• เชื่อว่าเพื่อนเพจต้องคุ้นหูคุ้นตากับ ‘คทาหรูอี้’ (หรูอี้/如意 แปลตรงตัวได้ว่า สมดังปรารถนา) บริบทที่เรามักเห็นในนิยาย/ละครจีนบ่อยๆ คือ ฮ่องเต้พระราชทานคทาหรูอี้หยกให้เป็นรางวัลต่อขุนนาง หรือบุรุษสูงศักดิ์มอบคทาหรูอี้ให้สตรีที่ถูกเลือกเป็นภรรยา อย่างเช่นตัวอย่างภาพประกอบยกมาจากละคร <หรูอี้ จอมนางเคียงบัลลังก์> ตอนที่องค์ชายหงอี้ทรงเลือกชิงอิงเป็นพระชายา (รูปประกอบ1 ซ้าย) หรือเป็นวัตถุมงคลเหมาะกับการมอบให้เป็นของขวัญ

    เคยมีคนเขียนถึงคทาหรูอี้มาแล้วบ้าง ด้วยความหมายที่กล่าวถึงข้างต้น และเพื่อนเพจอาจเคยคุ้นกับการที่มีคทาหรูอี้ปรากฏในรูปภาพและรูปปั้นเทพเจ้าจีน และนักบวชนิยมถือคทาหรูอี้ยามสวดมนต์ ว่ากันว่าการใช้คทาหรูอี้เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนานั้นได้รับอิทธิพลมาจากอินเดียโบราณ

    แต่วันนี้ Storyฯ มาคุยเกี่ยวกับคทาหรูอี้ในอีกแง่มุมหนึ่ง... เพื่อนเพจเคยสงสัยเหมือน Storyฯ หรือไม่ว่า เข้าใจล่ะว่าชื่อเป็นมงคล แต่คทาหรูอี้ออกจะเทอะทะ... มันไม่มีประโยชน์อื่นนอกจากตั้งโชว์หรือถือไว้เท่ๆ เลยหรือ?

    จากภาพวาดโบราณ (รูปประกอบ 1 ขวา) จะเห็นว่าคทาหรูอี้เป็นของใช้ติดมือของชาวบ้าน โดยเฉพาะผู้แก่ผู้เฒ่า... แสดงว่ามันต้องมีประโยชน์สิน่ะ เพื่อนเพจพอจะเดากันออกหรือไม่?

    จากข้อมูลที่ทางพิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้ามรวบรวมได้ คทาหรูอี้มีมาแต่สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ประมาณปี 206 ก่อนคริสตศักราช - ปีค.ศ. 220) เดิมถูกใช้เป็นไม้เกาหลัง เรียกว่า ‘หรูอี้’ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ‘ไม่ง้อใคร’ (不求人/ปู้ฉิวเหริน) แรกเริ่มมีรูปทรงคล้ายมือ โดยในบันทึกสมัยราชวงศ์ชิง (事物异名录/ซื่ออู้อี้หมิงลู่) ได้เขียนไว้ว่า “หรูอี้นั้นไซร้ เป็นไม้กรงเล็บ”

    นอกจากนี้ ยังมีบทความสมัยราชวงศ์เหนือใต้ว่ามีการใช้คทาหรูอี้เป็นไม้ส่งสัญญาณเคลื่อนทัพในยามศึก นัยว่าเพื่อให้ชนะศึกได้ดังใจหมาย

    คทาหรูอี้กลายเป็นวัตถุประจำตัวที่คนนิยมพกพาเพราะชื่อเป็นมงคลและใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ใช้เป็นอาวุธป้องกันตัวก็ได้ จึงพัฒนารูปแบบให้สวยงามมากขึ้น ว่ากันว่าในสมัยราชวงศ์เหนือใต้นั้นใช้กันแพร่หลายในหลายแคว้นทั้งในวังและนอกวัง โดยสมัยนั้นนิยมให้ด้ามจับโค้งเป็นทรงกลุ่มดาวจระเข้ ตัวด้ามกลมมนเพื่อให้จับถนัดมือ ทำจากไม้ ไม้ไผ่หรือโลหะ มีใช้กันตั้งแต่ในวังยันชาวบ้านธรรมดานอกวัง ต่อมาในยุคสมัยราชวงศ์ถังจึงทำด้ามจับให้แบนลงและเป็นเส้นตรง โค้งที่ปลายหัว

    นานวันเข้า เมื่อถึงสมัยหมิงและชิง คทาหรูอี้กลายเป็นที่นิยมอย่างมากในฐานะวัตถุมงคลที่ใช้ประดับบ้านเรือนหรือของขวัญ เป็นหนึ่งในสิ่งที่ควรมีในสินสอดของหมั้นของแต่งงาน จึงมีรูปแบบที่วิจิตรขึ้น รูปทรงที่เราคุ้นตาคือหัวเป็นทรงเห็ดหลินจือ โดยเฉพาะในยุคสมัยชิงนั้น คทาหรูอี้เป็นที่นิยมมากในวัง ไม่ว่าจะในงานราชประเพณี การแต่งตั้งขุนนาง การรับทูตจากต่างแดน ฯลฯ ล้วนต้องมีการถือคทาหรูอี้เพื่อเป็นสัญลักษณ์มงคล

    ปัจจุบันในพิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้ามมีการเก็บรักษาคทาหรูอี้โบราณไว้กว่าสองพันชิ้นโดยส่วนใหญ่เป็นของสมัยชิง วัสดุที่ใช้ทำคทาหรูอี้นั้นหลากหลาย มีทั้งหยกชนิดต่างๆ ปะการัง ทองคำ เงิน ทองเหลือง งาช้าง ไม้ไผ่และไม้ชนิดต่างๆ และมีการแกะสลักลวดลายมากมายลงบนคทา

    Storyฯ เคยไปเที่ยวเมื่อนานมากแล้ว จำไม่ได้เลยว่าได้เคยเห็นอะไรในพิพิธภัณฑ์นี้บ้าง เพื่อนเพจท่านใดเคยผ่านตาก็มาเล่าสู่กันฟังได้นะคะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://www.jianshu.com/p/faa99f5d9868
    https://new.qq.com/rain/a/20211210A027EU00
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.mct.gov.cn/whzx/zsdw/ggbwy/202102/t20210210_921534.htm
    https://www.sohu.com/a/508658629_322551
    https://baike.baidu.com/item/如意/254746
    https://new.qq.com/rain/a/20220728A054CG00

    #หรูอี้จอมนางเคียงบัลลังก์ #คทาหรูอี้ #วัตถุมงคลจีน #ไม้เกาหลัง
    เชื่อว่าเพื่อนเพจต้องคุ้นหูคุ้นตากับ ‘คทาหรูอี้’ (หรูอี้/如意 แปลตรงตัวได้ว่า สมดังปรารถนา) บริบทที่เรามักเห็นในนิยาย/ละครจีนบ่อยๆ คือ ฮ่องเต้พระราชทานคทาหรูอี้หยกให้เป็นรางวัลต่อขุนนาง หรือบุรุษสูงศักดิ์มอบคทาหรูอี้ให้สตรีที่ถูกเลือกเป็นภรรยา อย่างเช่นตัวอย่างภาพประกอบยกมาจากละคร <หรูอี้ จอมนางเคียงบัลลังก์> ตอนที่องค์ชายหงอี้ทรงเลือกชิงอิงเป็นพระชายา (รูปประกอบ1 ซ้าย) หรือเป็นวัตถุมงคลเหมาะกับการมอบให้เป็นของขวัญ เคยมีคนเขียนถึงคทาหรูอี้มาแล้วบ้าง ด้วยความหมายที่กล่าวถึงข้างต้น และเพื่อนเพจอาจเคยคุ้นกับการที่มีคทาหรูอี้ปรากฏในรูปภาพและรูปปั้นเทพเจ้าจีน และนักบวชนิยมถือคทาหรูอี้ยามสวดมนต์ ว่ากันว่าการใช้คทาหรูอี้เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนานั้นได้รับอิทธิพลมาจากอินเดียโบราณ แต่วันนี้ Storyฯ มาคุยเกี่ยวกับคทาหรูอี้ในอีกแง่มุมหนึ่ง... เพื่อนเพจเคยสงสัยเหมือน Storyฯ หรือไม่ว่า เข้าใจล่ะว่าชื่อเป็นมงคล แต่คทาหรูอี้ออกจะเทอะทะ... มันไม่มีประโยชน์อื่นนอกจากตั้งโชว์หรือถือไว้เท่ๆ เลยหรือ? จากภาพวาดโบราณ (รูปประกอบ 1 ขวา) จะเห็นว่าคทาหรูอี้เป็นของใช้ติดมือของชาวบ้าน โดยเฉพาะผู้แก่ผู้เฒ่า... แสดงว่ามันต้องมีประโยชน์สิน่ะ เพื่อนเพจพอจะเดากันออกหรือไม่? จากข้อมูลที่ทางพิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้ามรวบรวมได้ คทาหรูอี้มีมาแต่สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ประมาณปี 206 ก่อนคริสตศักราช - ปีค.ศ. 220) เดิมถูกใช้เป็นไม้เกาหลัง เรียกว่า ‘หรูอี้’ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ‘ไม่ง้อใคร’ (不求人/ปู้ฉิวเหริน) แรกเริ่มมีรูปทรงคล้ายมือ โดยในบันทึกสมัยราชวงศ์ชิง (事物异名录/ซื่ออู้อี้หมิงลู่) ได้เขียนไว้ว่า “หรูอี้นั้นไซร้ เป็นไม้กรงเล็บ” นอกจากนี้ ยังมีบทความสมัยราชวงศ์เหนือใต้ว่ามีการใช้คทาหรูอี้เป็นไม้ส่งสัญญาณเคลื่อนทัพในยามศึก นัยว่าเพื่อให้ชนะศึกได้ดังใจหมาย คทาหรูอี้กลายเป็นวัตถุประจำตัวที่คนนิยมพกพาเพราะชื่อเป็นมงคลและใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ใช้เป็นอาวุธป้องกันตัวก็ได้ จึงพัฒนารูปแบบให้สวยงามมากขึ้น ว่ากันว่าในสมัยราชวงศ์เหนือใต้นั้นใช้กันแพร่หลายในหลายแคว้นทั้งในวังและนอกวัง โดยสมัยนั้นนิยมให้ด้ามจับโค้งเป็นทรงกลุ่มดาวจระเข้ ตัวด้ามกลมมนเพื่อให้จับถนัดมือ ทำจากไม้ ไม้ไผ่หรือโลหะ มีใช้กันตั้งแต่ในวังยันชาวบ้านธรรมดานอกวัง ต่อมาในยุคสมัยราชวงศ์ถังจึงทำด้ามจับให้แบนลงและเป็นเส้นตรง โค้งที่ปลายหัว นานวันเข้า เมื่อถึงสมัยหมิงและชิง คทาหรูอี้กลายเป็นที่นิยมอย่างมากในฐานะวัตถุมงคลที่ใช้ประดับบ้านเรือนหรือของขวัญ เป็นหนึ่งในสิ่งที่ควรมีในสินสอดของหมั้นของแต่งงาน จึงมีรูปแบบที่วิจิตรขึ้น รูปทรงที่เราคุ้นตาคือหัวเป็นทรงเห็ดหลินจือ โดยเฉพาะในยุคสมัยชิงนั้น คทาหรูอี้เป็นที่นิยมมากในวัง ไม่ว่าจะในงานราชประเพณี การแต่งตั้งขุนนาง การรับทูตจากต่างแดน ฯลฯ ล้วนต้องมีการถือคทาหรูอี้เพื่อเป็นสัญลักษณ์มงคล ปัจจุบันในพิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้ามมีการเก็บรักษาคทาหรูอี้โบราณไว้กว่าสองพันชิ้นโดยส่วนใหญ่เป็นของสมัยชิง วัสดุที่ใช้ทำคทาหรูอี้นั้นหลากหลาย มีทั้งหยกชนิดต่างๆ ปะการัง ทองคำ เงิน ทองเหลือง งาช้าง ไม้ไผ่และไม้ชนิดต่างๆ และมีการแกะสลักลวดลายมากมายลงบนคทา Storyฯ เคยไปเที่ยวเมื่อนานมากแล้ว จำไม่ได้เลยว่าได้เคยเห็นอะไรในพิพิธภัณฑ์นี้บ้าง เพื่อนเพจท่านใดเคยผ่านตาก็มาเล่าสู่กันฟังได้นะคะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://www.jianshu.com/p/faa99f5d9868 https://new.qq.com/rain/a/20211210A027EU00 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.mct.gov.cn/whzx/zsdw/ggbwy/202102/t20210210_921534.htm https://www.sohu.com/a/508658629_322551 https://baike.baidu.com/item/如意/254746 https://new.qq.com/rain/a/20220728A054CG00 #หรูอี้จอมนางเคียงบัลลังก์ #คทาหรูอี้ #วัตถุมงคลจีน #ไม้เกาหลัง
    WWW.JIANSHU.COM
    【如懿传|如懿】年少情深,也可以走到相看两厌
    一出墙头马上,两心相许。山河依旧,唯人兰因絮果。 如懿的一生都把真心付给了自己的少年郎,年少时的扶持,无人之巅的陪伴,病榻前的守护,相比于甄嬛,她更加令人心疼。 执着勇敢是她...
    Like
    1
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 243 มุมมอง 0 รีวิว
  • แม่หนุ่มขับเครนตึกถล่ม เผยลางสังหรณ์ฝันลูกชายติดคุกคืนก่อนเกิดเหตุ ครอบครัวเศร้าเพิ่งเสียพ่อไปเมื่อปีที่ผ่านมา คนตายบอกสงกรานต์นี้ จะกลับมาบวชให้ แต่บุญไม่ถึงต้องมาเสียชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวที่พม่าเสียก่อน

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030083
    แม่หนุ่มขับเครนตึกถล่ม เผยลางสังหรณ์ฝันลูกชายติดคุกคืนก่อนเกิดเหตุ ครอบครัวเศร้าเพิ่งเสียพ่อไปเมื่อปีที่ผ่านมา คนตายบอกสงกรานต์นี้ จะกลับมาบวชให้ แต่บุญไม่ถึงต้องมาเสียชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวที่พม่าเสียก่อน อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030083
    Sad
    Like
    9
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 589 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอนิมิตตวิหารีบุรุษ (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต)
    สัทธรรมลำดับที่ : 571
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571
    ชื่อบทธรรม :- ผู้อนิมิตตวิหารี
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้อนิมิตตวิหารี
    ...
    ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะชื่นชมยินดีภาษิต
    ของท้าวติสสพรหม(มีหกบุคคลผู้มีอุปทานข้นธ์)​
    แล้ว หายจากพรหมโลกไปปรากฏที่เขาคิชฌกูฏ
    เหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น
    แล้วท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
    ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
    ครั้นแล้วได้กราบทูลถ้อยคำสนทนาปราศรัยกับท้าวติสสพรหมทั้งหมด
    แด่พระผู้มีพระภาค ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    ...
    --โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น
    อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ?
    +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค
    จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ด(๗) ผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=สตฺตมํ+อนิมิตฺตวิหารึ+ปุคฺคลํ
    ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”.
    --โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่.
    เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า
    +--“ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต
    เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ;
    เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อ
    เสพเสนาสนะที่สมควร
    คบกัลยาณมิตร
    บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่
    ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น
    อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
    อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่,
    ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่”
    ดังนี้.-
    ...
    --ดูกรโมคคัลลานะ​ ! เทวดาเหล่านั้น
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้อย่างนี้ในบุคคลผู้มีอุปาทานขันธ์เหลือว่า #มีอุปาทานขันธ์เหลือ
    ...

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/65/53.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/65/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๙/๕๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=571
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอนิมิตตวิหารีบุรุษ (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) สัทธรรมลำดับที่ : 571 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 ชื่อบทธรรม :- ผู้อนิมิตตวิหารี เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้อนิมิตตวิหารี ... ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะชื่นชมยินดีภาษิต ของท้าวติสสพรหม(มีหกบุคคลผู้มีอุปทานข้นธ์)​ แล้ว หายจากพรหมโลกไปปรากฏที่เขาคิชฌกูฏ เหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น แล้วท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลถ้อยคำสนทนาปราศรัยกับท้าวติสสพรหมทั้งหมด แด่พระผู้มีพระภาค ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ... --โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ? +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ด(๗) ผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ; http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=สตฺตมํ+อนิมิตฺตวิหารึ+ปุคฺคลํ ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”. --โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่. เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า +--“ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ; เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อ เสพเสนาสนะที่สมควร คบกัลยาณมิตร บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่ ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่, ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่” ดังนี้.- ... --ดูกรโมคคัลลานะ​ ! เทวดาเหล่านั้น ย่อมมีญาณหยั่งรู้อย่างนี้ในบุคคลผู้มีอุปาทานขันธ์เหลือว่า #มีอุปาทานขันธ์เหลือ ... #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/65/53. http://etipitaka.com/read/thai/23/65/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๗๙/๕๓. http://etipitaka.com/read/pali/23/79/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=571 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=571 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้อนิมิตตวิหารี
    -ผู้อนิมิตตวิหารี โมคคัลลานะ ! ก็ติสสพรหม มิได้แสดงบุคคลที่เจ็ดอันเป็น อนิมิตตวิหารี (ผู้อยู่ด้วยวิหารธรรมอันไม่มีนิมิต) แก่เธอดอกหรือ ? “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้เป็นกาลสมควรที่พระผู้มีพระภาค จะทรงแสดงซึ่งบุคคลที่เจ็ดผู้เป็นอนิมิตตวิหารี ; ภิกษุทั้งหลายได้ฟังจากพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้”. โมคคัลลานะ ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าถึงซึ่งเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตเพราะไม่กระทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งปวง แล้วแลอยู่. เทวดาเหล่านั้น ย่อมรู้จักภิกษุนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านผู้มีอายุนี้ เข้าถึงเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เพราะไม่ทำไว้ในใจซึ่งนิมิตทั้งหลาย แล้วแลอยู่ ; เป็นที่เชื่อได้ว่า ท่านผู้มีอายุนี้ เมื่อเสพเสนาสนะที่สมควร คบกัลยาณมิตร บ่มอินทรีย์ทั้งหลายอยู่ ก็จะกระทำให้แจ้งซึ่งปริโยสานแห่งพรหมจรรย์นั้น อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อันเป็นประโยชน์ที่ประสงค์ของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่มีเรือนโดยชอบอยู่, ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 239 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปิดเทอม หน้าร้อนวัดต่างๆทั่วประเทศไทย บวชเณรภาคฤดูร้อน ..ชาวพุทธก็ช่วยทำนุบำรุงพุทธศาสนา
    ปิดเทอม หน้าร้อนวัดต่างๆทั่วประเทศไทย บวชเณรภาคฤดูร้อน ..ชาวพุทธก็ช่วยทำนุบำรุงพุทธศาสนา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 78 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญรุ่นแรกอาจารย์ทอง วัดป่ากอ จ.สงขลา ปี2528
    เหรียญรุ่นแรกอาจารย์ทอง เนื้อกะไหล่ทอง วัดป่ากอ กิ่ง อ.นาหม่อม จ.สงขลา ปี2528 //เป็นรุ่นที่นิยมมากๆของชาวไทย และชาวมาเลเซีย และเป็นเหรียญ ที่หายาก และประสบการณ์ดีของจังหวัดสงขลา //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณครอบจักวาล เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด มีประสบการณ์มากมาย และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >>

    ** พระอาจารย์ทองวัดป่ากอสุวรรณาราม อ.นาหม่อม จ.สงขลา เดิมทีท่านบวชเรียนอยู่ที่ วัด แม่เปี๊ยะ อำเภอนาหม่อม อาศัยอยู่กับพ่อท่าน เพชร และศึกษาวิชาจากพ่อท่านเพชร พระอาจารย์ทอง ท่านมักจะ เดินทางไป วัดศรีมหาโพธิ์ บ่อยๆ เพราะท่านจะสนิทกับ หลวงพ่อแดง วัดศรีมหาโพธิ์ และ เป็นเครือญาติกัน หลังจากนั้นท่าน ก็ออก ธุดงค์ ไปยังสถานที่ ต่างๆตามแนวตะเข็บชายแดน ไทย-มาเล ท่านจึงมีศิษทางสายมาเลเป็นจำนวนมาก ท่านเป็นพระที่มี ความเก่งในหลายด้าน อาทิ ด้านความอดทนและถือสัตย์ปฏิญาณ เพราะท่านได้ถือสัตย์ปฏิญาณ กินเจตลอดชีวิต ทั้งยังเป็นเกจิอาจารย์ที่ปลุกเสก พระเครื่องได้โด่งดังในสายใต้ จะรู้จักพระเครื่องที่ท่านได้ปลุกเสก หลังจากพระอาจารย์ทองมรณภาพ สรีระร่างกายของท่านก็ไม่เน่าเปื่อยเหมือนคนแก่นอนหลับอยู่ในกรอบแก้วเป็นปกติ >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญรุ่นแรกอาจารย์ทอง วัดป่ากอ จ.สงขลา ปี2528 เหรียญรุ่นแรกอาจารย์ทอง เนื้อกะไหล่ทอง วัดป่ากอ กิ่ง อ.นาหม่อม จ.สงขลา ปี2528 //เป็นรุ่นที่นิยมมากๆของชาวไทย และชาวมาเลเซีย และเป็นเหรียญ ที่หายาก และประสบการณ์ดีของจังหวัดสงขลา //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณครอบจักวาล เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด มีประสบการณ์มากมาย และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >> ** พระอาจารย์ทองวัดป่ากอสุวรรณาราม อ.นาหม่อม จ.สงขลา เดิมทีท่านบวชเรียนอยู่ที่ วัด แม่เปี๊ยะ อำเภอนาหม่อม อาศัยอยู่กับพ่อท่าน เพชร และศึกษาวิชาจากพ่อท่านเพชร พระอาจารย์ทอง ท่านมักจะ เดินทางไป วัดศรีมหาโพธิ์ บ่อยๆ เพราะท่านจะสนิทกับ หลวงพ่อแดง วัดศรีมหาโพธิ์ และ เป็นเครือญาติกัน หลังจากนั้นท่าน ก็ออก ธุดงค์ ไปยังสถานที่ ต่างๆตามแนวตะเข็บชายแดน ไทย-มาเล ท่านจึงมีศิษทางสายมาเลเป็นจำนวนมาก ท่านเป็นพระที่มี ความเก่งในหลายด้าน อาทิ ด้านความอดทนและถือสัตย์ปฏิญาณ เพราะท่านได้ถือสัตย์ปฏิญาณ กินเจตลอดชีวิต ทั้งยังเป็นเกจิอาจารย์ที่ปลุกเสก พระเครื่องได้โด่งดังในสายใต้ จะรู้จักพระเครื่องที่ท่านได้ปลุกเสก หลังจากพระอาจารย์ทองมรณภาพ สรีระร่างกายของท่านก็ไม่เน่าเปื่อยเหมือนคนแก่นอนหลับอยู่ในกรอบแก้วเป็นปกติ >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 203 มุมมอง 0 รีวิว
  • นางกวักห้าเหลี่ยม วัดหน้าต่างนอก จ.อยุธยา
    นางกวักห้าเหลี่ยม เนื้อผงพุทธคุณ วัดหน้าต่างนอก จ.อยุธยา //เนื้อผงเก่า เนื้อแห้ง พระเก่า พศ.ลึก // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณด้านกวักโชคกวักลาภ กวักเงิน กวักทอง “เมตตามหาอุด” เรียกเงินเรียกทองให้ไหลมาเทมา เป็นมหาเสน่ห์ใครเห็นใครรัก เมตตามหานิยม ทำให้ค้าขายดี มีความเจริญรุ่งเรืองในด้านการค้าขาย >>

    ** วัดหน้าต่างนอกนี้ได้สร้างขึ้นมาตั้งแต่ปลายกรุงศรีอยุธยาเมื่อประมาณปีพ.ศ.2300 ทางคณะสงฆ์จึงได้อารธนาหลวงพ่อจง(พระเกจิฯ ในกาลต่อมาที่เป็นที่รู้จักกันดีเมื่อครั้งสงครามอินโดจีน ที่เป็นผู้ทำให้ทหารไทยมีชื่อไปทั่วโลก) ซึ่งบวชอยู่วัดหน้าต่างใน มาดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอก เมื่อหลวงพ่อจงได้มาดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอกนั้น ท่านก็ได้บูรณะอุโบสถหลังเก่าซึ่งเดิมทีเป็นเรือนไม้ แล้วก็ได้บูรณะเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ตลอดทั้งวิหารซึ่งคู่กับอุโบสถนั้น แล้วก็ได้สร้างพระพุทธฉายขึ้นที่หน้าวัด ขึ้นเป็นอนุสรณ์และได้สร้างเรือหงส์ขึ้นอีกหนึ่งลำ นอกจากนั้นได้ซ่อมแซมเสนาสนะเช่น กุฏิมีสภาพทรุดโทรม ให้อยู่ในสภาพที่ดี เป็นต้นจนกระทั่งหลวงพ่อท่านอายุย่างเข้า 93 ปี กับ 10 เดือน แล้วท่านก็มรณภาพลงเมื่อวันจันทร์ เดือน 3 พ.ศ.2508 >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    นางกวักห้าเหลี่ยม วัดหน้าต่างนอก จ.อยุธยา นางกวักห้าเหลี่ยม เนื้อผงพุทธคุณ วัดหน้าต่างนอก จ.อยุธยา //เนื้อผงเก่า เนื้อแห้ง พระเก่า พศ.ลึก // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณด้านกวักโชคกวักลาภ กวักเงิน กวักทอง “เมตตามหาอุด” เรียกเงินเรียกทองให้ไหลมาเทมา เป็นมหาเสน่ห์ใครเห็นใครรัก เมตตามหานิยม ทำให้ค้าขายดี มีความเจริญรุ่งเรืองในด้านการค้าขาย >> ** วัดหน้าต่างนอกนี้ได้สร้างขึ้นมาตั้งแต่ปลายกรุงศรีอยุธยาเมื่อประมาณปีพ.ศ.2300 ทางคณะสงฆ์จึงได้อารธนาหลวงพ่อจง(พระเกจิฯ ในกาลต่อมาที่เป็นที่รู้จักกันดีเมื่อครั้งสงครามอินโดจีน ที่เป็นผู้ทำให้ทหารไทยมีชื่อไปทั่วโลก) ซึ่งบวชอยู่วัดหน้าต่างใน มาดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอก เมื่อหลวงพ่อจงได้มาดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอกนั้น ท่านก็ได้บูรณะอุโบสถหลังเก่าซึ่งเดิมทีเป็นเรือนไม้ แล้วก็ได้บูรณะเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ตลอดทั้งวิหารซึ่งคู่กับอุโบสถนั้น แล้วก็ได้สร้างพระพุทธฉายขึ้นที่หน้าวัด ขึ้นเป็นอนุสรณ์และได้สร้างเรือหงส์ขึ้นอีกหนึ่งลำ นอกจากนั้นได้ซ่อมแซมเสนาสนะเช่น กุฏิมีสภาพทรุดโทรม ให้อยู่ในสภาพที่ดี เป็นต้นจนกระทั่งหลวงพ่อท่านอายุย่างเข้า 93 ปี กับ 10 เดือน แล้วท่านก็มรณภาพลงเมื่อวันจันทร์ เดือน 3 พ.ศ.2508 >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 200 มุมมอง 0 รีวิว
  • จะใคร่บวชสวดมนต์อยู่บนเขา
    เพราะแสนเศร้าสุดจะตามทรามสงวน
    แม้นมิตามความรักเฝ้าชักชวน
    ให้ปั่นป่วนไปตามเพราะความรัก
    จะหักอื่นขืนหักก็จักได้
    หักอาลัยนี้ไม่หลุดสุดจะหัก
    สารพัดตัดขาดประหลาดนัก
    แต่ตัดรักนี้ไม่ขาดประหลาดใจ
    จะสร้างพรตอดรักหักสวาท
    เผื่อจะขาดข้อคิดพิสมัย
    แม้นน้องนุชบุษบานิคาลัย
    จะได้ไปสู่สวรรค์ชั้นโสฬส
    จึงหยุดทัพยับยั้งตั้งอาศม
    รักษาพรหมจรรย์ด้วยกันหมด
    ปะตาปาอายันอยู่บรรพต
    อุตส่าห์อดอาลัยก็ไม่คลาย
    ภาวนาว่าจะตั้งปลงสังเวช
    ก็หลับเนตรเห็นคู่ไม่รู้หาย
    จะสวดมนต์ต้นถูกถึงผูกปลาย
    ก็กลับกลายเรื่องราวเป็นกล่าวกลอน
    จะใคร่บวชสวดมนต์อยู่บนเขา เพราะแสนเศร้าสุดจะตามทรามสงวน แม้นมิตามความรักเฝ้าชักชวน ให้ปั่นป่วนไปตามเพราะความรัก จะหักอื่นขืนหักก็จักได้ หักอาลัยนี้ไม่หลุดสุดจะหัก สารพัดตัดขาดประหลาดนัก แต่ตัดรักนี้ไม่ขาดประหลาดใจ จะสร้างพรตอดรักหักสวาท เผื่อจะขาดข้อคิดพิสมัย แม้นน้องนุชบุษบานิคาลัย จะได้ไปสู่สวรรค์ชั้นโสฬส จึงหยุดทัพยับยั้งตั้งอาศม รักษาพรหมจรรย์ด้วยกันหมด ปะตาปาอายันอยู่บรรพต อุตส่าห์อดอาลัยก็ไม่คลาย ภาวนาว่าจะตั้งปลงสังเวช ก็หลับเนตรเห็นคู่ไม่รู้หาย จะสวดมนต์ต้นถูกถึงผูกปลาย ก็กลับกลายเรื่องราวเป็นกล่าวกลอน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 142 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญหลวงพ่อบุญจันทร์ วัดกุญชรวนาราม จ.พิษณุโลก ปี2535
    เหรียญหลวงพ่อบุญจันทร์ ( ตอกโค๊ต ) วัดกุญชรวนาราม (ในห้วย) ต.ท่านางงาม อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก ปี2535 // พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเมตตามหานิยม คงกระพันชาตรี แคล้วคลาดและมีโชคลาภ ค้าขายดี ป้องกันอาเพศ คุณไสยและสิ่งอัปมงคลทั้งหลาย ไม่ให้เข้ามากล้ำกราย อำนวยโชคลาภ ความมั่งคั่งทรัพย์สินเงินทอง อุดมด้วย ลาภ ยศ ความเจริญรุ่งเรืองดีนักแล” >>

    ** หลวงปู่บุญจันทร์ "คะเบนรัมย์" ชินบุตโต วัดถ้ำทราย-วัดกุญชรวนาราม(ในห้วย) ต.ท่านางงาม อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก เนื้อทองแดง อายุ ๘๗ ปี ตอกโค๊ต อุ ปี 2535 เกิด ปี 2466 ณ บ้านโพธิ์ศรีสุข จ.บุรีรัมย์ บวชเณร และศึกษาธรรมชั้นต้นกับพระอาจารย์เสน วัดโพธิ์ศรีสุข จนอายุได้ 20 ปี จึงอุปสมบท ศึกษาสอบได้นักธรรมชั้นตรี โท และเอก ที่สำนักวัดธาตุทอง จนเกิดสงครามโลกครั้งที่2 ท่านจึงธุดงค์ไปอยู่ที่ พระตะบอง และได้ศึกษาวิชาอาคมจากครูบาอาจารย์ในเขมรหลายองค์ เมื่อสงครามสงบจึงธุดงค์กลับประเทศไทย ได้ศึกษาวิชากับหลวงพ่อสอน วัดเสิงสาง นครราชสีมา ,หลวงปู่เคน ถ้ำเขาอีโต้ นครนายก จนสำเร็จ จึงออกแสวงหาความสงบ จนมาถึง หมู่บ้านถ้ำทราย มรณภาพ วันที่ 27 มีนาคม 2537 สิริอายุ 81 ปี 51 พรรษา (สังขารไม่เน่า) >>


    ** พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญหลวงพ่อบุญจันทร์ วัดกุญชรวนาราม จ.พิษณุโลก ปี2535 เหรียญหลวงพ่อบุญจันทร์ ( ตอกโค๊ต ) วัดกุญชรวนาราม (ในห้วย) ต.ท่านางงาม อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก ปี2535 // พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเมตตามหานิยม คงกระพันชาตรี แคล้วคลาดและมีโชคลาภ ค้าขายดี ป้องกันอาเพศ คุณไสยและสิ่งอัปมงคลทั้งหลาย ไม่ให้เข้ามากล้ำกราย อำนวยโชคลาภ ความมั่งคั่งทรัพย์สินเงินทอง อุดมด้วย ลาภ ยศ ความเจริญรุ่งเรืองดีนักแล” >> ** หลวงปู่บุญจันทร์ "คะเบนรัมย์" ชินบุตโต วัดถ้ำทราย-วัดกุญชรวนาราม(ในห้วย) ต.ท่านางงาม อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก เนื้อทองแดง อายุ ๘๗ ปี ตอกโค๊ต อุ ปี 2535 เกิด ปี 2466 ณ บ้านโพธิ์ศรีสุข จ.บุรีรัมย์ บวชเณร และศึกษาธรรมชั้นต้นกับพระอาจารย์เสน วัดโพธิ์ศรีสุข จนอายุได้ 20 ปี จึงอุปสมบท ศึกษาสอบได้นักธรรมชั้นตรี โท และเอก ที่สำนักวัดธาตุทอง จนเกิดสงครามโลกครั้งที่2 ท่านจึงธุดงค์ไปอยู่ที่ พระตะบอง และได้ศึกษาวิชาอาคมจากครูบาอาจารย์ในเขมรหลายองค์ เมื่อสงครามสงบจึงธุดงค์กลับประเทศไทย ได้ศึกษาวิชากับหลวงพ่อสอน วัดเสิงสาง นครราชสีมา ,หลวงปู่เคน ถ้ำเขาอีโต้ นครนายก จนสำเร็จ จึงออกแสวงหาความสงบ จนมาถึง หมู่บ้านถ้ำทราย มรณภาพ วันที่ 27 มีนาคม 2537 สิริอายุ 81 ปี 51 พรรษา (สังขารไม่เน่า) >> ** พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 255 มุมมอง 0 รีวิว
  • หลวงปู่พรหมมา เขมจาโร วัดสวนหินผานางคอย จ.อุบลราชธานี ปี2536
    หลวงปู่พรหมมา เขมจาโร ( ตอกโค๊ต ) วัดสวนหินผานางคอย อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี ปี2536 //หลวงปู่พรหมมา “เทพเจ้าแห่งลุ่มน้ำโขง” พระเถราจารย์แห่งแดนอีสาน ผู้มีอายุกาลสูงถึง ๑๐๕ ปี // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเด่นในเรื่องเมตตาหานิยม โชคลาภ ค้าขายและแคล้วคลาดปลอดภัย ทั้งคงกระพันชาตรี เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ดีนัก. >>

    ** หลวงปู่พรหมมา เขมจาโร แห่งวัดสวนหินผานางคอย บ้านดงนา ต.หนามแท่ง อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี พระเถราจารย์ผู้มีอายุกาลสูงถึง 105 ปีเป็นที่เลื่อมใสของพุทธศาสนิกชน ไทย-ลาวมาช้านาน ได้รับสมญานามว่า “เทพเจ้าแห่งลุ่มลำน้ำโขง” อายุ 12 ปี เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ บรรพชา โดยมีสมเด็จลุน พระเกจิอาจารย์ชื่อดังจากประเทศลาว เป็นพระอุปัชฌาย์พร้อมกับถ่ายทอดด้านวิปัสสนา กัมมัฏฐาน และวิทยาคม กระทั่งอายุครบบวช เข้าพิธีอุปสมบทโดยมี หลวงปู่สีทัต เป็นพระอุปัชฌาย์ หลังจากนั้น ออกธุดงค์ตามป่าเขา ลำเนาไพร จนได้พบกับ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต และอยู่ศึกษาวิชา พร้อมกับช่วยสร้างวัดป่าสุทธาวาส จ.สกลนคร จนแล้วเสร็จ >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    หลวงปู่พรหมมา เขมจาโร วัดสวนหินผานางคอย จ.อุบลราชธานี ปี2536 หลวงปู่พรหมมา เขมจาโร ( ตอกโค๊ต ) วัดสวนหินผานางคอย อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี ปี2536 //หลวงปู่พรหมมา “เทพเจ้าแห่งลุ่มน้ำโขง” พระเถราจารย์แห่งแดนอีสาน ผู้มีอายุกาลสูงถึง ๑๐๕ ปี // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเด่นในเรื่องเมตตาหานิยม โชคลาภ ค้าขายและแคล้วคลาดปลอดภัย ทั้งคงกระพันชาตรี เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ดีนัก. >> ** หลวงปู่พรหมมา เขมจาโร แห่งวัดสวนหินผานางคอย บ้านดงนา ต.หนามแท่ง อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี พระเถราจารย์ผู้มีอายุกาลสูงถึง 105 ปีเป็นที่เลื่อมใสของพุทธศาสนิกชน ไทย-ลาวมาช้านาน ได้รับสมญานามว่า “เทพเจ้าแห่งลุ่มลำน้ำโขง” อายุ 12 ปี เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ บรรพชา โดยมีสมเด็จลุน พระเกจิอาจารย์ชื่อดังจากประเทศลาว เป็นพระอุปัชฌาย์พร้อมกับถ่ายทอดด้านวิปัสสนา กัมมัฏฐาน และวิทยาคม กระทั่งอายุครบบวช เข้าพิธีอุปสมบทโดยมี หลวงปู่สีทัต เป็นพระอุปัชฌาย์ หลังจากนั้น ออกธุดงค์ตามป่าเขา ลำเนาไพร จนได้พบกับ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต และอยู่ศึกษาวิชา พร้อมกับช่วยสร้างวัดป่าสุทธาวาส จ.สกลนคร จนแล้วเสร็จ >> ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 262 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขนาดพระยังมีข้อครหา!!! 'ชูศักดิ์' โอดนักการเมืองไม่ใช่นักบวช หลังศาล รธน.ตีตกคำร้องซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์
    https://www.thai-tai.tv/news/17625/
    ขนาดพระยังมีข้อครหา!!! 'ชูศักดิ์' โอดนักการเมืองไม่ใช่นักบวช หลังศาล รธน.ตีตกคำร้องซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ https://www.thai-tai.tv/news/17625/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 170 มุมมอง 0 รีวิว
  • ครอบครัวผมร่วมบุญบวชสามเณร ครับ สาธุ
    ครอบครัวผมร่วมบุญบวชสามเณร ครับ สาธุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 92 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผ่านกันมานานเป็นเดือนกับบทความชุดเรื่องราวสิบสองภาพวาดกงซวิ่นถู (宫训图) จากละคร <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> ยังคุยกันไม่ครบสิบสองภาพ แต่ขอคั่นเปลี่ยนเรื่องคุยกันบ้าง เรื่องที่จะคุยในวันนี้ไม่เกี่ยวกับละครหรือนวนิยาย แต่เป็นเรื่องเล่าจากเพลงที่ Storyฯ ชอบมากเพลงหนึ่ง

    เพลงนี้โด่งดังในประเทศจีนมาตั้งแต่ปี 2018 เป็นเพลงที่มีเอกลักษณ์เพราะมีกลิ่นอายของงิ้วแฝงอยู่ มีชื่อว่า ‘ชึหลิง’ (赤伶) หรือ ‘นักแสดงสีชาด’ ร้องโดย HITA แต่งเนื้อร้องโดย ชิงเยี่ยน (清彦) ดนตรีโดย หลี่เจี้ยนเหิง (李建衡) ต่อมามีหลายคนนำมาขับร้อง ทั้งที่เปลี่ยนเนื้อร้องและทั้งที่ใช้เนื้อร้องเดิม เชื่อว่าคงมีเพื่อนเพจบางท่านเคยได้ยิน แต่ Storyฯ มั่นใจว่าน้อยคนนักจะทราบถึงเรื่องราวที่แฝงไว้ในเพลงนี้

    ‘หลิง’ หมายถึงนักแสดงละครงิ้ว ส่วน ‘ชึ’ แปลตรงตัวว่าสีแดงชาด และอาจย่อมาจากคำว่า ‘ชึซิน’ ที่แปลว่าใจที่จงรักภักดีหรือปณิธานแรงกล้า ชื่อเพลงที่สั้นเพียงสองอักษรแต่มีความหมายสองชั้น เนื้อเพลงก็แฝงความหมายสองสามชั้นเช่นกัน เนื้อเพลงค่อนข้างยาว Storyฯ ขอแปลไว้ในรูปภาพที่สองแทน บางคำแปลอย่างตรงตัวเพื่อให้เพื่อนเพจได้ตีความและเห็นถึงเสน่ห์ของความหมายหลายชั้นของเพลงนี้

    เรื่องราวเบื้องหลังของเนื้อเพลง ‘นักแสดงสีชาด’ เป็นเรื่องที่แต่งขึ้นอิงประวัติศาสตร์สมัยสงครามโลกครั้งที่สองที่ญี่ปุ่นเข้าบุกและยึดครองหลายพื้นที่ของจีน กล่าวถึงนักแสดงงิ้วนามว่า เผยเยี่ยนจือ ที่โด่งดังในเมืองอันหย่วน เขาถูกทหารญี่ปุ่นเชิญแกมบังคับให้ขึ้นแสดงงิ้ว โดยขู่ว่าหากเขาไม่ยอมแสดง ทหารก็จะเผาโรงละครทิ้ง แต่เผยเยี่ยนจือรับคำอย่างไม่อิดออดและรับจัดแสดงเรื่อง ‘พัดดอกท้อ’ (桃花扇 / เถาฮวาซ่าน) ในคืนที่แสดงนั้น เผยเยี่ยนจืออยู่บนเวทีร้องออกมาว่า “จุดไฟ” กว่าทหารญี่ปุ่นจะรู้ตัวก็ถูกกักอยู่ในโรงละครที่ลุกเป็นไฟ เพราะก่อนหน้านี้คณะละครได้ราดน้ำมันเตรียมวางเพลิงไว้แล้ว ไฟลามไปเรื่อยๆ ทหารญี่ปุ่นพยายามหนีตายแต่หนีไม่พ้น ละครงิ้วก็แสดงไปเรื่อยๆ จวบจนลมหายใจเฮือกสุดท้ายของคณะละคร

    มันเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นโดยใช้เผยเยี่ยนจือเป็นตัวแทนความรักชาติของประชาชนคนธรรมดา แต่เสน่ห์ของเพลงนี้คือความหมายหลายชั้นของคำที่ใช้ ยังมีอีกสองประเด็นที่จะทำให้เราเข้าใจเพลงนี้ได้ดียิ่งขึ้น

    ประเด็นแรกคือปูมหลังทางวัฒนธรรม มีวลีจีนโบราณกล่าวไว้ว่า ‘นางคณิกาไร้ใจ นักแสดงไร้คุณธรรม’ ซึ่งมีบริบททางสังคมที่ดูถูกนักแสดงว่าเป็นชนชั้นต่ำ ทำทุกอย่างได้เพื่อความอยู่รอด เราจะเห็นในเนื้อเพลงนี้ว่า นักแสดงละครรำพันว่าแม้ตัวเองด้อยค่า แต่มิใช่ไร้ใจภักดีต่อชาติบ้านเมือง

    ประเด็นที่สองคือเรื่องราวของ ‘พัดดอกท้อ’ มันเป็นละครงิ้วในสมัยชิงที่นิยมแสดงกันมาจวบปัจจุบัน เป็นเรื่องราวรักรันทดของหลี่เซียงจวินและโหวฟางอวี้

    หลี่เซียงจวินเป็นคณิกาชื่อดังสมัยปลายราชวงศ์หมิง อันเป็นช่วงเวลาที่ราชสำนักวุ่นวาย ขุนนางทุจริตมากมาย ชาวบ้านเดือดร้อน ทั้งยังถูกรุกรานจากแมนจู นางเป็นหนึ่งในสุดยอดแปดนางคณิกาแห่งแม่น้ำฉินหวย เช่นเดียวกับหลิ่วหรูซื่อที่ Storyฯ เคยเขียนถึง (https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid0yKKz9BJs6VheqVhGF7RAW67QKyFaA3PEVX5j9zxCpdd4VCaNpFdXo3pbB2xkAS2wl)

    หลี่เซียงจวินเป็นลูกขุนนางที่ได้รับโทษเพราะไปมีส่วนพัวพันกับขบวนการต่อต้านขุนนางทุจริต ถูกเชื่อมโยงกลายเป็นต่อต้านราชสำนัก จึงถูกขายไปอยู่หอนางโลมเมื่ออายุเพียงแปดขวบ แต่ยังโชคดีที่แม่เล้ารับเป็นบุตรบุญธรรม จึงโตมาอย่างเพียบพร้อมด้านการศึกษาและความสามารถทางดนตรี เน้นขายศิลปะไม่ขายตัว นางพบรักกับโหวฟางอวี้ซึ่งเป็นราชบัณฑิตมาจากตระกูลขุนนาง แต่เพราะพ่อของเขามีส่วนพัวพันกับขบวนการต่อต้านขุนนางทุจริตและถูกกวาดล้างเช่นกัน ทางบ้านจึงตกอับยากจน ถึงขนาดต้องยืมเงินเพื่อนมาประมูลซื้อ ‘คืนแรก’ ของหลี่เซียงจวินเมื่อนางอายุครบสิบหกปี (เป็นธรรมเนียมของนางคณิกาสมัยนั้น เมื่ออายุสิบหกหากยังเป็นสาวพรหมจรรย์จะต้องเปิดประมูลซื้อตัว เป็นโอกาสที่จะได้แต่งงานเป็นฝั่งฝาไปกับผู้ชนะการประมูล แม้ว่าส่วนใหญ่เป็นได้เพียงอนุภรรยา) ต่อมาทั้งสองใช้ชีวิตคู่ด้วยกันในหอนางโลมนั้นเอง

    พวกเขามารู้ความจริงทีหลังว่า เงินก้อนที่ยืมเพื่อนมานั้น จริงๆ แล้วเป็นเงินของหร่วนต้าเฉิง ขุนนางใจโหดที่กวาดล้างขบวนการต่อต้านราชสำนัก หร่วนต้าเฉิงประสงค์ใช้เงินก้อนนี้มาดึงโหวฟางอวี้เข้าเป็นพวกเพราะชื่นชมในความรู้ความสามารถของเขา แต่ทั้งคู่ไม่ต้องการมีส่วนเกี่ยวข้องกับหร่วนต้าเฉิง หลี่เซียงจวินจึงขายเครื่องประดับเอาเงินมาใช้หนี้ สร้างความโกรธแค้นให้หร่วนต้าเฉิงไม่น้อย เขาแก้แค้นด้วยการยัดเยียดข้อหาจับกลุ่มเพื่อนของโหวฟางอวี้ขังคุก โหวฟางอวี้ตัดสินใจหนีไปเข้าร่วมกับกองกำลังรักชาติ ก่อนไปเขามอบพัดเป็นของแทนใจให้นาง หร่วนต้าเฉิงจึงเอาความแค้นมาลงที่หลี่เซียงจวินแทน เขาวางแผนบีบให้นางแต่งไปเป็นอนุของขุนนางใกล้ชิดของฮ่องเต้ แต่นางเอาหัวชนเสาจนเลือดสาดไปบนพัดสลบไป เกิดเป็นคดีความใหญ่โตแต่ก็นับว่าหนีรอดจากการแต่งงานครั้งนี้ได้ ต่อมาเพื่อนของโหวฟางอวี้ได้วาดลายดอกท้อทับไปบนรอยเลือดบนพัด เกิดเป็นชื่อ ‘พัดดอกท้อ’ นี้ขึ้นมา

    แต่เรื่องยังไม่จบ สุดท้ายหร่วนต้าเฉิงวางแผนทำให้หลี่เซียงจวินถูกรับเข้าวังเป็นสนม เมื่อพระราชวังถูกตีแตก นางหนีรอดออกมาได้แต่ได้รับบาดเจ็บ ทำให้คลาดกันกับโหวฟางอวี้ที่ย้อนกลับมาหานาง เรื่องเล่าบั้นปลายชีวิตของนางมีหลายเวอร์ชั่น เวอร์ชั่นหนึ่งคือต่อมานางป่วยหนักจนตาย ทิ้งไว้เพียงพัดที่เปื้อนเลือดให้โหวฟางอวี้ดูต่างหน้า

    ส่วนโหวฟางอวี้นั้นอยู่กับกองกำลังรักชาติ แต่สุดท้ายชาติล่มสลาย บั้นปลายชีวิตไม่เหลือใคร จึงปลงผมออกบวช วรรคที่ถูกพูดเป็นงิ้วในเพลงนักแสดงสีชาดนี้ สื่อถึงการปล่อยวางความรักหญิงชาย เป็นวรรคที่ยกมาจากบทละครงิ้วเรื่องพัดดอกท้อในตอนที่เขาออกบวชนี้เอง

    เพลงหนึ่งเพลงกับเรื่องราวซ้อนกันสองชั้น บนเวทีแสดงเรื่องราวรักรันทดพลัดพรากให้คนชม นักแสดงอยู่บนเวทีก็มองดูเรื่องราวบ้านเมืองที่เกิดขึ้นข้างล่างเวที ส่วนคนฟังอย่างเราก็ดูทั้งเรื่องราวบนและล่างเวที คงจะกล่าวได้ว่า ‘นักแสดงสีชาด’ เป็นเพลงที่สะท้อนถึงสัจธรรมชีวิต... แท้จริงแล้วโลกเรานี้คือละคร เรามองคนอื่น คนอื่นก็มองเรา

    เข้าใจความหมายและเรื่องราวแล้ว ลองอ่านคำแปลเนื้อเพลงอีกครั้งและเชิญเพื่อนเพจอินกับเพลงกันได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=wIyq_jTZsBY&list=WL&index=245 หรือหาฟังเวอร์ชั่นอื่นได้ด้วยชื่อเพลง 赤伶 ค่ะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.jitapuji.com/5258.html
    https://www.art-mate.net/doc/63311?name=千珊粵劇工作坊《桃花扇》
    https://ppfocus.com/0/en57cfaab.html
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://kknews.cc/news/8yly6nl.html
    https://www.sohu.com/a/475761718_120934298#google_vignette
    https://baike.baidu.com/item/侯方域/380394
    https://baike.baidu.com/item/桃花扇/5499
    https://shidian.baike.com/wikiid/7245205732429414461?prd=mobile&anchor=lj2jc6p91rp7
    https://so.gushiwen.cn/guwen/bookv_46653FD803893E4F8F70CCD565152E14.aspx

    #ชึหลิง #HITA #หลี่เซียงจวิน #โหวเซียงอวี้ #พัดดอกท้อ #เถาฮวาซ่าน
    ผ่านกันมานานเป็นเดือนกับบทความชุดเรื่องราวสิบสองภาพวาดกงซวิ่นถู (宫训图) จากละคร <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> ยังคุยกันไม่ครบสิบสองภาพ แต่ขอคั่นเปลี่ยนเรื่องคุยกันบ้าง เรื่องที่จะคุยในวันนี้ไม่เกี่ยวกับละครหรือนวนิยาย แต่เป็นเรื่องเล่าจากเพลงที่ Storyฯ ชอบมากเพลงหนึ่ง เพลงนี้โด่งดังในประเทศจีนมาตั้งแต่ปี 2018 เป็นเพลงที่มีเอกลักษณ์เพราะมีกลิ่นอายของงิ้วแฝงอยู่ มีชื่อว่า ‘ชึหลิง’ (赤伶) หรือ ‘นักแสดงสีชาด’ ร้องโดย HITA แต่งเนื้อร้องโดย ชิงเยี่ยน (清彦) ดนตรีโดย หลี่เจี้ยนเหิง (李建衡) ต่อมามีหลายคนนำมาขับร้อง ทั้งที่เปลี่ยนเนื้อร้องและทั้งที่ใช้เนื้อร้องเดิม เชื่อว่าคงมีเพื่อนเพจบางท่านเคยได้ยิน แต่ Storyฯ มั่นใจว่าน้อยคนนักจะทราบถึงเรื่องราวที่แฝงไว้ในเพลงนี้ ‘หลิง’ หมายถึงนักแสดงละครงิ้ว ส่วน ‘ชึ’ แปลตรงตัวว่าสีแดงชาด และอาจย่อมาจากคำว่า ‘ชึซิน’ ที่แปลว่าใจที่จงรักภักดีหรือปณิธานแรงกล้า ชื่อเพลงที่สั้นเพียงสองอักษรแต่มีความหมายสองชั้น เนื้อเพลงก็แฝงความหมายสองสามชั้นเช่นกัน เนื้อเพลงค่อนข้างยาว Storyฯ ขอแปลไว้ในรูปภาพที่สองแทน บางคำแปลอย่างตรงตัวเพื่อให้เพื่อนเพจได้ตีความและเห็นถึงเสน่ห์ของความหมายหลายชั้นของเพลงนี้ เรื่องราวเบื้องหลังของเนื้อเพลง ‘นักแสดงสีชาด’ เป็นเรื่องที่แต่งขึ้นอิงประวัติศาสตร์สมัยสงครามโลกครั้งที่สองที่ญี่ปุ่นเข้าบุกและยึดครองหลายพื้นที่ของจีน กล่าวถึงนักแสดงงิ้วนามว่า เผยเยี่ยนจือ ที่โด่งดังในเมืองอันหย่วน เขาถูกทหารญี่ปุ่นเชิญแกมบังคับให้ขึ้นแสดงงิ้ว โดยขู่ว่าหากเขาไม่ยอมแสดง ทหารก็จะเผาโรงละครทิ้ง แต่เผยเยี่ยนจือรับคำอย่างไม่อิดออดและรับจัดแสดงเรื่อง ‘พัดดอกท้อ’ (桃花扇 / เถาฮวาซ่าน) ในคืนที่แสดงนั้น เผยเยี่ยนจืออยู่บนเวทีร้องออกมาว่า “จุดไฟ” กว่าทหารญี่ปุ่นจะรู้ตัวก็ถูกกักอยู่ในโรงละครที่ลุกเป็นไฟ เพราะก่อนหน้านี้คณะละครได้ราดน้ำมันเตรียมวางเพลิงไว้แล้ว ไฟลามไปเรื่อยๆ ทหารญี่ปุ่นพยายามหนีตายแต่หนีไม่พ้น ละครงิ้วก็แสดงไปเรื่อยๆ จวบจนลมหายใจเฮือกสุดท้ายของคณะละคร มันเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นโดยใช้เผยเยี่ยนจือเป็นตัวแทนความรักชาติของประชาชนคนธรรมดา แต่เสน่ห์ของเพลงนี้คือความหมายหลายชั้นของคำที่ใช้ ยังมีอีกสองประเด็นที่จะทำให้เราเข้าใจเพลงนี้ได้ดียิ่งขึ้น ประเด็นแรกคือปูมหลังทางวัฒนธรรม มีวลีจีนโบราณกล่าวไว้ว่า ‘นางคณิกาไร้ใจ นักแสดงไร้คุณธรรม’ ซึ่งมีบริบททางสังคมที่ดูถูกนักแสดงว่าเป็นชนชั้นต่ำ ทำทุกอย่างได้เพื่อความอยู่รอด เราจะเห็นในเนื้อเพลงนี้ว่า นักแสดงละครรำพันว่าแม้ตัวเองด้อยค่า แต่มิใช่ไร้ใจภักดีต่อชาติบ้านเมือง ประเด็นที่สองคือเรื่องราวของ ‘พัดดอกท้อ’ มันเป็นละครงิ้วในสมัยชิงที่นิยมแสดงกันมาจวบปัจจุบัน เป็นเรื่องราวรักรันทดของหลี่เซียงจวินและโหวฟางอวี้ หลี่เซียงจวินเป็นคณิกาชื่อดังสมัยปลายราชวงศ์หมิง อันเป็นช่วงเวลาที่ราชสำนักวุ่นวาย ขุนนางทุจริตมากมาย ชาวบ้านเดือดร้อน ทั้งยังถูกรุกรานจากแมนจู นางเป็นหนึ่งในสุดยอดแปดนางคณิกาแห่งแม่น้ำฉินหวย เช่นเดียวกับหลิ่วหรูซื่อที่ Storyฯ เคยเขียนถึง (https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid0yKKz9BJs6VheqVhGF7RAW67QKyFaA3PEVX5j9zxCpdd4VCaNpFdXo3pbB2xkAS2wl) หลี่เซียงจวินเป็นลูกขุนนางที่ได้รับโทษเพราะไปมีส่วนพัวพันกับขบวนการต่อต้านขุนนางทุจริต ถูกเชื่อมโยงกลายเป็นต่อต้านราชสำนัก จึงถูกขายไปอยู่หอนางโลมเมื่ออายุเพียงแปดขวบ แต่ยังโชคดีที่แม่เล้ารับเป็นบุตรบุญธรรม จึงโตมาอย่างเพียบพร้อมด้านการศึกษาและความสามารถทางดนตรี เน้นขายศิลปะไม่ขายตัว นางพบรักกับโหวฟางอวี้ซึ่งเป็นราชบัณฑิตมาจากตระกูลขุนนาง แต่เพราะพ่อของเขามีส่วนพัวพันกับขบวนการต่อต้านขุนนางทุจริตและถูกกวาดล้างเช่นกัน ทางบ้านจึงตกอับยากจน ถึงขนาดต้องยืมเงินเพื่อนมาประมูลซื้อ ‘คืนแรก’ ของหลี่เซียงจวินเมื่อนางอายุครบสิบหกปี (เป็นธรรมเนียมของนางคณิกาสมัยนั้น เมื่ออายุสิบหกหากยังเป็นสาวพรหมจรรย์จะต้องเปิดประมูลซื้อตัว เป็นโอกาสที่จะได้แต่งงานเป็นฝั่งฝาไปกับผู้ชนะการประมูล แม้ว่าส่วนใหญ่เป็นได้เพียงอนุภรรยา) ต่อมาทั้งสองใช้ชีวิตคู่ด้วยกันในหอนางโลมนั้นเอง พวกเขามารู้ความจริงทีหลังว่า เงินก้อนที่ยืมเพื่อนมานั้น จริงๆ แล้วเป็นเงินของหร่วนต้าเฉิง ขุนนางใจโหดที่กวาดล้างขบวนการต่อต้านราชสำนัก หร่วนต้าเฉิงประสงค์ใช้เงินก้อนนี้มาดึงโหวฟางอวี้เข้าเป็นพวกเพราะชื่นชมในความรู้ความสามารถของเขา แต่ทั้งคู่ไม่ต้องการมีส่วนเกี่ยวข้องกับหร่วนต้าเฉิง หลี่เซียงจวินจึงขายเครื่องประดับเอาเงินมาใช้หนี้ สร้างความโกรธแค้นให้หร่วนต้าเฉิงไม่น้อย เขาแก้แค้นด้วยการยัดเยียดข้อหาจับกลุ่มเพื่อนของโหวฟางอวี้ขังคุก โหวฟางอวี้ตัดสินใจหนีไปเข้าร่วมกับกองกำลังรักชาติ ก่อนไปเขามอบพัดเป็นของแทนใจให้นาง หร่วนต้าเฉิงจึงเอาความแค้นมาลงที่หลี่เซียงจวินแทน เขาวางแผนบีบให้นางแต่งไปเป็นอนุของขุนนางใกล้ชิดของฮ่องเต้ แต่นางเอาหัวชนเสาจนเลือดสาดไปบนพัดสลบไป เกิดเป็นคดีความใหญ่โตแต่ก็นับว่าหนีรอดจากการแต่งงานครั้งนี้ได้ ต่อมาเพื่อนของโหวฟางอวี้ได้วาดลายดอกท้อทับไปบนรอยเลือดบนพัด เกิดเป็นชื่อ ‘พัดดอกท้อ’ นี้ขึ้นมา แต่เรื่องยังไม่จบ สุดท้ายหร่วนต้าเฉิงวางแผนทำให้หลี่เซียงจวินถูกรับเข้าวังเป็นสนม เมื่อพระราชวังถูกตีแตก นางหนีรอดออกมาได้แต่ได้รับบาดเจ็บ ทำให้คลาดกันกับโหวฟางอวี้ที่ย้อนกลับมาหานาง เรื่องเล่าบั้นปลายชีวิตของนางมีหลายเวอร์ชั่น เวอร์ชั่นหนึ่งคือต่อมานางป่วยหนักจนตาย ทิ้งไว้เพียงพัดที่เปื้อนเลือดให้โหวฟางอวี้ดูต่างหน้า ส่วนโหวฟางอวี้นั้นอยู่กับกองกำลังรักชาติ แต่สุดท้ายชาติล่มสลาย บั้นปลายชีวิตไม่เหลือใคร จึงปลงผมออกบวช วรรคที่ถูกพูดเป็นงิ้วในเพลงนักแสดงสีชาดนี้ สื่อถึงการปล่อยวางความรักหญิงชาย เป็นวรรคที่ยกมาจากบทละครงิ้วเรื่องพัดดอกท้อในตอนที่เขาออกบวชนี้เอง เพลงหนึ่งเพลงกับเรื่องราวซ้อนกันสองชั้น บนเวทีแสดงเรื่องราวรักรันทดพลัดพรากให้คนชม นักแสดงอยู่บนเวทีก็มองดูเรื่องราวบ้านเมืองที่เกิดขึ้นข้างล่างเวที ส่วนคนฟังอย่างเราก็ดูทั้งเรื่องราวบนและล่างเวที คงจะกล่าวได้ว่า ‘นักแสดงสีชาด’ เป็นเพลงที่สะท้อนถึงสัจธรรมชีวิต... แท้จริงแล้วโลกเรานี้คือละคร เรามองคนอื่น คนอื่นก็มองเรา เข้าใจความหมายและเรื่องราวแล้ว ลองอ่านคำแปลเนื้อเพลงอีกครั้งและเชิญเพื่อนเพจอินกับเพลงกันได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=wIyq_jTZsBY&list=WL&index=245 หรือหาฟังเวอร์ชั่นอื่นได้ด้วยชื่อเพลง 赤伶 ค่ะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.jitapuji.com/5258.html https://www.art-mate.net/doc/63311?name=千珊粵劇工作坊《桃花扇》 https://ppfocus.com/0/en57cfaab.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://kknews.cc/news/8yly6nl.html https://www.sohu.com/a/475761718_120934298#google_vignette https://baike.baidu.com/item/侯方域/380394 https://baike.baidu.com/item/桃花扇/5499 https://shidian.baike.com/wikiid/7245205732429414461?prd=mobile&anchor=lj2jc6p91rp7 https://so.gushiwen.cn/guwen/bookv_46653FD803893E4F8F70CCD565152E14.aspx #ชึหลิง #HITA #หลี่เซียงจวิน #โหวเซียงอวี้ #พัดดอกท้อ #เถาฮวาซ่าน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 861 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญเองสิ..สวดมนต์ ภาวนา ทานเงินสร้างโบสถ์ วิหาร ศาลา ห้องน้ำ ถนนเข้าวัด ถังน้ำฯ ไม่ใช่ไปรอว่าลูกจะบวชให้แล้วได้บุญใหญ่ หลอกตัวเอง
    ตายไปแล้วจะรอลูกหลานทำบุญให้ ใส่บาตรให้อย่าได้หวัง .
    ทำเองนะแล้วจะได้เอง บุญจะเกิดก็เกิดที่จิตเรา จิตเราไม่คิดทำก็หมดแล้ว
    ทำบุญเองสิ..สวดมนต์ ภาวนา ทานเงินสร้างโบสถ์ วิหาร ศาลา ห้องน้ำ ถนนเข้าวัด ถังน้ำฯ ไม่ใช่ไปรอว่าลูกจะบวชให้แล้วได้บุญใหญ่ หลอกตัวเอง ตายไปแล้วจะรอลูกหลานทำบุญให้ ใส่บาตรให้อย่าได้หวัง . ทำเองนะแล้วจะได้เอง บุญจะเกิดก็เกิดที่จิตเรา จิตเราไม่คิดทำก็หมดแล้ว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 148 มุมมอง 0 รีวิว
  • 86 ปี สิ้น “ครูบาเจ้าศรีวิชัย” เจ้าตนบุญแห่งล้านนา คณะสงฆ์ลำพูนขยาดบารมี ยัดอธิกรณ์ 8 ข้อ ความขัดแย้งที่บานปลาย

    📌 ย้อนรอยประวัติศาสตร์ ไปสู่เรื่องราวของ “ครูบาเจ้าศรีวิชัย” เจ้าตนบุญแห่งล้านนา ผู้เป็นศูนย์รวมศรัทธาของชาวเหนือ แม้กระทั่งเจ้าคณะสงฆ์ในยุคสมัยนั้น ยังต้องหวั่นเกรงในบารมี จนเกิดการตั้งอธิกรณ์ถึง 8 ข้อ นำไปสู่การควบคุมตัว และขัดแย้งกันอย่างรุนแรง ในหมู่คณะสงฆ์ล้านนา

    🔎 86 ปี แห่งการมรณภาพ ของครูบาเจ้าศรีวิชัย
    หากย้อนเวลากลับไปเมื่อ 86 ปี ที่ผ่านมา ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 (เมื่อก่อนนับศักราชใหม่ ในวันสงกรานต์ ถ้าเทียบปัจจุบันจะเป็นต้นปี พ.ศ. 2482) นับเป็นปีที่พุทธศาสนิกชนไทย ต้องโศกเศร้าอย่างใหญ่หลวง เพราะเป็นวันมรณภาพของ "ครูบาเจ้าศรีวิชัย" พระเกจิชื่อดังแห่งล้านนา ผู้มีบทบาทสำคัญในการสร้าง และบูรณะพุทธศาสนสถาน ทั่วภาคเหนือของไทย

    ครูบาเจ้าศรีวิชัยละสังขาร ที่วัดบ้านปาง อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน สิริอายุได้ 60 ปี ก่อนที่ศพจะถูกตั้งไว้ ที่วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน เป็นเวลาหลายปี กระทั่งวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2489 มีการพระราชทานเพลิงศพ โดยมีประชาชนจำนวนมหาศาลเข้าร่วมพิธี และเหตุการณ์ที่น่าตกใจคือ มีผู้แย่งชิงอัฐิของครูบาเจ้าศรีวิชัย ตั้งแต่เปลวไฟยังไม่มอดสนิท

    ✨ แม้แต่ดินตรงที่ถวายพระเพลิงศพ ยังถูกขุดเอาไปบูชา แสดงให้เห็นถึงแรงศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัย

    👶 วัยเยาว์ ชาติกำเนิดของตนบุญ
    ครูบาเจ้าศรีวิชัย เกิดเมื่อวันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2421 ปีขาล ขณะที่เกิด มีพายุฟ้าร้องรุนแรง จึงถูกตั้งชื่อว่า อินตาเฟือน หรืออ้ายฟ้าร้อง บิดาชื่อ นายควาย มีเชื้อสายกะเหรี่ยงแดง มารดาชื่อ นางอุสา บ้างว่าเป็นชาวเชียงใหม่ บ้างว่าเป็นชาวเมืองลี้

    เมื่ออายุได้ 18 ปี มีความคิดว่าความยากจนของตน เกิดจากกรรมในอดีต จึงตัดสินใจออกบวช เพื่อสร้างบุญกุศล และตอบแทนบุญคุณบิดามารดา

    📌 ครูบาศรีวิชัยบรรพชาเป็นสามเณร ที่วัดบ้านปาง ก่อนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในวัย 21 ปี ที่วัดบ้านโฮ่งหลวง จังหวัดลำพูน ได้รับฉายาทางธรรมว่า "พระศรีวิชัย"

    🏯 บทบาทของครูบาเจ้าศรีวิชัย ในการพัฒนาพุทธศาสนาในล้านนา
    ครูบาเจ้าศรีวิชัย ไม่ได้เป็นเพียงพระนักปฏิบัติธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นพระนักพัฒนา สร้างและบูรณะวัดมากมาย รวมถึงเส้นทางคมนาคมสำคัญ เช่น

    ✔️ สร้างถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ
    ✔️ บูรณะวัดพระธาตุหริภุญชัย วัดจามเทวี วัดสวนดอก ฯลฯ
    ✔️ เป็นผู้นำพุทธศาสนิกชน ร่วมแรงร่วมใจ ในการก่อสร้างศาสนสถาน

    ✨ ศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัยสูงส่ง ถึงขนาดที่ว่า ชาวบ้านเดินทางมาจากทั่วทุกสารทิศ เพียงเพื่อจะได้พบหน้า

    ⚖️ ถูกตั้งอธิกรณ์ 8 ข้อ?
    การที่ครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้รับความศรัทธามาก ทำให้คณะสงฆ์ล้านนาบางกลุ่ม โดยเฉพาะเจ้าคณะจัวงหวัดลำพูน เริ่มไม่พอใจ และหวาดกลัวอิทธิพล

    ในที่สุด เจ้าคณะจังหวัดลำพูน ได้นำการตั้งอธิกรณ์ หรือข้อกล่าวหา ต่อครูบาเจ้าศรีวิชัยถึง 8 ข้อ โดยกล่าวหาว่า

    ❌ ทำตัวเป็น “ผีบุญ” อวดอิทธิฤทธิ์เหนือธรรมชาติ
    ❌ ซ่องสุมกำลังประชาชน เสมือนเป็นผู้นำลัทธิใหม่
    ❌ ขัดขืนอำนาจคณะสงฆ์ฝ่ายปกครอง
    ❌ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบสงฆ์ ของสยามประเทศ
    ❌ จัดพิธีกรรมโดยไม่ได้รับอนุญาต
    ❌ มีพฤติกรรมเสมือนเป็นผู้นำทางการเมือง

    📌 ผลจากข้อกล่าวหาเหล่านี้ ทำให้ครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกควบคุมตัวส่งไปไต่สวนที่กรุงเทพฯ

    ⚔️ ความขัดแย้งระหว่างครูบาเจ้าศรีวิชัย กับคณะสงฆ์ล้านนา
    1️⃣ คณะสงฆ์ล้านนาแบ่งเป็น 3 กลุ่ม
    ✔️ กลุ่มที่ยอมรับอำนาจของกรุงเทพฯ สนับสนุนการปกครองสงฆ์แบบรวมศูนย์
    ✔️ กลุ่มประนีประนอม ไม่ต่อต้าน แต่ก็ไม่ได้ร่วมมือเต็มที่
    ✔️ กลุ่มต่อต้านกรุงเทพฯ ต้องการคงจารีตล้านนาแบบดั้งเดิม

    📌 ครูบาศรีวิชัยถูกมองว่า เป็นผู้นำของกลุ่มที่สาม ซึ่งเป็นเหตุผลหลัก ที่ทำให้เกิดความขัดแย้งอย่างหนัก

    - สร้างถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ ครูบาศรีวิชัยเป็นผู้ริเริ่มโครงการ โดยไม่ได้ปรึกษาคณะสงฆ์ ฝ่ายปกครอง
    - พระสงฆ์กว่า 50 วัด ลาออกจากการขึ้นตรง กับคณะสงฆ์กรุงเทพฯ
    - คณะสงฆ์ฝ่ายปกครองมองว่า เป็นการกระด้างกระเดื่องต่ออำนาจ

    ⚖️ สุดท้าย ครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกส่งตัวไปกรุงเทพฯ เพื่อพิจารณาคดี และได้รับโทษ ก่อนถูกปล่อยตัวกลับล้านนา

    🙏 เจ้าตนบุญแห่งล้านนา กับแรงศรัทธาที่ไม่มีวันเสื่อมคลาย
    แม้ว่าจะต้องเผชิญกับข้อกล่าวหา และความขัดแย้งมากมาย แต่ศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัย ไม่เคยเสื่อมคลาย

    “ตนบุญ” หรือ “นักบุญ” มีความหมายเชิงยกย่องว่า เป็นนักบวชที่มีคุณสมบัติพิเศษ ในดินแดนล้านนา เป็นคติความเชื่อที่ถูกนำมาใช้ตลอดในประวัติศาสตร์ล้านนา แนวคิดดังกล่าว จะถูกหยิบนำมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การใช้อ้างความชอบธรรม ของสถาบันกษัตริย์ล้านนา จนกระทั่งสามัญชน ที่ใช้คำว่า “ตนบุญ” เพื่อช่วยเหลือชาวบ้านยามทุกข์เข็ญ เผชิญกับสภาพความสงบของบ้านเมือง

    หลังมรณภาพ ประชาชนยังคงเดินทาง มากราบไหว้สรีระ วัดหลายแห่งยังคงยกย่อง และจัดงานรำลึกถึงครูบาเจ้าศรีวิชัย ตำนาน “เจ้าตนบุญแห่งล้านนา” ยังคงถูกกล่าวขานถึงปัจจุบัน

    🛕 ปัจจุบัน รูปปั้นและอนุสรณ์สถาน ของครูบาเจ้าศรีวิชัย มีอยู่ทั่วภาคเหนือ เช่น บริเวณทางขึ้นดอยสุเทพ และวัดบ้านปาง

    ✨ แม้เวลาจะผ่านไปกว่า 86 ปี แต่บารมีของครูบาเจ้าศรีวิชัย ยังคงยิ่งใหญ่ และจะอยู่ในหัวใจ ของชาวล้านนาตลอดไป

    ✅ ครูบาเจ้าศรีวิชัย เป็นพระนักพัฒนา ที่มีบารมีสูงสุดองค์หนึ่งในล้านนา
    ✅ ถูกตั้งอธิกรณ์ 8 ข้อ เนื่องจากความขัดแย้ง กับคณะสงฆ์ฝ่ายปกครอง
    ✅ แม้จะถูกควบคุมตัว แต่ประชาชนยังคงศรัทธา นอย่างเหนียวแน่น
    ✅ ปัจจุบัน ครูบาเจ้าศรีวิชัย ยังคงเป็นสัญลักษณ์แห่งศรัทธา ของชาวล้านนา

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 211017 ก.พ. 2568

    🔖 #ครูบาศรีวิชัย #เจ้าตนบุญล้านนา #ประวัติศาสตร์ล้านนา #วัดบ้านปาง #ศรัทธาพระสงฆ์
    86 ปี สิ้น “ครูบาเจ้าศรีวิชัย” เจ้าตนบุญแห่งล้านนา คณะสงฆ์ลำพูนขยาดบารมี ยัดอธิกรณ์ 8 ข้อ ความขัดแย้งที่บานปลาย 📌 ย้อนรอยประวัติศาสตร์ ไปสู่เรื่องราวของ “ครูบาเจ้าศรีวิชัย” เจ้าตนบุญแห่งล้านนา ผู้เป็นศูนย์รวมศรัทธาของชาวเหนือ แม้กระทั่งเจ้าคณะสงฆ์ในยุคสมัยนั้น ยังต้องหวั่นเกรงในบารมี จนเกิดการตั้งอธิกรณ์ถึง 8 ข้อ นำไปสู่การควบคุมตัว และขัดแย้งกันอย่างรุนแรง ในหมู่คณะสงฆ์ล้านนา 🔎 86 ปี แห่งการมรณภาพ ของครูบาเจ้าศรีวิชัย หากย้อนเวลากลับไปเมื่อ 86 ปี ที่ผ่านมา ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 (เมื่อก่อนนับศักราชใหม่ ในวันสงกรานต์ ถ้าเทียบปัจจุบันจะเป็นต้นปี พ.ศ. 2482) นับเป็นปีที่พุทธศาสนิกชนไทย ต้องโศกเศร้าอย่างใหญ่หลวง เพราะเป็นวันมรณภาพของ "ครูบาเจ้าศรีวิชัย" พระเกจิชื่อดังแห่งล้านนา ผู้มีบทบาทสำคัญในการสร้าง และบูรณะพุทธศาสนสถาน ทั่วภาคเหนือของไทย ครูบาเจ้าศรีวิชัยละสังขาร ที่วัดบ้านปาง อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน สิริอายุได้ 60 ปี ก่อนที่ศพจะถูกตั้งไว้ ที่วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน เป็นเวลาหลายปี กระทั่งวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2489 มีการพระราชทานเพลิงศพ โดยมีประชาชนจำนวนมหาศาลเข้าร่วมพิธี และเหตุการณ์ที่น่าตกใจคือ มีผู้แย่งชิงอัฐิของครูบาเจ้าศรีวิชัย ตั้งแต่เปลวไฟยังไม่มอดสนิท ✨ แม้แต่ดินตรงที่ถวายพระเพลิงศพ ยังถูกขุดเอาไปบูชา แสดงให้เห็นถึงแรงศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัย 👶 วัยเยาว์ ชาติกำเนิดของตนบุญ ครูบาเจ้าศรีวิชัย เกิดเมื่อวันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2421 ปีขาล ขณะที่เกิด มีพายุฟ้าร้องรุนแรง จึงถูกตั้งชื่อว่า อินตาเฟือน หรืออ้ายฟ้าร้อง บิดาชื่อ นายควาย มีเชื้อสายกะเหรี่ยงแดง มารดาชื่อ นางอุสา บ้างว่าเป็นชาวเชียงใหม่ บ้างว่าเป็นชาวเมืองลี้ เมื่ออายุได้ 18 ปี มีความคิดว่าความยากจนของตน เกิดจากกรรมในอดีต จึงตัดสินใจออกบวช เพื่อสร้างบุญกุศล และตอบแทนบุญคุณบิดามารดา 📌 ครูบาศรีวิชัยบรรพชาเป็นสามเณร ที่วัดบ้านปาง ก่อนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในวัย 21 ปี ที่วัดบ้านโฮ่งหลวง จังหวัดลำพูน ได้รับฉายาทางธรรมว่า "พระศรีวิชัย" 🏯 บทบาทของครูบาเจ้าศรีวิชัย ในการพัฒนาพุทธศาสนาในล้านนา ครูบาเจ้าศรีวิชัย ไม่ได้เป็นเพียงพระนักปฏิบัติธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นพระนักพัฒนา สร้างและบูรณะวัดมากมาย รวมถึงเส้นทางคมนาคมสำคัญ เช่น ✔️ สร้างถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ ✔️ บูรณะวัดพระธาตุหริภุญชัย วัดจามเทวี วัดสวนดอก ฯลฯ ✔️ เป็นผู้นำพุทธศาสนิกชน ร่วมแรงร่วมใจ ในการก่อสร้างศาสนสถาน ✨ ศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัยสูงส่ง ถึงขนาดที่ว่า ชาวบ้านเดินทางมาจากทั่วทุกสารทิศ เพียงเพื่อจะได้พบหน้า ⚖️ ถูกตั้งอธิกรณ์ 8 ข้อ? การที่ครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้รับความศรัทธามาก ทำให้คณะสงฆ์ล้านนาบางกลุ่ม โดยเฉพาะเจ้าคณะจัวงหวัดลำพูน เริ่มไม่พอใจ และหวาดกลัวอิทธิพล ในที่สุด เจ้าคณะจังหวัดลำพูน ได้นำการตั้งอธิกรณ์ หรือข้อกล่าวหา ต่อครูบาเจ้าศรีวิชัยถึง 8 ข้อ โดยกล่าวหาว่า ❌ ทำตัวเป็น “ผีบุญ” อวดอิทธิฤทธิ์เหนือธรรมชาติ ❌ ซ่องสุมกำลังประชาชน เสมือนเป็นผู้นำลัทธิใหม่ ❌ ขัดขืนอำนาจคณะสงฆ์ฝ่ายปกครอง ❌ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบสงฆ์ ของสยามประเทศ ❌ จัดพิธีกรรมโดยไม่ได้รับอนุญาต ❌ มีพฤติกรรมเสมือนเป็นผู้นำทางการเมือง 📌 ผลจากข้อกล่าวหาเหล่านี้ ทำให้ครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกควบคุมตัวส่งไปไต่สวนที่กรุงเทพฯ ⚔️ ความขัดแย้งระหว่างครูบาเจ้าศรีวิชัย กับคณะสงฆ์ล้านนา 1️⃣ คณะสงฆ์ล้านนาแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ✔️ กลุ่มที่ยอมรับอำนาจของกรุงเทพฯ สนับสนุนการปกครองสงฆ์แบบรวมศูนย์ ✔️ กลุ่มประนีประนอม ไม่ต่อต้าน แต่ก็ไม่ได้ร่วมมือเต็มที่ ✔️ กลุ่มต่อต้านกรุงเทพฯ ต้องการคงจารีตล้านนาแบบดั้งเดิม 📌 ครูบาศรีวิชัยถูกมองว่า เป็นผู้นำของกลุ่มที่สาม ซึ่งเป็นเหตุผลหลัก ที่ทำให้เกิดความขัดแย้งอย่างหนัก - สร้างถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ ครูบาศรีวิชัยเป็นผู้ริเริ่มโครงการ โดยไม่ได้ปรึกษาคณะสงฆ์ ฝ่ายปกครอง - พระสงฆ์กว่า 50 วัด ลาออกจากการขึ้นตรง กับคณะสงฆ์กรุงเทพฯ - คณะสงฆ์ฝ่ายปกครองมองว่า เป็นการกระด้างกระเดื่องต่ออำนาจ ⚖️ สุดท้าย ครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกส่งตัวไปกรุงเทพฯ เพื่อพิจารณาคดี และได้รับโทษ ก่อนถูกปล่อยตัวกลับล้านนา 🙏 เจ้าตนบุญแห่งล้านนา กับแรงศรัทธาที่ไม่มีวันเสื่อมคลาย แม้ว่าจะต้องเผชิญกับข้อกล่าวหา และความขัดแย้งมากมาย แต่ศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัย ไม่เคยเสื่อมคลาย “ตนบุญ” หรือ “นักบุญ” มีความหมายเชิงยกย่องว่า เป็นนักบวชที่มีคุณสมบัติพิเศษ ในดินแดนล้านนา เป็นคติความเชื่อที่ถูกนำมาใช้ตลอดในประวัติศาสตร์ล้านนา แนวคิดดังกล่าว จะถูกหยิบนำมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การใช้อ้างความชอบธรรม ของสถาบันกษัตริย์ล้านนา จนกระทั่งสามัญชน ที่ใช้คำว่า “ตนบุญ” เพื่อช่วยเหลือชาวบ้านยามทุกข์เข็ญ เผชิญกับสภาพความสงบของบ้านเมือง หลังมรณภาพ ประชาชนยังคงเดินทาง มากราบไหว้สรีระ วัดหลายแห่งยังคงยกย่อง และจัดงานรำลึกถึงครูบาเจ้าศรีวิชัย ตำนาน “เจ้าตนบุญแห่งล้านนา” ยังคงถูกกล่าวขานถึงปัจจุบัน 🛕 ปัจจุบัน รูปปั้นและอนุสรณ์สถาน ของครูบาเจ้าศรีวิชัย มีอยู่ทั่วภาคเหนือ เช่น บริเวณทางขึ้นดอยสุเทพ และวัดบ้านปาง ✨ แม้เวลาจะผ่านไปกว่า 86 ปี แต่บารมีของครูบาเจ้าศรีวิชัย ยังคงยิ่งใหญ่ และจะอยู่ในหัวใจ ของชาวล้านนาตลอดไป ✅ ครูบาเจ้าศรีวิชัย เป็นพระนักพัฒนา ที่มีบารมีสูงสุดองค์หนึ่งในล้านนา ✅ ถูกตั้งอธิกรณ์ 8 ข้อ เนื่องจากความขัดแย้ง กับคณะสงฆ์ฝ่ายปกครอง ✅ แม้จะถูกควบคุมตัว แต่ประชาชนยังคงศรัทธา นอย่างเหนียวแน่น ✅ ปัจจุบัน ครูบาเจ้าศรีวิชัย ยังคงเป็นสัญลักษณ์แห่งศรัทธา ของชาวล้านนา ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 211017 ก.พ. 2568 🔖 #ครูบาศรีวิชัย #เจ้าตนบุญล้านนา #ประวัติศาสตร์ล้านนา #วัดบ้านปาง #ศรัทธาพระสงฆ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 975 มุมมอง 0 รีวิว

  • #วัดหนองป่าพง
    #อุบลราชธานี

    วัดหนองป่าพง – ย้อนรำลึกความหลัง เมื่อเกือบยี่สิบปีก่อน ผมได้มีโอกาสสัมผัส วัดหนองป่าพง ด้วยความไม่รู้ และไม่ลึกซึ้งถึงแวดวงพระพุทธศาสนา เลยทำให้การไปวัดหนองป่าพง ครั้งแรก ผมไม่ได้อะไรติดมือติดใจกลับมาเป็นวิทยาทานเลย จนเมื่อครั้งล่าสุดที่ไป ชีวิตมีประสบการณ์ และพอมีพื้นฐานพุทธศาสนาเพิ่มขึ้นบ้าง ครั้งนี้ เป็นการใช้เวลาอยู่ที่วัดนานขึ้น พร้อมพกพาความรู้สึก ความประทับใจที่ต่างออกไป กลับออกมาด้วยอย่างปลื้มอกปลื้มใจ ล้อมวงมาฟังกันครับ วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี (ยาวสักหน่อยนะครับ)

    คงจะไม่ถูกต้อง ถ้าจะกล่าวถึงวัดหนองป่าพง โดยไม่กล่าวถึง หลวงปู่ชา

    หลวงปู่ชา พระสำคัญผู้ก่อตั้งวัดแห่งนี้ ให้สามารถไปเผยแพร่พุทธศาสนาได้กว้างไกล ไม่เพียงแค่ในประเทศไทย หากแต่ไปไกลถึงสิบกว่าประเทศทั่วโลก หลวงปู่ชา พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) แห่งวัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี ต้นแบบของพระป่าทั่วโลก ด้วยวัตรปฎิบัติที่เคร่งครัดสายวิปัสสนากรรมฐานที่มีต้นแบบจาก"พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต"

    หลวงปู่ชา หรือ พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) เกิดเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 ตรงกับ วันศุกร์ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิกก่อ หมู่ที่ 9 ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชื่อนายมา ช่วงโชติ มารดาชื่อ นางพิมพ์ ช่วงโชติ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 10 คน ในวัยเด็ก หลวงปู่ชาเรียนชั้นประถมศึกษา ที่โรงเรียนบ้านก่อ ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จนจบชั้นประถม 1 จึงขอลาออกเพื่อมาบวชเรียนตามความสนใจของตนเอง โดยช่วงอายุ 13 ปี หลังจากลาออกจากโรงเรียนประถมศึกษา โยมบิดาได้นำไปฝากกับเจ้าอาวาสเพื่อเรียนรู้บุพกิจเบื้องต้นเกี่ยวกับบรรพชาวิธี จึงได้รับอนุญาตให้บรรพชาเป็น “สามเณรชา โชติช่วง” จนอยู่ปฏิบัติครูอาจารย์ เป็นเวลา 3 ปี ได้แล้วจึงได้ลาสิกขาบทมาช่วยบิดามารดาทำไร่ทำนา แต่ด้วยจิตใจที่ใฝ่ในทางธรรม เมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ จึงลาพ่อแม่มาบวชเป็นพระ โดยอุปสมบทเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2482 เวลา 13.55 น. ณ พัทธสีมา วัดก่อใน ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ อุบลราชธานี พระชา สุภทฺโท ได้จำพรรษาอยู่ ณ วัดก่อนอก 2 พรรษา ตั้งใจศึกษาปริยัติธรรม ทั้งจากตำรับตำราและจากครูอาจารย์ จนสอบนักธรรมชั้นตรีได้ในสำนักวัดแห่งนี้ แต่โชคร้าย ช่วงนั้น หลวงพ่อชา ได้ว่างเว้นจากการศึกษา เพื่อไปดูแลโยมบิดาที่ป่วย แม้หลวงพ่อชา ก็เกิดความลังเลใจ พะว้าพะวง ห่วงการศึกษาก็ห่วง ห่วงโยมบิดาก็ห่วง แต่ความห่วงผู้บังเกิดเกล้ามีน้ำหนักมากกว่า เพราะโยมบิดาเป็นผู้มีพระคุณอย่างเหลือล้น หลวงปู่จึงตัดสินใจกลับไปดูแลโยมพ่อทั้งที่วันสอบนักธรรมก็ใกล้เข้ามาทุกที แต่ก็เลือกที่จะเดินในเส้นทางสายกตัญญุตา โดยที่สุด มาอยู่เฝ้าดูแลอาการป่วยของโยมพ่อนับเป็นเวลา 13 วัน โยมพ่อจึงได้ถึงแก่กรรม (ปี 2483)

    หลังจากนั้น หลวงปู่ชา ก็ได้เดินทางไปศึกษาเล่าเรียนยังที่ต่างๆ เช่น ที่สำนักของหลวงพ่อเภา วัดเขาวงกฏ จ.ลพบุรี และพระอาจารย์ชาวกัมพูชาที่เป็นพระธุดงค์ซึ่งได้พบกันที่วัดเขาวงกฏ หลวงปู่กินรี อาจารย์คำดี หลวงปู่ทองรัตน์ พระอาจารย์มั่น เป็นต้น พออินทรีย์แก่กล้าแล้วก็ออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมต่อไปเรื่อยๆ โดยยังดำรงสมณเพศเป็นพระมหานิกายอยู่ตลอดเวลา

    กิจที่หลวงปู่ฯ โปรดปราน คือการได้ธุดงค์ไปยังที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อโปรดสานุศิษย์และเผยแพร่พุทธศาสนา จนที่สุดเมื่อคณะศิษย์ และหลวงพ่อได้เดินทางมาถึงชายดงป่าพง ตรงกับวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 พอเช้าวันที่ 9 มีนาคม 2497 จึงได้พากันเข้าสำรวจ สถานที่พักในดงป่านี้ และได้ช่วยกันดำเนินการสร้างวัดป่าขึ้น ซึ่งเรารู้จักในปัจจุบัน คือ “วัดหนองป่าพง”

    จนภายหลังมีสานุศิษย์มากมายทั้งไทยและเทศ ขยายไปหลายสาขา ดังที่กล่าวไปข้างต้น และท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนี้มาโดยตลอด และถึงแก่มรณภาพเมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2535 เวลา 05.20 น. ที่ วัดหนองป่าพง อย่างสงบท่ามกลางธรรมสังเวชของศิษยานุศิษย์จากทุกสารทิศทั่วโลก ด้วยความที่วัดหนองป่าพง มีพระสงฆ์ต่างชาติ เป็นจำนวนมาก เคยมีคนไปถามหลวงปู่ว่า พูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แล้วจะสอนชาวต่างชาติได้อย่างไร หลวงปู่ท่านเมตตาตอบว่า น้ำร้อน ที่ฝรั่งว่ากันว่า ฮ๊อตวอเตอร์ เอามือลงไปสัมผัส ทุกชาติก็รู้ว่าร้อน ไม่เห็นต้องรู้ภาษาก่อนเลย นัยว่า ธรรมะ เรียนรู้ได้จากการสัมผัส การปฏิบัติ มิใช่การอ่านเขียนเท่านั้น

    ปัจจุบัน แม้หลวงปู่ชาฯ จะละสังขารไปแล้วกว่าสามสิบปีกว่าปี คำสอนและวัตรปฏิบัติอันดีงาม ก็ยังอยู่ในความทรงจำสานุศิษย์ทั้งหลาย เห็นได้จากการที่กลับไปสัมผัส วัดหนองป่าพง อีกครั้ง เมื่อเร็ว ๆ นี้ ความสงบ และ ความเคร่งครัด แบบพระป่า ยังคงมีให้เห็นและสัมผัสได้ มีโอกาสได้แวะเข้าไปชม พิพิธภัณฑ์พระโพธิญาณเถร (ชา สุภัทโท) โดยจะจัดแสดงเครื่องอัฐบริขารและหุ่นขี้ผึ้งของหลวงปู่ชา สุภัทโท มีเครื่องทองเหลือง พระพุทธรูป และ เจดีย์ศรีโพธิญาณ เป็นสถานที่พระราชทานเพลิงศพของหลวงปู่ชาอีกด้วย จุดเด่นที่ประทับใจ คือ ป้าย คำสอนต่าง ๆ ที่ติดไว้ตามต้นไม้ อ่านแล้วทำให้เราได้นึกทบทวนชีวิตเราไปด้วยขณะเดินชมไปเงียบ ๆ นอกจากนี้ ได้มีโอกาสเข้าไปที่ อุโบสถด้านใน ทางเข้าเขตสังฆาวาส ที่พระสงฆ์ใช้ทำวัด ทำให้พอนึกเห็นภาพบรรยากาศเมื่อสมัยก่อน ที่หลวงปู่ ลงมาเทศนาธรรม

    รวม ๆ แล้วประทับใจมาก ครับ ผมกราบเรียนเชิญ ท่านที่มีโอกาสไป อุบลราชธานี อยากให้ไปสัมผัส วัดหนองป่าพง สักครั้งครับ

    #ชีวิตนี้ต้องมี1000วัด #เที่ยวไทยไปกับส้มโจ #เที่ยววัด #วัด #ไหว้พระ #ทำบุญ #travel #thailand #amazingthailand #thaitour #temple #history #architecture #culture #thaitemple #ท่องเที่ยว #CultureTrip
    #วัดหนองป่าพง #อุบลราชธานี วัดหนองป่าพง – ย้อนรำลึกความหลัง เมื่อเกือบยี่สิบปีก่อน ผมได้มีโอกาสสัมผัส วัดหนองป่าพง ด้วยความไม่รู้ และไม่ลึกซึ้งถึงแวดวงพระพุทธศาสนา เลยทำให้การไปวัดหนองป่าพง ครั้งแรก ผมไม่ได้อะไรติดมือติดใจกลับมาเป็นวิทยาทานเลย จนเมื่อครั้งล่าสุดที่ไป ชีวิตมีประสบการณ์ และพอมีพื้นฐานพุทธศาสนาเพิ่มขึ้นบ้าง ครั้งนี้ เป็นการใช้เวลาอยู่ที่วัดนานขึ้น พร้อมพกพาความรู้สึก ความประทับใจที่ต่างออกไป กลับออกมาด้วยอย่างปลื้มอกปลื้มใจ ล้อมวงมาฟังกันครับ วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี (ยาวสักหน่อยนะครับ) คงจะไม่ถูกต้อง ถ้าจะกล่าวถึงวัดหนองป่าพง โดยไม่กล่าวถึง หลวงปู่ชา หลวงปู่ชา พระสำคัญผู้ก่อตั้งวัดแห่งนี้ ให้สามารถไปเผยแพร่พุทธศาสนาได้กว้างไกล ไม่เพียงแค่ในประเทศไทย หากแต่ไปไกลถึงสิบกว่าประเทศทั่วโลก หลวงปู่ชา พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) แห่งวัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี ต้นแบบของพระป่าทั่วโลก ด้วยวัตรปฎิบัติที่เคร่งครัดสายวิปัสสนากรรมฐานที่มีต้นแบบจาก"พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต" หลวงปู่ชา หรือ พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) เกิดเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 ตรงกับ วันศุกร์ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิกก่อ หมู่ที่ 9 ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชื่อนายมา ช่วงโชติ มารดาชื่อ นางพิมพ์ ช่วงโชติ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 10 คน ในวัยเด็ก หลวงปู่ชาเรียนชั้นประถมศึกษา ที่โรงเรียนบ้านก่อ ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จนจบชั้นประถม 1 จึงขอลาออกเพื่อมาบวชเรียนตามความสนใจของตนเอง โดยช่วงอายุ 13 ปี หลังจากลาออกจากโรงเรียนประถมศึกษา โยมบิดาได้นำไปฝากกับเจ้าอาวาสเพื่อเรียนรู้บุพกิจเบื้องต้นเกี่ยวกับบรรพชาวิธี จึงได้รับอนุญาตให้บรรพชาเป็น “สามเณรชา โชติช่วง” จนอยู่ปฏิบัติครูอาจารย์ เป็นเวลา 3 ปี ได้แล้วจึงได้ลาสิกขาบทมาช่วยบิดามารดาทำไร่ทำนา แต่ด้วยจิตใจที่ใฝ่ในทางธรรม เมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ จึงลาพ่อแม่มาบวชเป็นพระ โดยอุปสมบทเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2482 เวลา 13.55 น. ณ พัทธสีมา วัดก่อใน ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ อุบลราชธานี พระชา สุภทฺโท ได้จำพรรษาอยู่ ณ วัดก่อนอก 2 พรรษา ตั้งใจศึกษาปริยัติธรรม ทั้งจากตำรับตำราและจากครูอาจารย์ จนสอบนักธรรมชั้นตรีได้ในสำนักวัดแห่งนี้ แต่โชคร้าย ช่วงนั้น หลวงพ่อชา ได้ว่างเว้นจากการศึกษา เพื่อไปดูแลโยมบิดาที่ป่วย แม้หลวงพ่อชา ก็เกิดความลังเลใจ พะว้าพะวง ห่วงการศึกษาก็ห่วง ห่วงโยมบิดาก็ห่วง แต่ความห่วงผู้บังเกิดเกล้ามีน้ำหนักมากกว่า เพราะโยมบิดาเป็นผู้มีพระคุณอย่างเหลือล้น หลวงปู่จึงตัดสินใจกลับไปดูแลโยมพ่อทั้งที่วันสอบนักธรรมก็ใกล้เข้ามาทุกที แต่ก็เลือกที่จะเดินในเส้นทางสายกตัญญุตา โดยที่สุด มาอยู่เฝ้าดูแลอาการป่วยของโยมพ่อนับเป็นเวลา 13 วัน โยมพ่อจึงได้ถึงแก่กรรม (ปี 2483) หลังจากนั้น หลวงปู่ชา ก็ได้เดินทางไปศึกษาเล่าเรียนยังที่ต่างๆ เช่น ที่สำนักของหลวงพ่อเภา วัดเขาวงกฏ จ.ลพบุรี และพระอาจารย์ชาวกัมพูชาที่เป็นพระธุดงค์ซึ่งได้พบกันที่วัดเขาวงกฏ หลวงปู่กินรี อาจารย์คำดี หลวงปู่ทองรัตน์ พระอาจารย์มั่น เป็นต้น พออินทรีย์แก่กล้าแล้วก็ออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมต่อไปเรื่อยๆ โดยยังดำรงสมณเพศเป็นพระมหานิกายอยู่ตลอดเวลา กิจที่หลวงปู่ฯ โปรดปราน คือการได้ธุดงค์ไปยังที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อโปรดสานุศิษย์และเผยแพร่พุทธศาสนา จนที่สุดเมื่อคณะศิษย์ และหลวงพ่อได้เดินทางมาถึงชายดงป่าพง ตรงกับวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 พอเช้าวันที่ 9 มีนาคม 2497 จึงได้พากันเข้าสำรวจ สถานที่พักในดงป่านี้ และได้ช่วยกันดำเนินการสร้างวัดป่าขึ้น ซึ่งเรารู้จักในปัจจุบัน คือ “วัดหนองป่าพง” จนภายหลังมีสานุศิษย์มากมายทั้งไทยและเทศ ขยายไปหลายสาขา ดังที่กล่าวไปข้างต้น และท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนี้มาโดยตลอด และถึงแก่มรณภาพเมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2535 เวลา 05.20 น. ที่ วัดหนองป่าพง อย่างสงบท่ามกลางธรรมสังเวชของศิษยานุศิษย์จากทุกสารทิศทั่วโลก ด้วยความที่วัดหนองป่าพง มีพระสงฆ์ต่างชาติ เป็นจำนวนมาก เคยมีคนไปถามหลวงปู่ว่า พูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แล้วจะสอนชาวต่างชาติได้อย่างไร หลวงปู่ท่านเมตตาตอบว่า น้ำร้อน ที่ฝรั่งว่ากันว่า ฮ๊อตวอเตอร์ เอามือลงไปสัมผัส ทุกชาติก็รู้ว่าร้อน ไม่เห็นต้องรู้ภาษาก่อนเลย นัยว่า ธรรมะ เรียนรู้ได้จากการสัมผัส การปฏิบัติ มิใช่การอ่านเขียนเท่านั้น ปัจจุบัน แม้หลวงปู่ชาฯ จะละสังขารไปแล้วกว่าสามสิบปีกว่าปี คำสอนและวัตรปฏิบัติอันดีงาม ก็ยังอยู่ในความทรงจำสานุศิษย์ทั้งหลาย เห็นได้จากการที่กลับไปสัมผัส วัดหนองป่าพง อีกครั้ง เมื่อเร็ว ๆ นี้ ความสงบ และ ความเคร่งครัด แบบพระป่า ยังคงมีให้เห็นและสัมผัสได้ มีโอกาสได้แวะเข้าไปชม พิพิธภัณฑ์พระโพธิญาณเถร (ชา สุภัทโท) โดยจะจัดแสดงเครื่องอัฐบริขารและหุ่นขี้ผึ้งของหลวงปู่ชา สุภัทโท มีเครื่องทองเหลือง พระพุทธรูป และ เจดีย์ศรีโพธิญาณ เป็นสถานที่พระราชทานเพลิงศพของหลวงปู่ชาอีกด้วย จุดเด่นที่ประทับใจ คือ ป้าย คำสอนต่าง ๆ ที่ติดไว้ตามต้นไม้ อ่านแล้วทำให้เราได้นึกทบทวนชีวิตเราไปด้วยขณะเดินชมไปเงียบ ๆ นอกจากนี้ ได้มีโอกาสเข้าไปที่ อุโบสถด้านใน ทางเข้าเขตสังฆาวาส ที่พระสงฆ์ใช้ทำวัด ทำให้พอนึกเห็นภาพบรรยากาศเมื่อสมัยก่อน ที่หลวงปู่ ลงมาเทศนาธรรม รวม ๆ แล้วประทับใจมาก ครับ ผมกราบเรียนเชิญ ท่านที่มีโอกาสไป อุบลราชธานี อยากให้ไปสัมผัส วัดหนองป่าพง สักครั้งครับ #ชีวิตนี้ต้องมี1000วัด #เที่ยวไทยไปกับส้มโจ #เที่ยววัด #วัด #ไหว้พระ #ทำบุญ #travel #thailand #amazingthailand #thaitour #temple #history #architecture #culture #thaitemple #ท่องเที่ยว #CultureTrip
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1276 มุมมอง 0 รีวิว
  • สัปดาห์ที่แล้วพูดถึงภาพวาดโบราณที่ถูกจัดอันดับให้เป็นหนึ่งในสิบที่ล้ำค่าที่สุดของจีน วันนี้มาคุยกันสั้นๆ ถึงภาพวาดที่ปรากฏในละครเรื่อง <สามบุปผาลิขิตฝัน>

    ละครเปิดฉากมาที่ร้านชาในเจียงหนานของนางเอกจ้าวพ่านเอ๋อร์ เพื่อนเพจที่ได้ดูละครอาจมัวแต่เพลินกับความสวยของนางเอกและวิวทิวทัศน์จนไม่ทันสังเกตว่าผนังร้านมีภาพวาดแขวนเต็มไปหมด

    Storyฯ จะบอกว่ามันคือแกลเลอรี่ดีๆ นี่เอง เพราะภาพที่โชว์อยู่ตามผนังเป็นภาพเหมือนของภาพวาดโบราณที่มีชื่อเสียงจัดเป็นสมบัติชาติของจีน ซึ่งในหลายฉากอื่นในละครก็มีภาพวาดโบราณเหล่านี้ให้ดูอีก วันนี้ยกตัวอย่างมาให้ดูกันสามภาพ

    ภาพแรกคือภาพ ‘เหลียนฉือสุ่ยโซ่ว’ (莲池水禽图 แปลได้ว่าภาพสัตว์น้ำในสระปทุม ดูรูปประกอบ1) ภาพนี้เป็นภาพวาดสมัยปลายถัง-ห้าราชวงศ์ เป็นภาพคู่ วาดขึ้นบนผ้าไหมหรือที่เรียกว่า ‘เจวี้ยนเปิ่น’ (绢本/silk scroll) ขนาดประมาณของภาพแต่ละผืนคือ 106 x 91ซม. วาดโดยกู้เต๋อเชียนซึ่งมีพื้นเพอยู่เจียงหนาน ปัจจุบันเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติโตเกียว

    ภาพต่อมาคือภาพ ‘ซีซันหลี่ว์สิง’ (溪山行旅图 แปลได้ว่าภาพการท่องไปตามภูเขาลำธาร ดูรูปประกอบ2) ภาพนี้วาดโดยฟ่านควน จิตรกรสมัยซ่งเหนือ วาดขึ้นบนผ้าไหมเช่นกัน ขนาดประมาณ 206 x 103ซม. เป็นสมบัติในวังหลวงสืบทอดกันมา (มีตราประทับห้องทรงพระอักษรสมัยหมิงและชิงอยู่ที่ขอบรูปจริง) ปัจจุบันจัดเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้าม

    ภาพที่สามคือภาพ ‘ชิวซานเวิ่นเต้า’ (秋山问道图 แปลได้ประมาณว่าภาพการแสวงหาทางธรรมกลางภูผาในสารทฤดู) เป็นภาพสมัยปลายห้าราชวงศ์-ต้นซ่ง ผู้วาดเป็นนักบวชนามว่าจวี้หรัน เป็นภาพวาดบนผ้าไหมเช่นกัน ขนาดประมาณ 165 x 77ซม. ปัจจุบันภาพที่จัดเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้ามเช่นกัน

    พูดถึงภาพจริงกันไปแล้วพอหอมปากหอมคอ แน่นอนว่าในละครยังมีอีกหลายภาพ ใครที่ยังดูละครเรื่องนี้อยู่อย่ามัวแต่เพลินตากับพระนางนะคะ ดูอาร์ตแกเลอรี่ที่เขาใส่มาให้ในละครด้วย

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กดติดตามกันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพและข้อมูลเรียบเรียงจากในละครและจาก:
    https://www.163.com/dy/article/HBHTPUAG055226SD.html
    https://news.yangtse.com/content/1470761.html
    http://www.chinashj.com/sh-gdhh-wd/502.html
    https://baike.baidu.com/item/秋山问道图/2237166
    https://baike.baidu.com/item/溪山行旅图/1775752

    #สามบุปผาลิขิตฝัน #ซีซันหลี่ว์สิง #เหลียนฉือสุ่ยโซ่ว #ชิวซานเวิ่นเต้า #ภาพวาดจีนโบราณ
    สัปดาห์ที่แล้วพูดถึงภาพวาดโบราณที่ถูกจัดอันดับให้เป็นหนึ่งในสิบที่ล้ำค่าที่สุดของจีน วันนี้มาคุยกันสั้นๆ ถึงภาพวาดที่ปรากฏในละครเรื่อง <สามบุปผาลิขิตฝัน> ละครเปิดฉากมาที่ร้านชาในเจียงหนานของนางเอกจ้าวพ่านเอ๋อร์ เพื่อนเพจที่ได้ดูละครอาจมัวแต่เพลินกับความสวยของนางเอกและวิวทิวทัศน์จนไม่ทันสังเกตว่าผนังร้านมีภาพวาดแขวนเต็มไปหมด Storyฯ จะบอกว่ามันคือแกลเลอรี่ดีๆ นี่เอง เพราะภาพที่โชว์อยู่ตามผนังเป็นภาพเหมือนของภาพวาดโบราณที่มีชื่อเสียงจัดเป็นสมบัติชาติของจีน ซึ่งในหลายฉากอื่นในละครก็มีภาพวาดโบราณเหล่านี้ให้ดูอีก วันนี้ยกตัวอย่างมาให้ดูกันสามภาพ ภาพแรกคือภาพ ‘เหลียนฉือสุ่ยโซ่ว’ (莲池水禽图 แปลได้ว่าภาพสัตว์น้ำในสระปทุม ดูรูปประกอบ1) ภาพนี้เป็นภาพวาดสมัยปลายถัง-ห้าราชวงศ์ เป็นภาพคู่ วาดขึ้นบนผ้าไหมหรือที่เรียกว่า ‘เจวี้ยนเปิ่น’ (绢本/silk scroll) ขนาดประมาณของภาพแต่ละผืนคือ 106 x 91ซม. วาดโดยกู้เต๋อเชียนซึ่งมีพื้นเพอยู่เจียงหนาน ปัจจุบันเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติโตเกียว ภาพต่อมาคือภาพ ‘ซีซันหลี่ว์สิง’ (溪山行旅图 แปลได้ว่าภาพการท่องไปตามภูเขาลำธาร ดูรูปประกอบ2) ภาพนี้วาดโดยฟ่านควน จิตรกรสมัยซ่งเหนือ วาดขึ้นบนผ้าไหมเช่นกัน ขนาดประมาณ 206 x 103ซม. เป็นสมบัติในวังหลวงสืบทอดกันมา (มีตราประทับห้องทรงพระอักษรสมัยหมิงและชิงอยู่ที่ขอบรูปจริง) ปัจจุบันจัดเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้าม ภาพที่สามคือภาพ ‘ชิวซานเวิ่นเต้า’ (秋山问道图 แปลได้ประมาณว่าภาพการแสวงหาทางธรรมกลางภูผาในสารทฤดู) เป็นภาพสมัยปลายห้าราชวงศ์-ต้นซ่ง ผู้วาดเป็นนักบวชนามว่าจวี้หรัน เป็นภาพวาดบนผ้าไหมเช่นกัน ขนาดประมาณ 165 x 77ซม. ปัจจุบันภาพที่จัดเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พระราชวังต้องห้ามเช่นกัน พูดถึงภาพจริงกันไปแล้วพอหอมปากหอมคอ แน่นอนว่าในละครยังมีอีกหลายภาพ ใครที่ยังดูละครเรื่องนี้อยู่อย่ามัวแต่เพลินตากับพระนางนะคะ ดูอาร์ตแกเลอรี่ที่เขาใส่มาให้ในละครด้วย (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กดติดตามกันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพและข้อมูลเรียบเรียงจากในละครและจาก: https://www.163.com/dy/article/HBHTPUAG055226SD.html https://news.yangtse.com/content/1470761.html http://www.chinashj.com/sh-gdhh-wd/502.html https://baike.baidu.com/item/秋山问道图/2237166 https://baike.baidu.com/item/溪山行旅图/1775752 #สามบุปผาลิขิตฝัน #ซีซันหลี่ว์สิง #เหลียนฉือสุ่ยโซ่ว #ชิวซานเวิ่นเต้า #ภาพวาดจีนโบราณ
    《梦华录》中的挂画,惊现国宝《溪山行旅图》!
    《梦华录》中的挂画,惊现国宝《溪山行旅图》!,溪山行旅图,梦华录,范宽,董其昌,挂画,画家
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 522 มุมมอง 0 รีวิว
  • เจ้าชายสิทธัตถะ หรือที่รู้จักในนาม **พระโคตมพุทธเจ้า** เป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์และศาสนาพุทธ พระองค์ประสูติเมื่อประมาณ 563 ปีก่อนคริสตกาล (หรือตามบางแหล่งข้อมูลคือ 480 ปีก่อนคริสตกาล) ที่ลุมพินีวัน ปัจจุบันอยู่ในประเทศเนปาล

    ### ชีวิตในวัยเยาว์
    เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งแคว้นสักกะ และพระนางสิริมหามายา พระองค์ทรงเติบโตในพระราชวังที่เต็มไปด้วยความสุขสบายและความหรูหรา ทรงได้รับการศึกษาอย่างดีและมีชีวิตที่สุขสบาย

    ### การออกบวช
    เมื่อพระองค์ทรงพบกับความทุกข์ในชีวิต เช่น การเจ็บป่วย ความแก่ และความตาย พระองค์ตัดสินพระทัยออกบวชเพื่อค้นหาความจริงของชีวิตและหนทางในการหลุดพ้นจากความทุกข์ พระองค์ทรงออกจากพระราชวังเมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา และทรงเริ่มการแสวงหาความรู้และความจริง

    ### การตรัสรู้
    หลังจากแสวงหาความรู้และปฏิบัติธรรมอย่างหนัก พระองค์ทรงตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าใต้ต้นโพธิ์ที่ตำบลพุทธคยา เมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา พระองค์ทรงค้นพบ **อริยสัจ 4** (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ) และ **มรรคมีองค์ 8** (หนทางสู่การหลุดพ้นจากความทุกข์)

    ### การเผยแผ่ธรรมะ
    หลังจากตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงใช้เวลากว่า 45 ปี ในการเผยแผ่ธรรมะและสอนผู้คนให้เข้าใจถึงความจริงของชีวิตและหนทางสู่การหลุดพ้น พระองค์ทรงมีสาวกจำนวนมาก ทั้งพระภิกษุและฆราวาส

    ### การปรินิพพาน
    พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานเมื่อพระชนมายุ 80 พรรษา ที่เมืองกุสินารา ปัจจุบันอยู่ในประเทศอินเดีย การปรินิพพานของพระองค์ถือเป็นการสิ้นสุดของวัฏสงสารและการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง

    ### มรดกทางจิตวิญญาณ
    พระพุทธเจ้าทรงทิ้งมรดกทางจิตวิญญาณอันยิ่งใหญ่ไว้ให้แก่มนุษยชาติ หลักธรรมคำสอนของพระองค์ยังคงมีอิทธิพลต่อผู้คนทั่วโลกจนถึงปัจจุบัน ทั้งในด้านการปฏิบัติธรรมและการดำเนินชีวิตอย่างมีสติและปัญญา

    หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า หรือหลักธรรมคำสอนของพระองค์ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้นะครับ!
    เจ้าชายสิทธัตถะ หรือที่รู้จักในนาม **พระโคตมพุทธเจ้า** เป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์และศาสนาพุทธ พระองค์ประสูติเมื่อประมาณ 563 ปีก่อนคริสตกาล (หรือตามบางแหล่งข้อมูลคือ 480 ปีก่อนคริสตกาล) ที่ลุมพินีวัน ปัจจุบันอยู่ในประเทศเนปาล ### ชีวิตในวัยเยาว์ เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งแคว้นสักกะ และพระนางสิริมหามายา พระองค์ทรงเติบโตในพระราชวังที่เต็มไปด้วยความสุขสบายและความหรูหรา ทรงได้รับการศึกษาอย่างดีและมีชีวิตที่สุขสบาย ### การออกบวช เมื่อพระองค์ทรงพบกับความทุกข์ในชีวิต เช่น การเจ็บป่วย ความแก่ และความตาย พระองค์ตัดสินพระทัยออกบวชเพื่อค้นหาความจริงของชีวิตและหนทางในการหลุดพ้นจากความทุกข์ พระองค์ทรงออกจากพระราชวังเมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา และทรงเริ่มการแสวงหาความรู้และความจริง ### การตรัสรู้ หลังจากแสวงหาความรู้และปฏิบัติธรรมอย่างหนัก พระองค์ทรงตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าใต้ต้นโพธิ์ที่ตำบลพุทธคยา เมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา พระองค์ทรงค้นพบ **อริยสัจ 4** (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ) และ **มรรคมีองค์ 8** (หนทางสู่การหลุดพ้นจากความทุกข์) ### การเผยแผ่ธรรมะ หลังจากตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงใช้เวลากว่า 45 ปี ในการเผยแผ่ธรรมะและสอนผู้คนให้เข้าใจถึงความจริงของชีวิตและหนทางสู่การหลุดพ้น พระองค์ทรงมีสาวกจำนวนมาก ทั้งพระภิกษุและฆราวาส ### การปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานเมื่อพระชนมายุ 80 พรรษา ที่เมืองกุสินารา ปัจจุบันอยู่ในประเทศอินเดีย การปรินิพพานของพระองค์ถือเป็นการสิ้นสุดของวัฏสงสารและการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง ### มรดกทางจิตวิญญาณ พระพุทธเจ้าทรงทิ้งมรดกทางจิตวิญญาณอันยิ่งใหญ่ไว้ให้แก่มนุษยชาติ หลักธรรมคำสอนของพระองค์ยังคงมีอิทธิพลต่อผู้คนทั่วโลกจนถึงปัจจุบัน ทั้งในด้านการปฏิบัติธรรมและการดำเนินชีวิตอย่างมีสติและปัญญา หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า หรือหลักธรรมคำสอนของพระองค์ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้นะครับ!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 472 มุมมอง 0 รีวิว
  • เทคโนโลยีกับพระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและน่าสนใจ ทั้งในด้านการเสริมสร้างการปฏิบัติธรรมและการท้าทายต่อหลักคำสอนพื้นฐาน ต่อไปนี้เป็นแนวคิดหลักที่เชื่อมโยงทั้งสองประเด็น:

    ### 1. **เทคโนโลยีสนับสนุนการปฏิบัติธรรม**
    - **แอปพลิเคชันสมาธิและธรรมะ**: แอปเช่น *Insight Timer* หรือ *Headspace* ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงการนั่งสมาธิแบบมีคำแนะนำ บทสวดมนต์ และคำสอนทางพุทธศาสนาได้ง่ายขึ้น
    - **การเรียนรู้ทางไกล**: พุทธศาสนิกชนสามารถฟังธรรมจากพระอาจารย์ทั่วโลกผ่าน YouTube, Podcasts หรือเว็บไซต์ เช่น [DharmaSeed](https://www.dharmaseed.org)
    - **วัดเสมือนจริง**: ในยุคโควิด-19 หลายวัดจัดกิจกรรมทางศาสนาออนไลน์ เช่น การถ่ายทอดสดการบวชพระ หรือการปฏิบัติธรรมร่วมกันผ่าน Zoom

    ### 2. **การเผยแผ่ธรรมะในยุคดิจิทัล**
    - **โซเชียลมีเดีย**: พระสงฆ์หลายรูปใช้ Facebook หรือ TikTok แบ่งปันคำสอนสั้นๆ ที่เข้าถึงคนรุ่นใหม่
    - **ปัญญาประดิษฐ์ (AI)**: มีการพัฒนา AI ที่สามารถตอบคำถามธรรมะเบื้องต้น หรือแปลพระสูตรโบราณได้ แต่ยังเป็นที่ถกเถียงเรื่องความลึกซึ้งทางจิตวิญญาณ

    ### 3. **ความท้าทายต่อหลักพุทธธรรม**
    - **การเสพติดเทคโนโลยี**: การใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปขัดกับหลัก "สติ" และ "ความพอดี" ในทางพุทธ
    - **โลกเสมือนกับความจริง**: การใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลอาจทำให้หลงลืมการอยู่กับปัจจุบัน (หลักอริยสัจ 4)
    - **จริยธรรมทางเทคโนโลยี**: การพัฒนา AI หรือชีวเทคโนโลยีตั้งคำถามเชิงพุทธเกี่ยวกับ "กรรม" และ "เจตนา"

    ### 4. **พุทธธรรมกับการออกแบบเทคโนโลยี**
    - **เทคโนโลยีเชิงเมตตา**: หลัก "กรุณา" และ "มุทิตา" อาจ inspire การออกแบบเทคโนโลยีที่ลดการแบ่งแยกหรือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส
    - **Digital Detox**: แนวคิด "ความไม่ยึดมั่น" ส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีสติ ไม่ตกเป็นทาสของอุปกรณ์

    ### 5. **กรณีศึกษา**
    - **หุ่นยนต์สอนธรรมะ**: ในญี่ปุ่น มีการทดลองใช้หุ่นยนต์ Pepper อ่านพระสูตร แต่หลายคนเห็นว่าขาด "จิตวิญญาณแห่งการสั่งสอน"
    - **Blockchain กับวัด**: บางวัดใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพื่อความโปร่งใสในการบริจาค

    ### 6. **ทางสายกลางในยุคดิจิทัล**
    พระพุทธศาสนาเน้น "มัชฌิมาปฏิปทา" การใช้เทคโนโลยีจึงควรอยู่บนพื้นฐาน:
    - **สติ**: รู้ตัวว่ากำลังใช้เทคโนโลยีเพื่ออะไร
    - **วัตถุประสงค์เชิงกุศล**: นำไปสู่การลดทุกข์ ไม่ใช่เพิ่มตัณหา
    - **ความสัมพันธ์มนุษย์**: ไม่ให้เทคโนโลยีทำลายการสื่อสารแบบเห็นหน้า

    ### สรุป
    เทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่องมือ ไม่ใช่จุดหมายสุดท้าย การใช้อย่างชาญฉลาดภายใต้กรอบศีลธรรมทางพุทธศาสนาจะช่วยให้มนุษย์พัฒนาจิตใจควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางวัตถุ โดยไม่หลงลืมแก่นแท้แห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ ☸️💻
    เทคโนโลยีกับพระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและน่าสนใจ ทั้งในด้านการเสริมสร้างการปฏิบัติธรรมและการท้าทายต่อหลักคำสอนพื้นฐาน ต่อไปนี้เป็นแนวคิดหลักที่เชื่อมโยงทั้งสองประเด็น: ### 1. **เทคโนโลยีสนับสนุนการปฏิบัติธรรม** - **แอปพลิเคชันสมาธิและธรรมะ**: แอปเช่น *Insight Timer* หรือ *Headspace* ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงการนั่งสมาธิแบบมีคำแนะนำ บทสวดมนต์ และคำสอนทางพุทธศาสนาได้ง่ายขึ้น - **การเรียนรู้ทางไกล**: พุทธศาสนิกชนสามารถฟังธรรมจากพระอาจารย์ทั่วโลกผ่าน YouTube, Podcasts หรือเว็บไซต์ เช่น [DharmaSeed](https://www.dharmaseed.org) - **วัดเสมือนจริง**: ในยุคโควิด-19 หลายวัดจัดกิจกรรมทางศาสนาออนไลน์ เช่น การถ่ายทอดสดการบวชพระ หรือการปฏิบัติธรรมร่วมกันผ่าน Zoom ### 2. **การเผยแผ่ธรรมะในยุคดิจิทัล** - **โซเชียลมีเดีย**: พระสงฆ์หลายรูปใช้ Facebook หรือ TikTok แบ่งปันคำสอนสั้นๆ ที่เข้าถึงคนรุ่นใหม่ - **ปัญญาประดิษฐ์ (AI)**: มีการพัฒนา AI ที่สามารถตอบคำถามธรรมะเบื้องต้น หรือแปลพระสูตรโบราณได้ แต่ยังเป็นที่ถกเถียงเรื่องความลึกซึ้งทางจิตวิญญาณ ### 3. **ความท้าทายต่อหลักพุทธธรรม** - **การเสพติดเทคโนโลยี**: การใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปขัดกับหลัก "สติ" และ "ความพอดี" ในทางพุทธ - **โลกเสมือนกับความจริง**: การใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลอาจทำให้หลงลืมการอยู่กับปัจจุบัน (หลักอริยสัจ 4) - **จริยธรรมทางเทคโนโลยี**: การพัฒนา AI หรือชีวเทคโนโลยีตั้งคำถามเชิงพุทธเกี่ยวกับ "กรรม" และ "เจตนา" ### 4. **พุทธธรรมกับการออกแบบเทคโนโลยี** - **เทคโนโลยีเชิงเมตตา**: หลัก "กรุณา" และ "มุทิตา" อาจ inspire การออกแบบเทคโนโลยีที่ลดการแบ่งแยกหรือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส - **Digital Detox**: แนวคิด "ความไม่ยึดมั่น" ส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีสติ ไม่ตกเป็นทาสของอุปกรณ์ ### 5. **กรณีศึกษา** - **หุ่นยนต์สอนธรรมะ**: ในญี่ปุ่น มีการทดลองใช้หุ่นยนต์ Pepper อ่านพระสูตร แต่หลายคนเห็นว่าขาด "จิตวิญญาณแห่งการสั่งสอน" - **Blockchain กับวัด**: บางวัดใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพื่อความโปร่งใสในการบริจาค ### 6. **ทางสายกลางในยุคดิจิทัล** พระพุทธศาสนาเน้น "มัชฌิมาปฏิปทา" การใช้เทคโนโลยีจึงควรอยู่บนพื้นฐาน: - **สติ**: รู้ตัวว่ากำลังใช้เทคโนโลยีเพื่ออะไร - **วัตถุประสงค์เชิงกุศล**: นำไปสู่การลดทุกข์ ไม่ใช่เพิ่มตัณหา - **ความสัมพันธ์มนุษย์**: ไม่ให้เทคโนโลยีทำลายการสื่อสารแบบเห็นหน้า ### สรุป เทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่องมือ ไม่ใช่จุดหมายสุดท้าย การใช้อย่างชาญฉลาดภายใต้กรอบศีลธรรมทางพุทธศาสนาจะช่วยให้มนุษย์พัฒนาจิตใจควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางวัตถุ โดยไม่หลงลืมแก่นแท้แห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ ☸️💻
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 677 มุมมอง 0 รีวิว
  • มหกรรมจราจรหนาแน่นติดขัด300 กิโลเมตรที่อินเดีย เนื่องจากเทศกาลแสวงบุญ "กุมภเมลา" (Kumbh Mela) ของชาวฮินดู เริ่มต้นขึ้นแล้วอย่างเป็นทางการในปีนี้ ที่อำเภอประยาคราช (Prayagraj) ในเมืองอัลลาฮาบัด (Allahabad) ของรัฐอุตตรประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย ซึ่งเทศกาลนี้มีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่วโลกว่าเป็นงานชุมนุมขนาดใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติเทศกาลแสวงบุญซึ่งจะจัดขึ้นเป็นเวลาทั้งหมด 45 วัน เริ่มต้นวันแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 13 ม.ค. ที่ผ่านมา โดยเปิดให้ทำพิธีใหญ่เพื่ออาบน้ำชำระล้างบาปในแม่น้ำคงคาได้ ตั้งแต่วันอังคารที่ 14 ม.ค. เป็นต้นไป ซึ่งในพิธีดังกล่าวเหล่า "นาคสาธุ" (Naga Sadhu) นักบวชฮินดูที่เปลือยกายและทาตัวด้วยเถ้าถ่าน ทั้งยังไว้ผมยาวที่พันกันยุ่งเหยิงจนจับตัวเป็นก้อนเหมือนเส้นเชือก จะมาลงอาบน้ำชำระกายซึ่งเป็นภาพที่หาดูได้ยากตลอดระยะเวลา 6 สัปดาห์ของเทศกาลกุมภเมลา ผู้ที่นับถือศรัทธาในศาสนาฮินดูจะพากันมาลงอาบในแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ ตรงบริเวณที่เรียกว่า "สังฆัม" (Sangham) ซึ่งเป็นจุดบรรจบของแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์สามสายหรือจุฬาตรีคูณ ได้แก่แม่น้ำคงคา, แม่น้ำยมุนา, และแม่น้ำสรัสวตี ซึ่งแม่น้ำสายที่สามนี้เป็นสายธารในตำนานปรัมปราที่มนุษย์ไม่อาจมองเห็นได้ชาวฮินดูเชื่อว่าการทำพิธีอาบน้ำศักดิ์สิทธิ์ในเทศกาลนี้ จะช่วยล้างบาปมลทินและชำระจิตวิญญาณให้บริสุทธิ์ ปลดปล่อยพวกเขาให้หลุดพ้นจากวัฏสงสารหรือวงจรการเวียนว่ายตายเกิด อันเป็นการบรรลุเป้าหมายสูงสุดของของศาสนาฮินดูหรือโมกษะวิเวก จตุรเวที เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองบอกกับบีบีซีว่า ก่อนจะถึงวันสุดท้ายของการแสวงบุญในวันที่ 26 ก.พ. คาดว่าจะมีผู้คนมาเข้าร่วมเทศกาลกุมภเมลากันอย่างล้นหลามราว 400 ล้านคน ซึ่งที่ผ่านมาตัวเลขสถิติที่สูงเป็นประวัติการณ์ถึงขนาดนี้ ทำให้เทศกาลดังกล่าวได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ (Intangible Heritage of Humanity) โดยองค์การยูเนสโก (UNESCO) ส่วนกลุ่มก้อนของประชากรมนุษย์จำนวนมหาศาล ก็ยังสามารถสังเกตเห็นได้จากห้วงอวกาศอีกด้วยที่มา https://www.firstpost.com/explainers/maha-kumbh-2025-traffic-jams-prayagraj-uttar-pradesh-13861659.html
    มหกรรมจราจรหนาแน่นติดขัด300 กิโลเมตรที่อินเดีย เนื่องจากเทศกาลแสวงบุญ "กุมภเมลา" (Kumbh Mela) ของชาวฮินดู เริ่มต้นขึ้นแล้วอย่างเป็นทางการในปีนี้ ที่อำเภอประยาคราช (Prayagraj) ในเมืองอัลลาฮาบัด (Allahabad) ของรัฐอุตตรประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย ซึ่งเทศกาลนี้มีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่วโลกว่าเป็นงานชุมนุมขนาดใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติเทศกาลแสวงบุญซึ่งจะจัดขึ้นเป็นเวลาทั้งหมด 45 วัน เริ่มต้นวันแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 13 ม.ค. ที่ผ่านมา โดยเปิดให้ทำพิธีใหญ่เพื่ออาบน้ำชำระล้างบาปในแม่น้ำคงคาได้ ตั้งแต่วันอังคารที่ 14 ม.ค. เป็นต้นไป ซึ่งในพิธีดังกล่าวเหล่า "นาคสาธุ" (Naga Sadhu) นักบวชฮินดูที่เปลือยกายและทาตัวด้วยเถ้าถ่าน ทั้งยังไว้ผมยาวที่พันกันยุ่งเหยิงจนจับตัวเป็นก้อนเหมือนเส้นเชือก จะมาลงอาบน้ำชำระกายซึ่งเป็นภาพที่หาดูได้ยากตลอดระยะเวลา 6 สัปดาห์ของเทศกาลกุมภเมลา ผู้ที่นับถือศรัทธาในศาสนาฮินดูจะพากันมาลงอาบในแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ ตรงบริเวณที่เรียกว่า "สังฆัม" (Sangham) ซึ่งเป็นจุดบรรจบของแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์สามสายหรือจุฬาตรีคูณ ได้แก่แม่น้ำคงคา, แม่น้ำยมุนา, และแม่น้ำสรัสวตี ซึ่งแม่น้ำสายที่สามนี้เป็นสายธารในตำนานปรัมปราที่มนุษย์ไม่อาจมองเห็นได้ชาวฮินดูเชื่อว่าการทำพิธีอาบน้ำศักดิ์สิทธิ์ในเทศกาลนี้ จะช่วยล้างบาปมลทินและชำระจิตวิญญาณให้บริสุทธิ์ ปลดปล่อยพวกเขาให้หลุดพ้นจากวัฏสงสารหรือวงจรการเวียนว่ายตายเกิด อันเป็นการบรรลุเป้าหมายสูงสุดของของศาสนาฮินดูหรือโมกษะวิเวก จตุรเวที เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองบอกกับบีบีซีว่า ก่อนจะถึงวันสุดท้ายของการแสวงบุญในวันที่ 26 ก.พ. คาดว่าจะมีผู้คนมาเข้าร่วมเทศกาลกุมภเมลากันอย่างล้นหลามราว 400 ล้านคน ซึ่งที่ผ่านมาตัวเลขสถิติที่สูงเป็นประวัติการณ์ถึงขนาดนี้ ทำให้เทศกาลดังกล่าวได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ (Intangible Heritage of Humanity) โดยองค์การยูเนสโก (UNESCO) ส่วนกลุ่มก้อนของประชากรมนุษย์จำนวนมหาศาล ก็ยังสามารถสังเกตเห็นได้จากห้วงอวกาศอีกด้วยที่มา https://www.firstpost.com/explainers/maha-kumbh-2025-traffic-jams-prayagraj-uttar-pradesh-13861659.html
    WWW.FIRSTPOST.COM
    ‘Stuck for 48 hours’: Inside the 300-km traffic jams to Maha Kumbh, the ‘world’s biggest’
    Thousands of devotees planning to visit Maha Kumbh Mela in Uttar Pradesh in cars were stranded for 48 hours in 300-kilometre traffic jams leading up to Prayagraj. Some say it took 10-12 hours to cover just 50 kilometres on Sunday. Overcrowding during the weekends is one of the major reasons behind the snarls
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 343 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://www.youtube.com/watch?v=nwUR7aWqhyU
    แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาวันวาเลนไทน์
    (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้)
    แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาวันวาเลนไทน์
    มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ

    #บทสนทนาภาษาอังกฤษ #ฝึกฟังภาษาอังกฤษ #วาเลนไทน์

    The conversations from the clip :

    James: Hey, Sophia! Valentine’s Day is coming soon. Do you know the history behind it?
    Sophia: Of course! It started with Saint Valentine, a priest in ancient Rome.
    James: Oh yeah, he secretly performed weddings for soldiers, right?
    Sophia: Exactly! Emperor Claudius II banned soldiers from getting married, but Saint Valentine helped them in secret.
    James: That’s so romantic! But sadly, he was caught and executed on February 14th.
    Sophia: Yes, and that’s why we celebrate Valentine’s Day on that date. Over time, it became a day for love and romance.
    James: Speaking of romance, how about we go on a special date this year?
    Sophia: I’d love that! Do you have any plans in mind?
    James: How about a fancy dinner at a rooftop restaurant, and then we take a walk in the park?
    Sophia: That sounds amazing! A romantic evening with a beautiful view.
    James: And I have a special gift for you!
    Sophia: Aww, really? What is it? Give me a hint!
    James: Hmm… It’s something shiny that you can wear every day.
    Sophia: Oh my gosh! Is it a necklace?
    James: Yes! I picked a beautiful necklace that reminds me of you.
    Sophia: That’s so sweet! I love it already. This is going to be the best Valentine’s Day ever!

    James: เฮ้, โซเฟีย! วันวาเลนไทน์ใกล้จะมาถึงแล้วนะ เธอรู้ประวัติของวันนี้ไหม?
    Sophia: รู้สิ! มันเริ่มต้นจาก นักบุญวาเลนไทน์ ซึ่งเป็นนักบวชในกรุงโรมสมัยโบราณ
    James: ใช่เลย! เขาแอบจัดพิธีแต่งงานให้กับทหารใช่ไหม?
    Sophia: ใช่แล้ว! จักรพรรดิคลอดิอุสที่ 2 ห้ามทหารแต่งงาน แต่นักบุญวาเลนไทน์ช่วยพวกเขาอย่างลับ ๆ
    James: โรแมนติกมาก! แต่สุดท้ายเขาถูกจับและถูกประหารชีวิตในวันที่ 14 กุมภาพันธ์
    Sophia: ใช่ และนั่นเป็นเหตุผลที่เราฉลองวันวาเลนไทน์ในวันนี้ เมื่อเวลาผ่านไป วันนี้ก็กลายเป็นวันแห่งความรักและความโรแมนติก
    James: พูดถึงความโรแมนติกแล้ว ปีนี้เราไปเดทพิเศษกันดีไหม?
    Sophia: ฉันชอบไอเดียนั้นเลย! เธอมีแผนอะไรหรือเปล่า?
    James: ไปดินเนอร์ที่ร้านอาหารบนดาดฟ้าดีไหม แล้วจากนั้นก็เดินเล่นในสวนสาธารณะ
    Sophia: ฟังดูดีมาก! ค่ำคืนสุดโรแมนติกกับวิวสวย ๆ
    James: และฉันมีของขวัญพิเศษให้เธอด้วยนะ!
    Sophia: ว้าว จริงเหรอ? อะไรเหรอ? บอกใบ้หน่อย!
    James: อืม… มันเป็นของที่เป็นประกายและเธอสามารถใส่ได้ทุกวัน
    Sophia: โอ้! หรือว่าสร้อยคอ?
    James: ใช่เลย! ฉันเลือกสร้อยคอที่สวยที่สุด เพราะมันทำให้ฉันนึกถึงเธอ
    Sophia: น่ารักมากเลย! ฉันชอบมันแน่นอน นี่ต้องเป็นวันวาเลนไทน์ที่ดีที่สุดแน่ ๆ!

    Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้)

    Valentine (แวล-นไทน์) n. แปลว่า วันวาเลนไทน์
    History (ฮิส-ทอรี) n. แปลว่า ประวัติศาสตร์
    Priest (พรีสท์) n. แปลว่า นักบวช
    Emperor (เอ็ม-พี-เร่อ) n. แปลว่า จักรพรรดิ
    Rome (โรม) n. แปลว่า กรุงโรม
    Soldier (โซล-เจอ) n. แปลว่า ทหาร
    Marriage (แมร์-ริจ) n. แปลว่า การแต่งงาน
    Banned (แบน) adj. แปลว่า ถูกห้าม
    Executed (เอ็ก-ซี-คิว-ทิด) v. แปลว่า ถูกประหารชีวิต
    Celebrate (เซล-เล-เบรท) v. แปลว่า เฉลิมฉลอง
    Romantic (โร-แมน-ทิค) adj. แปลว่า โรแมนติก
    Dinner (ดิน-เนอร์) n. แปลว่า อาหารค่ำ
    Necklace (เนค-คเลิส) n. แปลว่า สร้อยคอ
    Hint (ฮินท์) n. แปลว่า คำใบ้
    Special (สเปช-ชัล) adj. แปลว่า พิเศษ
    https://www.youtube.com/watch?v=nwUR7aWqhyU แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาวันวาเลนไทน์ (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้) แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาวันวาเลนไทน์ มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ #บทสนทนาภาษาอังกฤษ #ฝึกฟังภาษาอังกฤษ #วาเลนไทน์ The conversations from the clip : James: Hey, Sophia! Valentine’s Day is coming soon. Do you know the history behind it? Sophia: Of course! It started with Saint Valentine, a priest in ancient Rome. James: Oh yeah, he secretly performed weddings for soldiers, right? Sophia: Exactly! Emperor Claudius II banned soldiers from getting married, but Saint Valentine helped them in secret. James: That’s so romantic! But sadly, he was caught and executed on February 14th. Sophia: Yes, and that’s why we celebrate Valentine’s Day on that date. Over time, it became a day for love and romance. James: Speaking of romance, how about we go on a special date this year? Sophia: I’d love that! Do you have any plans in mind? James: How about a fancy dinner at a rooftop restaurant, and then we take a walk in the park? Sophia: That sounds amazing! A romantic evening with a beautiful view. James: And I have a special gift for you! Sophia: Aww, really? What is it? Give me a hint! James: Hmm… It’s something shiny that you can wear every day. Sophia: Oh my gosh! Is it a necklace? James: Yes! I picked a beautiful necklace that reminds me of you. Sophia: That’s so sweet! I love it already. This is going to be the best Valentine’s Day ever! James: เฮ้, โซเฟีย! วันวาเลนไทน์ใกล้จะมาถึงแล้วนะ เธอรู้ประวัติของวันนี้ไหม? Sophia: รู้สิ! มันเริ่มต้นจาก นักบุญวาเลนไทน์ ซึ่งเป็นนักบวชในกรุงโรมสมัยโบราณ James: ใช่เลย! เขาแอบจัดพิธีแต่งงานให้กับทหารใช่ไหม? Sophia: ใช่แล้ว! จักรพรรดิคลอดิอุสที่ 2 ห้ามทหารแต่งงาน แต่นักบุญวาเลนไทน์ช่วยพวกเขาอย่างลับ ๆ James: โรแมนติกมาก! แต่สุดท้ายเขาถูกจับและถูกประหารชีวิตในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ Sophia: ใช่ และนั่นเป็นเหตุผลที่เราฉลองวันวาเลนไทน์ในวันนี้ เมื่อเวลาผ่านไป วันนี้ก็กลายเป็นวันแห่งความรักและความโรแมนติก James: พูดถึงความโรแมนติกแล้ว ปีนี้เราไปเดทพิเศษกันดีไหม? Sophia: ฉันชอบไอเดียนั้นเลย! เธอมีแผนอะไรหรือเปล่า? James: ไปดินเนอร์ที่ร้านอาหารบนดาดฟ้าดีไหม แล้วจากนั้นก็เดินเล่นในสวนสาธารณะ Sophia: ฟังดูดีมาก! ค่ำคืนสุดโรแมนติกกับวิวสวย ๆ James: และฉันมีของขวัญพิเศษให้เธอด้วยนะ! Sophia: ว้าว จริงเหรอ? อะไรเหรอ? บอกใบ้หน่อย! James: อืม… มันเป็นของที่เป็นประกายและเธอสามารถใส่ได้ทุกวัน Sophia: โอ้! หรือว่าสร้อยคอ? James: ใช่เลย! ฉันเลือกสร้อยคอที่สวยที่สุด เพราะมันทำให้ฉันนึกถึงเธอ Sophia: น่ารักมากเลย! ฉันชอบมันแน่นอน นี่ต้องเป็นวันวาเลนไทน์ที่ดีที่สุดแน่ ๆ! Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้) Valentine (แวล-นไทน์) n. แปลว่า วันวาเลนไทน์ History (ฮิส-ทอรี) n. แปลว่า ประวัติศาสตร์ Priest (พรีสท์) n. แปลว่า นักบวช Emperor (เอ็ม-พี-เร่อ) n. แปลว่า จักรพรรดิ Rome (โรม) n. แปลว่า กรุงโรม Soldier (โซล-เจอ) n. แปลว่า ทหาร Marriage (แมร์-ริจ) n. แปลว่า การแต่งงาน Banned (แบน) adj. แปลว่า ถูกห้าม Executed (เอ็ก-ซี-คิว-ทิด) v. แปลว่า ถูกประหารชีวิต Celebrate (เซล-เล-เบรท) v. แปลว่า เฉลิมฉลอง Romantic (โร-แมน-ทิค) adj. แปลว่า โรแมนติก Dinner (ดิน-เนอร์) n. แปลว่า อาหารค่ำ Necklace (เนค-คเลิส) n. แปลว่า สร้อยคอ Hint (ฮินท์) n. แปลว่า คำใบ้ Special (สเปช-ชัล) adj. แปลว่า พิเศษ
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 842 มุมมอง 0 รีวิว
  • Credit : ชนะศึก จุลกะ

    ... 12 กุมภาพันธ์ 2568 ตรงกับ วันพุธ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 วันนี้เป็น
    #วันมาฆบูชา
    เป็นวันที่ พระจันทร์เสวยมาฆฤกษ์
    พระสงฆ์ 1250 รูป มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย
    พระสงฆ์ที่มาประชุมกันเป็นพระอรหันต์ขีณาสพทั้งสิ้น
    พระอรหันต์ทั้งหมดนั้น เป็นเอหิภิกขุ คือ พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ทั้งหมด
    ในวันนี้ พระพุทธองค์ ทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์ คือ หัวใจของพระพุทธศาสนา กล่าวโดยย่อ มี 3 ประการ คือ
    ทำความดีในที่ทั้งปวง
    ละเว้นความชั่วในที่ทั้งปวง
    ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ปราศจากกิเลสมลทินเครื่องเศร้าหมอง
    เราทั้งหลายได้อยู่มาถึงกาลสมัย มาฆปุรณมี พึงสร้างบุญกุศล ด้วย ทาน ศีล ภาวนา สร้างสมบุญบารมีให้เกิดขึ้นมีขึ้นแก่ตัว จะได้มีความสุขทั้งในภพนี้ และ ในภพเบื้องหน้าต่อไป
    เวลา 20.54 น. ปุรณมี จันทร์เพ็ญเต็มที่ ในราศีกรกฏ

    ขอบพระคุณเจ้าของภาพ : คุณ โอ๋ ชัยวุฒิ
    ขอบพระคุณเจ้าของบทความ : ชนะศึก จุลกะ
    Credit : ชนะศึก จุลกะ ... 12 กุมภาพันธ์ 2568 ตรงกับ วันพุธ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 วันนี้เป็น #วันมาฆบูชา เป็นวันที่ พระจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ พระสงฆ์ 1250 รูป มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย พระสงฆ์ที่มาประชุมกันเป็นพระอรหันต์ขีณาสพทั้งสิ้น พระอรหันต์ทั้งหมดนั้น เป็นเอหิภิกขุ คือ พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ทั้งหมด ในวันนี้ พระพุทธองค์ ทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์ คือ หัวใจของพระพุทธศาสนา กล่าวโดยย่อ มี 3 ประการ คือ ทำความดีในที่ทั้งปวง ละเว้นความชั่วในที่ทั้งปวง ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ปราศจากกิเลสมลทินเครื่องเศร้าหมอง เราทั้งหลายได้อยู่มาถึงกาลสมัย มาฆปุรณมี พึงสร้างบุญกุศล ด้วย ทาน ศีล ภาวนา สร้างสมบุญบารมีให้เกิดขึ้นมีขึ้นแก่ตัว จะได้มีความสุขทั้งในภพนี้ และ ในภพเบื้องหน้าต่อไป เวลา 20.54 น. ปุรณมี จันทร์เพ็ญเต็มที่ ในราศีกรกฏ ขอบพระคุณเจ้าของภาพ : คุณ โอ๋ ชัยวุฒิ ขอบพระคุณเจ้าของบทความ : ชนะศึก จุลกะ
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 486 มุมมอง 0 รีวิว
  • Credit : ดร.ณัฐนันท์ สุดประเสริฐ

    ศาสนาพุทธมีรากฐานมาจากพราหมณ์ พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย อุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายล้วนมาจากพราหมณ์ อย่าทำตัวเป็นวัวลืมตีน

    ด้อมทุยทั้งหลาย อย่าคลั่งศาสนาให้มากจนเป็นวัวลืมตีน เข้ามาดิ้นเหมือนไส้เดือนโดนขี้เถ้าเลยนะในคลิปบวชหน้าไฟ น่าสมเพชเวทนา ไปเรียนพระพุทธศาสนาในระบบซะเถอะนะ ขอแนะนำ

    ขอบพระคุณ Dungtrin เจ้าของภาพค่ะ
    Credit : ดร.ณัฐนันท์ สุดประเสริฐ ศาสนาพุทธมีรากฐานมาจากพราหมณ์ พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย อุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายล้วนมาจากพราหมณ์ อย่าทำตัวเป็นวัวลืมตีน ด้อมทุยทั้งหลาย อย่าคลั่งศาสนาให้มากจนเป็นวัวลืมตีน เข้ามาดิ้นเหมือนไส้เดือนโดนขี้เถ้าเลยนะในคลิปบวชหน้าไฟ น่าสมเพชเวทนา ไปเรียนพระพุทธศาสนาในระบบซะเถอะนะ ขอแนะนำ ขอบพระคุณ Dungtrin เจ้าของภาพค่ะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 300 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญหลวงปู่แหวนหลัง ภปร.ใหญ่ วัดดอยแม่ปั๋ง ปี2521
    เหรียญหลวงปู่แหวนหลัง ภปร.ใหญ่ เนื้อกะไหล่ทอง วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ปี2521 //เนื้อกะไหล่ทองนานๆจะเจอ หายากมาก สร้างน้อย // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเป็นเลิศในเรื่องเมตตามหานิยม ค้าขายเจริญรุ่งเรือง โภคทรัพย์ จะเจริญรุ่งเรือง ไม่ฝืดเคืองขัดสน ค้าขาย ร่ำรวย โชคลาภ เรียกทรัพย์หนุนดวง อยู่ยงคงกระพัน ฟันแทงไม่เข้า แคล้วคลาดการเดินทางแคล้วคลาดปลอดภัย ปราศจากภยันตรายต่างๆ >>

    ** หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ เป็นพระเกจิที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วประเทศ ในช่วงก่อนปี 2520 เมื่อครั้งยังเป็นสามเณรอาจารย์อ้วนซึ่งมีศักดิ์เป็นอา ได้นำหลวงปู่แหวนไปฝากกับ พระอาจารย์สิงห์ ขนตฺยาคโร ศิษย์เอกสำคัญสูงสุดองค์หนึ่งของพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์เอกทางวิปัสนากรรมฐานที่มีชื่อเสียงมากที่วัดบ้านสร้างถ่อ อำเภอเกษมสีมา จังหวัดอุบลราชธานี ขณะที่ท่านเดินฝ่าเปลวแดดมาหาพระอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์ได้เห็นนิมิตรปรากฏที่สามเณรแหวน เป็นแสงโอภาสออกจากร่างเยี่ยงผู้มีบุญญาธิการ อาจารย์สิงห์ล่วงรู้ด้วยอำนาจญาณโดยทันทีว่า สามเณรน้อยผู้นี้เป็นผู้มีบุญญาธิการมาเกิด จึงได้ถ่ายทอดวิชาให้จนหมดสิ้น ถือว่าเป็นพระสุปฏิปันโณรูปหนึ่ง ที่มีวัตรปฏิบัติน่าเลื่อมใส จนกระทั่งถึงปี 2528 อันเป็นปีที่ท่านมรณภาพท่าน มีอายุยืนยาวถึง 98 ปี เมื่อมรณภาพแล้วกระดูกของท่านกลายเป็นพระธาตุ บางเม็ดขาวใสคล้ายแก้วเลยครับ หลวงปู่แหวน ท่านบวชตั้งแต่เป็นสามเณรจนกระทั่งเป็นพระไม่เคยสึกเลย >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131

    เหรียญหลวงปู่แหวนหลัง ภปร.ใหญ่ วัดดอยแม่ปั๋ง ปี2521 เหรียญหลวงปู่แหวนหลัง ภปร.ใหญ่ เนื้อกะไหล่ทอง วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ปี2521 //เนื้อกะไหล่ทองนานๆจะเจอ หายากมาก สร้างน้อย // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเป็นเลิศในเรื่องเมตตามหานิยม ค้าขายเจริญรุ่งเรือง โภคทรัพย์ จะเจริญรุ่งเรือง ไม่ฝืดเคืองขัดสน ค้าขาย ร่ำรวย โชคลาภ เรียกทรัพย์หนุนดวง อยู่ยงคงกระพัน ฟันแทงไม่เข้า แคล้วคลาดการเดินทางแคล้วคลาดปลอดภัย ปราศจากภยันตรายต่างๆ >> ** หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ เป็นพระเกจิที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วประเทศ ในช่วงก่อนปี 2520 เมื่อครั้งยังเป็นสามเณรอาจารย์อ้วนซึ่งมีศักดิ์เป็นอา ได้นำหลวงปู่แหวนไปฝากกับ พระอาจารย์สิงห์ ขนตฺยาคโร ศิษย์เอกสำคัญสูงสุดองค์หนึ่งของพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์เอกทางวิปัสนากรรมฐานที่มีชื่อเสียงมากที่วัดบ้านสร้างถ่อ อำเภอเกษมสีมา จังหวัดอุบลราชธานี ขณะที่ท่านเดินฝ่าเปลวแดดมาหาพระอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์ได้เห็นนิมิตรปรากฏที่สามเณรแหวน เป็นแสงโอภาสออกจากร่างเยี่ยงผู้มีบุญญาธิการ อาจารย์สิงห์ล่วงรู้ด้วยอำนาจญาณโดยทันทีว่า สามเณรน้อยผู้นี้เป็นผู้มีบุญญาธิการมาเกิด จึงได้ถ่ายทอดวิชาให้จนหมดสิ้น ถือว่าเป็นพระสุปฏิปันโณรูปหนึ่ง ที่มีวัตรปฏิบัติน่าเลื่อมใส จนกระทั่งถึงปี 2528 อันเป็นปีที่ท่านมรณภาพท่าน มีอายุยืนยาวถึง 98 ปี เมื่อมรณภาพแล้วกระดูกของท่านกลายเป็นพระธาตุ บางเม็ดขาวใสคล้ายแก้วเลยครับ หลวงปู่แหวน ท่านบวชตั้งแต่เป็นสามเณรจนกระทั่งเป็นพระไม่เคยสึกเลย >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 427 มุมมอง 0 รีวิว
  • บัณทิตหลวงระดับจวี่เหริน

    วันนี้มาคุยกันเกี่ยวกับเกร็ดจากละครเรื่อง <ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์> เพื่อนเพจที่ได้ดูละครเรื่องนี้อาจพอจำได้ว่า ในตอนแรกๆ ที่นางเอกถูกตามไปสอบปากคำเมื่อเกิดเหตุมีนางคณิกาเสียชีวิต นางได้บอกกับสาวใช้ว่า “บัณฑิตหลวงระดับจวี่เหรินเมื่อพบเห็นขุนนาง ไม่ต้องคุกเข่า” (举人见官不下跪) (หมายเหตุ Storyฯ แปลเองจ้า) ไม่รู้ว่ามีใครเกิดความ ‘เอ๊ะ’ เหมือน Storyฯ หรือไม่ว่า มีกฎอย่างนี้ด้วยหรือ?

    ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ‘จวี่เหริน / 举人’ และระบบการสอบขุนนาง

    การสอบขุนนางหรือ ‘เคอจวี่’ ในสมัยโบราณหรือที่เรียกอย่างง่ายว่าสอบจอหงวนนั้น คือการสอบส่วนกลางเพื่อคัดเลือกคนที่จะเข้ามารับราชการ ซึ่งหนทางการสอบเคอจวี่นั้นยาวไกลและกฎกติกาเปลี่ยนไปในแต่ละยุคสมัย เรื่อง <ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์> เป็นเรื่องราวในราชวงศ์สมมุติ แต่ดูจากการแต่งกายและเนื้อหาแล้ว พอเปรียบเทียบได้กับสมัยราชวงศ์ถัง ดังนั้นเรามาคุยกันเกี่ยวกับการสอบเคอจวี่ในสมัยถัง

    การสอบเคอจวี่ในสมัยถังมีความแตกต่างจากสมัยอื่นที่เพื่อนเพจบางท่านอาจเคยผ่านตา ความแตกต่างนี้ก็คือมีการจัดสอบทุกปีและไม่มีการสอบระดับซิ่วไฉ (秀才) ทั้งนี้ ในสมัยอื่นนั้น การสอบซิ่วไฉคือรอบคัดเลือกระดับท้องถิ่นก่อนจะไปสอบต่อในระดับภูมิภาค/มณฑล แต่ในสมัยถังตอนต้นเมื่อกล่าวถึง ‘ซิ่วไฉ’ นั้น ไม่ได้หมายถึงวุฒิหรือรอบการสอบ แต่เป็นการเรียกหนึ่งในแขนงวิชาความรู้ทั่วไปที่ต้องสอบ ต่อมาในสมัยปลายถังวิชานี้ถูกยุบไปรวมกับวิชาอื่นและคำว่า ‘ซิ่วไฉ’ กลายเป็นคำที่ใช้เรียกคนที่มีการศึกษาทั่วไป จวบจนสมัยซ่งคำนี้จึงกลับมาเป็นคำเรียกวุฒิการสอบคัดเลือกอีกครั้ง

    ในสมัยราชวงศ์ถัง การสอบจอหงวนมี 2 ระดับ คือ
    1) การสอบคัดเลือกระดับภูมิภาค/มณฑลหรือที่เรียกว่า ‘เซียงซื่อ’ (乡试) จัดทุกปีในฤดูใบไม้ร่วงช่วงประมาณเดือนสิบ ซึ่งคนทั่วไปสามารถสมัครชื่อเข้าสอบในแต่ละพื้นที่ได้เลย และผู้ที่สอบผ่านรอบนี้จะมีสถานะเป็นบัณฑิตหลวงระดับ ‘จวี่เหริน’ (举人) จากนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยฝ่ายปกครองพื้นที่ให้ไปสอบต่อในระดับต่อไปที่เมืองหลวง โดยกำหนดโควต้าจำนวนคนที่ได้รับการเสนอชื่อไว้ 1-3 คนต่อพื้นที่ ทั้งนี้ แล้วแต่ขนาดของพื้นที่ แต่สามารถเสนอเพิ่มได้หากมีคนที่มีความรู้ความสามารถโดดเด่นเกินจำนวนโควต้า ซึ่งคนที่ได้รับการเสนอชื่อผ่านกระบวนการนี้จะเรียกรวมว่า ‘เซียงก้ง’ (乡贡)

    อนึ่ง มีกำหนดไว้ว่าฝ่ายปกครองพื้นที่ไม่สามารถเสนอชื่อบุคคลต้องห้ามเข้าเป็นเซียงก้งได้ ซึ่งหมายรวมถึง คนที่มาจากครอบครัวนายช่างและพ่อค้า (Storyฯ เคยกล่าวถึงแล้วในบทความสัปดาห์ที่แล้ว); คนที่มีสถานะเป็นเจี้ยนหมินหรือชนชั้นต่ำ เช่นทาส ลูกหลานนักโทษ ฯลฯ; นักบวช นักพรต; นักโทษ ; คนที่มีชื่อเสียงไม่ดี; ผู้ป่วยเป็นโรคร้ายหรือพิการบางอย่าง เช่นตาบอด หูหนวก; ฯลฯ แต่ข้อห้ามเหล่านี้มีการผ่อนคลายไปตามยุคสมัย

    นอกจากนี้ เนื่องจากในสมัยถังมีการก่อตั้งสถาบันการศึกษาหลวงมากมายหลายระดับตามพื้นที่ต่างๆ นักเรียนที่เข้าเรียนในสถานการศึกษาหลวงจนถึงระดับสูงสุดและสอบผ่านสำเร็จการศึกษาก็จะได้วุฒิเทียบเท่าเป็นจวี่เหรินนี้เช่นกัน และผู้ที่จะได้เข้าสอบในรอบถัดไปก็จะผ่านการเสนอชื่อโดยสถาบันนั้นๆ คนที่ได้รับการเสนอชื่อผ่านกระบวนการนี้เรียกว่า ‘เซิงถู’ (生徒)

    2) ลำดับถัดมาคือการสอบที่เมืองหลวงหรือเรียกว่า ‘เสิ่งซื่อ’ (省试) ซึ่งเรียกย่อมาจากหน่วยงานซ่างซูเสิ่งซึ่งเป็นผู้จัดการสอบนี้ เป็นการสอบทุกปีอีกเช่นกัน จัดขึ้นที่เมืองหลวงฉางอันในช่วงประมาณเดือนสอง ผู้มีสิทธิเข้าสอบคือเซียงก้งและเซิงถูตามที่กล่าวมาข้างต้น ผู้สอบผ่านรอบนี้จะมีสถานะเป็นบัณฑิตหลวงระดับ ‘จิ้นซื่อ’ (进士) และผู้ที่สอบได้ลำดับสูงสุดคือจอหงวน

    แต่... ในละครเราจะเห็นการสอบรอบสุดท้ายเป็นการสอบหน้าพระที่นั่งฮ่องเต้ หรือที่เรียกว่า ‘เตี้ยนซื่อ’ (殿试) ซึ่งบางข้อมูลบอกว่าริเริ่มในสมัยราชวงศ์ถัง เพราะปรากฏมีฮ่องเต้บางองค์ทรงคุมสอบด้วยองค์เอง และบางข้อมูลบอกว่าเริ่มในสมัยซ่งเพราะนั่นคือสมัยที่มีการจัดการสอบรอบดังกล่าวเข้าเป็นหลักสูตรและขั้นตอนการสอบอย่างเป็นทางการ

    Storyฯ เลยสรุปเป็นผังไว้ให้ดูในรูปประกอบว่า ในกรณีที่มีการสอบเตี้ยนซื่อนี้เพิ่มเข้ามา ผู้ที่สอบผ่านระดับเสิ่งซื่อจะมีสถานะเป็นบัณฑิตหลวงระดับ ‘ก้งซื่อ’ (贡士) และผู้ที่สอบได้ที่หนึ่งจะเรียกว่า ‘ฮุ่ยหยวน’ (会元) และผู้ที่สอบผ่านรอบเตี้ยนซื่อจะมีสถานะเป็นบัณฑิตหลวงระดับ ‘จิ้นซื่อ’ (进士) และผู้ที่สอบได้ลำดับสูงสุดคือจอหงวน (หรือในสำเนียงจีนกลางคือ จ้วงหยวน)

    ทั้งนี้ ผู้ที่เป็นจิ้นซื่อทุกคนจะได้รับการขึ้นบัญชีเพื่อรอการเรียกบรรจุเข้ารับราชการในราชสำนัก (คือยังไม่ถือว่าเป็นขุนนางจนกว่าจะได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง) ซึ่งในการบรรจุเข้าราชสำนักจะมีการสอบเพิ่มเพื่อคัดสรรไปหน่วยงานที่เหมาะสม โดยเป็นกระบวนการที่อาจใช้เวลาอีกนานเป็นปี

    ดังนั้น บัณฑิตหลวงระดับจวี่เหรินที่กล่าวในวลีที่ว่า “บัณฑิตหลวงระดับจวี่เหรินเมื่อพบเห็นขุนนาง ไม่ต้องคุกเข่า” นี้คือบันฑิตหลวงที่สอบผ่านในระดับภูมิภาค/มณฑลแล้ว

    ในสมัยถังนั้น จวี่เหรินมีอภิสิทธิ์อย่างนี้จริงหรือไม่ Storyฯ ก็หาข้อมูลไม่พบ แต่ในสมัยราชวงศ์หมิงและชิงมีกล่าวถึงว่า ‘จวี่เหริน’ นี้นับได้ว่าเป็นตำแหน่งทางการที่กำหนดขึ้นโดยราชสำนัก ซึ่งถือว่าไม่ด้อยไปกว่าตำแหน่งข้าราชการท้องถิ่น และบัณฑิตหลวงระดับจวี่เหรินสามารถเข้ารับการบรรจุเป็นข้าราชการท้องถิ่นได้เลยหากมีตำแหน่งว่างที่เหมาะสม ดังนั้นหนึ่งในอภิสิทธิ์ที่มีคือ เมื่อได้พบขุนนางระดับท้องถิ่นจึงไม่ต้องคุกเข่า

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    หมายเหตุ มีการลบลิ้งค์ข้อมูลบางลิ้งค์ออกไปเนื่องจากติดปัญหากับเฟสค่ะ

    Credit รูปภาพจาก: https://fashion.ettoday.net/news/2573514
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://baike.baidu.com/item/省试/7492071
    https://baike.baidu.com/item/秀才/14691374
    https://baike.baidu.com/item/乡贡/8989904
    https://core.ac.uk/download/41444977.pdf
    https://ctext.org/wiki.pl?if=gb&chapter=999762&remap=gb
    https://kknews.cc/history/ekkz4ry.html

    #ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์ #บัณฑิตหลวง #จวี่เหริน #สอบขุนนาง #สอบเคอจวี่ #ราชวงศ์ถัง
    บัณทิตหลวงระดับจวี่เหริน วันนี้มาคุยกันเกี่ยวกับเกร็ดจากละครเรื่อง <ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์> เพื่อนเพจที่ได้ดูละครเรื่องนี้อาจพอจำได้ว่า ในตอนแรกๆ ที่นางเอกถูกตามไปสอบปากคำเมื่อเกิดเหตุมีนางคณิกาเสียชีวิต นางได้บอกกับสาวใช้ว่า “บัณฑิตหลวงระดับจวี่เหรินเมื่อพบเห็นขุนนาง ไม่ต้องคุกเข่า” (举人见官不下跪) (หมายเหตุ Storyฯ แปลเองจ้า) ไม่รู้ว่ามีใครเกิดความ ‘เอ๊ะ’ เหมือน Storyฯ หรือไม่ว่า มีกฎอย่างนี้ด้วยหรือ? ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ‘จวี่เหริน / 举人’ และระบบการสอบขุนนาง การสอบขุนนางหรือ ‘เคอจวี่’ ในสมัยโบราณหรือที่เรียกอย่างง่ายว่าสอบจอหงวนนั้น คือการสอบส่วนกลางเพื่อคัดเลือกคนที่จะเข้ามารับราชการ ซึ่งหนทางการสอบเคอจวี่นั้นยาวไกลและกฎกติกาเปลี่ยนไปในแต่ละยุคสมัย เรื่อง <ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์> เป็นเรื่องราวในราชวงศ์สมมุติ แต่ดูจากการแต่งกายและเนื้อหาแล้ว พอเปรียบเทียบได้กับสมัยราชวงศ์ถัง ดังนั้นเรามาคุยกันเกี่ยวกับการสอบเคอจวี่ในสมัยถัง การสอบเคอจวี่ในสมัยถังมีความแตกต่างจากสมัยอื่นที่เพื่อนเพจบางท่านอาจเคยผ่านตา ความแตกต่างนี้ก็คือมีการจัดสอบทุกปีและไม่มีการสอบระดับซิ่วไฉ (秀才) ทั้งนี้ ในสมัยอื่นนั้น การสอบซิ่วไฉคือรอบคัดเลือกระดับท้องถิ่นก่อนจะไปสอบต่อในระดับภูมิภาค/มณฑล แต่ในสมัยถังตอนต้นเมื่อกล่าวถึง ‘ซิ่วไฉ’ นั้น ไม่ได้หมายถึงวุฒิหรือรอบการสอบ แต่เป็นการเรียกหนึ่งในแขนงวิชาความรู้ทั่วไปที่ต้องสอบ ต่อมาในสมัยปลายถังวิชานี้ถูกยุบไปรวมกับวิชาอื่นและคำว่า ‘ซิ่วไฉ’ กลายเป็นคำที่ใช้เรียกคนที่มีการศึกษาทั่วไป จวบจนสมัยซ่งคำนี้จึงกลับมาเป็นคำเรียกวุฒิการสอบคัดเลือกอีกครั้ง ในสมัยราชวงศ์ถัง การสอบจอหงวนมี 2 ระดับ คือ 1) การสอบคัดเลือกระดับภูมิภาค/มณฑลหรือที่เรียกว่า ‘เซียงซื่อ’ (乡试) จัดทุกปีในฤดูใบไม้ร่วงช่วงประมาณเดือนสิบ ซึ่งคนทั่วไปสามารถสมัครชื่อเข้าสอบในแต่ละพื้นที่ได้เลย และผู้ที่สอบผ่านรอบนี้จะมีสถานะเป็นบัณฑิตหลวงระดับ ‘จวี่เหริน’ (举人) จากนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยฝ่ายปกครองพื้นที่ให้ไปสอบต่อในระดับต่อไปที่เมืองหลวง โดยกำหนดโควต้าจำนวนคนที่ได้รับการเสนอชื่อไว้ 1-3 คนต่อพื้นที่ ทั้งนี้ แล้วแต่ขนาดของพื้นที่ แต่สามารถเสนอเพิ่มได้หากมีคนที่มีความรู้ความสามารถโดดเด่นเกินจำนวนโควต้า ซึ่งคนที่ได้รับการเสนอชื่อผ่านกระบวนการนี้จะเรียกรวมว่า ‘เซียงก้ง’ (乡贡) อนึ่ง มีกำหนดไว้ว่าฝ่ายปกครองพื้นที่ไม่สามารถเสนอชื่อบุคคลต้องห้ามเข้าเป็นเซียงก้งได้ ซึ่งหมายรวมถึง คนที่มาจากครอบครัวนายช่างและพ่อค้า (Storyฯ เคยกล่าวถึงแล้วในบทความสัปดาห์ที่แล้ว); คนที่มีสถานะเป็นเจี้ยนหมินหรือชนชั้นต่ำ เช่นทาส ลูกหลานนักโทษ ฯลฯ; นักบวช นักพรต; นักโทษ ; คนที่มีชื่อเสียงไม่ดี; ผู้ป่วยเป็นโรคร้ายหรือพิการบางอย่าง เช่นตาบอด หูหนวก; ฯลฯ แต่ข้อห้ามเหล่านี้มีการผ่อนคลายไปตามยุคสมัย นอกจากนี้ เนื่องจากในสมัยถังมีการก่อตั้งสถาบันการศึกษาหลวงมากมายหลายระดับตามพื้นที่ต่างๆ นักเรียนที่เข้าเรียนในสถานการศึกษาหลวงจนถึงระดับสูงสุดและสอบผ่านสำเร็จการศึกษาก็จะได้วุฒิเทียบเท่าเป็นจวี่เหรินนี้เช่นกัน และผู้ที่จะได้เข้าสอบในรอบถัดไปก็จะผ่านการเสนอชื่อโดยสถาบันนั้นๆ คนที่ได้รับการเสนอชื่อผ่านกระบวนการนี้เรียกว่า ‘เซิงถู’ (生徒) 2) ลำดับถัดมาคือการสอบที่เมืองหลวงหรือเรียกว่า ‘เสิ่งซื่อ’ (省试) ซึ่งเรียกย่อมาจากหน่วยงานซ่างซูเสิ่งซึ่งเป็นผู้จัดการสอบนี้ เป็นการสอบทุกปีอีกเช่นกัน จัดขึ้นที่เมืองหลวงฉางอันในช่วงประมาณเดือนสอง ผู้มีสิทธิเข้าสอบคือเซียงก้งและเซิงถูตามที่กล่าวมาข้างต้น ผู้สอบผ่านรอบนี้จะมีสถานะเป็นบัณฑิตหลวงระดับ ‘จิ้นซื่อ’ (进士) และผู้ที่สอบได้ลำดับสูงสุดคือจอหงวน แต่... ในละครเราจะเห็นการสอบรอบสุดท้ายเป็นการสอบหน้าพระที่นั่งฮ่องเต้ หรือที่เรียกว่า ‘เตี้ยนซื่อ’ (殿试) ซึ่งบางข้อมูลบอกว่าริเริ่มในสมัยราชวงศ์ถัง เพราะปรากฏมีฮ่องเต้บางองค์ทรงคุมสอบด้วยองค์เอง และบางข้อมูลบอกว่าเริ่มในสมัยซ่งเพราะนั่นคือสมัยที่มีการจัดการสอบรอบดังกล่าวเข้าเป็นหลักสูตรและขั้นตอนการสอบอย่างเป็นทางการ Storyฯ เลยสรุปเป็นผังไว้ให้ดูในรูปประกอบว่า ในกรณีที่มีการสอบเตี้ยนซื่อนี้เพิ่มเข้ามา ผู้ที่สอบผ่านระดับเสิ่งซื่อจะมีสถานะเป็นบัณฑิตหลวงระดับ ‘ก้งซื่อ’ (贡士) และผู้ที่สอบได้ที่หนึ่งจะเรียกว่า ‘ฮุ่ยหยวน’ (会元) และผู้ที่สอบผ่านรอบเตี้ยนซื่อจะมีสถานะเป็นบัณฑิตหลวงระดับ ‘จิ้นซื่อ’ (进士) และผู้ที่สอบได้ลำดับสูงสุดคือจอหงวน (หรือในสำเนียงจีนกลางคือ จ้วงหยวน) ทั้งนี้ ผู้ที่เป็นจิ้นซื่อทุกคนจะได้รับการขึ้นบัญชีเพื่อรอการเรียกบรรจุเข้ารับราชการในราชสำนัก (คือยังไม่ถือว่าเป็นขุนนางจนกว่าจะได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง) ซึ่งในการบรรจุเข้าราชสำนักจะมีการสอบเพิ่มเพื่อคัดสรรไปหน่วยงานที่เหมาะสม โดยเป็นกระบวนการที่อาจใช้เวลาอีกนานเป็นปี ดังนั้น บัณฑิตหลวงระดับจวี่เหรินที่กล่าวในวลีที่ว่า “บัณฑิตหลวงระดับจวี่เหรินเมื่อพบเห็นขุนนาง ไม่ต้องคุกเข่า” นี้คือบันฑิตหลวงที่สอบผ่านในระดับภูมิภาค/มณฑลแล้ว ในสมัยถังนั้น จวี่เหรินมีอภิสิทธิ์อย่างนี้จริงหรือไม่ Storyฯ ก็หาข้อมูลไม่พบ แต่ในสมัยราชวงศ์หมิงและชิงมีกล่าวถึงว่า ‘จวี่เหริน’ นี้นับได้ว่าเป็นตำแหน่งทางการที่กำหนดขึ้นโดยราชสำนัก ซึ่งถือว่าไม่ด้อยไปกว่าตำแหน่งข้าราชการท้องถิ่น และบัณฑิตหลวงระดับจวี่เหรินสามารถเข้ารับการบรรจุเป็นข้าราชการท้องถิ่นได้เลยหากมีตำแหน่งว่างที่เหมาะสม ดังนั้นหนึ่งในอภิสิทธิ์ที่มีคือ เมื่อได้พบขุนนางระดับท้องถิ่นจึงไม่ต้องคุกเข่า (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) หมายเหตุ มีการลบลิ้งค์ข้อมูลบางลิ้งค์ออกไปเนื่องจากติดปัญหากับเฟสค่ะ Credit รูปภาพจาก: https://fashion.ettoday.net/news/2573514 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://baike.baidu.com/item/省试/7492071 https://baike.baidu.com/item/秀才/14691374 https://baike.baidu.com/item/乡贡/8989904 https://core.ac.uk/download/41444977.pdf https://ctext.org/wiki.pl?if=gb&chapter=999762&remap=gb https://kknews.cc/history/ekkz4ry.html #ยอดขุนนางหญิงเจ้าเสน่ห์ #บัณฑิตหลวง #จวี่เหริน #สอบขุนนาง #สอบเคอจวี่ #ราชวงศ์ถัง
    FASHION.ETTODAY.NET
    《灼灼風流》10金句:不是所有的陪伴都必須以夫妻的名義 | ET Fashion | ETtoday新聞雲
    陸劇《灼灼風流》改編自隨宇而安的小說《曾風流》,由景甜、馮紹峰出演,講述了擺脫傳統女子命運、想科舉求仕的女官慕灼華,與驍勇善戰的議政王劉衍相知相守、並肩而行,開創女子可入仕的新局面。當中以不少經典台詞道出了男女之間互相尊重,簡單又美好的愛情理念,不妨一起來看看!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 796 มุมมอง 0 รีวิว
  • บวชชีพราหมณ์ปีนี้แทบป่วย..อากาศเปลี่ยนไปมาเร็วมาก หนาวเข้าเนื้อเลย แต่เราต้องสู้เพื่อเอาบารมีบุญอีกวัด 10 กุมภาพันธ์ นี้ ตายเป็นตาย
    บวชชีพราหมณ์ปีนี้แทบป่วย..อากาศเปลี่ยนไปมาเร็วมาก หนาวเข้าเนื้อเลย แต่เราต้องสู้เพื่อเอาบารมีบุญอีกวัด 10 กุมภาพันธ์ นี้ ตายเป็นตาย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts