อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา.
สัทธรรมลำดับที่ : 677
ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
[ตอนอุทเทส]
--บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค
อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
--ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
--ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ
การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน),
ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู
ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น.
ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข,
ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน.
ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ;
ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ;
ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ;
ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้.
นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ
(การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก).
[ตอนนิทเทส]
--ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง
เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน
เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส
ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค)
อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก
อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า
“บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน
เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์
ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์”
ดังนี้,
คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว.
--ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า
“ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน”
ดังนี้
--นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง
อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
....
--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ;
ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์
ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ
ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา
เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) .
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕.
http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
--- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.)
--ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ
อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ),
นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม),
มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง).
--ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า
“โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้
เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย :
+--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา).
--ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว
เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ
ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา
ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์...
....ฯลฯ....
+--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา).
--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ;
ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ;
ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ :
+--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.-
(อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้
แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค
ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน.
ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา
จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597.
http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗.
http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 677
ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
[ตอนอุทเทส]
--บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค
อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
--ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
--ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ
การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน),
ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู
ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น.
ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข,
ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน.
ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ;
ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ;
ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ;
ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้.
นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ
(การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก).
[ตอนนิทเทส]
--ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง
เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน
เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส
ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค)
อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก
อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า
“บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน
เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์
ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์”
ดังนี้,
คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว.
--ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า
“ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน”
ดังนี้
--นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง
อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
....
--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ;
ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์
ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ
ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา
เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) .
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕.
http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
--- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.)
--ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ
อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ),
นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม),
มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง).
--ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า
“โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้
เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย :
+--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา).
--ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว
เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ
ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา
ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์...
....ฯลฯ....
+--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา).
--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ;
ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ;
ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ :
+--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.-
(อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้
แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค
ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน.
ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา
จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597.
http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗.
http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา.
สัทธรรมลำดับที่ : 677
ชื่อบทธรรม :- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลีอรณวิภังคสูตรมัชฌิมนิกาย)
[ตอนอุทเทส]
--บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่ง กามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และไม่พึงตามประกอบซึ่ง อัตตกิลมถานุโยค
อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
--ต่อไปนี้เป็น ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
--ควรรู้จักการกระทำที่เป็นการเชิดชู (อุสฺสาทน) และ
การกระทำที่เป็นการขับไล่ไสส่ง (อปสาทน),
ครั้นรู้แล้ว ไม่พึงกระทำการแกล้งเชิดชู
ไม่พึงกระทำการขับไล่ไสส่ง พึงแสดงแต่ที่เป็นธรรมเท่านั้น.
ควรรู้จักวินิจฉัยในกรณีแห่งความสุข,
ครั้นรู้แล้ว พึงตามประกอบซึ่งความสุขในภายใน.
ไม่ควรกล่าว รโหวาทะ (การกล่าวในที่ลับหลัง) ที่ไม่ควรกล่าว ;
ไม่ควรกล่าวอติขีณวาท (การกล่าวใส่หน้า) ที่ไม่ควรกล่าว ;
ไม่ควรกล่าวอย่างรีบร้อนจนปากสั่นเสียงสั่น ;
ไม่พึงยึดถือภาษาพูดของชาวเมือง ไม่เพิกถอนโลกสมัญญา (ภาษาพูดของชาวโลก) ; ดังนี้.
นี้คือหัวข้อ (อุทฺเทส) แห่งอรณวิภังคะ
(การแยกธรรมอันไม่เป็นข้าศึก ออกเสียจากธรรมที่เป็นข้าศึก).
[ตอนนิทเทส]
--ธรรมใดซึ่งเป็นการตามประกอบซึ่งโสมนัส ของผู้มีสุขอันเนื่อง
เฉพาะอยู่ด้วยกาม เป็นการกระทำต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วย ความเผาลน
เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบด้วยโสมมัส
ของผู้มีสุขอันเนื่องเฉพาะอยู่ด้วยกาม อันเป็นการประกอบด้วยโสมนัสซึ่งต่ำทราม
เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็น ข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด เป็นการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก (อตฺตกิลม ถานุโยค)
อันเป็นการกระทำที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ประกอบด้วยทุกข์ ประกอบด้วยความคับแค้น
ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นมิจฉาปฏิปทา (เป็นข้าศึกต่อ มัชฌิมาปฏิปทา).
--ธรรมใด ไม่เป็นการตามประกอบ ซึ่งการตามประกอบในการทำตนให้ลำบาก
อันเป็นการตามประกอบที่เป็นทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์,
ธรรมนั้น ไม่ประกอบด้วยทุกข์ ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น
ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ ไม่ประกอบด้วยความเผาลน
เป็นสัมมาปฏิปทา (ไม่เป็นข้าศึกต่อมัชฌิมาปฏิปทา).
--คำใด ที่เรากล่าวแล้วว่า
“บุคคลไม่พึงตามประกอบซึ่งกามสุข อันเป็นสุขที่ต่ำทราม เป็นของชาวบ้าน
เป็นของคนชั้นบุถุชน มิใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
และไม่พึงตามประกอบซึ่งอัตตกิลมถานุโยค อันนำมาซึ่งความทุกข์
ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์”
ดังนี้,
คำนั้นเราอาศัยเหตุผล (ดังกล่าวข้างบน) นี้ กล่าวแล้ว.
--ก็คำที่เรากล่าวแล้วว่า
“ต่อไปนี้เป็นข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
ที่ไม่ดิ่งไปหาสิ่งสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน”
ดังนี้
--นั้น(คำว่ามัชฌิมาปฏิปทาในที่นี้) เรากล่าวแล้วหมายถึงอะไร ? หมายถึง
อริยอัฎฐังคิกมรรคนี้ นั่นเทียว กล่าวคือ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
....
--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานี้ ใดอันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน ;
ธรรม (มัชฌิมาปฏิปทา) นั้น เป็นธรรมไม่ประกอบด้วยทุกข์
ไม่ประกอบด้วยความคับแค้น ไม่ประกอบด้วยความแห้งผากในใจ
ไม่ประกอบด้วยความเผาลน เป็นสัมมาปฏิปทา
เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้นจึงชื่อว่า ธรรมไม่เป็นข้าศึก (อรณ) .
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก :- อุปริ. ม. ๑๔/๔๒๒-๔๒๔,๔๓๑/๖๕๔-๖๕๖,๖๖๕.
http://etipitaka.com/read/pali/14/422/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
--- ข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา (ตามบาลี ติก.อํ.)
--ภิกษุ ท. ! ปฏิปทา ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง อย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ
อาคาฬ๎หปฏิปทา (ปฏิปทาเปียกแฉะ),
นิชฌามปฏิปทา (ปฏิปทาไหม้เกรียม),
มัชฌิมาปฏิปทา (ปฏิปทาสายกลาง).
--ภิกษุ ท. ! อาคาฬ๎หปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบาง คนในกรณีนี้ มีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ ว่า
“โทษในกามทั้งหลายไม่มี” ดังนี้
เขาย่อมถึงความจมอยู่ในกามทั้งหลาย :
+--นี้เรียกว่า อาคาฬ๎หปฏิปทา (มิใช่ มัชฌิมาปฏิปทา).
--ภิกษุ ท. ! นิชฌามปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
เป็นผู้ปฏิบัติเปลือยกาย มีมรรยาทอันปล่อยทิ้งเสียแล้ว
เป็นผู้ประพฤติเช็ดอุจจาระของตนด้วยมือ
ถือเป็นผู้ไม่รับอาหารที่เขาร้องเชิญว่าท่านผู้เจริญจงมา
ไม่รับอาหารที่เขาร้องนิมนต์...
....ฯลฯ....
+--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า นิชฌามปฏิปทา (มิใช่มัชฌิมาปฏิปทา).
--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญสัมมาสังกัปปะ;
ย่อมเจริญสัมมาวาจา ย่อมเจริญสัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญสัมมาอาชีวะ;
ย่อมเจริญสัมมาวายามะ ย่อมเจริญสัมมาสติ ย่อมเจริญสัมมาสมาธิ :
+--นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.
--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลปฏิปทา ๓ อย่าง.-
(อาคาฬ๎หปฏิปทาและ นิชฌามปฏิปทา สองอย่างนี้
แม้มีชื่อต่างจากกามสุขัลลิกานุโยคและอัตตกิลมถานุโยค
ก็ต่างกันสักว่าชื่อ ส่วนใจความเป็นอย่างเดียวกัน.
ทั้งสองอย่างนี้เป็นปฏิปักษ์ต่อมัชฌิมาปฏิปทา
จึงนำมากล่าวไว้ในที่นี้ ในฐานะเป็นข้าศึกของมัชฌิมาปฏิปทา
).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. 20/288-289/597.
http://etipitaka.com/read/thai/20/288/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก.อํ. ๒๐/๓๘๑-๓๘๒/๕๙๗.
http://etipitaka.com/read/pali/20/381/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=677
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=677
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
146 มุมมอง
0 รีวิว