• อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าเพราะมิจฉาทิฏฐิจึงเป็นปลาติดอวน
    สัทธรรมลำดับที่ : 314
    ชื่อบทธรรม :- เพราะมิจฉาทิฏฐิจึงเป็นปลาติดอวน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=314
    เนื้อความทั้งหมด :-
    นิทเทศ ๖ ว่าด้วยอาการที่ตัณหาทำให้เกิดทุกข์
    นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฏฐิที่เกี่ยวกับตัณหา
    --เพราะมิจฉาทิฏฐิจึงเป็นปลาติดอวน
    --ภิกษุ ท. ! สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่ง
    ที่บัญญัติทิฏฐิ
    ปรารภปุพพันตขันธ์บ้าง
    ปรารภอปรันตขันธ์บ้าง
    ปรารภทั้งปุพพันตะและ อปรันตขันธ์บ้าง
    ล้วนแต่เป็นผู้มีปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ
    ปรารภขันธ์ทั้งที่เป็น ปุพพันตะและอปรันตะ
    ดังนี้แล้ว
    กล่าวบัญญัติทิฏฐิอันเป็นอธิมุตติบท
    (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ ตามทิฏฐิแห่งตน ๆ)
    มีอย่างต่าง ๆ กันเป็นอเนก ;
    สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด
    ถูกกระทำแล้วให้ตกอยู่ภายในแห่งข่าย ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ)
    ทั้งหลาย ๖๒ ประการเหล่านั้นเอง
    เมื่อโงหัวอยู่ที่เดียว ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น
    เมื่อเที่ยวโงหัวอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น.

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนชาวประมงและลูกมือของชาวประมงผู้เชี่ยวชาญ
    ได้ล้อมแหล่งน้ำน้อยไว้ด้วยอวนตาถี่ เมื่อเป็นอย่างนี้
    สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเป็นอันมากเหล่าหนึ่งเหล่าใด ในแหล่งน้ำนี้
    สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น แม้ทั้งหมด ชื่อว่าถูกกระทำไว้แล้วในภายในแห่งอวน
    เมื่อผุดอยู่ที่เดียว ก็ผุดอยู่ ในอวนนั้น เมื่อเที่ยวผุดอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป
    ก็ยังคงผุดอยู่ในอวนนั้นนั่นเอง, นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ
    สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่บัญญัติทิฏฐิ
    ปรารภปุพพันตขันธ์บ้าง ปรารภอปรันตขันธ์บ้าง
    ปรารภทั้งปุพพันตะและอปรันตขันธ์บ้าง ล้วนแต่เป็นผู้มีปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ
    ปรารภขันธ์ทั้งที่เป็นปุพพันตะและอปรันตะ
    ดังนี้แล้ว
    กล่าวบัญญัติทิฏฐิ อันเป็นอธิมุตติบท
    (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ ตามทิฏฐิแห่งตน ๆ)
    มีอย่างต่าง ๆ กัน เป็นอเนก ;
    สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด ถูกกระทำแล้ว
    ให้ตกอยู่ภายในแห่งข่าย ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ)
    ทั้งหลาย ๖๒ ประการเหล่านั้นเอง เมื่อโงหัวอยู่ที่เดียว ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น
    เมื่อเที่ยวโงหัวอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้นนั่นเอง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/9/58/?keywords=ฉนฺนํ+ผสฺสายตนานํ+สมุทยญฺจ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/43/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/43/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที.(๘/๕๘/๙๐). ๙/๕๘/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/58/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=314
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=314
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าเพราะมิจฉาทิฏฐิจึงเป็นปลาติดอวน สัทธรรมลำดับที่ : 314 ชื่อบทธรรม :- เพราะมิจฉาทิฏฐิจึงเป็นปลาติดอวน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=314 เนื้อความทั้งหมด :- นิทเทศ ๖ ว่าด้วยอาการที่ตัณหาทำให้เกิดทุกข์ นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฏฐิที่เกี่ยวกับตัณหา --เพราะมิจฉาทิฏฐิจึงเป็นปลาติดอวน --ภิกษุ ท. ! สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ที่บัญญัติทิฏฐิ ปรารภปุพพันตขันธ์บ้าง ปรารภอปรันตขันธ์บ้าง ปรารภทั้งปุพพันตะและ อปรันตขันธ์บ้าง ล้วนแต่เป็นผู้มีปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์ทั้งที่เป็น ปุพพันตะและอปรันตะ ดังนี้แล้ว กล่าวบัญญัติทิฏฐิอันเป็นอธิมุตติบท (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ ตามทิฏฐิแห่งตน ๆ) มีอย่างต่าง ๆ กันเป็นอเนก ; สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด ถูกกระทำแล้วให้ตกอยู่ภายในแห่งข่าย ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ) ทั้งหลาย ๖๒ ประการเหล่านั้นเอง เมื่อโงหัวอยู่ที่เดียว ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น เมื่อเที่ยวโงหัวอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนชาวประมงและลูกมือของชาวประมงผู้เชี่ยวชาญ ได้ล้อมแหล่งน้ำน้อยไว้ด้วยอวนตาถี่ เมื่อเป็นอย่างนี้ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเป็นอันมากเหล่าหนึ่งเหล่าใด ในแหล่งน้ำนี้ สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น แม้ทั้งหมด ชื่อว่าถูกกระทำไว้แล้วในภายในแห่งอวน เมื่อผุดอยู่ที่เดียว ก็ผุดอยู่ ในอวนนั้น เมื่อเที่ยวผุดอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป ก็ยังคงผุดอยู่ในอวนนั้นนั่นเอง, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่บัญญัติทิฏฐิ ปรารภปุพพันตขันธ์บ้าง ปรารภอปรันตขันธ์บ้าง ปรารภทั้งปุพพันตะและอปรันตขันธ์บ้าง ล้วนแต่เป็นผู้มีปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์ทั้งที่เป็นปุพพันตะและอปรันตะ ดังนี้แล้ว กล่าวบัญญัติทิฏฐิ อันเป็นอธิมุตติบท (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ ตามทิฏฐิแห่งตน ๆ) มีอย่างต่าง ๆ กัน เป็นอเนก ; สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด ถูกกระทำแล้ว ให้ตกอยู่ภายในแห่งข่าย ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ) ทั้งหลาย ๖๒ ประการเหล่านั้นเอง เมื่อโงหัวอยู่ที่เดียว ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น เมื่อเที่ยวโงหัวอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้นนั่นเอง.- http://etipitaka.com/read/pali/9/58/?keywords=ฉนฺนํ+ผสฺสายตนานํ+สมุทยญฺจ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/43/90. http://etipitaka.com/read/thai/9/43/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที.(๘/๕๘/๙๐). ๙/๕๘/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/9/58/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=314 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=314 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๖
    -นิทเทศ ๖ ว่าด้วยอาการที่ตัณหาทำให้เกิดทุกข์ จบ นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฏฐิที่เกี่ยวกับตัณหา (มี ๘ เรื่อง) เพราะมิจฉาทิฏฐิจึงเป็นปลาติดอวน ภิกษุ ท. ! สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ที่บัญญัติทิฏฐิ ปรารภปุพพันตขันธ์บ้าง ปรารภอปรันตขันธ์บ้าง ปรารภทั้งปุพพันตะและ อปรันตขันธ์บ้าง ล้วนแต่เป็นผู้มีปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์ทั้งที่เป็น ปุพพันตะและอปรันตะ ดังนี้แล้ว กล่าวบัญญัติทิฏฐิอันเป็นอธิมุตติบท (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ ตามทิฏฐิแห่งตน ๆ) มีอย่างต่าง ๆ กันเป็นอเนก ; สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด ถูกกระทำแล้วให้ตกอยู่ภายในแห่งข่าย ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ) ทั้งหลาย ๖๒ ประการเหล่านั้นเอง เมื่อโงหัวอยู่ที่เดียว ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น เมื่อเที่ยวโงหัวอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนชาวประมงและลูกมือของชาวประมงผู้เชี่ยวชาญ ได้ล้อมแหล่งน้ำน้อยไว้ด้วยอวนตาถี่ เมื่อเป็นอย่างนี้ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเป็นอันมากเหล่าหนึ่งเหล่าใด ในแหล่งน้ำนี้ สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น แม้ทั้งหมด ชื่อว่าถูกกระทำไว้แล้วในภายในแห่งอวน เมื่อผุดอยู่ที่เดียว ก็ผุดอยู่ ในอวนนั้น เมื่อเที่ยวผุดอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป ก็ยังคงผุดอยู่ในอวนนั้นนั่นเอง, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ที่บัญญัติทิฏฐิปรารภปุพพันตขันธ์บ้าง ปรารภอปรันตขันธ์บ้าง ปรารภทั้งปุพพันตะและอปรันตขันธ์บ้าง ล้วนแต่เป็นผู้มีปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์ทั้งที่เป็นปุพพันตะและอปรันตะ ดังนี้แล้ว กล่าวบัญญัติทิฏฐิ อันเป็นอธิมุตติบท (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ ตามทิฏฐิแห่งตน ๆ) มีอย่าง ต่าง ๆ กัน เป็นอเนก ; สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด ถูกกระทำแล้ว ให้ตกอยู่ภายในแห่งข่าย ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ) ทั้งหลาย ๖๒ ประการเหล่านั้นเอง เมื่อโงหัวอยู่ที่เดียว ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้น เมื่อเที่ยวโงหัวอยู่ในที่ทั่ว ๆ ไป ก็โงหัวอยู่ในข่ายนั้นนั่นเอง.
    0 Comments 0 Shares 25 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การแทงตลอดอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1045
    ชื่อบทธรรม :- การแทงตลอดอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การแทงตลอดอริยสัจ-เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี
    ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร
    ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย;
    ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ
    คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล
    ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย”
    --อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร
    : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน
    คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย
    กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ?
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า
    คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง”
    --อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า,
    คือบรรดา #บุคคลที่แทงตลอดซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/566/?keywords=ทุปฺปฏิวิชฺฌตรํ+ปฏิวิชฺฌนฺติ
    “นี้ทุกข์
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้
    เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้”
    ดังนี้.-

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/445/1738.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/445/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๖๕/๑๗๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/565/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1045
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การแทงตลอดอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1045 ชื่อบทธรรม :- การแทงตลอดอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045 เนื้อความทั้งหมด :- --การแทงตลอดอริยสัจ-เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย; ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย” --อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ? --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง” --อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า, คือบรรดา #บุคคลที่แทงตลอดซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/566/?keywords=ทุปฺปฏิวิชฺฌตรํ+ปฏิวิชฺฌนฺติ “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้.- #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/445/1738. http://etipitaka.com/read/thai/19/445/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๖๕/๑๗๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/19/565/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1045 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การแทงตลอดอริยสัจ--เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย
    -(อธิปไตยอย่างอื่นก็มีอยู่ คือปรารภประโยชน์ตนแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่าอัตตาธิปไตย; และปรารภการติเตียนของผู้อื่นแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่าโลกาธิปไตย. ทั้งสองอย่างนี้ไม่ประกอบด้วยธรรม ไม่ควรถือเอาเป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ; แต่ให้ถือเอา ธัมมาธิปไตยดังที่กล่าวแล้วข้างบน เป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ จึงจะถูกต้องตามหลักของการทำที่สุดทุกข์ในพระพุทธศาสนา หรือตรงตามพระพุทธประสงค์). การแทงตลอดอริยสัจ เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย; ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย” อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง” อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า, คือบรรดา คนที่แทงตลอด ซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 92 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย
    สัทธรรมลำดับที่ : 1044
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1044
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย
    --ภิกษุ ท. ! ธัมมาธิปไตย (ความมีธรรมเป็นใหญ่) เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/20/188/?keywords=ธมฺมาธิปเตยฺ
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุไปสู่ป่าก็ตาม โคนไม้ก็ตาม หรือเรือนว่างก็ตาม
    พิจารณาเห็นอยู่ว่า
    “เราออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่มีเรือน
    เพราะเหตุจะได้จีวรก็หามิได้
    เพราะเหตุจะได้บิณฑบาตก็หามิได้
    เพราะเหตุจะได้เสนาสนะก็หามิได้
    เพราะเหตุจะได้เป็นอย่างนั้นจะได้เป็นอย่างนี้ก็หามิได้ ;
    แต่ว่า เราบวชแล้วโดยพิจารณาเห็นว่า
    “เราถูกชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส หยั่งเอาแล้ว เป็นผู้
    มีทุกข์หยั่งลงแล้ว มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว,
    ทำไฉนการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏแก่เรา”
    ดังนี้. อนึ่ง
    พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว
    เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง
    เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล
    เป็นสิ่งที่ควรกล่าว กะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด
    เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตน เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน
    http://etipitaka.com/read/pali/20/189/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม+สนฺทิฏฺฐิโก+อกาลิโก+เอหิปสฺสิโก+โอปนยิโก+ปจฺจตฺตํ+เวทิตพฺโพ+วิญฺญูหีติ
    : สพรหมจารีผู้รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งธรรมนั้น ว่าเป็นดังนี้ก็มีอยู่.
    "ก็ เราบวชแล้วในธรรมวินัยอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้วอย่างนี้
    จะเป็นผู้เกียจคร้าน ประมาทอยู่
    : ข้อนั้นไม่สมควรแก่เรา”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุนั้นพิจารณาอยู่ว่า
    “ความเพียรที่เราปรารภแล้วจักเป็นความเพียรไม่ย่อหย่อน,
    สติที่เข้าไปตั้งไว้แล้วจักไม่หลงลืม,
    กายอันรำงับแล้ว ไม่กำเริบ, จิตตั้งมั่นแล้ว มีอารมณ์อันเดียว,”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุนั้น กระทำพระธรรมให้เป็นใหญ่ ละอกุศลเจริญกุศล
    ละกรรมที่ มีโทษเจริญกรรมที่ไม่มีโทษ บริหารตนให้บริสุทธิ์อยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #ธัมมาธิปไตย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/20/189/?keywords=ธมฺมาธิปเตยฺ

    (อธิปไตยอย่างอื่นก็มีอยู่ คือ
    ปรารภประโยชน์ตนแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่า &อัตตาธิปไตย; และ
    ปรารภการติเตียนของผู้อื่นแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่า &โลกาธิปไตย.
    ทั้งสองอย่างนี้ไม่ประกอบด้วยธรรม ไม่ควรถือเอาเป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ;
    แต่ให้ถือเอา &ธัมมาธิปไตยดังที่กล่าวแล้วข้างบน เป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ
    จึงจะถูกต้องตามหลักของการทำที่สุดทุกข์ในพระพุทธศาสนา
    หรือตรงตามพระพุทธประสงค์
    )
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/140/479.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/140/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๘๘/๔๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/188/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1044
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1044
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย สัทธรรมลำดับที่ : 1044 ชื่อบทธรรม : -ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1044 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย --ภิกษุ ท. ! ธัมมาธิปไตย (ความมีธรรมเป็นใหญ่) เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/20/188/?keywords=ธมฺมาธิปเตยฺ --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุไปสู่ป่าก็ตาม โคนไม้ก็ตาม หรือเรือนว่างก็ตาม พิจารณาเห็นอยู่ว่า “เราออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่มีเรือน เพราะเหตุจะได้จีวรก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้บิณฑบาตก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้เสนาสนะก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้เป็นอย่างนั้นจะได้เป็นอย่างนี้ก็หามิได้ ; แต่ว่า เราบวชแล้วโดยพิจารณาเห็นว่า “เราถูกชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส หยั่งเอาแล้ว เป็นผู้ มีทุกข์หยั่งลงแล้ว มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว, ทำไฉนการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏแก่เรา” ดังนี้. อนึ่ง พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล เป็นสิ่งที่ควรกล่าว กะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตน เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน http://etipitaka.com/read/pali/20/189/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม+สนฺทิฏฺฐิโก+อกาลิโก+เอหิปสฺสิโก+โอปนยิโก+ปจฺจตฺตํ+เวทิตพฺโพ+วิญฺญูหีติ : สพรหมจารีผู้รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งธรรมนั้น ว่าเป็นดังนี้ก็มีอยู่. "ก็ เราบวชแล้วในธรรมวินัยอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้วอย่างนี้ จะเป็นผู้เกียจคร้าน ประมาทอยู่ : ข้อนั้นไม่สมควรแก่เรา” ดังนี้. +--ภิกษุนั้นพิจารณาอยู่ว่า “ความเพียรที่เราปรารภแล้วจักเป็นความเพียรไม่ย่อหย่อน, สติที่เข้าไปตั้งไว้แล้วจักไม่หลงลืม, กายอันรำงับแล้ว ไม่กำเริบ, จิตตั้งมั่นแล้ว มีอารมณ์อันเดียว,” ดังนี้. +--ภิกษุนั้น กระทำพระธรรมให้เป็นใหญ่ ละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมที่ มีโทษเจริญกรรมที่ไม่มีโทษ บริหารตนให้บริสุทธิ์อยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #ธัมมาธิปไตย.- http://etipitaka.com/read/pali/20/189/?keywords=ธมฺมาธิปเตยฺ (อธิปไตยอย่างอื่นก็มีอยู่ คือ ปรารภประโยชน์ตนแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่า &อัตตาธิปไตย; และ ปรารภการติเตียนของผู้อื่นแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่า &โลกาธิปไตย. ทั้งสองอย่างนี้ไม่ประกอบด้วยธรรม ไม่ควรถือเอาเป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ; แต่ให้ถือเอา &ธัมมาธิปไตยดังที่กล่าวแล้วข้างบน เป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ จึงจะถูกต้องตามหลักของการทำที่สุดทุกข์ในพระพุทธศาสนา หรือตรงตามพระพุทธประสงค์ ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/140/479. http://etipitaka.com/read/thai/20/140/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๘๘/๔๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/20/188/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1044 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1044 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย
    -ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย ภิกษุ ท. ! ธัมมาธิปไตย (ความมีธรรมเป็นใหญ่) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุไปสู่ป่าก็ตาม โคนไม้ก็ตาม หรือเรือนว่างก็ตาม พิจารณาเห็นอยู่ว่า “เราออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่มีเรือน เพราะเหตุจะได้จีวรก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้บิณฑบาตก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้เสนาสนะก็หามิได้ เพราะเหตุจะได้เป็นอย่างนั้นจะได้เป็นอย่างนี้ก็หามิได้ ; แต่ว่า เราบวชแล้วโดยพิจารณาเห็นว่า “เราถูกชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส หยั่งเอาแล้ว เป็นผู้มีทุกข์หยั่งลงแล้ว มีทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว, ทำไฉนการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏแก่เรา” ดังนี้. อนึ่ง พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล เป็นสิ่งที่ควรกล่าว กะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตน เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน : สพรหมจารีผู้รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งธรรมนั้น ว่าเป็นดังนี้ก็มีอยู่. ก็ เราบวชแล้วในธรรมวินัยอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้วอย่างนี้ จะเป็นผู้เกียจคร้าน ประมาทอยู่ : ข้อนั้นไม่สมควรแก่เรา” ดังนี้. ภิกษุนั้นพิจารณาอยู่ว่า “ความเพียรที่เราปรารภแล้วจักเป็นความเพียรไม่ย่อหย่อน, สติที่เข้าไปตั้งไว้แล้วจักไม่ หลงลืม, กายอันรำงับแล้ว ไม่กำเริบ, จิตตั้งมั่นแล้ว มีอารมณ์อันเดียว,” ดังนี้. ภิกษุนั้น กระทำพระธรรมให้เป็นใหญ่ ละอกุศลเจริญกุศล ละกรรมที่ มีโทษเจริญกรรมที่ไม่มีโทษ บริหารตนให้บริสุทธิ์อยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธัมมาธิปไตย.
    0 Comments 0 Shares 134 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ให้เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1043
    ชื่อบทธรรม : -เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่
    ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ
    อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด
    ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน
    น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ
    )​
    --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว
    น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย.
    เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า

    “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ;
    เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ”
    ดังนี้

    : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียก
    ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”*--๑ บ้าง;
    แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง
    แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า
    “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ,
    พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ,
    สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ”
    ดังนี้.
    *--๑. สูตร(มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๒)​
    http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%92

    ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วย #ช้างมหานาค ในป่า
    ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ
    บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ
    ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้;
    และจะได้ พบตัวช้างคือพระองค์ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว เท่านั้น.
    --เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
    จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ;
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว”
    ดังนี้;

    ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว,
    กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว,
    กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    : พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียก
    ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต” บ้าง.
    : พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล
    อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า
    “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ภควา
    พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม
    สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ”
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สุปฏิปนฺโน+ภควโต+สาวกสงฺโฆ
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/243/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/243/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1043
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ให้เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง สัทธรรมลำดับที่ : 1043 ชื่อบทธรรม : -เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043 เนื้อความทั้งหมด :- --เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่ ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ )​ --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ; เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ” ดังนี้ : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียก ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”*--๑ บ้าง; แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้. *--๑. สูตร(มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๒)​ http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%92 ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วย #ช้างมหานาค ในป่า ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้; และจะได้ พบตัวช้างคือพระองค์ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว เท่านั้น. --เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ; เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว” ดังนี้; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. : พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียก ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต” บ้าง. : พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ, http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ภควา พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สุปฏิปนฺโน+ภควโต+สาวกสงฺโฆ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/243/338. http://etipitaka.com/read/thai/12/243/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1043 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง--ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    -(ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓) ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้ ด้วย หม้อสี่ชนิด คือหม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – เปิด คือรู้อริยสัจแต่ไม่มีสมณสารูป ; หม้อเปล่า – เปิด คือไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – ปิด คือรู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔) ตรัสเปรียบด้วย ห้วงน้ำสี่ชนิด คือห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป; ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕) ตรัสเปรียบด้วย มะม่วงสี่ชนิด คือมะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่ได้รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป; มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ ). เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่ ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ :-) ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ; เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ” ดังนี้ : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียกว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”๑ บ้าง; แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้. เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ; เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว” ดังนี้; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียกว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะ ๑. สูตรนี้ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วยช้างมหานาคในป่า ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้; และจะได้พบตัวช้างคือพระองค์ ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้วเท่านั้น. งาแห่งตถาคต” บ้าง. พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 143 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1042
    ชื่อบทธรรม :- การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ &บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝน
    http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=วลาหกา
    ๑.ที่คำรามแล้วไม่ตก
    ๒.ที่ตกแต่ไม่คำราม
    ๓.ทั้งไม่คำรามและไม่ตก
    ๔.ทั้งคำรามทั้งตก
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ
    สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
    แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ”
    ดังนี้
    : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ
    สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
    แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
    ดังนี้
    : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ
    สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ
    และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
    ดังนี้
    : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ
    สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย;
    และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ”
    ดังนี้ด้วย
    : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.-
    (
    ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93
    ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้
    ด้วย &หม้อสี่ชนิด คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=กุมฺภา
    หม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจแต่ มีสมณสารูป ;
    หม้อเต็ม – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจแต่ ไม่มีสมณสารูป ;
    หม้อเปล่า – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ;
    หม้อเต็ม – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.

    --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94
    ตรัสเปรียบด้วย &ห้วงน้ำสี่ชนิด คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=อุทกรหทา
    ห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ;
    ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ;
    ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป;
    ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.

    --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
    ตรัสเปรียบด้วย &มะม่วงสี่ชนิด คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=อมฺพานิ
    มะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ;
    มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป;
    มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ;
    มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป.
    --ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/103/102.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/103/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓๖/๑๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1042
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1042 ชื่อบทธรรม :- การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042 เนื้อความทั้งหมด :- --การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ &บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝน http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=วลาหกา ๑.ที่คำรามแล้วไม่ตก ๒.ที่ตกแต่ไม่คำราม ๓.ทั้งไม่คำรามและไม่ตก ๔.ทั้งคำรามทั้งตก --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก. --ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย; และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ด้วย : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่าเปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.- ( ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓) http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%93 ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้ ด้วย &หม้อสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/138/?keywords=กุมฺภา หม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจแต่ มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจแต่ ไม่มีสมณสารูป ; หม้อเปล่า – เปิด เปรียบด้วยภิกษุ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – ปิด เปรียบด้วยภิกษุ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔) http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%94 ตรัสเปรียบด้วย &ห้วงน้ำสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/140/?keywords=อุทกรหทา ห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป; ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕) http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 ตรัสเปรียบด้วย &มะม่วงสี่ชนิด คือ http://etipitaka.com/read/pali/21/142/?keywords=อมฺพานิ มะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป; มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. --ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/103/102. http://etipitaka.com/read/thai/21/103/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓๖/๑๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/21/136/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1042 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1042 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ
    -การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วย เมฆฝน ๔ จำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ อย่างไรเล่า? สี่ คือ บุคคลเปรียบเหมือนเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก ๑ ที่ตกแต่ไม่คำราม ๑ ทั้งไม่คำรามและไม่ตก ๑ ทั้งคำรามทั้งตก ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่คำรามแล้วไม่ตก. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ แต่เขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ตกแต่ไม่คำราม. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ไม่ได้เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ และไม่รู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งไม่คำรามและไม่ตก. ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ ด้วย; และเขารู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้ๆ, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้ๆ” ดังนี้ด้วย : ภิกษุ ท. ! เราเรียก บุคคลนี้ ว่า เปรียบด้วยเมฆฝนที่ทั้งคำรามทั้งตก.
    0 Comments 0 Shares 124 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1031
    ชื่อบทธรรม :- ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1031
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ โดย ๑๖ ประการ

    ( ก. ภาวะไม่บริสุทธิ์สำหรับเปรียบเทียบ )

    --“ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อการเกียดกันกิเลสด้วยตบะบริบูรณ์อย่างนี้แล้ว
    พระผู้มีพระภาคยังจะกล่าวถึงอุปกิเลสมีอย่างต่างๆ
    แห่งการบำเพ็ญตบะนั้นอย่างไรอีกเล่า ?”
    --๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ คือ
    ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาเป็นผู้พอใจด้วยตบะนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์
    (เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อตัวกู, มิใช่เพื่อธรรมะ).
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $พอใจด้วยตบะว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็ยังเป็นอุปกิเลส (เครื่องเศร้าหมอง) ของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา @ยกตนข่มขู่ผู้อื่นด้วยตบะ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาเมาตบะ หลงตบะ ถึงความมัวเมาด้วยตบะนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาตบะ หลงตบะ $ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น
    เขาพอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ
    ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น
    เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $ยกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๖.นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น
    เขาเมาลาภ หลงลาภ $ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาลาภ หลงลาภ ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะ
    และเสียงสรรเสริญ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาถึงการแบ่งแยกในโภชนะ ทั้งหลายว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา”
    ดังนี้.
    เขาไม่ชอบสิ่งใด เขาสะบัดหน้าไม่สนใจ ละมันไปเสีย;
    เขา ชอบสิ่งใด เขาก็จดจ่อมัวเมา หมายมั่นซึ่งสิ่งนั้น ไม่มองเห็นโทษ
    $ไม่มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) กินเอา ๆ.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ด้วยคิดว่า
    พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์
    ทั้งหลายจักสักการะเรา เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นผู้ ที่เที่ยวรุกราน
    สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ไม่ว่าในที่ไหนๆ ว่า
    “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้ มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง
    ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด
    และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า”
    ดังนี้
    $ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า.
    +--นิโค๎รธ ! การกระทำแม้นี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือพราหมณ์ใดๆ
    ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย
    ก็ มีความคิดว่า
    “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณพราหมณ์นี้ผู้มีอาชีพสำส่อนอยู่
    ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้บำเพ็ญตบะ
    ดำรงชีวิตอยู่อย่างมี ลูข*--๑ ปฏิปทา อยู่ในตระกูลทั้งหลาย”
    ดังนี้
    เขา $เกิดมีความริษยาและตระหนี่ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมาด้วย อาการอย่างนี้.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    [*--๑ ลูขะ คำนี้ แปลยากสำหรับคนไทย เคยแปลกันว่าเศร้าหมองบ้าง ปอนๆ บ้าง
    เป็นคำแปลที่อาจให้เกิดความเข้าใจผิดจากความหมายอันแท้จริง ซึ่งสูงหรือลึกไปกว่านั้น
    กล่าวคือ มีชีวิตอยู่ด้วยสิ่งที่ไร้ค่า ไร้ความสวยงาม
    ไร้ความสะดวกสบาย เป็นชีวิตแบบต่ำสุดสำหรับ นักบวช
    ซึ่งเราเรียกกันโดยทั่วไปว่าเคร่งครัดอย่างยิ่ง.
    ขอให้ใช้คำว่า ลูขะ นี้เป็นคำคำหนึ่ง ในภาษาไทยสืบไปในภายหน้าด้วย.]​
    --๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ $ชอบนั่งแสดงตัวตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน).
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของ ผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง)
    เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลาย ประกาศอยู่ว่า
    “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน”
    ดังนี้ เป็นต้น.
    ±--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ มีปกตินิสัยทำสิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด
    เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม
    ก็กล่าวสิ่งที่ไม่ควรว่าควร กล่าวสิ่งที่ควรว่าไม่ควร
    $เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ
    ดังนี้.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ, $เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่,
    เขาไม่ยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยาย
    ที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) แม้มีอยู่แท้.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ $เป็นคนขี้โกรธมักผูกโกรธ.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ
    เป็นคน ลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน
    เป็นคน ริษยา ตระหนี่
    เป็นคน โอ้อวด มีมายา
    เป็นคน หัวดื้อ ดูหมิ่นท่าน
    เป็นคน ปรารถนาลามก ตกอยู่ในอำนาจแห่งความ ปรารถนาลามก เป็นมิจฉาทิฏฐิ ประกอบอยู่ด้วยอันตคาหิกทิฏฐิ
    เป็นคนลูบคลำ สิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัดคืนได้ยาก.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : การเกียดกันกิเลส ด้วยตบะในรูปแบบอย่างที่ว่ามานี้ (ทุกข้อ)
    เป็นอุปกิเลส หรือไม่เป็นอุปกิเลสเล่า ?
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเหล่านี้
    เป็นอุปกิเลสแน่แท้ ไม่เป็นอุปกิเลส หามิได้.
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีอยู่ คือผู้ บำเพ็ญตบะบางคนในกรณีนี้
    ประกอบด้วยอุปกิเลสเหล่านี้ครบทุกอย่างแล้ว
    ทำไมจะไม่ ประกอบด้วยอุปกิเลสแต่ละอย่าง ๆ เล่า”.

    (ข. ภาวะบริสุทธิ์ที่สำหรับถือเป็นหลัก)

    --๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้
    ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่เป็นผู้พอใจไม่รู้สึกว่าบริบูรณ์แล้ว
    ตามประสงค์ด้วยตบะนั้น (ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตัวกู).
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตนนั้น
    นั่นแหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น.
    +-+นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น
    --๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่เขาไม่เมาตบะไม่หลงตบะ $ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่ เขา ไม่เมาตบะ ไม่หลงตบะ ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น
    ด้วยเหตุผลนี้ แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่เป็นผู้พอใจ $ด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา
    ไม่เป็นผู้พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น
    ด้วยเหตุผลนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    $เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น
    เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา
    ไม่ยกตน $ไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    $เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้น
    เขาไม่เมาลาภ ไม่หลงลาภ ไม่ถึงความมัวเมาลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา
    ไม่ เมาลาภไม่หลงลาภไม่ถึงความมัวเมาสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่ถึงการแบ่งแยกในภาชนะ ทั้งหลาย
    ว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้
    เขา ไม่ชอบสิ่งใด เขาไม่ได้สะบัดหน้าแสดงความไม่สนใจ ละมันไปเสีย
    เขา ชอบสิ่งใด เขาก็ไม่จดจ่อ ไม่มัวเมา ไม่หมายมั่นสิ่งนั้น มองเห็นโทษ
    มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) บริโภคอยู่.
    ด้วยเหตุนี้แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาไม่คิดอย่างนี้ว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลาย
    จักสักการะเรา $เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นผู้เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ว่า
    “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง
    ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด
    และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า”
    ดังนี้
    ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือ พราหมณ์ใด ๆ
    ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย
    เขา ไม่มีความคิดอย่างนี้ ว่า
    “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณะพราหมณ์นี้
    ผู้มีอาชีวะสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย
    แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้ดำรงชีพอยู่อย่างมีลูขปฏิปทา
    อยู่ในตระกูลทั้งหลาย”
    ดังนี้
    เขา ไม่เกิดมีความริษยาและตระหนี่ ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมา อย่างนี้.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่ชอบนั่งแสดง ตนตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน).
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ
    จะไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง)
    เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลายก็หามิได้ (เขาเป็นคนจริงและเปิดเผย)
    ประกาศอยู่ ว่า
    “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน”
    ดังนี้ เป็นต้น.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่มีปกตินิสัยทำ สิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด
    เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็ กล่าวสิ่งที่ ไม่ควรว่าไม่ควร
    กล่าวสิ่งที่ควรกล่าวว่าควร ไม่เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ
    ดังนี้.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ,
    เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่,
    เขายอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยายที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ซึ่งมีอยู่แท้.
    +--นิโค๎รธ ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ
    ไม่เป็นคนขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธ.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาเป็นคนไม่ขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธนั้น
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ
    ไม่เป็นคนลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน ไม่เป็นคนริษยา ไม่ตระหนี่
    ไม่เป็นคนโอ้อวด ไม่มีมายา ไม่เป็นคนหัวดื้อ ไม่ดูหมิ่นท่าน ไม่เป็นคนปรารถนาลามก
    ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนาลามก
    ไม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ไม่ประกอบอยู่ด้วยอันคาหิกทิฏฐิ
    ไม่เป็นคนลูบคลำสิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน
    ไม่ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัด คืนได้ง่าย.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์ หรือไม่บริสุทธิ์เล่า ?
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อเป็นอย่างนี้
    มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์โดยแท้ หาใช่ไม่บริสุทธิ์ไม่
    ทั้งยังเป็นการบรรลุถึงยอดถึงแก่นอีกด้วย พระเจ้าข้า !”
    --นิโค๎รธเอ๋ย ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเพียงเท่านี้ ยังไม่ถึงยอด ถึงแก่น
    เป็นเพียงถึงเปลือกแห้งๆ เท่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/30 - 36/24 - 25.
    http://etipitaka.com/read/thai/11/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๔๔ - ๕๐/๒๔ - ๒๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/11/44/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1031
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1031
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1031 ชื่อบทธรรม :- ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1031 เนื้อความทั้งหมด :- --ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ โดย ๑๖ ประการ ( ก. ภาวะไม่บริสุทธิ์สำหรับเปรียบเทียบ ) --“ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อการเกียดกันกิเลสด้วยตบะบริบูรณ์อย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคยังจะกล่าวถึงอุปกิเลสมีอย่างต่างๆ แห่งการบำเพ็ญตบะนั้นอย่างไรอีกเล่า ?” --๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ คือ ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาเป็นผู้พอใจด้วยตบะนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ (เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อตัวกู, มิใช่เพื่อธรรมะ). +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $พอใจด้วยตบะว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น แม้ข้อนี้ก็ยังเป็นอุปกิเลส (เครื่องเศร้าหมอง) ของผู้บำเพ็ญตบะ. --๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา @ยกตนข่มขู่ผู้อื่นด้วยตบะ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาเมาตบะ หลงตบะ ถึงความมัวเมาด้วยตบะนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาตบะ หลงตบะ $ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาพอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $ยกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๖.นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาเมาลาภ หลงลาภ $ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาลาภ หลงลาภ ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะ และเสียงสรรเสริญ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาถึงการแบ่งแยกในโภชนะ ทั้งหลายว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้. เขาไม่ชอบสิ่งใด เขาสะบัดหน้าไม่สนใจ ละมันไปเสีย; เขา ชอบสิ่งใด เขาก็จดจ่อมัวเมา หมายมั่นซึ่งสิ่งนั้น ไม่มองเห็นโทษ $ไม่มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) กินเอา ๆ. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ด้วยคิดว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลายจักสักการะเรา เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นผู้ ที่เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ไม่ว่าในที่ไหนๆ ว่า “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้ มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า” ดังนี้ $ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า. +--นิโค๎รธ ! การกระทำแม้นี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย ก็ มีความคิดว่า “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณพราหมณ์นี้ผู้มีอาชีพสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้บำเพ็ญตบะ ดำรงชีวิตอยู่อย่างมี ลูข*--๑ ปฏิปทา อยู่ในตระกูลทั้งหลาย” ดังนี้ เขา $เกิดมีความริษยาและตระหนี่ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมาด้วย อาการอย่างนี้. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. [*--๑ ลูขะ คำนี้ แปลยากสำหรับคนไทย เคยแปลกันว่าเศร้าหมองบ้าง ปอนๆ บ้าง เป็นคำแปลที่อาจให้เกิดความเข้าใจผิดจากความหมายอันแท้จริง ซึ่งสูงหรือลึกไปกว่านั้น กล่าวคือ มีชีวิตอยู่ด้วยสิ่งที่ไร้ค่า ไร้ความสวยงาม ไร้ความสะดวกสบาย เป็นชีวิตแบบต่ำสุดสำหรับ นักบวช ซึ่งเราเรียกกันโดยทั่วไปว่าเคร่งครัดอย่างยิ่ง. ขอให้ใช้คำว่า ลูขะ นี้เป็นคำคำหนึ่ง ในภาษาไทยสืบไปในภายหน้าด้วย.]​ --๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ $ชอบนั่งแสดงตัวตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน). +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของ ผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง) เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลาย ประกาศอยู่ว่า “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน” ดังนี้ เป็นต้น. ±--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ มีปกตินิสัยทำสิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็กล่าวสิ่งที่ไม่ควรว่าควร กล่าวสิ่งที่ควรว่าไม่ควร $เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ ดังนี้. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ, $เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่, เขาไม่ยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยาย ที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) แม้มีอยู่แท้. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ $เป็นคนขี้โกรธมักผูกโกรธ. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นคน ลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน เป็นคน ริษยา ตระหนี่ เป็นคน โอ้อวด มีมายา เป็นคน หัวดื้อ ดูหมิ่นท่าน เป็นคน ปรารถนาลามก ตกอยู่ในอำนาจแห่งความ ปรารถนาลามก เป็นมิจฉาทิฏฐิ ประกอบอยู่ด้วยอันตคาหิกทิฏฐิ เป็นคนลูบคลำ สิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัดคืนได้ยาก. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : การเกียดกันกิเลส ด้วยตบะในรูปแบบอย่างที่ว่ามานี้ (ทุกข้อ) เป็นอุปกิเลส หรือไม่เป็นอุปกิเลสเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเหล่านี้ เป็นอุปกิเลสแน่แท้ ไม่เป็นอุปกิเลส หามิได้. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีอยู่ คือผู้ บำเพ็ญตบะบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอุปกิเลสเหล่านี้ครบทุกอย่างแล้ว ทำไมจะไม่ ประกอบด้วยอุปกิเลสแต่ละอย่าง ๆ เล่า”. (ข. ภาวะบริสุทธิ์ที่สำหรับถือเป็นหลัก) --๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่เป็นผู้พอใจไม่รู้สึกว่าบริบูรณ์แล้ว ตามประสงค์ด้วยตบะนั้น (ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตัวกู). +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตนนั้น นั่นแหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น. +-+นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น --๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่เขาไม่เมาตบะไม่หลงตบะ $ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่ เขา ไม่เมาตบะ ไม่หลงตบะ ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น ด้วยเหตุผลนี้ แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่เป็นผู้พอใจ $ด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่เป็นผู้พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น ด้วยเหตุผลนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ยกตน $ไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้น เขาไม่เมาลาภ ไม่หลงลาภ ไม่ถึงความมัวเมาลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ เมาลาภไม่หลงลาภไม่ถึงความมัวเมาสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่ถึงการแบ่งแยกในภาชนะ ทั้งหลาย ว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้ เขา ไม่ชอบสิ่งใด เขาไม่ได้สะบัดหน้าแสดงความไม่สนใจ ละมันไปเสีย เขา ชอบสิ่งใด เขาก็ไม่จดจ่อ ไม่มัวเมา ไม่หมายมั่นสิ่งนั้น มองเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) บริโภคอยู่. ด้วยเหตุนี้แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาไม่คิดอย่างนี้ว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลาย จักสักการะเรา $เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นผู้เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ว่า “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า” ดังนี้ ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือ พราหมณ์ใด ๆ ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย เขา ไม่มีความคิดอย่างนี้ ว่า “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณะพราหมณ์นี้ ผู้มีอาชีวะสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้ดำรงชีพอยู่อย่างมีลูขปฏิปทา อยู่ในตระกูลทั้งหลาย” ดังนี้ เขา ไม่เกิดมีความริษยาและตระหนี่ ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมา อย่างนี้. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่ชอบนั่งแสดง ตนตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน). ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ จะไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง) เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลายก็หามิได้ (เขาเป็นคนจริงและเปิดเผย) ประกาศอยู่ ว่า “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน” ดังนี้ เป็นต้น. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่มีปกตินิสัยทำ สิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็ กล่าวสิ่งที่ ไม่ควรว่าไม่ควร กล่าวสิ่งที่ควรกล่าวว่าควร ไม่เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ ดังนี้. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ, เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่, เขายอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยายที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ซึ่งมีอยู่แท้. +--นิโค๎รธ ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นคนขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธ. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาเป็นคนไม่ขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธนั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นคนลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน ไม่เป็นคนริษยา ไม่ตระหนี่ ไม่เป็นคนโอ้อวด ไม่มีมายา ไม่เป็นคนหัวดื้อ ไม่ดูหมิ่นท่าน ไม่เป็นคนปรารถนาลามก ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนาลามก ไม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ไม่ประกอบอยู่ด้วยอันคาหิกทิฏฐิ ไม่เป็นคนลูบคลำสิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ไม่ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัด คืนได้ง่าย. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์ หรือไม่บริสุทธิ์เล่า ? --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์โดยแท้ หาใช่ไม่บริสุทธิ์ไม่ ทั้งยังเป็นการบรรลุถึงยอดถึงแก่นอีกด้วย พระเจ้าข้า !” --นิโค๎รธเอ๋ย ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเพียงเท่านี้ ยังไม่ถึงยอด ถึงแก่น เป็นเพียงถึงเปลือกแห้งๆ เท่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/30 - 36/24 - 25. http://etipitaka.com/read/thai/11/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๔๔ - ๕๐/๒๔ - ๒๕. http://etipitaka.com/read/pali/11/44/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1031 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1031 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์
    -ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ โดย ๑๖ ประการ ( ก. ภาวะไม่บริสุทธิ์สำหรับเปรียบเทียบ ) “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อการเกียดกันกิเลสด้วยตบะบริบูรณ์อย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคยังจะกล่าวถึงอุปกิเลสมีอย่างต่างๆแห่งการบำเพ็ญตบะนั้นอย่างไรอีกเล่า ?” ๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ คือ ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาเป็นผู้พอใจด้วยตบะนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ (เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อตัวกู, มิใช่เพื่อธรรมะ). นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา พอใจด้วยตบะว่า บริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น แม้ข้อนี้ก็ยังเป็นอุปกิเลส (เครื่องเศร้าหมอง) ของผู้บำเพ็ญตบะ. ๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ยกตนข่มขู่ผู้อื่นด้วยตบะ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาเมาตบะ หลงตบะ ถึงความมัวเมาด้วยตบะนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาตบะ หลงตบะ ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาพอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์. นิโค๎รธ ! ข้อที่ เขา พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ยกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๖.นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาเมาลาภ หลงลาภ ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาลาภ หลงลาภ ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาถึงการแบ่งแยกในโภชนะ ทั้งหลายว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้. เขาไม่ชอบสิ่งใด เขาสะบัดหน้าไม่สนใจ ละมันไปเสีย; เขา ชอบสิ่งใด เขาก็จดจ่อมัวเมา หมายมั่นซึ่งสิ่งนั้น ไม่มองเห็นโทษ ไม่มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) กินเอา ๆ. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ด้วยคิดว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลาย จักสักการะเรา เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นผู้ ที่เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ไม่ว่าในที่ไหนๆ ว่า “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้ มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจาก ข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า” ดังนี้ ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า. นิโค๎รธ ! การกระทำแม้นี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย ก็ มีความคิดว่า “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณพราหมณ์นี้ผู้มีอาชีพสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้บำเพ็ญตบะ ดำรงชีวิตอยู่อย่างมี ลูข๑ ปฏิปทา อยู่ในตระกูลทั้งหลาย” ดังนี้ เขา เกิดมีความริษยาและตระหนี่ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมาด้วย อาการอย่างนี้. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๐. ลูขะ คำนี้ แปลยากสำหรับคนไทย เคยแปลกันว่าเศร้าหมองบ้าง ปอนๆ บ้าง เป็นคำแปลที่อาจให้เกิดความเข้าใจผิดจากความหมายอันแท้จริง ซึ่งสูงหรือลึกไปกว่านั้น กล่าวคือ มีชีวิตอยู่ด้วยสิ่งที่ไร้ค่า ไร้ความสวยงาม ไร้ความสะดวกสบาย เป็นชีวิตแบบต่ำสุดสำหรับ นักบวช ซึ่งเราเรียกกันโดยทั่วไปว่าเคร่งครัดอย่างยิ่ง. ขอให้ใช้คำว่า ลูขะ นี้เป็นคำคำหนึ่ง ในภาษาไทยสืบไปในภายหน้าด้วย. ๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ชอบนั่งแสดงตัว ตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน). นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของ ผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง) เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลาย ประกาศอยู่ว่า “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน” ดังนี้ เป็นต้น. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ มีปกตินิสัยทำสิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็กล่าวสิ่งที่ไม่ควรว่าควร กล่าวสิ่งที่ควรว่าไม่ควร เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ ดังนี้. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ, เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่, เขาไม่ยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยาย ที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) แม้มีอยู่แท้. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นคน ขี้โกรธ มักผูกโกรธ. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นคน ลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน เป็นคน ริษยา ตระหนี่ เป็นคน โอ้อวด มีมายา เป็น คน หัวดื้อ ดูหมิ่นท่าน เป็นคน ปรารถนาลามก ตกอยู่ในอำนาจแห่งความ ปรารถนาลามก เป็นมิจฉาทิฏฐิ ประกอบอยู่ด้วยอันตคาหิกทิฏฐิ เป็นคนลูบคลำ สิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัดคืนได้ยาก. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : การเกียดกันกิเลส ด้วยตบะในรูปแบบอย่างที่ว่ามานี้ (ทุกข้อ) เป็นอุปกิเลส หรือไม่เป็นอุปกิเลสเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเหล่านี้ เป็นอุปกิเลสแน่แท้ ไม่เป็นอุปกิเลส หามิได้. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีอยู่ คือผู้ บำเพ็ญตบะบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอุปกิเลสเหล่านี้ครบทุกอย่างแล้ว ทำไมจะไม่ ประกอบด้วยอุปกิเลสแต่ละอย่าง ๆ เล่า”. (ข. ภาวะบริสุทธิ์ที่สำหรับถือเป็นหลัก) ๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาไม่เป็นผู้พอใจไม่รู้สึกว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ด้วยตบะนั้น (ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตัวกู). นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตนนั้น นั่นแหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น ๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่เขาไม่เมาตบะ ไม่หลงตบะ ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบะนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่ เขา ไม่เมาตบะ ไม่หลงตบะ ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น ด้วยเหตุผลนี้ แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่เป็นผู้พอใจ ด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่เป็นผู้พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น ด้วยเหตุผลนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้น เขาไม่เมาลาภ ไม่หลงลาภ ไม่ถึงความมัวเมาลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ เมาลาภไม่หลงลาภไม่ถึงความมัวเมาสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขา ไม่ถึงการแบ่งแยกในภาชนะ ทั้งหลาย ว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้ เขา ไม่ชอบสิ่งใด เขาไม่ได้สะบัดหน้าแสดงความไม่สนใจ ละมันไปเสีย เขา ชอบสิ่งใด เขาก็ไม่จดจ่อ ไม่มัวเมา ไม่หมายมั่นสิ่งนั้น มองเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) บริโภคอยู่. ด้วยเหตุนี้แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาไม่คิดอย่างนี้ว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลาย จักสักการะเรา เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นผู้เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ว่า “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า” ดังนี้ ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือ พราหมณ์ใด ๆ ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย เขา ไม่มีความคิดอย่างนี้ ว่า “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณะพราหมณ์นี้ผู้มีอาชีวะสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้ดำรงชีพอยู่อย่างมีลูขปฏิปทา อยู่ในตระกูล ทั้งหลาย” ดังนี้ เขา ไม่เกิดมีความริษยาและตระหนี่ ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมา อย่างนี้. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่ชอบนั่งแสดง ตนตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน). ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ จะไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง) เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลายก็หามิได้ (เขาเป็นคนจริงและเปิดเผย) ประกาศอยู่ ว่า “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน” ดังนี้ เป็นต้น. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่มีปกตินิสัยทำ สิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็ กล่าวสิ่งที่ ไม่ควรว่าไม่ควร กล่าวสิ่งที่ควรกล่าวว่าควร ไม่เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ ดังนี้. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ, เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่, เขายอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยายที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ซึ่งมีอยู่แท้. นิโค๎รธ ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นคนขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธ. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาเป็นคนไม่ขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธนั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นคนลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน ไม่เป็นคนริษยา ไม่ตระหนี่ ไม่เป็นคนโอ้อวด ไม่มีมายา ไม่เป็นคนหัวดื้อ ไม่ดูหมิ่นท่าน ไม่เป็นคนปรารถนาลามก ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนาลามก ไม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ไม่ประกอบอยู่ด้วยอันคาหิกทิฏฐิ ไม่เป็นคนลูบคลำสิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ไม่ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัด คืนได้ง่าย. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์ หรือไม่บริสุทธิ์เล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์โดยแท้ หาใช่ไม่บริสุทธิ์ไม่ ทั้งยังเป็นการบรรลุถึงยอดถึงแก่นอีกด้วย พระเจ้าข้า !” นิโค๎รธเอ๋ย ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเพียงเท่านี้ ยังไม่ถึงยอด ถึงแก่น เป็นเพียงถึงเปลือกแห้งๆ เท่านั้น.
    0 Comments 0 Shares 174 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 658
    ชื่อบทธรรม :- อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=658
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้ เมื่อเสวยทุกขเวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ส่วนอริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่
    ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่กระวนกระวาย
    ย่อมไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงความมีสติฟั่นเฟือน ;
    ย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือ เวทนาทางกาย, หามีเวทนาทางจิตไม่.
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษพึงยิงบุรุษด้วยลูกศรแล้ว ไม่พึงยิงซ้ำ บุรุษนั้นด้วยลูกศรที่สอง เมื่อเป็นอย่างนี้ บุรุษนั้นย่อมเสวยเวทนาจากลูกศร เพียงลูกเดียว, แม้ฉันใด ;

    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ก็ฉันนั้น คือ เมื่อทุกขเวทนาถูกต้องอยู่,
    ก็ไม่เศร้าโศก ไม่กระวนกระวาย
    ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงซึ่งความมีสติฟั่นเฟือน ;
    +--อริยสาวกนั้น ชื่อว่าย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว
    คือ เวทนาทางกาย หามีเวทนาทางจิตไม่.
    +--อริยสาวกนั้น หาเป็นผู้มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนานั้นไม่.
    ปฏิฆานุสัย อันใด อันเกิดจากทุกขเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=ปฏิฆานุสโย
    ปฏิฆานุสัยอันนั้น ย่อมไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกคนนั้นผู้ไม่มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนา.
    +--อริยสาวกนั้น อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ก็ไม่ (น้อมนึก) พอใจซึ่งกามสุข.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?

    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ย่อม
    รู้ชัดอุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา ซึ่งเป็นอุบายอื่นนอกจากกามสุข.
    เมื่ออริยสาวกนั้นมิได้พอใจซึ่งกามสุขอยู่,
    ราคานุสัย อันใด อันเกิดจากสุขเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=ราคานุสโย
    ราคานุสัยอันนั้น ก็ ไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกนั้น.
    +--อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งเวทนา
    ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้
    ซึ่งรสอร่อย
    ซึ่งโทษอันต่ำทราม และ
    ซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริง.
    +--เมื่ออริยสาวกนั้น รู้ชัดอยู่ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้น
    ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้
    ซึ่งรสอร่อย
    ซึ่งโทษอันต่ำทราม และ
    ซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริงอยู่,
    อวิชชานุสัย อันใด อันเกิดจากอทุกขมสุขเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=อวิชฺชานุสโย
    อวิชชานุสัยอันนั้น ก็ย่อม ไม่นอนตามซึ่งอริยสาวกนั้น.
    +--อริยสาวกนั้น ถ้าเสวยสุขเวทนา ย่อมไม่เป็นผู้ติดพัน (ในเวทนา) เสวยเวทนานั้น ;
    ถ้าเสวยทุกขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น ;
    ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น.

    --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ เรากล่าวว่า
    เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ;
    เรากล่าวว่า #เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยทุกข์ ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/223/370.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/223/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๕๗/๓๗๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=658
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=658
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45
    ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 658 ชื่อบทธรรม :- อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=658 เนื้อความทั้งหมด :- --อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้ เมื่อเสวยทุกขเวทนา --ภิกษุ ท. ! ส่วนอริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่กระวนกระวาย ย่อมไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงความมีสติฟั่นเฟือน ; ย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือ เวทนาทางกาย, หามีเวทนาทางจิตไม่. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษพึงยิงบุรุษด้วยลูกศรแล้ว ไม่พึงยิงซ้ำ บุรุษนั้นด้วยลูกศรที่สอง เมื่อเป็นอย่างนี้ บุรุษนั้นย่อมเสวยเวทนาจากลูกศร เพียงลูกเดียว, แม้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ก็ฉันนั้น คือ เมื่อทุกขเวทนาถูกต้องอยู่, ก็ไม่เศร้าโศก ไม่กระวนกระวาย ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงซึ่งความมีสติฟั่นเฟือน ; +--อริยสาวกนั้น ชื่อว่าย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือ เวทนาทางกาย หามีเวทนาทางจิตไม่. +--อริยสาวกนั้น หาเป็นผู้มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนานั้นไม่. ปฏิฆานุสัย อันใด อันเกิดจากทุกขเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=ปฏิฆานุสโย ปฏิฆานุสัยอันนั้น ย่อมไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกคนนั้นผู้ไม่มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนา. +--อริยสาวกนั้น อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ก็ไม่ (น้อมนึก) พอใจซึ่งกามสุข. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ย่อม รู้ชัดอุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา ซึ่งเป็นอุบายอื่นนอกจากกามสุข. เมื่ออริยสาวกนั้นมิได้พอใจซึ่งกามสุขอยู่, ราคานุสัย อันใด อันเกิดจากสุขเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=ราคานุสโย ราคานุสัยอันนั้น ก็ ไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกนั้น. +--อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งเวทนา ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำทราม และ ซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริง. +--เมื่ออริยสาวกนั้น รู้ชัดอยู่ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้น ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำทราม และ ซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริงอยู่, อวิชชานุสัย อันใด อันเกิดจากอทุกขมสุขเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=อวิชฺชานุสโย อวิชชานุสัยอันนั้น ก็ย่อม ไม่นอนตามซึ่งอริยสาวกนั้น. +--อริยสาวกนั้น ถ้าเสวยสุขเวทนา ย่อมไม่เป็นผู้ติดพัน (ในเวทนา) เสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวยทุกขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น. --ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ เรากล่าวว่า เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ; เรากล่าวว่า #เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยทุกข์ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/223/370. http://etipitaka.com/read/thai/18/223/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๒๕๗/๓๗๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/258/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=658 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45&id=658 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=45 ลำดับสาธยายธรรม : 45 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_45.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา
    -อนุสัยทั้งสามไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา ภิกษุ ท. ! ส่วนอริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ย่อมไม่เศร้าโศก ย่อมไม่กระวนกระวาย ย่อมไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงความมีสติฟั่นเฟือน ; ย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือเวทนาทางกาย, หามีเวทนาทางจิตไม่. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษพึงยิงบุรุษด้วยลูกศรแล้ว ไม่พึงยิงซ้ำ บุรุษนั้นด้วยลูกศรที่สอง เมื่อเป็นอย่างนี้ บุรุษนั้นย่อมเสวยเวทนาจากลูกศร เพียงลูกเดียว, แม้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ก็ฉันนั้น คือ เมื่อทุกขเวทนาถูกต้องอยู่, ก็ไม่เศร้าโศก ไม่กระวนกระวาย ไม่ร่ำไรรำพัน ไม่เป็นผู้ทุบอกร่ำไห้ ไม่ถึงซึ่งความมีสติฟั่นเฟือน ; อริยสาวกนั้น ชื่อว่าย่อมเสวยเวทนาเพียงอย่างเดียว คือเวทนาทางกาย หามีเวทนาทางจิตไม่. อริยสาวกนั้น หาเป็นผู้มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนานั้นไม่. ปฏิฆานุสัย อันใด อันเกิดจากทุกขเวทนา, ปฏิฆานุสัยอันนั้น ย่อมไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกคนนั้นผู้ไม่มีปฏิฆะเพราะทุกขเวทนา. อริยสาวกนั้น อันทุกขเวทนาถูกต้องอยู่ ก็ไม่ (น้อมนึก) พอใจซึ่งกามสุข. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า อริยสาวกผู้มีการสดับแล้ว ย่อม รู้ชัดอุบายเครื่องปลดเปลื้องซึ่งทุกขเวทนา ซึ่งเป็นอุบายอื่นนอกจากกามสุข. เมื่ออริยสาวกนั้นมิได้พอใจซึ่งกามสุขอยู่, ราคานุสัยอันใด อันเกิดจากสุขเวทนา, ราคานุสัยอันนั้น ก็ ไม่นอนตาม ซึ่งอริยสาวกนั้น. อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งเวทนา ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำทราม และซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริง. เมื่ออริยสาวกนั้น รู้ชัดอยู่ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้น ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำทราม และซึ่งอุบายเครื่องออกไปพ้น แห่งเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ตามที่เป็นจริงอยู่, อวิชชานุสัยอันใด อันเกิดจากอทุกขมสุขเวทนา, อวิชชานุสัยอันนั้น ก็ย่อม ไม่นอนตามซึ่งอริยสาวกนั้น. อริยสาวกนั้น ถ้าเสวยสุขเวทนา ย่อมไม่เป็นผู้ติดพัน (ในเวทนา) เสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวยทุกขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็ไม่เป็นผู้ติดพันเสวยเวทนานั้น. ภิกษุ ท. ! อริยสาวกผู้มีการสดับนี้ เรากล่าวว่า เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ; เรากล่าวว่า เป็นผู้ไม่ติดพันแล้วด้วยทุกข์ ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 174 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1021
    ชื่อบทธรรม :- องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1021
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์-(อุปกรณ์แห่งการปฏิบัติมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโค ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างแล้ว
    ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. องคคุณ ๑๑ อย่าง อะไรบ้างเล่า ?
    --สิบเอ็ดอย่างคือ คนเลี้ยงโคในกรณีนี้
    เป็นผู้รู้จักเรื่องร่างกายของโค,
    เป็นผู้ฉลาดในลักษณะของโค, เป็นผู้เขี่ยไข่ขาง, เป็นผู้ปิดแผล,
    เป็นผู้สุมควัน, เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรนำโคไป, เป็นผู้รู้จักน้ำที่โคควรดื่ม,
    เป็นผู้รู้จักทางที่โค ควรเดิน,
    เป็นผู้ฉลาดในที่ที่โค ควรไป,
    เป็นผู้รู้จักรีดนมโค ให้มีเหลือไว้บ้าง,
    เป็นผู้ให้เกียรติแก่โคอุสภ อันเป็นโคพ่อฝูง
    เป็นโคนำฝูง ด้วยการเอาใจใส่เป็นพิเศษ.
    --ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโคที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างนี้แล้ว
    ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. ข้อนี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการแล้ว
    ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์) นี้ได้ ฉันนั้น.
    องคคุณ ๑๑ ประการ อย่างไรบ้างเล่า?
    +--สิบเอ็ดประการคือ ภิกษุ ในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้รู้จักรูป,
    ๒.เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ,
    ๓.เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง,
    ๔.เป็นผู้ปิดแผล,
    ๕.เป็นผู้สุมควัน,
    ๖.เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป,
    ๗.เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม,
    ๘.เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน,
    ๙.เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป,
    ๑๐.พเป็นผู้รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง,
    ๑๑.เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลาย ผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ.

    ๑--พวกรู้จักรูป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรูป เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    “รูปชนิดใดก็ตาม ทั้งหมดนั้น
    ชื่อว่า รูป คือ มหาภูตรูปมี ๔
    และอุปาทายรูปคือรูปที่อาศัยมหาภูตรูปทั้งสี่”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักรูป เป็นอย่างนี้แล.

    ๒--พวกฉลาดในลักษณะ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    “คนพาล มีกรรม (มโน​ วจี​ กาย) เป็นเครื่องหมาย,
    บัณฑิต ก็มีกรรม (มโน​ วจี​ กาย) เป็นเครื่องหมาย”
    ดังนี้เป็นต้น.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างนี้แล.

    ๓--พวกคอยเขี่ยไข่ขาง
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    อดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น
    ซึ่งความตรึกเกี่ยวด้วยกาม,
    ความตรึกเกี่ยวด้วยความมุ่งร้าย,
    ความตรึกเกี่ยวด้วยการทำความลำบากให้แก่ตนเองและผู้อื่นแม้โดยไม่เจตนา
    ที่เกิดขึ้นแล้ว;
    และอดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น
    ซึ่งสิ่งอันเป็น &อกุศลลามกทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว.
    ภิกษุ ท. ! ภิกษุ​#เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างนี้ แล.

    ๔--พวกปิดแผล
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ปิดแผล เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เห็นรูปด้วยตา,
    ฟังเสียงด้วยหู,
    ดมกลิ่นด้วยจมูก,
    ลิ้มรสด้วยลิ้น,
    สัมผัสโผฏฐัพพะด้วยกาย,
    รู้ธรรมมารมณ์ด้วยใจ,
    แล้วไม่มีจิตยึดถือเอาทั้งโดยลักษณะที่เป็นการรวบถือทั้งหมด
    และการถือเอาโดยการแยกเป็นส่วน ๆ,
    สิ่งที่ อกุศลลามกคือ อภิชฌาและโทมนัส
    จะพึงไหลไปตามผู้ที่ ไม่สำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
    เพราะ &การไม่สำรวมอินทรีย์ใดเป็นเหตุ,
    เธอก็ปฏิบัติ เพื่อปิดกั้นอินทรีย์นั้นไว้,
    เธอรักษาและถึงการสำรวม ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ปิดแผล เป็นอย่างนี้แล.

    ๕--พวกสุมควัน
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ สุมควัน เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้แสดงธรรม ตามที่ได้ฟัง ได้เล่าเรียนมาแล้ว
    แก่ผู้อื่นโดยพิสดาร.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้สุมควัน เป็นอย่างนี้แล.

    ๖--พวกรู้จักท่าที่ควรไป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เมื่อเข้าไปหาภิกษุผู้เป็นพหุสูต คล่องแคล่วในหลักพระพุทธวจนะ
    ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แม่บท),
    ก็ไต่ถาม ไล่เลียงโดยทำนองนี้ว่า
    “ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ! พระพุทธวจนะนี้ เป็นอย่างไร ?
    ความหมายแห่งพระพุทธวจนะนี้มีอย่างไร ?”
    ดังนี้เป็นต้น ตามเวลาอันสมควร ;
    ท่านพหุสูตเหล่านั้น จึงทำข้อความที่ยังลี้ลับให้เปิดเผย
    ทำข้อความอันลึกซึ้ง ให้ตื้น และบรรเทา ถ่ายถอน
    ความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งความสงสัยนานาประการให้แก่ภิกษุนั้นได้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล.

    ๗--พวกที่รู้จักน้ำที่ควรดื่ม
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เมื่อธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศไว้แล้ว
    อันผู้ใดผู้หนึ่งแสดงอยู่ เธอได้ความรู้อรรถ ได้ความรู้ธรรม
    และได้ความปราโมทย์อันอาศัยธรรม.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างนี้แล.

    ๘--พวกรู้จักทางที่ควรเดิน
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่ง &อริยมรรคมีองค์ ๘.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างนี้แล.

    ๙--พวกฉลาดในที่ที่ควรไป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่ง &สติปัฏฐาน ๔.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล.

    ๑๐--พวกรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! พวกคฤหัสถ์ผู้มีศรัทธา ย่อมปวารณาไม่มีขีดขั้น แก่ภิกษุในกรณีนี้
    +--ด้วยจีวร
    +--บิณฑบาต
    +--เสนาสนะ และ
    +--คิลานปัจจัยเภสัช บริกขาร.
    ในการที่เขาปวารณาเช่นนั้น,
    ภิกษุ เป็นผู้รู้จักประมาณในการรับปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้นเหล่านั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักรีดนมโคให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างนี้แล.

    ๑๑--พวกบูชาผู้เฒ่า
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล
    เป็นผู้นำสงฆ์เป็นบิดาสงฆ์... ฯลฯ...
    ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปตั้งไว้ซึ่ง
    การกระทำทางกาย การกระทำทางวาจา และการกระทำทางใจ
    อันประกอบด้วยเมตตา
    ในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน
    เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ทั้งในที่แจ้งและทั้งในที่ลับ.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ
    #เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ... ฯลฯ...
    ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างนี้แล.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการเหล่านี้แล้ว
    #ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์-ธมฺมวินเย)​
    http://etipitaka.com/read/pali/12/417/?keywords=ธมฺมวินเย
    นี้ได้แท้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/292 -293/386 - 387.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/292/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๑๓ - ๔๑๔/๓๘๖ - ๓๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/413/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1021
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88
    ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1021 ชื่อบทธรรม :- องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1021 เนื้อความทั้งหมด :- --องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์-(อุปกรณ์แห่งการปฏิบัติมรรค) --ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโค ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างแล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. องคคุณ ๑๑ อย่าง อะไรบ้างเล่า ? --สิบเอ็ดอย่างคือ คนเลี้ยงโคในกรณีนี้ เป็นผู้รู้จักเรื่องร่างกายของโค, เป็นผู้ฉลาดในลักษณะของโค, เป็นผู้เขี่ยไข่ขาง, เป็นผู้ปิดแผล, เป็นผู้สุมควัน, เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรนำโคไป, เป็นผู้รู้จักน้ำที่โคควรดื่ม, เป็นผู้รู้จักทางที่โค ควรเดิน, เป็นผู้ฉลาดในที่ที่โค ควรไป, เป็นผู้รู้จักรีดนมโค ให้มีเหลือไว้บ้าง, เป็นผู้ให้เกียรติแก่โคอุสภ อันเป็นโคพ่อฝูง เป็นโคนำฝูง ด้วยการเอาใจใส่เป็นพิเศษ. --ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโคที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างนี้แล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. ข้อนี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการแล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์) นี้ได้ ฉันนั้น. องคคุณ ๑๑ ประการ อย่างไรบ้างเล่า? +--สิบเอ็ดประการคือ ภิกษุ ในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้รู้จักรูป, ๒.เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ, ๓.เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง, ๔.เป็นผู้ปิดแผล, ๕.เป็นผู้สุมควัน, ๖.เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป, ๗.เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม, ๘.เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน, ๙.เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป, ๑๐.พเป็นผู้รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง, ๑๑.เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลาย ผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ. ๑--พวกรู้จักรูป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรูป เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “รูปชนิดใดก็ตาม ทั้งหมดนั้น ชื่อว่า รูป คือ มหาภูตรูปมี ๔ และอุปาทายรูปคือรูปที่อาศัยมหาภูตรูปทั้งสี่” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักรูป เป็นอย่างนี้แล. ๒--พวกฉลาดในลักษณะ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “คนพาล มีกรรม (มโน​ วจี​ กาย) เป็นเครื่องหมาย, บัณฑิต ก็มีกรรม (มโน​ วจี​ กาย) เป็นเครื่องหมาย” ดังนี้เป็นต้น. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างนี้แล. ๓--พวกคอยเขี่ยไข่ขาง --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ อดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น ซึ่งความตรึกเกี่ยวด้วยกาม, ความตรึกเกี่ยวด้วยความมุ่งร้าย, ความตรึกเกี่ยวด้วยการทำความลำบากให้แก่ตนเองและผู้อื่นแม้โดยไม่เจตนา ที่เกิดขึ้นแล้ว; และอดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น ซึ่งสิ่งอันเป็น &อกุศลลามกทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ​#เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างนี้ แล. ๔--พวกปิดแผล --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ปิดแผล เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นรูปด้วยตา, ฟังเสียงด้วยหู, ดมกลิ่นด้วยจมูก, ลิ้มรสด้วยลิ้น, สัมผัสโผฏฐัพพะด้วยกาย, รู้ธรรมมารมณ์ด้วยใจ, แล้วไม่มีจิตยึดถือเอาทั้งโดยลักษณะที่เป็นการรวบถือทั้งหมด และการถือเอาโดยการแยกเป็นส่วน ๆ, สิ่งที่ อกุศลลามกคือ อภิชฌาและโทมนัส จะพึงไหลไปตามผู้ที่ ไม่สำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะ &การไม่สำรวมอินทรีย์ใดเป็นเหตุ, เธอก็ปฏิบัติ เพื่อปิดกั้นอินทรีย์นั้นไว้, เธอรักษาและถึงการสำรวม ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ปิดแผล เป็นอย่างนี้แล. ๕--พวกสุมควัน --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ สุมควัน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้แสดงธรรม ตามที่ได้ฟัง ได้เล่าเรียนมาแล้ว แก่ผู้อื่นโดยพิสดาร. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้สุมควัน เป็นอย่างนี้แล. ๖--พวกรู้จักท่าที่ควรไป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เมื่อเข้าไปหาภิกษุผู้เป็นพหุสูต คล่องแคล่วในหลักพระพุทธวจนะ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แม่บท), ก็ไต่ถาม ไล่เลียงโดยทำนองนี้ว่า “ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ! พระพุทธวจนะนี้ เป็นอย่างไร ? ความหมายแห่งพระพุทธวจนะนี้มีอย่างไร ?” ดังนี้เป็นต้น ตามเวลาอันสมควร ; ท่านพหุสูตเหล่านั้น จึงทำข้อความที่ยังลี้ลับให้เปิดเผย ทำข้อความอันลึกซึ้ง ให้ตื้น และบรรเทา ถ่ายถอน ความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งความสงสัยนานาประการให้แก่ภิกษุนั้นได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล. ๗--พวกที่รู้จักน้ำที่ควรดื่ม --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เมื่อธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศไว้แล้ว อันผู้ใดผู้หนึ่งแสดงอยู่ เธอได้ความรู้อรรถ ได้ความรู้ธรรม และได้ความปราโมทย์อันอาศัยธรรม. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างนี้แล. ๘--พวกรู้จักทางที่ควรเดิน --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่ง &อริยมรรคมีองค์ ๘. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างนี้แล. ๙--พวกฉลาดในที่ที่ควรไป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่ง &สติปัฏฐาน ๔. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล. ๑๐--พวกรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! พวกคฤหัสถ์ผู้มีศรัทธา ย่อมปวารณาไม่มีขีดขั้น แก่ภิกษุในกรณีนี้ +--ด้วยจีวร +--บิณฑบาต +--เสนาสนะ และ +--คิลานปัจจัยเภสัช บริกขาร. ในการที่เขาปวารณาเช่นนั้น, ภิกษุ เป็นผู้รู้จักประมาณในการรับปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้นเหล่านั้น. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักรีดนมโคให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างนี้แล. ๑๑--พวกบูชาผู้เฒ่า --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล เป็นผู้นำสงฆ์เป็นบิดาสงฆ์... ฯลฯ... ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปตั้งไว้ซึ่ง การกระทำทางกาย การกระทำทางวาจา และการกระทำทางใจ อันประกอบด้วยเมตตา ในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ทั้งในที่แจ้งและทั้งในที่ลับ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ... ฯลฯ... ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างนี้แล. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการเหล่านี้แล้ว #ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์-ธมฺมวินเย)​ http://etipitaka.com/read/pali/12/417/?keywords=ธมฺมวินเย นี้ได้แท้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/292 -293/386 - 387. http://etipitaka.com/read/thai/12/292/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๑๓ - ๔๑๔/๓๘๖ - ๓๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/12/413/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1021 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88 ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์--(อุปกรณ์แห่งการปฏิบัติมรรค)
    -(รายชื่อแห่งธรรมเป็นเครื่องขูดเกลา ๔๔ คู่นี้ ไม่ได้ใช้เพื่ออธิบายเกี่ยวกับการขูดเกลาอย่างเดียว แต่ใช้เพื่ออธิบายในการประพฤติกระทำอย่างอื่นด้วย ดังที่ได้แยกไว้เป็น ข้อ ก. ข. ค. ง. ในตอนท้าย; ผู้ที่ตั้งใจจะศึกษาจริงๆ พึงกำหนดให้ชัดเจนว่ามีลำดับอย่างไร เป็นฝ่ายผิดหรือฝ่ายถูกอย่างไร ก็จะสามารถเข้าใจข้อความที่ละไว้ โดยไม่นำมาใส่ไว้ให้เต็ม เช่น อ้างถึงแต่ข้อต้น และ ข้อสุดท้าย เป็นต้น, ก็จะสำเร็จประโยชน์ได้ตามปรารถนา). องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์ (อุปกรณ์แห่งการปฏิบัติมรรค) ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโค ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างแล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. องคคุณ ๑๑ อย่าง อะไรบ้างเล่า ? สิบเอ็ดอย่างคือ คนเลี้ยงโคในกรณีนี้ เป็นผู้รู้จักเรื่องร่างกายของโค, เป็นผู้ ฉลาดในลักษณะของโค, เป็นผู้เขี่ยไข่ขาง, เป็นผู้ปิดแผล, เป็นผู้สุมควัน, เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรนำโคไป, เป็นผู้รู้จักน้ำที่โคควรดื่ม, เป็นผู้รู้จักทางที่โค ควรเดิน, เป็นผู้ฉลาดในที่ที่โคควรไป, เป็นผู้รู้จักรีดนมโคให้มีเหลือไว้บ้าง, เป็นผู้ให้เกียรติแก่โคอุสภ อันเป็นโคพ่อฝูง เป็นโคนำฝูง ด้วยการเอาใจใส่เป็นพิเศษ. ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโคที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างนี้แล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. ข้อนี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการแล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์) นี้ได้ ฉันนั้น. องคคุณ ๑๑ ประการ อย่างไรบ้างเล่า? สิบเอ็ดประการคือ ภิกษุ ในกรณีนี้ เป็นผู้รู้จักรูป, เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ, เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง, เป็นผู้ปิดแผล, เป็นผู้สุมควัน, เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป, เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม, เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน, เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป, เป็นผู้รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง, เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลาย ผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ. พวกรู้จักรูป ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรูป เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “รูปชนิดใดก็ตาม ทั้งหมดนั้น ชื่อว่า รูป คือ มหาภูตรูปมี ๔ และอุปาทายรูปคือรูปที่อาศัยมหาภูตรูปทั้งสี่” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักรูป เป็นอย่างนี้แล. พวกฉลาดในลักษณะ ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “คนพาล มีกรรม (การกระทำ) เป็นเครื่องหมาย, บัณฑิต ก็มีกรรม (การกระทำ) เป็นเครื่องหมาย” ดังนี้เป็นต้น. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างนี้แล. พวกคอยเขี่ยไข่ขาง ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ อดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น ซึ่งความ ตรึกเกี่ยวด้วยกาม, ความตรึกเกี่ยวด้วยความมุ่งร้าย, ความตรึกเกี่ยวด้วยการทำความลำบากให้แก่ตนเองและผู้อื่นแม้โดยไม่เจตนา ที่เกิดขึ้นแล้ว; และอดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น ซึ่งสิ่งอันเป็นอกุศลลามกทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างนี้ แล. พวกปิดแผล ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ปิดแผล เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นรูปด้วยตา, ฟังเสียงด้วยหู, ดมกลิ่นด้วยจมูก, ลิ้มรสด้วยลิ้น, สัมผัสโผฏฐัพพะด้วยกาย, รู้ธรรมมารมณ์ด้วยใจ, แล้วไม่มีจิตยึดถือเอาทั้งโดยลักษณะที่เป็นการรวบถือทั้งหมด และการถือเอาโดยการแยกเป็นส่วน ๆ, สิ่งที่อกุศลลามกคืออภิชฌาและโทมนัส จะพึงไหลไปตามผู้ที่ ไม่สำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะการไม่สำรวมอินทรีย์ใดเป็นเหตุ, เธอ ก็ปฏิบัติ เพื่อปิดกั้นอินทรีย์นั้นไว้, เธอรักษาและถึงการสำรวม ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ปิดแผล เป็นอย่างนี้แล. พวกสุมควัน ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ สุมควัน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้แสดงธรรม ตามที่ได้ฟัง ได้เล่าเรียนมาแล้ว แก่ผู้อื่นโดยพิสดาร. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้สุมควัน เป็นอย่างนี้แล. พวกรู้จักท่าที่ควรไป ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เมื่อเข้าไปหาภิกษุผู้เป็นพหุสูต คล่องแคล่วในหลักพระพุทธวจนะ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แม่บท), ก็ไต่ถาม ไล่เลียงโดยทำนองนี้ว่า “ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ! พระพุทธวจนะนี้ เป็นอย่างไร ? ความหมายแห่งพระพุทธวจนะนี้มีอย่างไร ?” ดังนี้เป็นต้น ตามเวลาอันสมควร ; ท่านพหุสูตเหล่านั้น จึงทำข้อความที่ยังลี้ลับให้เปิดเผย ทำข้อความอันลึกซึ้ง ให้ตื้น และบรรเทา ถ่ายถอน ความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งความสงสัยนานาประการให้แก่ภิกษุนั้นได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไปเป็นอย่างนี้แล. พวกที่รู้จักน้ำที่ควรดื่ม ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เมื่อธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศไว้แล้ว อันผู้ใดผู้หนึ่งแสดง อยู่ เธอได้ความรู้อรรถ ได้ความรู้ธรรม และได้ความปราโมทย์อันอาศัยธรรม. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างนี้แล. พวกรู้จักทางที่ควรเดิน ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่งอริยมรรคมีองค์ ๘. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างนี้แล. พวกฉลาดในที่ที่ควรไป ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่งสติปัฏฐาน ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล. พวกรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือ ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! พวกคฤหัสถ์ผู้มีศรัทธา ย่อมปวารณาไม่มีขีดขั้น แก่ภิกษุในกรณีนี้ ด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริกขาร. ในการที่เขาปวารณาเช่นนั้น, ภิกษุ เป็นผู้รู้จักประมาณในการรับปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้นเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างนี้แล. พวกบูชาผู้เฒ่า ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล เป็นผู้นำสงฆ์เป็นบิดาสงฆ์ ฯลฯ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปตั้งไว้ซึ่งการกระทำทางกาย การกระทำทางวาจา และการกระทำทางใจ อันประกอบด้วยเมตตา ในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ทั้งในที่แจ้งและทั้งในที่ลับ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ ฯลฯ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างนี้แล. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการเหล่านี้แล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์) นี้ได้แท้.
    0 Comments 0 Shares 341 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 1019
    ชื่อบทธรรม : -พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1019
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พิธีปลงบาปด้วยลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ
    --พราหมณ์ ! อะไรกันหนอ ท่านจึงสระเกล้าในวัดอุโบสถ
    นุ่งห่ม ผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ กำหญ้ากุสะสด มายืนอยู่ ณ ที่นี้ ?
    วันนี้เป็นวันอะไรของพวกสกุลพราหมณ์ ?
    --“พระโคดมผู้เจริญ ! วันนี้เป็นวันปัจโจโรหณี (ปลงบาป) ของ พวกสกุลพราหมณ์”
    http://etipitaka.com/read/pali/24/251/?keywords=ปจฺโจโรหณี
    --พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างไรกันเล่า ?
    --“พระโคดมผู้เจริญ ! ในกรณีนี้ พราหมณ์ทั้งหลายสระเกล้าในวันอุโบสถ
    นุ่งห่มผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ ฉาบแผ่นดินด้วยโคมัยสด
    ปูลาดด้วยหญ้ากุสะสด แล้วสำเร็จการ นอนระหว่างกองกูณฑ์และเรือนไฟ
    ลุกขึ้นประคองอัญชลีต่อไฟนั้นสามครั้ง ในราตรีนั้น กล่าวอยู่ว่า
    “ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ, ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ”
    ดังนี้
    หล่อเลี้ยงไฟไว้ด้วยเนยใส น้ำมัน เนยข้น อันพอเพียง;
    ล่วงราตรีนั้นแล้ว เลี้ยงดูพราหมณ์ ทั้งหลายให้อิ่มหนำ ด้วยขาทนียโภชนียะอันประณีต.
    --พระโคดมผู้เจริญ ! พิธีปัจโจโรหณี ของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างนี้ แล”.
    --พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างหนึ่ง.
    ส่วน พิธีปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น; กล่าวคือ
    --พราหมณ์! อริยสาวกในกรณีนี้ พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ว่า
    “วิบากแห่ง $มิจฉาทิฏฐิ นี้แล เป็น ธรรมลามกทั้งในทิฏฐิธรรม (ขณะนี้)
    และอภิสัมปรายะ (ขณะอื่น)”.
    ครั้น พิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ก็ ละเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ปลงลงเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ.
    (ในกรณีแห่ง
    มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ
    ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง $มิจฉาทิฏฐิ
    ).

    --พราหมณ์ ! #ปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างนี้ แล.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/252/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย
    --“พระโคดมผู้เจริญ ! ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์เป็นอย่างหนึ่ง
    ในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น.
    ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ มีค่าไม่เข้าถึงส่วนเสี้ยวที่สิบหกของ
    ปัจโจโรหณีในอริยวินัยนี้ ”.-

    [
    --ในสูตรนี้
    ตรัสเรียกพิธีกรรมนี้ว่า
    “ปัจโจโรหณีในอริยวินัย”;
    --ส่วนในสูตรอื่นๆ
    (ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๓,๒๖๙/๑๒๐ ,๑๕๗)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/253/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%90
    http://etipitaka.com/read/pali/24/269/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97
    ตรัสเรียกว่า “ปัจโจโรหณีอันเป็นอริยะ” ก็มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/253/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย
    http://etipitaka.com/read/pali/24/269/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย
    --ในสูตรอื่น
    ทรงยกเอากุศลกรรมบถสิบ มาเป็นธรรมเครื่องปลงบาปแทนสัมมัตตะสิบ ก็มี
    http://etipitaka.com/read/pali/24/267/?keywords=ปจฺโจโรหณิยา+พฺราหฺมณานํ
    (ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๗ - ๒๖๙/๑๕๖)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/267/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/204 - 206/119.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/204/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๑ - ๒๕๓/๑๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/251/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1019
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1019
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88
    ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ) สัทธรรมลำดับที่ : 1019 ชื่อบทธรรม : -พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1019 เนื้อความทั้งหมด :- --พิธีปลงบาปด้วยลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ --พราหมณ์ ! อะไรกันหนอ ท่านจึงสระเกล้าในวัดอุโบสถ นุ่งห่ม ผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ กำหญ้ากุสะสด มายืนอยู่ ณ ที่นี้ ? วันนี้เป็นวันอะไรของพวกสกุลพราหมณ์ ? --“พระโคดมผู้เจริญ ! วันนี้เป็นวันปัจโจโรหณี (ปลงบาป) ของ พวกสกุลพราหมณ์” http://etipitaka.com/read/pali/24/251/?keywords=ปจฺโจโรหณี --พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างไรกันเล่า ? --“พระโคดมผู้เจริญ ! ในกรณีนี้ พราหมณ์ทั้งหลายสระเกล้าในวันอุโบสถ นุ่งห่มผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ ฉาบแผ่นดินด้วยโคมัยสด ปูลาดด้วยหญ้ากุสะสด แล้วสำเร็จการ นอนระหว่างกองกูณฑ์และเรือนไฟ ลุกขึ้นประคองอัญชลีต่อไฟนั้นสามครั้ง ในราตรีนั้น กล่าวอยู่ว่า “ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ, ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ” ดังนี้ หล่อเลี้ยงไฟไว้ด้วยเนยใส น้ำมัน เนยข้น อันพอเพียง; ล่วงราตรีนั้นแล้ว เลี้ยงดูพราหมณ์ ทั้งหลายให้อิ่มหนำ ด้วยขาทนียโภชนียะอันประณีต. --พระโคดมผู้เจริญ ! พิธีปัจโจโรหณี ของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างนี้ แล”. --พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างหนึ่ง. ส่วน พิธีปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น; กล่าวคือ --พราหมณ์! อริยสาวกในกรณีนี้ พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ว่า “วิบากแห่ง $มิจฉาทิฏฐิ นี้แล เป็น ธรรมลามกทั้งในทิฏฐิธรรม (ขณะนี้) และอภิสัมปรายะ (ขณะอื่น)”. ครั้น พิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ก็ ละเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ปลงลงเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ. (ในกรณีแห่ง มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง $มิจฉาทิฏฐิ ). --พราหมณ์ ! #ปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างนี้ แล. http://etipitaka.com/read/pali/24/252/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย --“พระโคดมผู้เจริญ ! ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์เป็นอย่างหนึ่ง ในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น. ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ มีค่าไม่เข้าถึงส่วนเสี้ยวที่สิบหกของ ปัจโจโรหณีในอริยวินัยนี้ ”.- [ --ในสูตรนี้ ตรัสเรียกพิธีกรรมนี้ว่า “ปัจโจโรหณีในอริยวินัย”; --ส่วนในสูตรอื่นๆ (ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๓,๒๖๙/๑๒๐ ,๑๕๗) http://etipitaka.com/read/pali/24/253/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%90 http://etipitaka.com/read/pali/24/269/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 ตรัสเรียกว่า “ปัจโจโรหณีอันเป็นอริยะ” ก็มี. http://etipitaka.com/read/pali/24/253/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย http://etipitaka.com/read/pali/24/269/?keywords=ปจฺโจโรหณี+อริย --ในสูตรอื่น ทรงยกเอากุศลกรรมบถสิบ มาเป็นธรรมเครื่องปลงบาปแทนสัมมัตตะสิบ ก็มี http://etipitaka.com/read/pali/24/267/?keywords=ปจฺโจโรหณิยา+พฺราหฺมณานํ (ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๗ - ๒๖๙/๑๕๖) http://etipitaka.com/read/pali/24/267/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/204 - 206/119. http://etipitaka.com/read/thai/24/204/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๑ - ๒๕๓/๑๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/24/251/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1019 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1019 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88 ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - พิธีปลงบาปด้วยสัมมัตตปฏิปทา(ลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ)
    -พิธีปลงบาปด้วยลักษณะแห่งมิจฉาทิฎฐิ พราหมณ์ ! อะไรกันหนอ ท่านจึงสระเกล้าในวัดอุโบสถ นุ่งห่ม ผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ กำหญ้ากุสะสด มายืนอยู่ ณ ที่นี้ ? วันนี้เป็นวันอะไรของพวกสกุลพราหมณ์ ? “พระโคดมผู้เจริญ ! วันนี้เป็นวันปัจโจโรหณี (ปลงบาป) ของ พวกสกุลพราหมณ์” พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างไรกันเล่า ? “พระโคดมผู้เจริญ ! ในกรณีนี้ พราหมณ์ทั้งหลายสระเกล้าในวันอุโบสถ นุ่งห่มผ้าโขมพัสตร์คู่ใหม่ ฉาบแผ่นดินด้วยโคมัยสด ปูลาดด้วยหญ้ากุสะสด แล้วสำเร็จการ นอนระหว่างกองกูณฑ์และเรือนไฟ ลุกขึ้นประคองอัญชลีต่อไฟนั้นสามครั้ง ในราตรีนั้น กล่าวอยู่ว่า “ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ, ข้าพเจ้าปลงบาปกะท่านผู้เจริญ” ดังนี้ หล่อเลี้ยงไฟไว้ด้วยเนยใส น้ำมัน เนยข้น อันพอเพียง; ล่วงราตรีนั้นแล้ว เลี้ยงดูพราหมณ์ ทั้งหลายให้อิ่มหนำ ด้วยขาทนียโภชนียะอันประณีต. พระโคดมผู้เจริญ ! พิธีปัจโจโรหณี ของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างนี้ แล”. พราหมณ์ ! พิธีปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ เป็นอย่างหนึ่ง. ส่วน พิธีปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น; กล่าวคือ พราหมณ์! อริยสาวกในกรณีนี้ พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ว่า “วิบากแห่งมิจฉาทิฏฐินี้แล เป็น ธรรมลามกทั้งในทิฏฐิธรรม (ขณะนี้) และอภิสัมปรายะ (ขณะอื่น)”. ครั้น พิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ก็ ละเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ ปลงลงเสียซึ่งมิจฉาทิฏฐิ. (ในกรณีแห่งมิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง มิจฉาทิฏฐิ). พราหมณ์ ! ปัจโจโรหณีในอริยวินัย เป็นอย่างนี้ แล. “พระโคดมผู้เจริญ ! ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์เป็นอย่างหนึ่ง ในอริยวินัย เป็นอย่างอื่น. ปัจโจโรหณีของพวกพราหมณ์ มีค่าไม่เข้าถึงส่วนเสี้ยวที่สิบหกของ ปัจโจโรหณีในอริยวินัยนี้ ”.
    0 Comments 0 Shares 156 Views 0 Reviews
  • ทำไมใจเราฟุ้งซ่านง่ายนัก?
    เพราะ ใจไม่มีหลักเป็นเครื่องอยู่
    เลยหลุดลอยตามกระแสตัณหา
    อยากได้... ไม่อยากเจอ...
    ยิ่งอยากควบคุมโลก
    ก็ยิ่งหงุดหงิดกับสิ่งที่ควบคุมไม่ได้

    ในโลกนี้
    เวลาและอารมณ์ คือสิ่งที่ไม่เคยหยุด
    และคนไม่มี “หลักในใจ”
    ก็ต้องวิ่งตามสิ่งเหล่านี้
    เหมือนเรือลอยในทะเล…ไม่มีสมอ

    ---

    🪷 แต่ถ้าใจได้หลักจริง ๆ
    คุณจะรู้ว่า
    • ทุกข์ไม่ได้เกิดเพราะสิ่งภายนอก
    • ทุกข์เกิดเพราะ “ความอยาก” ภายใน
    อยากให้เขาเป็นอย่างนั้น
    ไม่อยากให้เขาเป็นอย่างนี้
    แล้วเขาไม่เป็นตามใจเรา
    ...จิตก็ร้อน! โลกก็ร้าย!

    ---

    แก่นของคำสอนนี้คือ
    ทุกข์มีเหตุ — ดับเหตุได้ — และรู้ทางดับนั้น
    เมื่อคุณเข้าใจ “อริยสัจ 4”
    คุณจะหยุด “เที่ยวหาครู”
    และเริ่ม “เป็นครูของใจตนเอง”

    ไม่ใช่หยุดนับถือครูบาอาจารย์
    แต่หยุดความลุ่มหลง
    หยุดพึ่งภายนอกอย่างไร้ที่สิ้นสุด
    เพราะคุณพบทางแล้ว
    คุณอยู่กับ “ธรรม” ในใจได้แล้ว

    ---

    เมื่อใจมีหลัก สติจึงเกิด
    เมื่อสติเกิด
    การปรุงแต่งก็ลด
    ใจไม่เผลอไปวิตก วิจารณ์
    ไม่หลงตามอารมณ์
    ไม่เป็นทาสของอารมณ์ทั้งดีและร้าย

    สัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
    จะกลายเป็นเพียงสิ่งที่รู้ แล้วปล่อย
    ใจไม่ถูกรั้ง ไม่ถูกกด ไม่ถูกผลัก
    ใจแค่นิ่งและตื่นอยู่กับ “ปัจจุบันธรรม”

    ---

    ถ้าคุณมี “หลักในใจ”
    เหมือนมีภูเขาหินอยู่กลางใจ
    ลมพายุอารมณ์จะโหมอย่างไร
    ก็ทำให้จิตไม่ลอยไปตามได้ง่าย ๆ

    และนั่นแหละ…
    คือจุดเริ่มต้นของ “อิสรภาพ” ที่แท้จริง!

    ---

    #ธรรมะในใจจริง
    #อริยสัจ4ไม่ใช่ท่องแต่ต้องรู้
    #จิตที่มีหลักไม่หลงกระแสโลก
    #หยุดทุกข์ได้เมื่อเห็นที่มาของมัน
    #ปัจจุบันขณะคือที่พึ่งของใจ
    🌀 ทำไมใจเราฟุ้งซ่านง่ายนัก? เพราะ ใจไม่มีหลักเป็นเครื่องอยู่ เลยหลุดลอยตามกระแสตัณหา อยากได้... ไม่อยากเจอ... ยิ่งอยากควบคุมโลก ก็ยิ่งหงุดหงิดกับสิ่งที่ควบคุมไม่ได้ ในโลกนี้ เวลาและอารมณ์ คือสิ่งที่ไม่เคยหยุด และคนไม่มี “หลักในใจ” ก็ต้องวิ่งตามสิ่งเหล่านี้ เหมือนเรือลอยในทะเล…ไม่มีสมอ --- 🪷 แต่ถ้าใจได้หลักจริง ๆ คุณจะรู้ว่า • ทุกข์ไม่ได้เกิดเพราะสิ่งภายนอก • ทุกข์เกิดเพราะ “ความอยาก” ภายใน อยากให้เขาเป็นอย่างนั้น ไม่อยากให้เขาเป็นอย่างนี้ แล้วเขาไม่เป็นตามใจเรา ...จิตก็ร้อน! โลกก็ร้าย! --- 📌 แก่นของคำสอนนี้คือ ทุกข์มีเหตุ — ดับเหตุได้ — และรู้ทางดับนั้น เมื่อคุณเข้าใจ “อริยสัจ 4” คุณจะหยุด “เที่ยวหาครู” และเริ่ม “เป็นครูของใจตนเอง” ไม่ใช่หยุดนับถือครูบาอาจารย์ แต่หยุดความลุ่มหลง หยุดพึ่งภายนอกอย่างไร้ที่สิ้นสุด เพราะคุณพบทางแล้ว คุณอยู่กับ “ธรรม” ในใจได้แล้ว --- 🌿 เมื่อใจมีหลัก สติจึงเกิด เมื่อสติเกิด การปรุงแต่งก็ลด ใจไม่เผลอไปวิตก วิจารณ์ ไม่หลงตามอารมณ์ ไม่เป็นทาสของอารมณ์ทั้งดีและร้าย สัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะกลายเป็นเพียงสิ่งที่รู้ แล้วปล่อย ใจไม่ถูกรั้ง ไม่ถูกกด ไม่ถูกผลัก ใจแค่นิ่งและตื่นอยู่กับ “ปัจจุบันธรรม” --- 🪨 ถ้าคุณมี “หลักในใจ” เหมือนมีภูเขาหินอยู่กลางใจ ลมพายุอารมณ์จะโหมอย่างไร ก็ทำให้จิตไม่ลอยไปตามได้ง่าย ๆ และนั่นแหละ… คือจุดเริ่มต้นของ “อิสรภาพ” ที่แท้จริง! --- #ธรรมะในใจจริง #อริยสัจ4ไม่ใช่ท่องแต่ต้องรู้ #จิตที่มีหลักไม่หลงกระแสโลก #หยุดทุกข์ได้เมื่อเห็นที่มาของมัน #ปัจจุบันขณะคือที่พึ่งของใจ
    0 Comments 0 Shares 249 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเป็นลำดับในลักษณะแห่งการถึงที่สุดทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 644
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งการถึงที่สุดทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=644
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณะแห่งการถึงที่สุดทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! อวิชชาภิกษุละได้แล้ว
    วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ในกาลใด,
    ในกาลนั้น ภิกษุนั้น,
    เพราะความสำรอกออกโดยไม่เหลือแห่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา, เธอ
    ย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่ง อภิสังขารอันเป็นบุญ ;
    ย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่ง อภิสังขารอันมิใช่บุญ ;
    ย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่ง อภิสังขารอันเป็นอเนญชา ;
    เมื่อ ไม่ปรุงแต่ง อยู่,
    เมื่อ ไม่มุ่งมาด อยู่,
    เธอย่อม ไม่ถือมั่นสิ่งไรๆ ในโลก ;
    เมื่อไม่ถือมั่นอยู่,
    เธอย่อม ไม่สะดุ้งหวาดเสียว;
    เมื่อไม่สะดุ้งหวาดเสียวอยู่,
    เธอย่อม #ปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/99/?keywords=ปรินิพฺพายติ
    เธอย่อมรู้ประจักษ์ว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว,
    กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว,
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    --ภิกษุนั้น ถ้าเสวย สุขเวทนา ก็รู้ประจักษ์ว่า
    “เวทนานั้น ไม่เที่ยงอันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว”
    ดังนี้.
    ถ้าเสวย ทุกขเวทนา ก็รู้ประจักษ์ว่า
    “เวทนานั้น ไม่เที่ยง อันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว”
    ดังนี้.
    ถ้าเสวย อทุกขมสุขเวทนา ก็รู้ประจักษ์ว่า
    “เวทนานั้นไม่เที่ยง อันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว”
    ดังนี้.
    +-ภิกษุนั้น
    ถ้าเสวย สุขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น ;
    ถ้าเสวย ทุกขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น ;
    ถ้าเสวย อทุกขมสุขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น.
    --ภิกษุนั้น
    เมื่อเสวย เวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า
    “เราเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ”
    ดังนี้.
    เมื่อเธอนั้น เสวย เวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า
    “เราเสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ”
    ดังนี้.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ประจักษ์ว่า
    “เวทนาทั้งหลายทั้งปวง
    อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว
    จักเป็นของเย็น ในอัตตภาพนี้เอง ;
    สรีระทั้งหลายจักเหลืออยู่ ;
    จนกระทั่งถึงที่สุดรอบแห่งชีวิต
    เพราะการแตกทำลายแห่งกาย”
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน
    บุรุษยกหม้อที่ยังร้อนออกจากเตาเผาหม้อ วางไว้พื้นดินอันเรียบ
    ไออุ่นที่หม้อนั้นพึงระงับหายไป ในที่นั้นเอง กระเบื้องทั้งหลายก็เหลืออยู่ นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน กล่าวคือ
    เมื่อเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษว่า
    “เราเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ”
    ดังนี้.
    เมื่อเธอนั้น เสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า
    “เราเสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ”
    ดังนี้.
    +-ภิกษุนั้น ย่อมรู้ประจักษ์ว่า
    “เวทนาทั้งหลายทั้งปวง
    อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว
    จักเป็นของเย็นในอัตตภาพนี้เอง;
    สรีระทั้งหลายจักเหลืออยู่ ;
    จนกระทั่งถึงที่สุดรอบแห่งชีวิต
    เพราะการแตกทำลายแห่งกาย”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ;
    คือ ภิกษุผู้ขีณาสพ
    +--พึงปรุงแต่งปุญญาภิสังขาร,
    หรือว่าพึงปรุงแต่ง อปุญญาภิสังขาร,
    หรือว่าพึงปรุงแต่งอเนญชาภิสังขาร,
    บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่อสังขารทั้งหลาย ไม่มี, เพราะความดับแห่งสังขาร
    โดยประการทั้งปวง,
    วิญญาณ พึงปรากฎ บ้างหรือหนอ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่อวิญญาณ ไม่มี, เพราะความดับแห่งวิญญาณ
    โดยประการทั้งปวง,
    นามรูป พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่อนามรูป ไม่มี, เพราะความดับแห่งนามรูป
    โดยประการทั้งปวง,
    สฬายตนะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่อสฬายตนะ ไม่มี, เพราะความดับแห่งสฬายตนะ
    โดยประการทั้งปวง,
    ผัสสะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่อผัสสะ ไม่มี, เพราะความดับแห่งผัสสะ
    โดยประการทั้งปวง,
    เวทนา พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่อเวทนา ไม่มี, เพราะความดับแห่งเวทนา
    โดยประการทั้งปวง,
    ตัณหา พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่อตัณหา ไม่มี, เพราะความดับแห่งตัณหา
    โดยประการทั้งปวง,
    อุปาทาน พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่ออุปาทาน ไม่มี, เพราะความดับแห่งอุปาทาน
    โดยประการทั้งปวง,
    ภพ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    +--เมื่อภพ ไม่มี, เพราะความดับแห่งภพ
    โดยประการทั้งปวง,
    ชาติ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --เมื่อชาติ ไม่มี, เพราะความดับแห่งชาติ
    โดยประการทั้งปวง.
    ชรามรณะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ?
    “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว ถูกแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงทำความสำคัญ จงเชื่อซึ่งข้อนั้น ไว้อย่างนั้นเถิด.
    +--ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงปลงซึ่งความเชื่อ ในข้อนั้นอย่างนั้นเถิด ;
    จงเป็นผู้หมดความเคลือบแคลงสงสัยในข้อนั้นเถิด; #นั่นแหละที่สุดแห่งทุกข์ละ,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/101/?keywords=เอเสวนฺโต+ทุกฺขสฺสาติ
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน.สํ. 16/81-83/192-195.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/81/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน.สํ. ๑๖/๙๙-๑๐๑/๑๙๒-๑๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=644
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=644
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44
    ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเป็นลำดับในลักษณะแห่งการถึงที่สุดทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 644 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งการถึงที่สุดทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=644 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะแห่งการถึงที่สุดทุกข์ --ภิกษุ ท. ! อวิชชาภิกษุละได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ในกาลใด, ในกาลนั้น ภิกษุนั้น, เพราะความสำรอกออกโดยไม่เหลือแห่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา, เธอ ย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่ง อภิสังขารอันเป็นบุญ ; ย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่ง อภิสังขารอันมิใช่บุญ ; ย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่ง อภิสังขารอันเป็นอเนญชา ; เมื่อ ไม่ปรุงแต่ง อยู่, เมื่อ ไม่มุ่งมาด อยู่, เธอย่อม ไม่ถือมั่นสิ่งไรๆ ในโลก ; เมื่อไม่ถือมั่นอยู่, เธอย่อม ไม่สะดุ้งหวาดเสียว; เมื่อไม่สะดุ้งหวาดเสียวอยู่, เธอย่อม #ปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/16/99/?keywords=ปรินิพฺพายติ เธอย่อมรู้ประจักษ์ว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว, กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. --ภิกษุนั้น ถ้าเสวย สุขเวทนา ก็รู้ประจักษ์ว่า “เวทนานั้น ไม่เที่ยงอันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว” ดังนี้. ถ้าเสวย ทุกขเวทนา ก็รู้ประจักษ์ว่า “เวทนานั้น ไม่เที่ยง อันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว” ดังนี้. ถ้าเสวย อทุกขมสุขเวทนา ก็รู้ประจักษ์ว่า “เวทนานั้นไม่เที่ยง อันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว” ดังนี้. +-ภิกษุนั้น ถ้าเสวย สุขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวย ทุกขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวย อทุกขมสุขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น. --ภิกษุนั้น เมื่อเสวย เวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เราเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ” ดังนี้. เมื่อเธอนั้น เสวย เวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เราเสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ” ดังนี้. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เวทนาทั้งหลายทั้งปวง อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว จักเป็นของเย็น ในอัตตภาพนี้เอง ; สรีระทั้งหลายจักเหลืออยู่ ; จนกระทั่งถึงที่สุดรอบแห่งชีวิต เพราะการแตกทำลายแห่งกาย” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษยกหม้อที่ยังร้อนออกจากเตาเผาหม้อ วางไว้พื้นดินอันเรียบ ไออุ่นที่หม้อนั้นพึงระงับหายไป ในที่นั้นเอง กระเบื้องทั้งหลายก็เหลืออยู่ นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน กล่าวคือ เมื่อเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษว่า “เราเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ” ดังนี้. เมื่อเธอนั้น เสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เราเสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ” ดังนี้. +-ภิกษุนั้น ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เวทนาทั้งหลายทั้งปวง อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว จักเป็นของเย็นในอัตตภาพนี้เอง; สรีระทั้งหลายจักเหลืออยู่ ; จนกระทั่งถึงที่สุดรอบแห่งชีวิต เพราะการแตกทำลายแห่งกาย” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ; คือ ภิกษุผู้ขีณาสพ +--พึงปรุงแต่งปุญญาภิสังขาร, หรือว่าพึงปรุงแต่ง อปุญญาภิสังขาร, หรือว่าพึงปรุงแต่งอเนญชาภิสังขาร, บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่อสังขารทั้งหลาย ไม่มี, เพราะความดับแห่งสังขาร โดยประการทั้งปวง, วิญญาณ พึงปรากฎ บ้างหรือหนอ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่อวิญญาณ ไม่มี, เพราะความดับแห่งวิญญาณ โดยประการทั้งปวง, นามรูป พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่อนามรูป ไม่มี, เพราะความดับแห่งนามรูป โดยประการทั้งปวง, สฬายตนะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่อสฬายตนะ ไม่มี, เพราะความดับแห่งสฬายตนะ โดยประการทั้งปวง, ผัสสะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่อผัสสะ ไม่มี, เพราะความดับแห่งผัสสะ โดยประการทั้งปวง, เวทนา พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่อเวทนา ไม่มี, เพราะความดับแห่งเวทนา โดยประการทั้งปวง, ตัณหา พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่อตัณหา ไม่มี, เพราะความดับแห่งตัณหา โดยประการทั้งปวง, อุปาทาน พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่ออุปาทาน ไม่มี, เพราะความดับแห่งอุปาทาน โดยประการทั้งปวง, ภพ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” +--เมื่อภพ ไม่มี, เพราะความดับแห่งภพ โดยประการทั้งปวง, ชาติ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” --เมื่อชาติ ไม่มี, เพราะความดับแห่งชาติ โดยประการทั้งปวง. ชรามรณะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว ถูกแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงทำความสำคัญ จงเชื่อซึ่งข้อนั้น ไว้อย่างนั้นเถิด. +--ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงปลงซึ่งความเชื่อ ในข้อนั้นอย่างนั้นเถิด ; จงเป็นผู้หมดความเคลือบแคลงสงสัยในข้อนั้นเถิด; #นั่นแหละที่สุดแห่งทุกข์ละ, http://etipitaka.com/read/pali/16/101/?keywords=เอเสวนฺโต+ทุกฺขสฺสาติ ดังนี้ แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน.สํ. 16/81-83/192-195. http://etipitaka.com/read/thai/16/81/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน.สํ. ๑๖/๙๙-๑๐๑/๑๙๒-๑๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/16/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=644 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=644 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44 ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะแห่งการถึงที่สุดทุกข์
    -ลักษณะแห่งการถึงที่สุดทุกข์ ภิกษุ ท. ! อวิชชาภิกษุละได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ในกาลใด, ในกาลนั้น ภิกษุนั้น, เพราะความสำรอกออกโดยไม่เหลือแห่งอวิชชา เพราะการเกิดขึ้นแห่งวิชชา, เธอย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่งอภิสังขารอันเป็นบุญ ; ย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่งอภิสังขารอันมิใช่บุญ ; ย่อมไม่ปรุงแต่งซึ่ง อภิสังขารอันเป็นอเนญชา ; เมื่อ ไม่ปรุงแต่ง อยู่, เมื่อ ไม่มุ่งมาด อยู่, เธอย่อม ไม่ถือมั่นสิ่งไรๆ ในโลก ; เมื่อไม่ถือมั่นอยู่, เธอย่อม ไม่สะดุ้งหวาดเสียว; เมื่อไม่สะดุ้งหวาดเสียวอยู่, เธอย่อม ปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว. เธอย่อมรู้ประจักษ์ว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว, กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. ภิกษุนั้น ถ้าเสวย สุขเวทนา ก็รู้ประจักษ์ว่า “เวทนานั้น ไม่เที่ยงอันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว” ดังนี้. ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็รู้ประจักษ์ว่า “เวทนานั้น ไม่เที่ยง อันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว” ดังนี้. ถ้าเสวย อทุกขมสุขเวทนา ก็รู้ประจักษ์ว่า “เวทนานั้นไม่เที่ยง อันเราไม่สยบมัวเมาแล้ว อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว” ดังนี้. ภิกษุนั้น ถ้าเสวย สุขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวย ทุกขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น ; ถ้าเสวย อทุกขมสุขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสเครื่องร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนานั้น. ภิกษุนั้น เมื่อเสวย เวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เราเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ” ดังนี้. เมื่อเธอนั้น เสวย เวทนาอันมี ชีวิตเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เราเสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ” ดังนี้. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เวทนาทั้งหลายทั้งปวง อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว จักเป็นของเย็น ในอัตตภาพนี้เอง ; สรีระทั้งหลายจักเหลืออยู่ ; จนกระทั่งถึงที่สุดรอบแห่งชีวิต เพราะการแตกทำลายแห่งกาย” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน บุรุษยกหม้อที่ยังร้อนออกจากเตาเผาหม้อ วางไว้พื้นดินอันเรียบ ไออุ่นที่หม้อนั้นพึงระงับหายไป ในที่นั้นเอง กระเบื้องทั้งหลายก็เหลืออยู่ นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน กล่าวคือ เมื่อเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษว่า “เราเสวยเวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ” ดังนี้. เมื่อเธอนั้น เสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เราเสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นที่สุดรอบ” ดังนี้. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ประจักษ์ว่า “เวทนาทั้งหลายทั้งปวง อันเราไม่เพลิดเพลินเฉพาะแล้ว จักเป็นของเย็นในอัตตภาพนี้เอง; สรีระทั้งหลายจักเหลืออยู่ ; จนกระทั่งถึงที่สุดรอบแห่งชีวิต เพราะการแตกทำลายแห่งกาย” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ; คือ ภิกษุผู้ขีณาสพ พึงปรุงแต่งปุญญาภิสังขาร, หรือว่าพึงปรุงแต่ง อปุญญาภิสังขาร, หรือว่า พึงปรุงแต่ง อเนญชาภิสังขาร, บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อสังขารทั้งหลาย ไม่มี, เพราะความดับแห่งสังขาร โดยประการทั้งปวง, วิญญาณ พึงปรากฎ บ้างหรือหนอ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อวิญญาณ ไม่มี, เพราะความดับแห่งวิญญาณ โดยประการทั้งปวง, นามรูป พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อนามรูป ไม่มี, เพราะความดับแห่งนามรูป โดยประการทั้งปวง, สฬายตนะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อสฬายตนะ ไม่มี, เพราะความดับแห่งสฬายตนะ โดยประการทั้งปวง, ผัสสะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อผัสสะ ไม่มี, เพราะความดับแห่งผัสสะ โดยประการทั้งปวง, เวทนา พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อเวทนา ไม่มี, เพราะความดับแห่งเวทนา โดยประการทั้งปวง, ตัณหา พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อตัณหา ไม่มี, เพราะความดับแห่งตัณหา โดยประการทั้งปวง, อุปาทาน พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่ออุปาทาน ไม่มี, เพราะความดับแห่งอุปาทาน โดยประการทั้งปวง, ภพ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อภพ ไม่มี, เพราะความดับแห่งภพ โดยประการทั้งปวง, ชาติ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” เมื่อชาติ ไม่มี, เพราะความดับแห่งชาติ โดยประการทั้งปวง. ชรามรณะ พึงปรากฏ บ้างหรือหนอ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว ถูกแล้ว. ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงทำความสำคัญ จงเชื่อซึ่งข้อนั้น ไว้อย่างนั้นเถิด. ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงปลงซึ่งความเชื่อ ในข้อนั้นอย่างนั้นเถิด ; จงเป็นผู้หมดความเคลือบแคลงสงสัยในข้อนั้นเถิด ; นั่นแหละที่สุดแห่งทุกข์ละ, ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 238 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเมื่อเห็นอนัตตาเป็นลำดับการหลุดพ้นโดยละเอียด
    สัทธรรมลำดับที่ : 639
    ชื่อบทธรรม :- ลำดับการหลุดพ้นโดยละเอียด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=639
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับการหลุดพ้นโดยละเอียด-เมื่อเห็นอนัตตา
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง,
    สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์,
    สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใดเป็น #อนัตตา สิ่งนั้นนั่น
    "ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่เป็นตัวตนของเรา"
    http://etipitaka.com/read/pali/17/57/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+เมโส+อตฺตาติ
    : เธอทั้งหลาย พึงเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้
    ด้วยประการดังนี้.
    (ในกรณีแห่ง
    เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
    ก็ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง รูป
    ทุกประการ).

    --ภิกษุ ท. !
    +--เมื่อบุคคลเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริง อยู่อย่างนี้,
    ปุพพันตานุทิฏฐิ ทั้งหลาย ย่อมไม่มี ;
    +--เมื่อปุพพันตานุทิฏฐิไม่มี, อปรันตานุทิฏฐิ ทั้งหลายย่อมไม่มี ;
    +--เมื่ออปรันตานุทิฏฐิไม่มี, ความยึดมั่นลูบคลำอย่างแรงกล้า ย่อมไม่มี ;*--๑
    +--เมื่อความยึดมั่นลูบคลำอย่างแรงกล้าไม่มี,
    จิตย่อมจางคลายกำหนัดในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ ;
    ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่มีความยึดมั่นถือมั่น.
    +--เพราะจิตหลุดพ้นแล้ว จิตจึง ดำรงอยู่ (ตามสภาพของจิต) ;
    +--เพราะเป็นจิตที่ดำรงอยู่ จิตจึง ยินดีร่าเริงด้วยดี ;
    +--เพราะเป็นจิตที่ยินดีร่าเริงด้วยดี จิตจึง ไม่หวาดสะดุ้ง ;
    +--เมื่อไม่หวาดสะดุ้ง ย่อม #ปรินิพพาน (ดับรอบ) เฉพาะตน นั่นเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/57/?keywords=ปรินิพฺพายติ
    +--เธอนั้น ย่อม รู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    *--๑รายละเอียดเรื่อง ปุพพันตานุทิฏฐิ และอปรันตานุทิฏฐิ
    ทิฏฐิเป็นไปตามส่วนเบื้องต้น (อดีต-ปุพพันตานุทิฏฐิ) ย่อมไม่มี
    เมื่อทิฏฐิเป็นไปตามส่วนเบื้องต้น ไม่มี
    ทิฏฐิเป็นไปตามส่วนเบื้องปลาย (อนาคต-อปรันตานุทิฏฐิ) ย่อมไม่มี
    เมื่อทิฏฐิเป็นไปตามส่วนเบื้องปลาย ไม่มี
    ความยึดมั่นอย่างแรงกล้า ย่อมไม่มี.

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/57/93.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/45/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๗/๙๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/57/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=639
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=639
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเมื่อเห็นอนัตตาเป็นลำดับการหลุดพ้นโดยละเอียด สัทธรรมลำดับที่ : 639 ชื่อบทธรรม :- ลำดับการหลุดพ้นโดยละเอียด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=639 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับการหลุดพ้นโดยละเอียด-เมื่อเห็นอนัตตา --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง, สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใดเป็น #อนัตตา สิ่งนั้นนั่น "ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่เป็นตัวตนของเรา" http://etipitaka.com/read/pali/17/57/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+เมโส+อตฺตาติ : เธอทั้งหลาย พึงเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ด้วยประการดังนี้. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง รูป ทุกประการ). --ภิกษุ ท. ! +--เมื่อบุคคลเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริง อยู่อย่างนี้, ปุพพันตานุทิฏฐิ ทั้งหลาย ย่อมไม่มี ; +--เมื่อปุพพันตานุทิฏฐิไม่มี, อปรันตานุทิฏฐิ ทั้งหลายย่อมไม่มี ; +--เมื่ออปรันตานุทิฏฐิไม่มี, ความยึดมั่นลูบคลำอย่างแรงกล้า ย่อมไม่มี ;*--๑ +--เมื่อความยึดมั่นลูบคลำอย่างแรงกล้าไม่มี, จิตย่อมจางคลายกำหนัดในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ ; ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่มีความยึดมั่นถือมั่น. +--เพราะจิตหลุดพ้นแล้ว จิตจึง ดำรงอยู่ (ตามสภาพของจิต) ; +--เพราะเป็นจิตที่ดำรงอยู่ จิตจึง ยินดีร่าเริงด้วยดี ; +--เพราะเป็นจิตที่ยินดีร่าเริงด้วยดี จิตจึง ไม่หวาดสะดุ้ง ; +--เมื่อไม่หวาดสะดุ้ง ย่อม #ปรินิพพาน (ดับรอบ) เฉพาะตน นั่นเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/17/57/?keywords=ปรินิพฺพายติ +--เธอนั้น ย่อม รู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.- *--๑รายละเอียดเรื่อง ปุพพันตานุทิฏฐิ และอปรันตานุทิฏฐิ ทิฏฐิเป็นไปตามส่วนเบื้องต้น (อดีต-ปุพพันตานุทิฏฐิ) ย่อมไม่มี เมื่อทิฏฐิเป็นไปตามส่วนเบื้องต้น ไม่มี ทิฏฐิเป็นไปตามส่วนเบื้องปลาย (อนาคต-อปรันตานุทิฏฐิ) ย่อมไม่มี เมื่อทิฏฐิเป็นไปตามส่วนเบื้องปลาย ไม่มี ความยึดมั่นอย่างแรงกล้า ย่อมไม่มี. #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/57/93. http://etipitaka.com/read/thai/17/45/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๗/๙๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/57/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=639 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=639 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลำดับการหลุดพ้นโดยละเอียด
    -ลำดับการหลุดพ้นโดยละเอียด เมื่อเห็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! รูป เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง, สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นนั่น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่เป็นตัวตนของเรา: เธอทั้งหลาย พึงเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ด้วยประการดังนี้. (ในกรณีแห่งเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ทุกประการ). ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลเห็นข้อนั้น ด้วยปัญญาโดยชอบตรงตามที่เป็นจริง อยู่อย่างนี้, ปุพพันตานุทิฏฐิ ทั้งหลาย ย่อมไม่มี ; เมื่อปุพพันตานุทิฏฐิไม่มี, อปรันตานุทิฏฐิ๑ ทั้งหลายย่อมไม่มี ; เมื่ออปรันตานุทิฏฐิไม่มี, ความยึดมั่นลูบคลำอย่างแรงกล้า ย่อมไม่มี ; เมื่อความยึดมั่นลูบคลำอย่างแรงกล้าไม่มี, จิตย่อมจางคลายกำหนัดในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ ; ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่มีความยึดมั่นถือมั่น. เพราะจิตหลุดพ้นแล้ว จิตจึง ดำรงอยู่ (ตามสภาพของจิต) ; เพราะเป็นจิตที่ดำรงอยู่ จิตจึง ยินดีร่าเริงด้วยดี ; เพราะเป็นจิตที่ยินดีร่าเริงด้วยดี จิตจึง ไม่หวาดสะดุ้ง ; เมื่อไม่หวาดสะดุ้ง ย่อม ปรินิพพาน (ดับรอบ) เฉพาะตน นั่นเทียว. เธอนั้น ย่อม รู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 260 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าให้มีวิชชาเพื่อดับอุปทานจะปรินิพพานเฉพาะตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 245
    ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้
    มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ
    มีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้
    มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
    มีตัณหาเป็นแดนเกิด.
    --ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า
    มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด?
    มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ?
    มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ
    มีอะไรเป็นแดนเกิด ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้
    มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด,
    มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด,
    มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และ
    มีเวทนาเป็นแดนเกิด.

    --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เวทนานี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    เวทนา มีผัสสะเป็นต้นเหตุ
    มีผัสสะเป็นเหตุเกิด
    มีผัสสะเป็นกำเนิด
    มีผัสสะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ผัสสะนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด?
    ผัสสะ มีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ
    มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด
    มีสฬายตนะเป็นกำเนิด
    มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สฬายตนะนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุมีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สฬายตนะ มีนามรูปเป็นต้นเหตุ
    มีนามรูปเป็นเหตุเกิด
    มีนามรูปเป็นกำเนิด
    มีนามรูปเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) นามรูปนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    นามรูป มีวิญญาณเป็นต้นเหตุ
    มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด
    มีวิญญาณเป็นกำเนิด
    มีวิญญาณเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) วิญญาณนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    วิญญาณ มีสังขารเป็นต้นเหตุ
    มีสังขารเป็นเหตุเกิด
    มีสังขารเป็นกำเนิด
    มีสังขารเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สังขารนี้เล่า
    มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด?
    สังขาร มีอวิชชาเป็นต้นเหตุ
    มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด
    มีอวิชชาเป็นกำเนิด
    มีอวิชชาเป็นแดนเกิด
    --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ก็เมื่อใดแล
    ภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว เมื่อนั้น
    ภิกษุนั้น เพราะสำรอกอวิชชาเสียได้เพราะวิชชา บังเกิดขึ้น
    ย่อมไม่ถือมั่นกามุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นทิฏฐุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นสีลัพพัตตุปาทาน
    ย่อมไม่ถือมั่นอัตตวาทุปาทาน
    เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว
    เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อ ความเป็นอย่างนี้ มิได้มี
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/93/158.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๔/๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=245
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
    ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    อริยสาวกฝึกหัดศึกษาว่าให้มีวิชชาเพื่อดับอุปทานจะปรินิพพานเฉพาะตน สัทธรรมลำดับที่ : 245 ชื่อบทธรรม :- ที่เกิดแห่งอุปาทาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245 เนื้อความทั้งหมด :- --ที่เกิดแห่งอุปาทาน --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ มีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ? --ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีตัณหาเป็นแดนเกิด. --ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และ มีอะไรเป็นแดนเกิด ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และ มีเวทนาเป็นแดนเกิด. --ภิกษุ ท. !(ทั้งหลาย) เวทนานี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? เวทนา มีผัสสะเป็นต้นเหตุ มีผัสสะเป็นเหตุเกิด มีผัสสะเป็นกำเนิด มีผัสสะเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ผัสสะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิดมีอะไรเป็นแดนเกิด? ผัสสะ มีสฬายตนะเป็นต้นเหตุ มีสฬายตนะเป็นเหตุเกิด มีสฬายตนะเป็นกำเนิด มีสฬายตนะเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สฬายตนะนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุมีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สฬายตนะ มีนามรูปเป็นต้นเหตุ มีนามรูปเป็นเหตุเกิด มีนามรูปเป็นกำเนิด มีนามรูปเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) นามรูปนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? นามรูป มีวิญญาณเป็นต้นเหตุ มีวิญญาณเป็นเหตุเกิด มีวิญญาณเป็นกำเนิด มีวิญญาณเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) วิญญาณนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? วิญญาณ มีสังขารเป็นต้นเหตุ มีสังขารเป็นเหตุเกิด มีสังขารเป็นกำเนิด มีสังขารเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) สังขารนี้เล่า มีอะไรเป็นต้นเหตุ มีอะไรเป็นเหตุเกิด มีอะไรเป็นกำเนิด มีอะไรเป็นแดนเกิด? สังขาร มีอวิชชาเป็นต้นเหตุ มีอวิชชาเป็นเหตุเกิด มีอวิชชาเป็นกำเนิด มีอวิชชาเป็นแดนเกิด --ภิกษุ ท. ! (ทั้งหลาย) ก็เมื่อใดแล ภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว เมื่อนั้น ภิกษุนั้น เพราะสำรอกอวิชชาเสียได้เพราะวิชชา บังเกิดขึ้น ย่อมไม่ถือมั่นกามุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นทิฏฐุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นสีลัพพัตตุปาทาน ย่อมไม่ถือมั่นอัตตวาทุปาทาน เมื่อไม่ถือมั่น ย่อมไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง #ย่อมปรินิพพานเฉพาะตน นั่นเทียว เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อ ความเป็นอย่างนี้ มิได้มี ดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​ #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/93/158. http://etipitaka.com/read/thai/12/93/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๓๔/๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/134/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=245 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=245 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17 ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ที่เกิดแห่งอุปาทาน
    -ที่เกิดแห่งอุปาทาน ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิดเล่า ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานสี่เหล่านี้ มีตัณหาเป็นเหตุให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณหาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีตัณหาเป็นแดนเกิด. ภิกษุ ท. ! ก็ตัณหานี้เล่า มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด? มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด ? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด ? และมีอะไรเป็นแดนเกิด ? ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ มีเวทนาเป็นเหตุให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีเวทนาเป็นเครื่องกำเนิด, และมีเวทนาเป็นแดนเกิด แล.
    0 Comments 0 Shares 213 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสัญโญชน์อย่างเอก
    สัทธรรมลำดับที่ : 240
    ชื่อบทธรรม :- สัญโญชน์อย่างเอก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัญโญชน์อย่างเอก
    --ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว
    ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป
    ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้
    เหมือนอย่าง #ตัณหาสัญโญชน์ นี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=ตณฺหาสํโยชนํ
    --ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วย ตัณหาสัญโญชน์ แล้ว
    ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง
    แล.
    -บุรุษผู้มีตัณหาเป็นเพื่อนสอง
    ท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน
    ย่อมไม่ก้าวล่วงสงสารอันมีความเป็นอย่างนี้
    และความเป็นอย่างอื่นไปได้
    ภิกษุรู้ตัณหาซึ่งเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์
    แล.-

    #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. 25/167/193.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/167/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖/๑๙๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=240
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม :- 16 ฟังเสียง..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสัญโญชน์อย่างเอก สัทธรรมลำดับที่ : 240 ชื่อบทธรรม :- สัญโญชน์อย่างเอก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240 เนื้อความทั้งหมด :- --สัญโญชน์อย่างเอก --ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้ เหมือนอย่าง #ตัณหาสัญโญชน์ นี้. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=ตณฺหาสํโยชนํ --ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วย ตัณหาสัญโญชน์ แล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง แล. -บุรุษผู้มีตัณหาเป็นเพื่อนสอง ท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน ย่อมไม่ก้าวล่วงสงสารอันมีความเป็นอย่างนี้ และความเป็นอย่างอื่นไปได้ ภิกษุรู้ตัณหาซึ่งเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ แล.- #ทุกขสทุทัย #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. 25/167/193. http://etipitaka.com/read/thai/25/167/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖/๑๙๓. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=240 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=240 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม :- 16 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัญโญชน์อย่างเอก
    -สัญโญชน์อย่างเอก ภิกษุ ท. ! เราไม่มองเห็นสัญโญชน์อื่น แม้แต่อย่างเดียว ซึ่งเมื่อสัตว์ทั้งหลาย ประกอบแล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานอย่างนี้ เหมือนอย่าง ตัณหาสัญโญชน์ นี้. ภิกษุ ท. ! เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายที่ประกอบด้วยตัณหาสัญโญชน์แล้ว ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร ตลอดกาลนาน โดยแท้จริง แล.
    0 Comments 0 Shares 198 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาให้รู้ชัดว่า กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    สัทธรรมลำดับที่ : 229
    ชื่อบทธรรม :- กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน.
    --ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ?
    --ภิกษุ ท. !
    ตา เป็นของร้อน,
    รูป เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางตา(จักษุวิญญาณ) เป็นของร้อน,
    สัมผัสทางตา เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข-ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม
    ก็เป็นของร้อน(อาทิตฺตํ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=อาทิตฺตํ

    --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า
    “ร้อนเพราะไฟคือราคะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโทสะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโมหะ,
    ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน
    เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. !
    จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    ...
    --ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน,
    ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน,
    เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/24/?keywords=อาทิตฺตํ
    --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า
    “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโทสะ,
    ร้อนเพราะไฟคือโมหะ,
    ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก
    เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ
    และเพราะความคับแค้นใจ”
    ดังนี้แล.-
    --ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมเบื่อหน่าย
    ทั้งในจักษุ ทั้งในรูป ทั้งในจักษุวิญญาณ ทั้งในจักษุสัมผัส
    ทั้งใน สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา
    ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย...
    โสต​... ฆานะ... ชิวหา... กาย... ฯลฯ
    ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในใจ ทั้งในธรรมารมณ์ ทั้งในมโนวิญญาณ ทั้งในมโนสัมผัส
    ทั้งในสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา
    ที่เกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย
    เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด
    จิตอมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว
    รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีดังนี้แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/17/31.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๓/๓๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=229
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาให้รู้ชัดว่า กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน สัทธรรมลำดับที่ : 229 ชื่อบทธรรม :- กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229 เนื้อความทั้งหมด :- --กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน. --ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ? --ภิกษุ ท. ! ตา เป็นของร้อน, รูป เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางตา(จักษุวิญญาณ) เป็นของร้อน, สัมผัสทางตา เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข-ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน(อาทิตฺตํ)​. http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=อาทิตฺตํ --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟคือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... --ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. http://etipitaka.com/read/pali/18/24/?keywords=อาทิตฺตํ --ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้แล.- --ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในจักษุ ทั้งในรูป ทั้งในจักษุวิญญาณ ทั้งในจักษุสัมผัส ทั้งใน สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย... โสต​... ฆานะ... ชิวหา... กาย... ฯลฯ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในใจ ทั้งในธรรมารมณ์ ทั้งในมโนวิญญาณ ทั้งในมโนสัมผัส ทั้งในสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จิตอมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีดังนี้แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/17/31. http://etipitaka.com/read/thai/18/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๓/๓๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/23/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=229 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=229 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน
    -กลุ่มอายตนะเป็นของร้อน ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวง ซึ่งเป็นของร้อน ? ภิกษุ ท. ! ตา เป็นของร้อน, รูป เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางตา เป็นของร้อน, สัมผัสทางตา เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทางตาเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุข ไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟคือราคะ. ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! หู เป็นของร้อน, เสียง เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางหู เป็นของร้อน, สัมผัสทางหู เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางหูเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! จมูก เป็นของร้อน, กลิ่น เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางจมูก เป็นของร้อน, สัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! ลิ้น เป็นของร้อน, รส เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางลิ้น เป็นของร้อน, สัมผัสทางลิ้น เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางลิ้นเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! กาย เป็นของร้อน, โผฏฐัพพะ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทั้งทางกาย เป็นของร้อน, สัมผัสทางกาย เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ... ภิกษุ ท. ! ใจ เป็นของร้อน, ธรรมารมณ์ เป็นของร้อน, ความรู้แจ้งทางใจ เป็นของร้อน, สัมผัสทางใจ เป็นของร้อน, เวทนาที่เกิดขึ้น เพราะสัมผัสทางใจเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม ไม่ใช่สุขไม่ใช่ทุกข์ก็ตาม ก็เป็นของร้อน. ภิกษุ ท. ! ร้อนเพราะอะไรเล่า ? เรากล่าวว่า “ร้อนเพราะไฟ คือราคะ, ร้อนเพราะไฟคือโทสะ, ร้อนเพราะไฟคือโมหะ, ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ เพราะความตาย เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน เพราะความทุกข์กาย เพราะความทุกข์ใจ และเพราะความคับแค้นใจ” ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 151 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    สัทธรรมลำดับที่ : 209
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+กุกฺกุฬํ
    เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑.
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+นิพฺพินฺทติ
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา,
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา,
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ.

    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น.
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=วิมุตฺตมิติ+ญาณํ
    รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
    แล.-
    *--๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/172/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/172/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=209
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง สัทธรรมลำดับที่ : 209 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+กุกฺกุฬํ เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑. --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป, http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+นิพฺพินฺทติ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ. เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น. เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=วิมุตฺตมิติ+ญาณํ รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี แล.- *--๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/172/334. http://etipitaka.com/read/thai/17/172/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=209 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    -เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง ภิกษุ ท. ! รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง,๑ เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง, สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง, สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง, และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง. ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน ๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน. สัญญา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ แล.
    0 Comments 0 Shares 260 Views 0 Reviews
  • อาริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอนัตตรัตนสูตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 204
    ชื่อบทธรรม :- อนัตตรัตนสูตร
    (อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=รูป+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ;
    อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า
    ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา
    รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า
    ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,
    รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=เวทนา+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า
    ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนาเป็นอนัตตา
    เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า
    ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สญฺญา+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า
    ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญาเป็นอนัตตา
    สัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า
    ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สงฺขาร+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า
    ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา
    สังขารทั้งหลาย จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า
    ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=วิญฺญาณํ+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า
    ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา
    วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า
    ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้,
    รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/64-66/127-129.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒-๘๔/๑๒๗-๑๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=204
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อาริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอนัตตรัตนสูตร สัทธรรมลำดับที่ : 204 ชื่อบทธรรม :- อนัตตรัตนสูตร (อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204 เนื้อความทั้งหมด :- --อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น. --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=รูป+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=เวทนา+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนาเป็นอนัตตา เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สญฺญา+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญาเป็นอนัตตา สัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สงฺขาร+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา สังขารทั้งหลาย จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=วิญฺญาณํ+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/64-66/127-129. http://etipitaka.com/read/thai/17/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒-๘๔/๑๒๗-๑๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=204 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้.
    -ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนา เป็นอนัตตา เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญา เป็นอนัตตาสัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา สังขารทั้งหลายจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. .... ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 253 Views 0 Reviews
  • เธอบอกจะไปจากฉัน
    จะทิ้งกันทำไมเป็นอย่างนี้
    ความรักร่วมสร้างกันมา
    คิดว่าจะไปได้ดี
    สุขใจอุ่นใจทุกที
    เมื่อมีเธออยู่เคียงทุกวัน
    บอกเธอแล้วใช่ไหม
    ขาดเธอไปฉันคงขาดใจเช่นกัน
    รักเธอคือรักหมดใจ
    ไม่คิดอื่นใดทั้งนั้น
    มั่นคงไม่เคยเปลี่ยนผัน
    ไม่ทันได้คิดระวัง
    เพราะเขาคนนั้นใช่ไหม
    จึงเปลี่ยนไปทำให้รักเราพัง
    เพราะเขาเป็นลูกเศรษฐี
    มั่งมีเงินทองเป็นถัง
    เขามีชื่อเสียงโด่งดัง
    คนทั้งตำบลเขารู้กัน
    บอกเธอแล้วใช่ไหม
    ขาดเธอไปฉันคงขาดใจซักวัน
    รักเธอคือรักหมดใจ
    ไม่คิดอื่นใดทั้งนั้น
    มั่นคงไม่เคยเปลี่ยนผัน
    ทิ้งกันทำกันได้ลง
    บอกเธอแล้วใช่ไหม
    ขาดเธอไปฉันคงขาดใจซักวัน
    รักเธอคือรักหมดใจ
    ไม่คิดอื่นใดทั้งนั้น
    มั่นคงไม่เคยเปลี่ยนผัน
    ทิ้งกันทำฉันได้ไง
    ทิ้งคนซื่อตรงอย่างฉัน
    ทิ้งกันฆ่าฉันไปเลยเธอ
    เธอบอกจะไปจากฉัน จะทิ้งกันทำไมเป็นอย่างนี้ ความรักร่วมสร้างกันมา คิดว่าจะไปได้ดี สุขใจอุ่นใจทุกที เมื่อมีเธออยู่เคียงทุกวัน บอกเธอแล้วใช่ไหม ขาดเธอไปฉันคงขาดใจเช่นกัน รักเธอคือรักหมดใจ ไม่คิดอื่นใดทั้งนั้น มั่นคงไม่เคยเปลี่ยนผัน ไม่ทันได้คิดระวัง เพราะเขาคนนั้นใช่ไหม จึงเปลี่ยนไปทำให้รักเราพัง เพราะเขาเป็นลูกเศรษฐี มั่งมีเงินทองเป็นถัง เขามีชื่อเสียงโด่งดัง คนทั้งตำบลเขารู้กัน บอกเธอแล้วใช่ไหม ขาดเธอไปฉันคงขาดใจซักวัน รักเธอคือรักหมดใจ ไม่คิดอื่นใดทั้งนั้น มั่นคงไม่เคยเปลี่ยนผัน ทิ้งกันทำกันได้ลง บอกเธอแล้วใช่ไหม ขาดเธอไปฉันคงขาดใจซักวัน รักเธอคือรักหมดใจ ไม่คิดอื่นใดทั้งนั้น มั่นคงไม่เคยเปลี่ยนผัน ทิ้งกันทำฉันได้ไง ทิ้งคนซื่อตรงอย่างฉัน ทิ้งกันฆ่าฉันไปเลยเธอ
    0 Comments 0 Shares 299 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีล
    สัทธรรมลำดับที่ : 978
    ชื่อบทธรรม :- เมื่อตีความคำบัญญัติผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ
    ...
    (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า
    “--ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง
    เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้.
    สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้
    ๑.ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑
    ๒.ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑
    ๓.ย่อมไม่ดำริความดำริอันเป็นบาป ๑
    ๔.ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.”
    --ช่างไม้(ถปติ)ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น
    เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :-
    )​
    --ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ
    ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง
    เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก).
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่.
    --ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ
    จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม
    อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร.
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง

    http://etipitaka.com/read/pali/13/344/?keywords=ปริพฺพาชก
    (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า
    ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง
    ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้
    อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้าง
    เท่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/264-266/358-360.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/264/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๔๓-๓๔๕/๓๕๘-๓๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/343/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=978
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีล สัทธรรมลำดับที่ : 978 ชื่อบทธรรม :- เมื่อตีความคำบัญญัติผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978 เนื้อความทั้งหมด :- --เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ ... (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า “--ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้. สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้ ๑.ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑ ๒.ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑ ๓.ย่อมไม่ดำริความดำริอันเป็นบาป ๑ ๔.ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.” --ช่างไม้(ถปติ)ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :- )​ --ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก). +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่. --ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร. --ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง http://etipitaka.com/read/pali/13/344/?keywords=ปริพฺพาชก (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้ อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้าง เท่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/264-266/358-360. http://etipitaka.com/read/thai/13/264/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๔๓-๓๔๕/๓๕๘-๓๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/13/343/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=978 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เมื่อตีความคำบัญญัติผิด
    -เมื่อตีความคำบัญญัติผิด แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า “ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้. สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้ ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑ ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑ ย่อมไม่ดำริ ความดำริอันเป็นบาป ๑ ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.” ช่างไม้ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :-) ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย. ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ. ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี แล้ว จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้. ถปติ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี. แล้ว จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก). ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี. แล้ว จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่. ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร. ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้ อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้างเท่านั้น.
    0 Comments 0 Shares 246 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สิกขาสาม เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันตามลำดับ
    สัทธรรมลำดับที่ : 974
    ชื่อบทธรรม :- สิกขาสาม เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันตามลำดับ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=974
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สิกขาสาม เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันตามลำดับ
    (เมื่อพระผู้มีพระภาค ประทับอยู่ที่อุทยานอัมพลัฏฐิกา
    ในราชอาคาร ทรงกระทำ ธรรมมีกถาเป็นอันมากแก่ภิกษุทั้งหลาย ดังนี้ว่า :-
    )
    ศีล เป็นอย่างนี้,
    สมาธิ เป็นอย่างนี้,
    ปัญญา เป็นอย่างนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/96/?keywords=สีล+สมาธิ+ปญฺญา+จิต

    สมาธิ ที่ ศีล อบรมแล้ว
    ย่อมมีผลใหญ่มีอานิสงส์ใหญ่;
    ปัญญา ที่ สมาธิ อบรมแล้ว
    ย่อมมีผลใหญ่มีอานิสงส์ใหญ่;
    สมาธิ(จิต)​ ที่ ปัญญา อบรมแล้ว
    ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย โดยชอบเทียว,
    คือพ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/72/76.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/72/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๙๖/๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/96/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=974
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=974
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สิกขาสาม เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันตามลำดับ สัทธรรมลำดับที่ : 974 ชื่อบทธรรม :- สิกขาสาม เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันตามลำดับ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=974 เนื้อความทั้งหมด :- --สิกขาสาม เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันตามลำดับ (เมื่อพระผู้มีพระภาค ประทับอยู่ที่อุทยานอัมพลัฏฐิกา ในราชอาคาร ทรงกระทำ ธรรมมีกถาเป็นอันมากแก่ภิกษุทั้งหลาย ดังนี้ว่า :- ) ศีล เป็นอย่างนี้, สมาธิ เป็นอย่างนี้, ปัญญา เป็นอย่างนี้. http://etipitaka.com/read/pali/10/96/?keywords=สีล+สมาธิ+ปญฺญา+จิต สมาธิ ที่ ศีล อบรมแล้ว ย่อมมีผลใหญ่มีอานิสงส์ใหญ่; ปัญญา ที่ สมาธิ อบรมแล้ว ย่อมมีผลใหญ่มีอานิสงส์ใหญ่; สมาธิ(จิต)​ ที่ ปัญญา อบรมแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย โดยชอบเทียว, คือพ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/72/76. http://etipitaka.com/read/thai/10/72/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๙๖/๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/10/96/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=974 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=974 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สิกขาสาม เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันตามลำดับ
    -สิกขาสาม เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันตามลำดับ (เมื่อพระผู้มีพระภาค ประทับอยู่ที่อุทยานอัมพลัฏฐิกา ในราชอาคาร ทรงกระทำ ธรรมมีกถาเป็นอันมากแก่ภิกษุทั้งหลาย ดังนี้ว่า :-) ศีล เป็นอย่างนี้, สมาธิ เป็นอย่างนี้, ปัญญา เป็นอย่างนี้. สมาธิ ที่ศีลอบรมแล้ว ย่อมมีผลใหญ่มีอานิสงส์ใหญ่; ปัญญา ที่สมาธิอบรมแล้ว ย่อมมีผลใหญ่มีอานิสงส์ใหญ่; จิต ที่ปัญญาอบรมแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย โดยชอบเทียว, คือพ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.
    0 Comments 0 Shares 185 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 603
    ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่
    ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค
    ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา.
    องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ
    ๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ
    ๒.ด้วยพละ
    ๓.ด้วยชวะ
    ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง).
    --ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย
    และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
    ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ?
    สี่ประการคือ สมบูรณ์
    ๑.ด้วยวรรณะ
    ๒.ด้วยพละ
    ๓.ด้วยชวะ
    ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน
    ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &​ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร
    เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล
    มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)​ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”,
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีการได้จีวร
    บิณฑบาต
    เสนาสนะ และ
    คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก
    อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า,
    ดังนี้แล.-

    [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90
    ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า
    ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
    ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม
    ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น.
    --และ
    ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97
    ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า
    ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 603 ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603 เนื้อความทั้งหมด :- --ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่ ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา. องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ ๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ๒.ด้วยพละ ๓.ด้วยชวะ ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง). --ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ สมบูรณ์ ๑.ด้วยวรรณะ ๒.ด้วยพละ ๓.ด้วยชวะ ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &​ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)​ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”, ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีการได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้แล.- [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐) http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90 ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น. --และ ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗) http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97 ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259. http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    -ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ ภิกษุ ท. !ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่ ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา. องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ด้วยพละ ด้วยชวะ ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง). ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ด้วยพละ ด้วยชวะ ด้วยอาโรหปริณาหะ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”, ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีการได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชช บริขารเป็นปกติ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 364 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 599
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=599
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภท คือ
    สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นเสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า
    “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ;
    เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนา เป็นอย่างนี้;
    สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขารเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ;
    วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ;
    แต่เธอ​ ไม่ถูกต้องซึ่ง​ วิโมกข์แปด(รูป-อรูปฌาน)​ ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า
    “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ;
    เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้ ;
    สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ;
    สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ;
    วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ;
    และเธอ ถูกต้องซึ่ง วิโมกข์แปด(รูป-อรูปฌาน)ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/119/?keywords=สมณปทุโม

    --ภิกษ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร
    ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน....

    (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง
    บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ
    แห่งหัวข้อสัทธรรมลำดับที่ 598 ).
    ....
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้ แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/119/?keywords=สมณสุขุมาโล
    ....
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/90/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/90/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๘/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=599
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=599
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 599 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=599 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภท คือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นเสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ; เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนา เป็นอย่างนี้; สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขารเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ; วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ; แต่เธอ​ ไม่ถูกต้องซึ่ง​ วิโมกข์แปด(รูป-อรูปฌาน)​ ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ; เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้ ; สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ; วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ; และเธอ ถูกต้องซึ่ง วิโมกข์แปด(รูป-อรูปฌาน)ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/119/?keywords=สมณปทุโม --ภิกษ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน.... (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ แห่งหัวข้อสัทธรรมลำดับที่ 598 ). .... +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้ แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ http://etipitaka.com/read/pali/21/119/?keywords=สมณสุขุมาโล .... ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/90/90. http://etipitaka.com/read/thai/21/90/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๘/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=599 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=599 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภท คือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นเสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ; เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนา เป็นอย่างนี้, สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขารเป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขารเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ; วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ; แต่เธอไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปดด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ; เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้ ; สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ; วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ; และเธอถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปดด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ. ภิกษ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน.... (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งบุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ แห่งหัวข้อที่แล้วมา). .... ภิกษุ ท. ! อย่างนี้ แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ .... ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 306 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 965
    ชื่อบทธรรม : -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ :-
    ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้.
    เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้,
    มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=สกฺกายนิโรเธ
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=สกฺกายนิโรเธ
    เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้,
    มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น)
    กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ
    เปรียบเหมือนชัมพาลี*--๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี
    คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด
    ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.
    *--๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน.

    ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/225/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ
    เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/160-162/178.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/160/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๒๓-๒๒๕/๑๗๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=965
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค สัทธรรมลำดับที่ : 965 ชื่อบทธรรม : -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965 เนื้อความทั้งหมด :- --เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ :- ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้, มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=สกฺกายนิโรเธ ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=สกฺกายนิโรเธ เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้, มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ เปรียบเหมือนชัมพาลี*--๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. *--๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน. ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/225/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/160-162/178. http://etipitaka.com/read/thai/21/160/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๒๓-๒๒๕/๑๗๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=965 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ : ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้, มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้, มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้. เปรียบเหมือนชัมพาลี๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้. เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 Comments 0 Shares 299 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    สัทธรรมลำดับที่ : 594
    ชื่อบทธรรม : -หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    ....
    ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ
    ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่พระองค์ตรัสว่า ภิกษุ​ผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ๆ
    ดังนี้
    ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    --ดูกรภิกษุ ถ้าว่าภิกษุ
    พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป
    ใน เห็นรูปด้วยตา(จักขุนทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน จักขุนทรีย์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=จกฺขุนฺทฺริเย
    .. ฟังเสียงด้วยหู (โสตินทรีย์)..
    .. ดมกลิ่นด้วยจมูก (ฆานินทรีย์)..
    .. ลิ้มรสด้วยลิ้น (ชิวหินทรีย์)..
    .. ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย(โผฏฐัพินทรีย์)​ และ
    พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป
    ใน รับรู้ธรรมารมย์ด้วยใจ(มนินทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน มนินทรีย์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=มนินฺทฺริเย
    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
    เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว
    พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
    --ดูกรภิกษุภิกษุ​ #เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์
    ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล​ฯ
    *--สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๖/๒๔๓
    *--http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ....
    --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้วไม่ต้องอาศัยความเชื่อ
    ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา
    การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย
    ก็อาจพยากรณ์ #การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ โดยรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/18/174/?keywords=จกฺขุนา
    รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งเกิดมีอยู่ในภายใน ว่าเกิดมีอยู่ในภายใน,
    รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ อันไม่เกิดมีอยู่ในภายใน ว่าไม่เกิดมีอยู่ในภายใน.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอรู้ชัดอยู่อย่างนี้แล้ว
    ยังจำเป็นอยู่อีกหรือ ที่จะต้องรู้ธรรมทั้งหลายด้วยอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ
    การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการ การเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตน ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยปัญญาแล้ว จึงรู้ มิใช่หรือ ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=ธมฺมา+ปญฺญาย
    "ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! นี่แหละ หลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้ว ไม่ต้องอาศัยความเชื่อ
    ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา
    การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย
    ก็อาจพยากรณ์การบรรลุอรหัตตผลของตนได้
    http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=พฺยากโรติ
    โดยรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่งการ
    ๒.ฟังเสียงด้วยหู
    ๓.ดมกลิ่นด้วยจมูก
    ๔.ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ๕.ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย และ
    ๖.รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีกโดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งการเห็นรูปด้วยตา ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233-235/239-242.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๓-๑๗๕/๒๓๙-๒๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=594
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40
    ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ สัทธรรมลำดับที่ : 594 ชื่อบทธรรม : -หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594 เนื้อความทั้งหมด :- --หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ .... ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่พระองค์ตรัสว่า ภิกษุ​ผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ๆ ดังนี้ ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า --ดูกรภิกษุ ถ้าว่าภิกษุ พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป ใน เห็นรูปด้วยตา(จักขุนทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน จักขุนทรีย์ http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=จกฺขุนฺทฺริเย .. ฟังเสียงด้วยหู (โสตินทรีย์).. .. ดมกลิ่นด้วยจมูก (ฆานินทรีย์).. .. ลิ้มรสด้วยลิ้น (ชิวหินทรีย์).. .. ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย(โผฏฐัพินทรีย์)​ และ พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป ใน รับรู้ธรรมารมย์ด้วยใจ(มนินทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน มนินทรีย์ http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=มนินฺทฺริเย เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี --ดูกรภิกษุภิกษุ​ #เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล​ฯ *--สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๖/๒๔๓ *--http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 .... --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้วไม่ต้องอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย ก็อาจพยากรณ์ #การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ โดยรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เห็นรูปด้วยตาแล้ว http://etipitaka.com/read/pali/18/174/?keywords=จกฺขุนา รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งเกิดมีอยู่ในภายใน ว่าเกิดมีอยู่ในภายใน, รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ อันไม่เกิดมีอยู่ในภายใน ว่าไม่เกิดมีอยู่ในภายใน. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอรู้ชัดอยู่อย่างนี้แล้ว ยังจำเป็นอยู่อีกหรือ ที่จะต้องรู้ธรรมทั้งหลายด้วยอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการ การเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตน ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยปัญญาแล้ว จึงรู้ มิใช่หรือ ? http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=ธมฺมา+ปญฺญาย "ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! นี่แหละ หลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้ว ไม่ต้องอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย ก็อาจพยากรณ์การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=พฺยากโรติ โดยรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. (ในกรณีแห่งการ ๒.ฟังเสียงด้วยหู ๓.ดมกลิ่นด้วยจมูก ๔.ลิ้มรสด้วยลิ้น ๕.ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย และ ๖.รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสต่อไปอีกโดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งการเห็นรูปด้วยตา ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233-235/239-242. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๓-๑๗๕/๒๓๙-๒๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=594 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40 ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    0 Comments 0 Shares 370 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น (ด้วยอำนาจราคะ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 584
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    --ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น.
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาเวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +-​-ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า
    “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม
    และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย
    เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร”
    ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะ
    ในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ
    เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ;
    #เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง
    ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ภิกฺขุโน+ราโค+ปหีโน+โหติ
    เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ;
    เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ;
    เมื่อไม่หวั่นไหวก็ #ปรินิพพานเฉพาะตน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ปรินิพฺพายติ

    ย่อมรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว
    กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/53/105.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/53/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=584
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น (ด้วยอำนาจราคะ) สัทธรรมลำดับที่ : 584 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น --ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาเวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +-​-ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ(ความเพลิน)เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือ เอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. --ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. --ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะ ในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ; #เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ; http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ภิกฺขุโน+ราโค+ปหีโน+โหติ เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ; เมื่อไม่หวั่นไหวก็ #ปรินิพพานเฉพาะตน ; http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=ปรินิพฺพายติ ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/53/105. http://etipitaka.com/read/thai/17/53/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/66/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=584 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=584 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
    -ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น ภิกษุ ท. ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอารูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณ ที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาเวทนาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้. เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัยมีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาสัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่ง เข้าถือเอาสังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้ง อยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิ (ความเพลิน) เป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. ภิกษุ ท. ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่งการมาการไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. ภิกษุ ท. ! ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว ; เพราะละราคะได้ อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง ; เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่นเพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง ; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว ; เมื่อไม่หวั่นไหวก็ปรินิพพานเฉพาะตน ; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 409 Views 0 Reviews
More Results