• กองปราบยกทีมสอบ"พี่อ้อย" ถึงปากช่อง แฉ "ทนายตั้ม"สุดแสบ งัดสารพัดมุกต้มตุ๋นจนเปื่อย รวมความเสียหาย กว่า 100 ล้าน พบเข้าข่ายฉ้อโกงจนเป็นกิจธุระ เล็งเอาผิดข้อหาฟอกเงินเพิ่ม

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000104107

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    กองปราบยกทีมสอบ"พี่อ้อย" ถึงปากช่อง แฉ "ทนายตั้ม"สุดแสบ งัดสารพัดมุกต้มตุ๋นจนเปื่อย รวมความเสียหาย กว่า 100 ล้าน พบเข้าข่ายฉ้อโกงจนเป็นกิจธุระ เล็งเอาผิดข้อหาฟอกเงินเพิ่ม อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000104107 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    Haha
    Wow
    25
    1 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 2546 มุมมอง 1 รีวิว
  • ""ธุรกิจขายสินค้าโดยวิธีการสมัครสมาชิก และให้สมาชิกซื้อสินค้านั้น จะเป็นการฉ้อโกงหรือไม่ จะดูจาก ""#รายได้"" ว่า ได้มาจากอะไร ซึ่งศาลฎีกาเองก็ดูจากรายได้เช่นกัน ว่า #รายได้ที่แท้จริงนั้นมาจากอะไร โดยแบ่งรายได้ออกเป็น 3 ประเภท

    ประเภทที่ 1. #รายได้จากการสมัครสมาชิก ถ้ารายได้ส่วนใหญ่มาจากค่าสมัครสมาชิก และมีแนวทางการประกอบกิจการไปที่การแนะนำให้หาสมาชิกเป็นส่วนใหญ่ วิธีการแบบนี้ เข้าลักษณะแชร์ลูกโซ่ ถือว่าเป็นการฉ้อโกงประชาชนได้ #เพราะไม่ได้เน้นที่การขายสินค้าและรายได้ส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากการขายสินค้า

    ประเภทที่ 2. #รายได้มาจากการสมัครสมาชิก และ #การบังคับซื้อสินค้า วิธีการนี้ดูเผินๆเหมือนจะเป็นการตั้งใจประกอบธุรกิจ แต่ถ้าดูให้ละเอียดจะพบว่า ไม่ได้มีเจตนาประกอบธุรกิจจริงๆ #แต่เป็นการหลอกให้ซื้อสินค้าไปเยอะๆแต่ไม่สามารถขายสินค้าได้ ฉะนั้น รายได้จริงๆของเจ้าของธุรกิจ จึงไม่ใช่ผลกำไรจากการขายสินค้าทั่วไป #แต่เป็นรายได้ที่ได้จากการให้สมาชิกต้องซื้อสินค้าจำนวนหนึ่ง [** รายได้ของธุรกิจ จะต้องได้จากการขายสินให้คนทั่วไป ไม่ใช่รายได้จากการบังคับให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวน มากๆ / เรียกว่า ""รายได้หรือกำไรเทียม"" ] วิธีการแบบนี้เข้าลักษณะแชร์ลูกโซ่เช่นกัน เพราะรายได้ที่แท้จริงไม่ได้เกิดจากการขายสินค้าทั่วไป #แต่เกิดจากการหลอกลวงให้สมาชิกซื้อสินค้าจำนวนมากๆ

    ประเภที่ 3. #รายได้มาจากการาขายสินค้าทั่วไป ธุรกิจประเภทนี้ถือเป็นธุรกิจทั่วๆไป คือ นำสินออกขาย ถ้าขายได้ก็ได้กำไร ถ้าขายไม่ได้ก็ขาดทุน โดยจะไม่มีรายได้จากค่าสมาชิก หรือรายได้จากการบังคับซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ

    #ธุรกิจที่กำลังเป็นข่าวดังอยู่ในตอนนี้ เข้าลักษณะที่ 2. คือ มีสินค้าจริง แต่จะให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ #แต่สินค้าจะขายไม่ได้ หรือจะขายได้น้อย #และถ้าไปดูรายได้ของบริษัทแม่จริงๆ ก็จะพบว่ รายได้หรือกำไร #มาจากการซื้อสินค้าของสมาชิก ส่วนสมาชิกจะนำสินค้าไปขายได้หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง

    เมื่อรายได้หรือกำไรของบริษัท ไม่ได้เกิดจากการขายสินค้าให้แก่คนทั่วไป แต่เกิดจากการซื้ของสมาชิกเอง ก็แสดงว่า #รายได้หรือกำไรของบริษัทนั้นมีขึ้นก่อนที่จะนำสินค้าออกขายให้แก่คนทั่วไปโดยสมาชิก

    ดู ไทมไลน์ ดังนี้
    1. ผลิตสินค้า
    2.หาสมาชิก
    3. ให้สมาชิกซื้อสินค้าจำนวนมาก [** รายได้ของบริษัท]
    4. สมาชิกนำสินค้าที่ซื้อไปขาย

    จะเห็นว่า รายได้ของบริษัท #เกิดขึ้นก่อน ที่สมาชิกจะเอาสินค้าไปขาย และเป็นรายได้ที่มาจากสมาชิกเอง

    วิธีการที่จะหลอกสมาชิกให้มาสมัครเป็นสมาชิก และให้ซื้อสินค้าในจำนวนมากๆได้นั้น จะต้องอาศัยเครื่องมือ ที่เรียกว่า ""#ดาราหรืออินฟลูเอ็นเซอร์"" ธุรกิจพวกนี้จะให้ดาราหรืออินฟลูเอ็นเซอร์มาช่วยโปรโมทธุรกิจของตนเอง

    "" #โดยมีวัตถุประสงค์ให้สมาชิกตัดสินใจซื้อสินค้าให้เยอะขึ้น ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ให้สมาชิกนำสินค้าไปขายได้ง่ายขึ้น ..........""

    ดู คำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 2901/2547 วินิจฉัยว่า
    "" ถ้ารายได้หรือผลกำไร มาจากค่าสมัครสมาชิก และจะได้มากขึ้นเมื่อสามารถชักชวนคนอื่นให้เข้ามาเป็นสมาชิกได้ #อันแสดงว่ารายได้หรือผลกำไรไม่ได้ขึ้นอยู่กับสินค้าหรือบริการ แต่ขึ้นอยู่กับการชักชวนหรือการหาสมาชิกให้ได้จำนวนมากๆ #และเมื่อรายได้หรือผลกำไรเกิดจากค่าสมัครสมาชิกไม่ได้เกิดจากสินค้าหรือบริการโดยตรง จึงต้องตามความหมายของบทนิยามคำว่า "กู้ยืมเงิน" และ "ผลประโยชน์ตอบแทน" ตาม พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.ก.การกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนฯ ม. 3 จึงเป็นความผิดฐานร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน ....."

    ดู คำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 1172/2566 วินิจฉัยว่า
    "" จำเลย ชักชวนให้ผู้เสียหายร่วมลงทุนในกิจการและธุรกิจของจำเลย #แต่จำเลยกลับไม่มีกิจการใดๆเลยที่จะให้ผลประโยชน์ตอบแทนได้ตามที่จำเลยโฆษณา ดังนั้น การโฆษณาชักชวนของจำเลยจึงเป็นการหลอกลวง อันเป็นความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ""

    ดู คำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 326/2566 วินิจฉัยว่า
    "" จำเลย ชักชวนให้ผู้เสียหายร่วมลงทุน กับ บริษัท อ. แต่กลับพบว่า ในขณะที่จำเลยชักชวนให้ผู้เสียหายร่วมลงทุนนั้น บริษัท อ. #ไม่ได้จดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทตามกฎหมาย ซึ่งการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทหรือไม่นั้น ถือเป็นสาระสำคัญที่ทำให้ผู้เสียหายร่วมลงทุน เมื่อจำเลยรู้อยู่แล้วว่า บริษัท อ.นั้น ยังไม่ได้จดทะเบียนตั้งบริษัท #แต่กลับปกปิดความจริงข้อนี้เอาไว้ จึงเป็นความผิดฐานฉ้อโกง .....""

    #คดีตามข่าว เส้นแบ่งว่าจะเป็นฉ้อโกงหรือไม่ ให้ดูจากรายได้ของบริษัท ว่า รายได้หรือกำไรมาจากการที่สมาชิกขายสินค้าให้แก่บุคคลทั่วไปได้ หรือเป็นรายได้หรือกำไรที่ได้มาจากการซื้อสินค้าของสมาชิกเอง ถ้ารายได้ของบริษัท ไม่ได้เกิดจากการขายสินค้าให้แก่บุคคลทั่วๆไป แต่เกิดจากการบังคับหรือหลอกลวงให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ แบบนี้ก็จะเข้าข่ายฉ้อโกง โดยศาลจะถือว่า ""#รู้อยู่แล้วว่าสินค้าไม่สามารถขายได้"" และการใช้ดาราหรืออินฟลูเอ็นเซอร์มาโฆษณานั้น #ก็ด้วยวัตถุประสงค์ให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ส่งเสริมการขายหรือช่วยให้สมาชิกขายสินค้าได้แต่อย่างใด

    (1) รายได้บริษัท มาจากการซื้อสินค้าของสมาชิก
    (2) การใช้ดารามาโฆษณา เพื่อให้สมาชิกตัดสินใจซื้อสินค้าง่ายขึ้น
    (3) บริษัทได้รายได้ไปก่อนที่สมาชิกจะนำสินค้าไปขาย
    (4) พยายามชักจูงใจให้สมาชิกซื้อสินค้ามากกว่าขายสินค้าทั่วไป
    (5) สมาชิกตัดสินใจซื้อสินค้าเพราะโฆษณาไม่ใช่เกิดจากการใช้จริง
    (6) บริษัทเน้นรายได้ที่จะไดจากสมาชิกเป็นหลัก โดยไม่สนใจว่าสมาชิกจะขายสินค้าได้หรือไม่
    (7) สุดท้ายบริษัทเท่านั้นที่มีรายได้ ส่วนสมาชิกส่วนใหญ่ขาดทุน เพราะขายสินค้าไม่ได้ แต่ต้องจ่ายเงินให้บริษัทเพื่อซื้อสินค้าไปก่อน
    (8) สมาชิกสนใจธุรกิจ เพราะ การโฆษณาชวนเชื่อ #ไม่ได้สนใจ #เพราะสินค้าขายดี

    จะเห็นว่า ธุรกิจแบบนี้ มีลักษณะที่ดูยากว่าเป็นการฉ้อโกง เพราะเขามีตัวสินค้าอยู่จริง และสินค้าเขาอาจจะดีจริงก็ได้เช่นกัน #แต่ขอให้ดูรายได้ของบริษัทว่ามาจากอะไร เพราะศาลเองก็จะดูเช่นกันว่า ถ้ามีเจตนาจะขายสินค้าหรือบริการจริงๆ ก็จะต้องเน้นไปที่การขายสินค้าหรือบริการ #และรายได้หลักก็ควรเป็นรายได้จากการขายสินค้าหรือบริการแก่บุคคลทั่วไป ไม่ใช่รายได้หลักเกิดจากการให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ รายได้หลักเกิดการการซื้อสินค้าของสมาชิก #ก็ย่อมแสดงว่า บริษัททราบอยู่ก่อนแล้ว่าสินค้าหรือบริการ ไม่สามารถขายได้หรือถ้าขายได้ก็ทำรายได้ไม่ถึงกับที่ตนเองโฆษณา #ซึ่งในที่สุดสมาชิกก็จะขาดทุนเพราะสินค้าขายไม่ได้ อันถือว่าผิดหลักการค้าขายทั่วไป ที่จะต้อนเน้นไปที่การขายสินค้าให้แก่บุคคลทั่วไปได้ ไม่ใช่เน้นส่งเสริมให้สมาชิกซื้อสินค้าเยอะๆ ""

    Cr: คดีโลกคดีธรรม
    ""ธุรกิจขายสินค้าโดยวิธีการสมัครสมาชิก และให้สมาชิกซื้อสินค้านั้น จะเป็นการฉ้อโกงหรือไม่ จะดูจาก ""#รายได้"" ว่า ได้มาจากอะไร ซึ่งศาลฎีกาเองก็ดูจากรายได้เช่นกัน ว่า #รายได้ที่แท้จริงนั้นมาจากอะไร โดยแบ่งรายได้ออกเป็น 3 ประเภท ประเภทที่ 1. #รายได้จากการสมัครสมาชิก ถ้ารายได้ส่วนใหญ่มาจากค่าสมัครสมาชิก และมีแนวทางการประกอบกิจการไปที่การแนะนำให้หาสมาชิกเป็นส่วนใหญ่ วิธีการแบบนี้ เข้าลักษณะแชร์ลูกโซ่ ถือว่าเป็นการฉ้อโกงประชาชนได้ #เพราะไม่ได้เน้นที่การขายสินค้าและรายได้ส่วนใหญ่ไม่ได้มาจากการขายสินค้า ประเภทที่ 2. #รายได้มาจากการสมัครสมาชิก และ #การบังคับซื้อสินค้า วิธีการนี้ดูเผินๆเหมือนจะเป็นการตั้งใจประกอบธุรกิจ แต่ถ้าดูให้ละเอียดจะพบว่า ไม่ได้มีเจตนาประกอบธุรกิจจริงๆ #แต่เป็นการหลอกให้ซื้อสินค้าไปเยอะๆแต่ไม่สามารถขายสินค้าได้ ฉะนั้น รายได้จริงๆของเจ้าของธุรกิจ จึงไม่ใช่ผลกำไรจากการขายสินค้าทั่วไป #แต่เป็นรายได้ที่ได้จากการให้สมาชิกต้องซื้อสินค้าจำนวนหนึ่ง [** รายได้ของธุรกิจ จะต้องได้จากการขายสินให้คนทั่วไป ไม่ใช่รายได้จากการบังคับให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวน มากๆ / เรียกว่า ""รายได้หรือกำไรเทียม"" ] วิธีการแบบนี้เข้าลักษณะแชร์ลูกโซ่เช่นกัน เพราะรายได้ที่แท้จริงไม่ได้เกิดจากการขายสินค้าทั่วไป #แต่เกิดจากการหลอกลวงให้สมาชิกซื้อสินค้าจำนวนมากๆ ประเภที่ 3. #รายได้มาจากการาขายสินค้าทั่วไป ธุรกิจประเภทนี้ถือเป็นธุรกิจทั่วๆไป คือ นำสินออกขาย ถ้าขายได้ก็ได้กำไร ถ้าขายไม่ได้ก็ขาดทุน โดยจะไม่มีรายได้จากค่าสมาชิก หรือรายได้จากการบังคับซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ #ธุรกิจที่กำลังเป็นข่าวดังอยู่ในตอนนี้ เข้าลักษณะที่ 2. คือ มีสินค้าจริง แต่จะให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ #แต่สินค้าจะขายไม่ได้ หรือจะขายได้น้อย #และถ้าไปดูรายได้ของบริษัทแม่จริงๆ ก็จะพบว่ รายได้หรือกำไร #มาจากการซื้อสินค้าของสมาชิก ส่วนสมาชิกจะนำสินค้าไปขายได้หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง เมื่อรายได้หรือกำไรของบริษัท ไม่ได้เกิดจากการขายสินค้าให้แก่คนทั่วไป แต่เกิดจากการซื้ของสมาชิกเอง ก็แสดงว่า #รายได้หรือกำไรของบริษัทนั้นมีขึ้นก่อนที่จะนำสินค้าออกขายให้แก่คนทั่วไปโดยสมาชิก ดู ไทมไลน์ ดังนี้ 1. ผลิตสินค้า 2.หาสมาชิก 3. ให้สมาชิกซื้อสินค้าจำนวนมาก [** รายได้ของบริษัท] 4. สมาชิกนำสินค้าที่ซื้อไปขาย จะเห็นว่า รายได้ของบริษัท #เกิดขึ้นก่อน ที่สมาชิกจะเอาสินค้าไปขาย และเป็นรายได้ที่มาจากสมาชิกเอง วิธีการที่จะหลอกสมาชิกให้มาสมัครเป็นสมาชิก และให้ซื้อสินค้าในจำนวนมากๆได้นั้น จะต้องอาศัยเครื่องมือ ที่เรียกว่า ""#ดาราหรืออินฟลูเอ็นเซอร์"" ธุรกิจพวกนี้จะให้ดาราหรืออินฟลูเอ็นเซอร์มาช่วยโปรโมทธุรกิจของตนเอง "" #โดยมีวัตถุประสงค์ให้สมาชิกตัดสินใจซื้อสินค้าให้เยอะขึ้น ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ให้สมาชิกนำสินค้าไปขายได้ง่ายขึ้น .........."" ดู คำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 2901/2547 วินิจฉัยว่า "" ถ้ารายได้หรือผลกำไร มาจากค่าสมัครสมาชิก และจะได้มากขึ้นเมื่อสามารถชักชวนคนอื่นให้เข้ามาเป็นสมาชิกได้ #อันแสดงว่ารายได้หรือผลกำไรไม่ได้ขึ้นอยู่กับสินค้าหรือบริการ แต่ขึ้นอยู่กับการชักชวนหรือการหาสมาชิกให้ได้จำนวนมากๆ #และเมื่อรายได้หรือผลกำไรเกิดจากค่าสมัครสมาชิกไม่ได้เกิดจากสินค้าหรือบริการโดยตรง จึงต้องตามความหมายของบทนิยามคำว่า "กู้ยืมเงิน" และ "ผลประโยชน์ตอบแทน" ตาม พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.ก.การกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนฯ ม. 3 จึงเป็นความผิดฐานร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน ....." ดู คำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 1172/2566 วินิจฉัยว่า "" จำเลย ชักชวนให้ผู้เสียหายร่วมลงทุนในกิจการและธุรกิจของจำเลย #แต่จำเลยกลับไม่มีกิจการใดๆเลยที่จะให้ผลประโยชน์ตอบแทนได้ตามที่จำเลยโฆษณา ดังนั้น การโฆษณาชักชวนของจำเลยจึงเป็นการหลอกลวง อันเป็นความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน "" ดู คำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 326/2566 วินิจฉัยว่า "" จำเลย ชักชวนให้ผู้เสียหายร่วมลงทุน กับ บริษัท อ. แต่กลับพบว่า ในขณะที่จำเลยชักชวนให้ผู้เสียหายร่วมลงทุนนั้น บริษัท อ. #ไม่ได้จดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทตามกฎหมาย ซึ่งการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทหรือไม่นั้น ถือเป็นสาระสำคัญที่ทำให้ผู้เสียหายร่วมลงทุน เมื่อจำเลยรู้อยู่แล้วว่า บริษัท อ.นั้น ยังไม่ได้จดทะเบียนตั้งบริษัท #แต่กลับปกปิดความจริงข้อนี้เอาไว้ จึงเป็นความผิดฐานฉ้อโกง ....."" #คดีตามข่าว เส้นแบ่งว่าจะเป็นฉ้อโกงหรือไม่ ให้ดูจากรายได้ของบริษัท ว่า รายได้หรือกำไรมาจากการที่สมาชิกขายสินค้าให้แก่บุคคลทั่วไปได้ หรือเป็นรายได้หรือกำไรที่ได้มาจากการซื้อสินค้าของสมาชิกเอง ถ้ารายได้ของบริษัท ไม่ได้เกิดจากการขายสินค้าให้แก่บุคคลทั่วๆไป แต่เกิดจากการบังคับหรือหลอกลวงให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ แบบนี้ก็จะเข้าข่ายฉ้อโกง โดยศาลจะถือว่า ""#รู้อยู่แล้วว่าสินค้าไม่สามารถขายได้"" และการใช้ดาราหรืออินฟลูเอ็นเซอร์มาโฆษณานั้น #ก็ด้วยวัตถุประสงค์ให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ส่งเสริมการขายหรือช่วยให้สมาชิกขายสินค้าได้แต่อย่างใด (1) รายได้บริษัท มาจากการซื้อสินค้าของสมาชิก (2) การใช้ดารามาโฆษณา เพื่อให้สมาชิกตัดสินใจซื้อสินค้าง่ายขึ้น (3) บริษัทได้รายได้ไปก่อนที่สมาชิกจะนำสินค้าไปขาย (4) พยายามชักจูงใจให้สมาชิกซื้อสินค้ามากกว่าขายสินค้าทั่วไป (5) สมาชิกตัดสินใจซื้อสินค้าเพราะโฆษณาไม่ใช่เกิดจากการใช้จริง (6) บริษัทเน้นรายได้ที่จะไดจากสมาชิกเป็นหลัก โดยไม่สนใจว่าสมาชิกจะขายสินค้าได้หรือไม่ (7) สุดท้ายบริษัทเท่านั้นที่มีรายได้ ส่วนสมาชิกส่วนใหญ่ขาดทุน เพราะขายสินค้าไม่ได้ แต่ต้องจ่ายเงินให้บริษัทเพื่อซื้อสินค้าไปก่อน (8) สมาชิกสนใจธุรกิจ เพราะ การโฆษณาชวนเชื่อ #ไม่ได้สนใจ #เพราะสินค้าขายดี จะเห็นว่า ธุรกิจแบบนี้ มีลักษณะที่ดูยากว่าเป็นการฉ้อโกง เพราะเขามีตัวสินค้าอยู่จริง และสินค้าเขาอาจจะดีจริงก็ได้เช่นกัน #แต่ขอให้ดูรายได้ของบริษัทว่ามาจากอะไร เพราะศาลเองก็จะดูเช่นกันว่า ถ้ามีเจตนาจะขายสินค้าหรือบริการจริงๆ ก็จะต้องเน้นไปที่การขายสินค้าหรือบริการ #และรายได้หลักก็ควรเป็นรายได้จากการขายสินค้าหรือบริการแก่บุคคลทั่วไป ไม่ใช่รายได้หลักเกิดจากการให้สมาชิกซื้อสินค้าในจำนวนมากๆ รายได้หลักเกิดการการซื้อสินค้าของสมาชิก #ก็ย่อมแสดงว่า บริษัททราบอยู่ก่อนแล้ว่าสินค้าหรือบริการ ไม่สามารถขายได้หรือถ้าขายได้ก็ทำรายได้ไม่ถึงกับที่ตนเองโฆษณา #ซึ่งในที่สุดสมาชิกก็จะขาดทุนเพราะสินค้าขายไม่ได้ อันถือว่าผิดหลักการค้าขายทั่วไป ที่จะต้อนเน้นไปที่การขายสินค้าให้แก่บุคคลทั่วไปได้ ไม่ใช่เน้นส่งเสริมให้สมาชิกซื้อสินค้าเยอะๆ "" Cr: คดีโลกคดีธรรม
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 89 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทนายนิด้า วิเคราะห์คดีดังดิไอคอน เชื่อต่อบริษัทดังไม่ประสงค์กำไรจากสินค้า แต่มุ่งกำไรจากปริมาณสมาชิก ก็มีความผิดเข้าข่ายฉ้อโกง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000098145

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ทนายนิด้า วิเคราะห์คดีดังดิไอคอน เชื่อต่อบริษัทดังไม่ประสงค์กำไรจากสินค้า แต่มุ่งกำไรจากปริมาณสมาชิก ก็มีความผิดเข้าข่ายฉ้อโกง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000098145 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Wow
    Love
    25
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1767 มุมมอง 1 รีวิว
  • เป็นเรื่อง!!
    #เข้าข่ายฉ้-อ-โ-ก-ง ประชาชน
    พี่คิงส์จะแจงให้กระจ่าง นะคับนะ
    1. พรรคที่ชื่อ พรรคประชาชน ที่สามกีบไชโยโห่ร้องดุจจุติใหม่นั้น
    สถานะปัจจุบัน ยังไม่ได้มีการรับรองตามกฏหมาย ถ้าจะให้ถูกต้อง คือต้องใช้ชื่อพรรคเดิมที่ไปเซ๊งมา นั่นคือ ถิ่นกาขาว ชาวศิวิลัย แต่เพราะกลัวพี่คิงส์โพธิ์แดงล้อ หรือยังไงไม่ทราบ รีบโปรว่า พรรคใหม่ชื่อ พรรคประชาชน เปิดตัวพร้อมโลโก้เสร็จสรรพ
    และรู้หรือไม่ กรณีพรรคเดิม โลโก้เดิม ชื่อพรรคเดิม หากกกตยังไม่รับรอง กรณีต้องการเปลี่ยนสีโลโก้ หรือ เปลี่ยนชื่อแปะอาคารที่ทำการพรรค นี่ก็ถือว่าผิดกฏหมาย และกว่าจะผ่านขั้นตอน จนถึงประกาศในราชกิจจา ต้องใช้เวลาหลักเดือน
    2. จากข้อมูลในข้อแรก จะเห็นว่า พรรคประชาชน ยังไม่มีตัวตนอยู่จริงตามกฏหมาย แต่เจี๊ยบ อมเกียร์ รวมถึงหัวๆของพรรคกางเกงในส้ม ต่างร้องแร่โพสปลุกเร้า เอาความคลั่งแค้นมาเปลี่ยนเป็นเงินบริจาค โดยชัดเจนว่า บริจาคให้กับพรรคประชาชน และใบเสร็จก็ออกในนามพรรคประชาชน แต่เมื่อตรวจสอบพบว่า จากเหตุผลข้อที่ 1 บัญชีพรรคประชาชน ไม่มีอยู่จริง ใบเสร็จที่ออกก็ถือว่าเป็นใบเสร็จ ป-ล-อ-ม
    และเมื่อมีคนทักท้วง ตัวตึงพรรคก็แถว่า ก็ฉันโอนเข้าบช.พรรคถิ่นกาขาวไง ทางออกนี้ไม่ฉลาดไปอีก ในเมื่อคุณโปรว่าให้ประชาชนมาบริจาคให้พรรคประชาชน คุณกลับนำเงินไปให้พรรคถิ่นกาขาว ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฏหมาย เพราะคนบอกประชาชนอย่างนึง แต่กลับทำอีกอย่างนึง ผิดกฏหมายทั้งขึ้นทั้งล่อง
    3. เรื่องของรูปแบบการบริจาคที่ผิดมนุษย์มนา อันนี้ อาจเป็นคดีอีกกรรม อีกวาระไปเลย โดยการรับบริจาคของพรรคที่ยังไม่มีอยู่จริงตามกฏหมายจนถึงตอนนี้นั้น ให้แสกนชำระผ่านแพลตฟอร์มชื่อ เปย์โซลูชั่น ซึ่งจะมีค่าธรรมเนียนมตามระบบ ประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ต่อ 1 ทรานซิชั่น
    ประเด็นของข้อที่ 3 นี้คือ พรรคที่ไม่มีอยู่จริงมีสิทธิ์อะไร ที่นำเงินบริจาคของประชาชน ไปจ่าย 3 เปอร์เซ็นต์ค่าธรรมเนียมที่เป็นของบริษัทเอกชน และกำลังสืบว่า เปย์โซลูชั่นนี้ มีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจสร้างซอฟแวร์ของเท้งเต้งด้วยหรือไม่ ยังอยู่ขั้นตอนที่คิงส์กำลังสืบอยู่ แต่ประเด็นนี้ ยังไม่จบแค่การหักค่าธรรมเนียม แต่เปย์โซลูกชั่นเป็นบริษัทเอกชน หรือเป็นนิติบุคคล ที่ไม่ใช่ทั้งรัฐ และพรรคการเมือง ดังนั้น ไม่ต่างจากการห-ล-อ-ก ให้ประชาชนโอนเข้าบัญชี ม้-า ที่เป็นใครก็ไม่รู้ โดยทำให้เข้าใจผิดไปว่านั่นคือ บช.ของพรรคประชาชนที่ยังไม่มีอยู่จริง
    4. ยังไม่จบแค่นั้น มีความเป็นไปได้สูงที่พรรคประชาชน กำลังสร้างโมเดลใหม่ เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบจาก ปปง ในการได้มาซึ่งเงินบริจาค ที่สนับสนุนการล้มล้างการปกครองจากต่างประเทศ เพราะหากมีเงินจำนวนมา โอนผ่านช่องทางธนาคารปกติ ปปง และเจ้าหน้าที่่จะสามารถสืบเส้นทางการเงินได้ว่าสุดท้ายแล้ว มาจากอเมริกา ผ่าน ngo อย่างที่เคยจับโป๊ะได้เต็มๆ เพราะถ้าให้โมเดลใหม่นี้ เข้ามาครั้งละร้อยล้านก็ทำได้ เพียงแค่สวมชื่อผู้บริจาคโดยเอาบัตรปชชและเลขหลังบัตรที่ระบบขอคนสมัครไว้แตกแรก เอามาเฉลี่ยให้ได้จำนวนที่พอๆกับเงินที่รับเข้า เพียงแค่นี้ถือว่าผ่าน เพราะระบบเปย์โซลูชั่น ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่า ใครคือผู้โอน คล้ายๆกับทรูมันนี่ นี่หละครับ ซึ่งลักษณะนี้ สามารถเข้าข่ายการฟอกเงินได้อีกคดีย์
    ดังนั้น หากมีใครซักคน บริจาคตามระบบโมเดลนี้ แล้วไปดำเนินการทางกฏหมาย จะเข้าข่าย ฉ้-อ-โ-ก-ง ประชาชนทันที โดยเฉพาะตัวที่ลุ้นทุกวัน ชวนทุกคืน เดี๋ยวสิบเดี๋ยวยี่สิบล้านทะลุแล้ว อย่างอิเจี๊ยบอมเกียร์นี่ ออกตัวดีนัก
    แคปไว้ให้หมดแล้วไปแจ้ง ค-ว-า-ม โดนหมายจับทันที ไม่ต้องรอหมายเรียก เนื้อหาในข้อกฏหมายดังนี้ ถ้าอ่านจบทุกท่านจะร้อง อ๋อ ไม่รอด
    "ฉ้-อ-โ-ก-ง-ประชาชน ด้วยการห-ล-อ-กประชาชนทั่วไป โดยแสดงข้อความเท็จหรือปกปิดความจริงเพื่อเอาทรัพย์สินคนอื่นหรือ ให้คนอื่นทำ ถอน ทำลายเอกสารสิทธิ มีโทษ จำ-คุ-กไม่เกิน 5 ปี หรือปรับ 100,000 บาท หรือทั้งจำ-ทั้งป-รั-บ ฉ้-อ-โ-ก-งประชาชนโดยแสดงเป็นคนอื่น มีโทษ จำ-คุ-ก 6 เดือน ถึง 7 ปี และป-รั-บ 10,000 – 140,000 บาท"
    #คิงส์โพธิ์แดง
    เป็นเรื่อง!! #เข้าข่ายฉ้-อ-โ-ก-ง ประชาชน พี่คิงส์จะแจงให้กระจ่าง นะคับนะ 1. พรรคที่ชื่อ พรรคประชาชน ที่สามกีบไชโยโห่ร้องดุจจุติใหม่นั้น สถานะปัจจุบัน ยังไม่ได้มีการรับรองตามกฏหมาย ถ้าจะให้ถูกต้อง คือต้องใช้ชื่อพรรคเดิมที่ไปเซ๊งมา นั่นคือ ถิ่นกาขาว ชาวศิวิลัย แต่เพราะกลัวพี่คิงส์โพธิ์แดงล้อ หรือยังไงไม่ทราบ รีบโปรว่า พรรคใหม่ชื่อ พรรคประชาชน เปิดตัวพร้อมโลโก้เสร็จสรรพ และรู้หรือไม่ กรณีพรรคเดิม โลโก้เดิม ชื่อพรรคเดิม หากกกตยังไม่รับรอง กรณีต้องการเปลี่ยนสีโลโก้ หรือ เปลี่ยนชื่อแปะอาคารที่ทำการพรรค นี่ก็ถือว่าผิดกฏหมาย และกว่าจะผ่านขั้นตอน จนถึงประกาศในราชกิจจา ต้องใช้เวลาหลักเดือน 2. จากข้อมูลในข้อแรก จะเห็นว่า พรรคประชาชน ยังไม่มีตัวตนอยู่จริงตามกฏหมาย แต่เจี๊ยบ อมเกียร์ รวมถึงหัวๆของพรรคกางเกงในส้ม ต่างร้องแร่โพสปลุกเร้า เอาความคลั่งแค้นมาเปลี่ยนเป็นเงินบริจาค โดยชัดเจนว่า บริจาคให้กับพรรคประชาชน และใบเสร็จก็ออกในนามพรรคประชาชน แต่เมื่อตรวจสอบพบว่า จากเหตุผลข้อที่ 1 บัญชีพรรคประชาชน ไม่มีอยู่จริง ใบเสร็จที่ออกก็ถือว่าเป็นใบเสร็จ ป-ล-อ-ม และเมื่อมีคนทักท้วง ตัวตึงพรรคก็แถว่า ก็ฉันโอนเข้าบช.พรรคถิ่นกาขาวไง ทางออกนี้ไม่ฉลาดไปอีก ในเมื่อคุณโปรว่าให้ประชาชนมาบริจาคให้พรรคประชาชน คุณกลับนำเงินไปให้พรรคถิ่นกาขาว ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฏหมาย เพราะคนบอกประชาชนอย่างนึง แต่กลับทำอีกอย่างนึง ผิดกฏหมายทั้งขึ้นทั้งล่อง 3. เรื่องของรูปแบบการบริจาคที่ผิดมนุษย์มนา อันนี้ อาจเป็นคดีอีกกรรม อีกวาระไปเลย โดยการรับบริจาคของพรรคที่ยังไม่มีอยู่จริงตามกฏหมายจนถึงตอนนี้นั้น ให้แสกนชำระผ่านแพลตฟอร์มชื่อ เปย์โซลูชั่น ซึ่งจะมีค่าธรรมเนียนมตามระบบ ประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ต่อ 1 ทรานซิชั่น ประเด็นของข้อที่ 3 นี้คือ พรรคที่ไม่มีอยู่จริงมีสิทธิ์อะไร ที่นำเงินบริจาคของประชาชน ไปจ่าย 3 เปอร์เซ็นต์ค่าธรรมเนียมที่เป็นของบริษัทเอกชน และกำลังสืบว่า เปย์โซลูชั่นนี้ มีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจสร้างซอฟแวร์ของเท้งเต้งด้วยหรือไม่ ยังอยู่ขั้นตอนที่คิงส์กำลังสืบอยู่ แต่ประเด็นนี้ ยังไม่จบแค่การหักค่าธรรมเนียม แต่เปย์โซลูกชั่นเป็นบริษัทเอกชน หรือเป็นนิติบุคคล ที่ไม่ใช่ทั้งรัฐ และพรรคการเมือง ดังนั้น ไม่ต่างจากการห-ล-อ-ก ให้ประชาชนโอนเข้าบัญชี ม้-า ที่เป็นใครก็ไม่รู้ โดยทำให้เข้าใจผิดไปว่านั่นคือ บช.ของพรรคประชาชนที่ยังไม่มีอยู่จริง 4. ยังไม่จบแค่นั้น มีความเป็นไปได้สูงที่พรรคประชาชน กำลังสร้างโมเดลใหม่ เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบจาก ปปง ในการได้มาซึ่งเงินบริจาค ที่สนับสนุนการล้มล้างการปกครองจากต่างประเทศ เพราะหากมีเงินจำนวนมา โอนผ่านช่องทางธนาคารปกติ ปปง และเจ้าหน้าที่่จะสามารถสืบเส้นทางการเงินได้ว่าสุดท้ายแล้ว มาจากอเมริกา ผ่าน ngo อย่างที่เคยจับโป๊ะได้เต็มๆ เพราะถ้าให้โมเดลใหม่นี้ เข้ามาครั้งละร้อยล้านก็ทำได้ เพียงแค่สวมชื่อผู้บริจาคโดยเอาบัตรปชชและเลขหลังบัตรที่ระบบขอคนสมัครไว้แตกแรก เอามาเฉลี่ยให้ได้จำนวนที่พอๆกับเงินที่รับเข้า เพียงแค่นี้ถือว่าผ่าน เพราะระบบเปย์โซลูชั่น ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่า ใครคือผู้โอน คล้ายๆกับทรูมันนี่ นี่หละครับ ซึ่งลักษณะนี้ สามารถเข้าข่ายการฟอกเงินได้อีกคดีย์ ดังนั้น หากมีใครซักคน บริจาคตามระบบโมเดลนี้ แล้วไปดำเนินการทางกฏหมาย จะเข้าข่าย ฉ้-อ-โ-ก-ง ประชาชนทันที โดยเฉพาะตัวที่ลุ้นทุกวัน ชวนทุกคืน เดี๋ยวสิบเดี๋ยวยี่สิบล้านทะลุแล้ว อย่างอิเจี๊ยบอมเกียร์นี่ ออกตัวดีนัก แคปไว้ให้หมดแล้วไปแจ้ง ค-ว-า-ม โดนหมายจับทันที ไม่ต้องรอหมายเรียก เนื้อหาในข้อกฏหมายดังนี้ ถ้าอ่านจบทุกท่านจะร้อง อ๋อ ไม่รอด "ฉ้-อ-โ-ก-ง-ประชาชน ด้วยการห-ล-อ-กประชาชนทั่วไป โดยแสดงข้อความเท็จหรือปกปิดความจริงเพื่อเอาทรัพย์สินคนอื่นหรือ ให้คนอื่นทำ ถอน ทำลายเอกสารสิทธิ มีโทษ จำ-คุ-กไม่เกิน 5 ปี หรือปรับ 100,000 บาท หรือทั้งจำ-ทั้งป-รั-บ ฉ้-อ-โ-ก-งประชาชนโดยแสดงเป็นคนอื่น มีโทษ จำ-คุ-ก 6 เดือน ถึง 7 ปี และป-รั-บ 10,000 – 140,000 บาท" #คิงส์โพธิ์แดง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 498 มุมมอง 0 รีวิว