้แสดงถึงความพร้อมด้านวิศวกรรม และความหวังจะก้าวเข้าตลาดอาเซียนอย่างยิ่งใหญ่ แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น กลับกลายเป็นวิกฤตแห่งความเชื่อมั่น... 🔍 ความเสียหายเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่ตึกถล่ม แต่คือภาพลักษณ์ล่มสลาย ผลกระทบหลัก 3 ด้าน - ชีวิตคนงาน การสูญเสียชีวิต7 ศพ และผู้ติดอยู่ใต้ซากหลายสิบคน คือความสูญเสียที่ไม่มีเม็ดเงินใดทดแทนได้ - ความเชื่อมั่นในบริษัทจีน โครงการนี้เคยเป็นความหวังว่าจะเป็น “โชว์เคสระดับอาเซียน” กลายเป็น “บทเรียนราคาแพง” - ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน โครงการยุทธศาสตร์ไทย-จีนในอนาคตอาจถูกชะลอ ตรวจสอบมากขึ้น และถูกตั้งคำถามมากขึ้น 🧑‍💼 การตอบสนองของหน่วยงานรัฐ เดินหน้าแก้ไข เร่งค้นหาความจริง – นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม. ลงพื้นที่พร้อมทีมวิศวกรกว่า 100 คน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารทั่วกรุงเทพฯ ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว – นายสุทธิพงษ์ บุญนิธิ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ในฐานะโฆษกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เร่งตรวจสอบคุณภาพโครงการ และประเมินความเสียหาย พร้อมยืนยัน จะเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะอย่างโปร่งใส – นายสุริยชัย รวิวรรณ ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กทม. รายงานสถานการณ์ค้นหาอย่างต่อเนื่อง พร้อมแบ่งโซนและใช้เทคโนโลยี ช่วยระบุตำแหน่งผู้ติดใต้ซาก ✅ จุดจบที่ไม่ควรเกิด กับความหวังที่ดับไปกลางซากอาคาร โศกนาฏกรรมครั้งนี้ เป็นจุดเตือนที่สะเทือนใจว่า การลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ไม่อาจวัดด้วยเทคโนโลยี หรือเงินทุนเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัย มาตรฐาน ความปลอดภัย และความโปร่งใสระดับสูงสุด หากสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป... แม้จะเป็นโครงการที่ดูดีแค่ไหน ก็พร้อมจะพังถล่มลงมาในพริบตา 🕯️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 291100 มี.ค. 2568 🔖#ตึกสตงถล่ม #CRCCไทย #ไชน่าเรลเวย์10 #ข่าวด่วน #แผ่นดินไหว #อาคารสูงพิเศษ #ก่อสร้างไทยจีน #ข่าวโศกนาฏกรรม #ตึกถล่ม #ไทยจีน
    0 Comments 0 Shares 966 Views 0 Reviews
  • โครงการดังกล่าวเป็นกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด)ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรณีแผ่นดินไหว ได้รับความสนใจจากทั่วโลก โดยเฉพาะกับในประเทศจีน ที่ชาวเน็ตจีนได้ติดตามข่าวใน เว่ยป๋อ จนขึ้นฮอตเสิร์ชอีกด้วย 1 ในโพสต์ที่ได้รับความสนใจนั้นเป็นข้อสังเกตจากชาวเน็ต ที่รายงานเรื่องตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินแห่งใหม่ เป็นบริษัทร่วมทุนกับ China Railway 10ทั้งยังได้นำเอาเนื้อหาของบทความที่ได้รายงานความคืบหน้าตึกดังกล่าว ที่ระบุว่า อยู่ในขั้นตอนตกแต่ง
    โครงการดังกล่าวเป็นกิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด)ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรณีแผ่นดินไหว ได้รับความสนใจจากทั่วโลก โดยเฉพาะกับในประเทศจีน ที่ชาวเน็ตจีนได้ติดตามข่าวใน เว่ยป๋อ จนขึ้นฮอตเสิร์ชอีกด้วย 1 ในโพสต์ที่ได้รับความสนใจนั้นเป็นข้อสังเกตจากชาวเน็ต ที่รายงานเรื่องตึกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินแห่งใหม่ เป็นบริษัทร่วมทุนกับ China Railway 10ทั้งยังได้นำเอาเนื้อหาของบทความที่ได้รายงานความคืบหน้าตึกดังกล่าว ที่ระบุว่า อยู่ในขั้นตอนตกแต่ง
    Like
    Haha
    2
    0 Comments 0 Shares 308 Views 0 Reviews
  • เปิดสัญญาก่อสร้าง "อาคาร สตง.แห่งใหม่ ย่านจตุจักร" สูง 30 ชั้น มูลค่า 2,136 ล้าน ก่อนถล่มจากฤทธิ์แผ่นดินไหว พบ บ.ร่วมค้า "ไอทีดี - ไชน่า เรลเวย์" ได้งาน มีบริษัทคุมงาน 3 บริษัท หลัง ครม.ชุดนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน เผยโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง

    วันนี้ (28 มี.ค.2568) มีรายงานจากสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. เปิดเผยถึงกรณีพื้นที่อาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.)ที่กำลังก่อสร้างถล่มหลังเหตุแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการ สตง.(แห่งใหม่) ความสูง 30 ชั้น มูลค่างานก่อสร้าง 2,136 ล้านบาท

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000029708

    #MGROnline #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา
    เปิดสัญญาก่อสร้าง "อาคาร สตง.แห่งใหม่ ย่านจตุจักร" สูง 30 ชั้น มูลค่า 2,136 ล้าน ก่อนถล่มจากฤทธิ์แผ่นดินไหว พบ บ.ร่วมค้า "ไอทีดี - ไชน่า เรลเวย์" ได้งาน มีบริษัทคุมงาน 3 บริษัท หลัง ครม.ชุดนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน เผยโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง • วันนี้ (28 มี.ค.2568) มีรายงานจากสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. เปิดเผยถึงกรณีพื้นที่อาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.)ที่กำลังก่อสร้างถล่มหลังเหตุแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการ สตง.(แห่งใหม่) ความสูง 30 ชั้น มูลค่างานก่อสร้าง 2,136 ล้านบาท • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000029708 • #MGROnline #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา
    0 Comments 0 Shares 519 Views 0 Reviews
  • เปิดสัญญาก่อสร้าง "อาคาร สตง.แห่งใหม่ ย่านจตุจักร" สูง 30 ชั้น มูลค่า 2,136 ล้าน ก่อนถล่มจากฤทธิ์แผ่นดินไหว พบ บ.ร่วมค้า "ไอทีดี - ไชน่า เรลเวย์" ได้งาน มีบริษัทคุมงาน 3 บริษัท หลัง ครม.ชุดนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน เผยโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000029708
    เปิดสัญญาก่อสร้าง "อาคาร สตง.แห่งใหม่ ย่านจตุจักร" สูง 30 ชั้น มูลค่า 2,136 ล้าน ก่อนถล่มจากฤทธิ์แผ่นดินไหว พบ บ.ร่วมค้า "ไอทีดี - ไชน่า เรลเวย์" ได้งาน มีบริษัทคุมงาน 3 บริษัท หลัง ครม.ชุดนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน เผยโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000029708
    Like
    Haha
    6
    0 Comments 0 Shares 689 Views 0 Reviews