• เรื่องเล่าจากโลกฮาร์ดแวร์: GPU ที่ใส่ SSD ได้...เท่หรือเกินจำเป็น?

    Colorful ได้เผยโฉมกราฟิกการ์ดรุ่นหนึ่งในซีรีส์ iGame Ultra ที่งาน Bilibili World 2025 โดยการ์ดตัวนี้ติดตั้งสล็อต M.2 สองช่องไว้ที่ด้านหลัง PCB ใกล้กับ I/O bracket และใช้ระบบพัดลมคู่ในการระบายความร้อนให้ทั้ง GPU และ SSD พร้อมจุดติดตั้งซิงก์เสริมเพื่อจัดการความร้อน SSD โดยเฉพาะ

    จากการออกแบบ ระบบ PCIe บนการ์ดจะแบ่งแบนด์วิดธ์ x16 ดังนี้:
    - x8 สำหรับกราฟิกการ์ด
    - x4 สำหรับ SSD ตัวที่หนึ่ง
    - x4 สำหรับ SSD ตัวที่สอง

    การทำแบบนี้เรียกว่า PCIe bifurcation ซึ่งสามารถใช้งานได้ในเมนบอร์ดบางรุ่นที่รองรับโดยไม่ต้องใช้ riser หรือ adapter เพิ่มเติม

    แนวคิดนี้เหมาะกับเคสขนาดเล็ก หรือเมนบอร์ดที่มีสล็อต M.2 จำกัด — แต่ก็มีคำถามเรื่องประสิทธิภาพทั้งด้านกราฟิกและการจัดเก็บข้อมูล เช่น SSD จะมีความเร็วต่ำกว่า M.2 ที่ต่อโดยตรงกับเมนบอร์ด หรือการอัปเกรดอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งในอนาคตจะทำได้ยากขึ้น

    Colorful ยังไม่เผยข้อมูลสเปกเต็มหรือราคา ณ ตอนนี้ ทำให้ผู้เชี่ยวชาญมองว่ายังเป็น “ผลิตภัณฑ์ทดลอง” มากกว่า “ตัวเลือกที่จริงจัง” สำหรับตลาดหลัก

    https://www.techradar.com/pro/graphics-cards-with-ssd-slots-are-becoming-more-popular-but-i-fail-to-understand-why-these-products-actually-exist
    🎙️ เรื่องเล่าจากโลกฮาร์ดแวร์: GPU ที่ใส่ SSD ได้...เท่หรือเกินจำเป็น? Colorful ได้เผยโฉมกราฟิกการ์ดรุ่นหนึ่งในซีรีส์ iGame Ultra ที่งาน Bilibili World 2025 โดยการ์ดตัวนี้ติดตั้งสล็อต M.2 สองช่องไว้ที่ด้านหลัง PCB ใกล้กับ I/O bracket และใช้ระบบพัดลมคู่ในการระบายความร้อนให้ทั้ง GPU และ SSD พร้อมจุดติดตั้งซิงก์เสริมเพื่อจัดการความร้อน SSD โดยเฉพาะ จากการออกแบบ ระบบ PCIe บนการ์ดจะแบ่งแบนด์วิดธ์ x16 ดังนี้: - x8 สำหรับกราฟิกการ์ด - x4 สำหรับ SSD ตัวที่หนึ่ง - x4 สำหรับ SSD ตัวที่สอง การทำแบบนี้เรียกว่า PCIe bifurcation ซึ่งสามารถใช้งานได้ในเมนบอร์ดบางรุ่นที่รองรับโดยไม่ต้องใช้ riser หรือ adapter เพิ่มเติม แนวคิดนี้เหมาะกับเคสขนาดเล็ก หรือเมนบอร์ดที่มีสล็อต M.2 จำกัด — แต่ก็มีคำถามเรื่องประสิทธิภาพทั้งด้านกราฟิกและการจัดเก็บข้อมูล เช่น SSD จะมีความเร็วต่ำกว่า M.2 ที่ต่อโดยตรงกับเมนบอร์ด หรือการอัปเกรดอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งในอนาคตจะทำได้ยากขึ้น Colorful ยังไม่เผยข้อมูลสเปกเต็มหรือราคา ณ ตอนนี้ ทำให้ผู้เชี่ยวชาญมองว่ายังเป็น “ผลิตภัณฑ์ทดลอง” มากกว่า “ตัวเลือกที่จริงจัง” สำหรับตลาดหลัก https://www.techradar.com/pro/graphics-cards-with-ssd-slots-are-becoming-more-popular-but-i-fail-to-understand-why-these-products-actually-exist
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 128 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1053
    ชื่อบทธรรม :- เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1053
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ(ไม่เกี่ยวกับตัณหาเหมือนจตุพิธพรของชาวบ้าน)
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อพวกเธอเที่ยวไปในโคจรอันเป็นวิสัยแห่งบิดาตน
    ก็ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน.
    และเนื้อความแห่งหัวข้อนี้ มีความเนื่องกันมาจากหัวข้อที่แล้ว.
    จักเจริญแม้ด้วยอายุ แม้ด้วยวรรณะ แม้ด้วยสุขะ แม้ด้วยโภคะ แม้ด้วยพละ.

    ๑-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า อายุ สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุ
    ย่อม เจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัย วิริยะ เป็นปธานกิจ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัย จิตตะ เป็นปธานกิจ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัย วิมังสา เป็นปธานกิจ.
    (กิจในที่นี้คือ
    กิจเกี่ยวกับ(ปธาน​ ๔​ ประการ)​
    การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการรักษา
    ).
    +--ภิกษุนั้น, เพราะเจริญกระทำให้มาก ซึ่งอิทธิบาท ๔ ประการเหล่านี้,
    เมื่อหวังอยู่ ก็จะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดเวลากัปป์หนึ่ง หรือเกินกว่ากัปป์.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #อายุสำหรับภิกษุ.

    ๒-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า วรรณะ สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุเป็นผู้ มีศีล
    สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร
    ถึงพร้อมแล้วด้วยมรรยาทและโคจร
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้เป็นโทษเล็กน้อย
    สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #วรรณะสำหรับภิกษุ.

    ๓-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า สุข สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ
    ภิกษุ เข้าถึง
    ปฐมฌาน ....
    ทุติยฌาน ....
    ตติยฌาน ....
    จตุตถฌาน . . . .
    แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #สุขสำหรับภิกษุ.

    ๔-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า โภคะ สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ
    ภิกษุ มีจิตอันประกอบด้วยเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา,
    แผ่ไปยังทิศที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ทิศเบื้องบน เบื้องต่ำ และด้านขวาง
    แผ่ไปยังโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง
    ด้วยจิตที่ประกอบด้วยเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา,
    ชนิดที่ไพบูลย์ ถึงความเป็นจิตใหญ่ หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #โภคะสำหรับภิกษุ.

    ๕-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า พละ สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ คือ ภิกษุ
    กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรม เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #พละสำหรับภิกษุ.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/85/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/11/58/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๘๕/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/11/85/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1053
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1053
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ สัทธรรมลำดับที่ : 1053 ชื่อบทธรรม :- เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1053 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ(ไม่เกี่ยวกับตัณหาเหมือนจตุพิธพรของชาวบ้าน) --ภิกษุ ท. ! เมื่อพวกเธอเที่ยวไปในโคจรอันเป็นวิสัยแห่งบิดาตน ก็ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน. และเนื้อความแห่งหัวข้อนี้ มีความเนื่องกันมาจากหัวข้อที่แล้ว. จักเจริญแม้ด้วยอายุ แม้ด้วยวรรณะ แม้ด้วยสุขะ แม้ด้วยโภคะ แม้ด้วยพละ. ๑-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า อายุ สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุ ย่อม เจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัย วิริยะ เป็นปธานกิจ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัย จิตตะ เป็นปธานกิจ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัย วิมังสา เป็นปธานกิจ. (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับ(ปธาน​ ๔​ ประการ)​ การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการรักษา ). +--ภิกษุนั้น, เพราะเจริญกระทำให้มาก ซึ่งอิทธิบาท ๔ ประการเหล่านี้, เมื่อหวังอยู่ ก็จะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดเวลากัปป์หนึ่ง หรือเกินกว่ากัปป์. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #อายุสำหรับภิกษุ. ๒-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า วรรณะ สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุเป็นผู้ มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร ถึงพร้อมแล้วด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้เป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #วรรณะสำหรับภิกษุ. ๓-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า สุข สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุ เข้าถึง ปฐมฌาน .... ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน . . . . แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #สุขสำหรับภิกษุ. ๔-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า โภคะ สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุ มีจิตอันประกอบด้วยเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา, แผ่ไปยังทิศที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ทิศเบื้องบน เบื้องต่ำ และด้านขวาง แผ่ไปยังโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ด้วยจิตที่ประกอบด้วยเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา, ชนิดที่ไพบูลย์ ถึงความเป็นจิตใหญ่ หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท อยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #โภคะสำหรับภิกษุ. ๕-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า พละ สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ คือ ภิกษุ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรม เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #พละสำหรับภิกษุ.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/85/50. http://etipitaka.com/read/thai/11/58/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๘๕/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/11/85/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1053 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1053 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 175 มุมมอง 0 รีวิว
  • นายกรัฐมนตรีเดนิส ชมีฮาล (Denys Shmyhal) ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรียูเครนอย่างเป็นทางการแล้วในวันนี้ (15 กรกฎาคม 2568)

    การลาออกของชมีฮาลเป็นส่วนหนึ่งของการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งใหญ่ที่สุดในช่วงสงครามของประเทศตามแนวคิดของเซเลนสกี

    ขณะที่เซเลนสกี เสนอชื่อ ยูเลีย สวีรีเดนโก(Yulia Svyrydenko) ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง และยังดำรงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

    สำหรับชมีฮาล ได้รับการเสนอชื่อเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแทน รุสเตม อูเมรอฟ (Rustem Umerov) ซึ่งจะถูกโยกไปดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา
    นายกรัฐมนตรีเดนิส ชมีฮาล (Denys Shmyhal) ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรียูเครนอย่างเป็นทางการแล้วในวันนี้ (15 กรกฎาคม 2568) การลาออกของชมีฮาลเป็นส่วนหนึ่งของการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งใหญ่ที่สุดในช่วงสงครามของประเทศตามแนวคิดของเซเลนสกี ขณะที่เซเลนสกี เสนอชื่อ ยูเลีย สวีรีเดนโก(Yulia Svyrydenko) ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง และยังดำรงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สำหรับชมีฮาล ได้รับการเสนอชื่อเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแทน รุสเตม อูเมรอฟ (Rustem Umerov) ซึ่งจะถูกโยกไปดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 207 มุมมอง 0 รีวิว
  • ช่วยกันฝันออกแบบรัฐธรรมนูญ โดยดำรงไว้ซึ่งหมวดพระมหากษัตริย์ และความมั่นคงแห่งชาติ

    ไม่ต้องมีพรรคการเมือง เป็นประชาธิปไตยแบบไทย

    หมวดผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง:
    ----------------------------------
    1) เป็นผู้มี หรือเคยมีประวัติการเสียภาษี หรือมียอดรวมภาษีมูลค่าเพิ่มสะสม ปีละสามหมื่นบาทขึ้นไป
    2) มีอายุครบหรือเกิน 18 ปีบริบูรณ์
    3) เป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่มีสัญชาติอื่น


    หมวดผู้สมัคร สส. เลือกตั้ง:
    -----------------------------------------
    1) มีอายุเกิน 30 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70ปีบริบูรณ์
    2) มีประวัติสร้างชื่อเสียง ระดับชาติ, ปราชญ์ชาวบ้าน, บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์เป็นหลักฐาน ติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 5ปีภาษี หรือสำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาที่ กพ. รับรอง
    3) เป็นผู้ไม่มีประวัติประพฤติผิดจริยธรรม ทุจริตคอรัปชั่น บ่อนทำลายสังคม ศาสนา และแผ่นดิน ไม่ว่าศาลจะตัดสินหรือไม่ แต่วิญญูชนประจักษ์ได้


    หมวดผู้สมัคร นายกฯ รมต. เลือกตั้ง:
    ------------------------------------------------------
    1) มีคุณสมบัติเหมือน ผู้สมัคร สส.
    2) เป็นตำแหน่งหน้าที่แยกสมัครต่างจาก ผู้สมัคร สส. โดยผู้สมัครเลือกตั้ง หน้าที่ นายกฯ หรือ รมต. จะต้องเลือกสมัครในหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งเท่านั้น
    3) ผู้สมัคร มีหน้าที่แสดงวิสัยทัศน์ และแผนการดำเนินงานไม่ต่ำกว่า 10ข้อ ลงสื่อสารให้สามารถตรวจสอบ
    4) คะแนนมาจากทั่วประเทศ


    หมวด สว. ส่วนโควตา:
    1) ผู้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการเหล่าทัพ, ปลัดกระทรวง, ตัวแทนศิลปินแห่งชาติทุกสาขา, อาจารย์ผู้มีผลงานวิจัยระดับชาติหรือระดับโลก, อดีตนักเรียนนักศึกษาที่เคยเข้าชิงแข่งขันทางการศึกษาระดับโลก เช่น แข่งขันคณิตศาสตร์ ชีววิทยา เคมี สิ่งประดิษฐ์ที่ไม่เคยมี เกมส์, อดีตนักกีฬาทีมชาติไทยที่ผ่านสนามเอเชี่ยนเกมส์ขึ้นไป หลายๆ ประเภท
    2) มีอายุไม่เกิน 76ปีบริบูรณ์
    3) เป็นผู้ไม่มีประวัติประพฤติผิดจริยธรรม ทุจริตคอรัปชั่น บ่อนทำลายสังคม ศาสนา และแผ่นดิน ไม่ว่าศาลจะตัดสินหรือไม่ แต่วิญญูชนประจักษ์ได้
    4) ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ทับซ้อน กับ สส. นายกฯ หรือ รมต. เช่น เป็นคนในครอบครัว สามีภรรยา พ่อแม่ พี่น้องในสายเลือด, ไม่เป็นหุ้นส่วน


    ทุกผู้ที่ได้การคัดเลือก จะต้องมีความละอายชั่ว ศีลธรรม หากพบว่ากระทำผิด จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ โดยทันทีไม่สามารถยืดเยื้อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป

    ผู้ช่วย สส. รมต. จะมีได้ไม่เกินกี่คน รายชื่อผู้ช่วย ต้องประกาศ ให้สาธารณะตรวจสอบได้โดยสะดวก

    ช่วยกันฝันออกแบบรัฐธรรมนูญ โดยดำรงไว้ซึ่งหมวดพระมหากษัตริย์ และความมั่นคงแห่งชาติ ไม่ต้องมีพรรคการเมือง เป็นประชาธิปไตยแบบไทย หมวดผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง: ---------------------------------- 1) เป็นผู้มี หรือเคยมีประวัติการเสียภาษี หรือมียอดรวมภาษีมูลค่าเพิ่มสะสม ปีละสามหมื่นบาทขึ้นไป 2) มีอายุครบหรือเกิน 18 ปีบริบูรณ์ 3) เป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่มีสัญชาติอื่น หมวดผู้สมัคร สส. เลือกตั้ง: ----------------------------------------- 1) มีอายุเกิน 30 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70ปีบริบูรณ์ 2) มีประวัติสร้างชื่อเสียง ระดับชาติ, ปราชญ์ชาวบ้าน, บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์เป็นหลักฐาน ติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 5ปีภาษี หรือสำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาที่ กพ. รับรอง 3) เป็นผู้ไม่มีประวัติประพฤติผิดจริยธรรม ทุจริตคอรัปชั่น บ่อนทำลายสังคม ศาสนา และแผ่นดิน ไม่ว่าศาลจะตัดสินหรือไม่ แต่วิญญูชนประจักษ์ได้ หมวดผู้สมัคร นายกฯ รมต. เลือกตั้ง: ------------------------------------------------------ 1) มีคุณสมบัติเหมือน ผู้สมัคร สส. 2) เป็นตำแหน่งหน้าที่แยกสมัครต่างจาก ผู้สมัคร สส. โดยผู้สมัครเลือกตั้ง หน้าที่ นายกฯ หรือ รมต. จะต้องเลือกสมัครในหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งเท่านั้น 3) ผู้สมัคร มีหน้าที่แสดงวิสัยทัศน์ และแผนการดำเนินงานไม่ต่ำกว่า 10ข้อ ลงสื่อสารให้สามารถตรวจสอบ 4) คะแนนมาจากทั่วประเทศ หมวด สว. ส่วนโควตา: 1) ผู้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการเหล่าทัพ, ปลัดกระทรวง, ตัวแทนศิลปินแห่งชาติทุกสาขา, อาจารย์ผู้มีผลงานวิจัยระดับชาติหรือระดับโลก, อดีตนักเรียนนักศึกษาที่เคยเข้าชิงแข่งขันทางการศึกษาระดับโลก เช่น แข่งขันคณิตศาสตร์ ชีววิทยา เคมี สิ่งประดิษฐ์ที่ไม่เคยมี เกมส์, อดีตนักกีฬาทีมชาติไทยที่ผ่านสนามเอเชี่ยนเกมส์ขึ้นไป หลายๆ ประเภท 2) มีอายุไม่เกิน 76ปีบริบูรณ์ 3) เป็นผู้ไม่มีประวัติประพฤติผิดจริยธรรม ทุจริตคอรัปชั่น บ่อนทำลายสังคม ศาสนา และแผ่นดิน ไม่ว่าศาลจะตัดสินหรือไม่ แต่วิญญูชนประจักษ์ได้ 4) ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ทับซ้อน กับ สส. นายกฯ หรือ รมต. เช่น เป็นคนในครอบครัว สามีภรรยา พ่อแม่ พี่น้องในสายเลือด, ไม่เป็นหุ้นส่วน ทุกผู้ที่ได้การคัดเลือก จะต้องมีความละอายชั่ว ศีลธรรม หากพบว่ากระทำผิด จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่ โดยทันทีไม่สามารถยืดเยื้อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ผู้ช่วย สส. รมต. จะมีได้ไม่เกินกี่คน รายชื่อผู้ช่วย ต้องประกาศ ให้สาธารณะตรวจสอบได้โดยสะดวก
    7 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 278 มุมมอง 0 รีวิว
  • "การเข้าพรรษา" นั้นปรากฏในพระไตรปิฎกเถรวาท ซึ่งพระสงฆ์ในนิกายเถรวาททุกประเทศจะถือการปฏิบัติการเข้าจำพรรษาเหมือนกัน (แต่อาจมีความแตกต่างกันบ้างในการให้ความสำคัญและรายละเอียดประเพณีปฏิบัติของแต่ละท้องถิ่น)
    ในอดีต การเข้าพรรษามีประโยชน์แก่พระสงฆ์ในด้านการศึกษาพระธรรมวินัย โดยการที่พระสงฆ์จากที่ต่าง ๆ มาอยู่จำพรรษารวมกันในที่ใดที่หนึ่ง พระสงฆ์เหล่านั้นก็จะมีการแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายองค์ความรู้ตามพระธรรมวินัยให้แก่กัน
    มาในปัจจุบัน การศึกษาพระธรรมวินัยในช่วงเข้าพรรษาในประเทศไทยก็ยังจัดเป็นกิจสำคัญของพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ที่อุปสมบททุกรูป แม้จะอุปสมบทเพียงเพื่อชั่วเข้าพรรษาสามเดือน ก็จะต้องศึกษาพระธรรมวินัยเพิ่มเติม ปัจจุบันพระธรรมวินัยถูกจัดเป็นหลักสูตรของคณะสงฆ์
    "การเข้าพรรษา" นั้นปรากฏในพระไตรปิฎกเถรวาท ซึ่งพระสงฆ์ในนิกายเถรวาททุกประเทศจะถือการปฏิบัติการเข้าจำพรรษาเหมือนกัน (แต่อาจมีความแตกต่างกันบ้างในการให้ความสำคัญและรายละเอียดประเพณีปฏิบัติของแต่ละท้องถิ่น) ในอดีต การเข้าพรรษามีประโยชน์แก่พระสงฆ์ในด้านการศึกษาพระธรรมวินัย โดยการที่พระสงฆ์จากที่ต่าง ๆ มาอยู่จำพรรษารวมกันในที่ใดที่หนึ่ง พระสงฆ์เหล่านั้นก็จะมีการแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายองค์ความรู้ตามพระธรรมวินัยให้แก่กัน มาในปัจจุบัน การศึกษาพระธรรมวินัยในช่วงเข้าพรรษาในประเทศไทยก็ยังจัดเป็นกิจสำคัญของพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ที่อุปสมบททุกรูป แม้จะอุปสมบทเพียงเพื่อชั่วเข้าพรรษาสามเดือน ก็จะต้องศึกษาพระธรรมวินัยเพิ่มเติม ปัจจุบันพระธรรมวินัยถูกจัดเป็นหลักสูตรของคณะสงฆ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 83 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันศุกร์ ที่ 11 กรกฎาคม 2568 วันเข้าพรรษา
    วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนาพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย

    สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย
    วันศุกร์ ที่ 11 กรกฎาคม 2568 วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนาพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 226 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    สัทธรรมลำดับที่ : 1048
    ชื่อบทธรรม :- เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด
    ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
    เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า
    “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสาคือ “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์”)
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อุปนิสา
    ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล
    ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์
    เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?”
    ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า
    วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น
    อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า?
    สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า
    “นี้คือทุกข์
    นี้คือทุกขสมุทัย”
    ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ;
    และ
    “นี้คือทุกขนิโรธ
    นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้ : นี้เป็นอนุปัสสนา หมวดที่สอง.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม
    อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้
    เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่;
    ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง
    คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ
    หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.-
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อนาคามี

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/351/390.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๓/๓๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1048
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก สัทธรรมลำดับที่ : 1048 ชื่อบทธรรม :- เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048 เนื้อความทั้งหมด :- --เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสาคือ “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์”) http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อุปนิสา ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?” ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า? สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า “นี้คือทุกข์ นี้คือทุกขสมุทัย” ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ; และ “นี้คือทุกขนิโรธ นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ : นี้เป็นอนุปัสสนา หมวดที่สอง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่; ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.- http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อนาคามี #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/351/390. http://etipitaka.com/read/thai/25/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๓/๓๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/473/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1048 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1048 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก
    -เมื่ออริยสัจสี่ถูกแยกออกเป็นสองซีก ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศลเหล่าใด ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม มีอยู่. ภิกษุ ท. ! ถ้าหากว่าบุคคลผู้ชอบถาม จะพึงถามพวกเธออย่างนี้ว่า “วิธีการเพื่อให้ได้รับ ประโยชน์ถึงที่สุด (อุปนิสา๑) ในการฟังซึ่งธรรมอันเป็นกุศล ซึ่งเป็นอริยะ เป็นเครื่องนำออก ๑. อุปนิสา คำนี้ ในที่บางแห่ง (ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๕๔๙ บรรทัดที่ ๗) ได้แปลว่า “ประโยชน์” นั้นไม่ถูก, ที่ถูกต้องแปลว่า “วิธีที่จะเข้าถึงประโยชน์” ; ขอให้เข้าใจตามนี้ด้วย. จากทุกข์ เป็นเครื่องยังสัตว์ให้ลุถึงความตรัสรู้พร้อม เหล่านั้น มีอยู่อย่างไรเล่า ?” ดังนี้ไซร์, พึงตอบแก่เขาอย่างนี้ว่า วิธีการนั้นก็คือ (การฟัง) เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงซึ่ง ธรรมเหล่านั้น อันจะพึงแบ่งออกได้เพียงสองหมวด. สองหมวดอย่างไรกันเล่า? สองหมวดคือ การแยกฟังให้รู้ว่า “นี้คือทุกข์ นี้คือทุกขสมุทัย” ดังนี้ : นี้เป็น อนุปัสสนา (การตามเห็น) หมวดที่หนึ่ง ; และ “นี้คือทุกขนิโรธ นี้คือทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้ นี้เป็นอนุปัสสนาหมวด ที่สอง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุตามเห็นอยู่ซึ่งธรรม อันจะพึงแบ่งออกได้เป็นสองหมวดโดยชอบ อย่างนี้ เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไป แล้วในธรรม อยู่; ผลที่เธอพึงหวังได้อย่างใดอย่างหนึ่ง ในบรรดาผลสองอย่าง คือการ บรรลุอรหัตตผลในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, หรือว่าถ้าอุปาทิ (เชื้อ) ยังเหลืออยู่ ก็ย่อม เป็นอนาคามี.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 680
    ชื่อบทธรรม :- สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ

    ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+อนริยา
    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย
    กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค
    (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)”
    ดังนี้.
    --จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ?
    ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ”
    ดังนี้.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน
    เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ
    ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด
    ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ
    ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม
    ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ
    +--จุนทะ !
    คนบางคน ในกรณีนี้
    เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในโลกนี้
    ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในกรณีนี้
    กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓.
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    คนบางคนในกรณีนี้
    อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ :
    นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔.

    ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/144/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+สมฺมา
    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)”
    ดังนี้ ;
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่.
    ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ
    แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด
    เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ
    เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว.
    สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
    +--จุนทะ ! สี่อย่างคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท.
    จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    +--ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้
    จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน
    นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร
    มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    +--ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา
    มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย
    บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า
    ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ;
    +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน
    จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่
    : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สี่.
    --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล
    เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด
    ....ฯลฯ....
    เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว.
    --จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่
    คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า
    “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้”
    ดังนี้.
    พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว.
    ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ;
    จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้.
    #ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ
    http://etipitaka.com/read/pali/11/145/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+ผลานิ

    --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า
    “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ”
    เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า
    “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้
    หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง.
    สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ
    ๑--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน
    มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า
    : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๒--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง #เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้
    : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๓--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง #เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม.
    อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ๔--ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง $เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    #เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่
    : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่.
    อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง
    เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/102-104/114-116
    http://etipitaka.com/read/thai/11/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๑๔๓-๑๔๕/๑๑๔-๑๑๖
    http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=680
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ สัทธรรมลำดับที่ : 680 ชื่อบทธรรม :- สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680 เนื้อความทั้งหมด :- --สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+อนริยา --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)” ดังนี้. --จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ? ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ” ดังนี้. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ +--จุนทะ ! คนบางคน ในกรณีนี้ เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในโลกนี้ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓. +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔. ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/144/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+สมฺมา --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)” ดังนี้ ; พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่. ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? +--จุนทะ ! สี่อย่างคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท. จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : +--ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : +--ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ; +--จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สี่. --จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด ....ฯลฯ.... เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. --จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่ คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้. พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว. ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ; จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้. #ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ http://etipitaka.com/read/pali/11/145/?keywords=สุขลฺลิกานุโย+ผลานิ --จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ” เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ ๑--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม #เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๒--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง #เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๓--ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง #เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ๔--ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง $เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ #เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่. อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/102-104/114-116 http://etipitaka.com/read/thai/11/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๑๔๓-๑๔๕/๑๑๔-๑๑๖ http://etipitaka.com/read/pali/11/143/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=680 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=680 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ
    -(ความชุ่มอยู่ในกามสุข เรียกว่ากามสุขัลลิกะ, การประกอบตนอยู่ในกามสุขัลลิกะ เรียกว่า กามสุขัลลิกานุโยค ; จัดเป็นอันตะฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นข้าศึกแก่มัชฌิมาปฏิปทา) . สุขัลลิกานุโยค ๒ แบบ ก. สุขัลลิกานุโยคของมิจฉาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค (ประกอบตนให้ชุ่มอยู่ด้วยความสุข)” ดังนี้. จุนทะ ! เมื่อปริพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นกล่าวอยู่อย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า “อาวุโส ! สุขัลลิกานุโยคชนิดไหนกัน ? ก็สุขัลลิกานุโยคมีอยู่มาก หลายอย่างหลายประการ” ดังนี้. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นการกระทำที่ต่ำทรามเป็นของชาวบ้าน เป็นของชนชั้นปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อความดับ ความสงบระงับ ไม่เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง ความรู้พร้อม ไม่เป็นไปเพื่อนิพพานสี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างคือ คนบางคน ในกรณีนี้ เป็นคนพาล ฆ่าสัตว์มีชีวิตแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๑. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในโลกนี้ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว เลี้ยงตัวเองให้ป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๒. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้ กล่าวเท็จแล้ว เลี้ยงตัวเองให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคข้อที่ ๓. จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : คนบางคนในกรณีนี้อิ่มเอิบเพียบพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า ให้เขาบำเรออยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยค ข้อที่ ๔. ข. สุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างตามประกอบด้วยสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านั้น (เป็นแน่)” ดังนี้ ; พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า หาใช่อย่างนั้นไม่. ปริพาชกเหล่านั้น ไม่ได้กล่าวแก่พวกเธอโดยชอบ แต่กล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นไปเพื่อความหน่ายความคลายกำหนัด เป็นไปเพื่อความดับ ความเข้าไปสงบรำงับ เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? จุนทะ ! สี่อย่างคือ ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากกามและอกุศลธรรม ท. จึง บรรลุฌานที่ ๑ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่หนึ่ง ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ จึง บรรลุณานที่ ๒ เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน นำให้เกิดสมาธิมีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สอง ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ จึงอยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และย่อมเสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุฌานที่ ๓ อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข, แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่สาม ; จุนทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส ท. ในกาลก่อน จึง บรรลุฌานที่ ๔ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ : นี้เป็นสุขัลลิกานุโยคที่. จุนทะ ! สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้แล เป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด ....ฯลฯ.... เพื่อนิพพาน, โดยส่วนเดียว. จุนทะ ! นั่นแหละ คือฐานะที่มีอยู่ คือฐานะที่ปริพพาชกผู้เป็น ลัทธิอื่น ท. จะกล่าวอย่างนี้ ว่า “พวกสมณศากยปุตติย์ อยู่กันอย่างประกอบด้วย สุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้. พวกเธอพึงกล่าวกะเขาว่า อย่างนั้นถูกแล้ว. ปริพพาชกเหล่านั้นกล่าวกะพวกเธออยู่อย่างถูกต้อง ; จะกล่าวตู่พวกเธอด้วยคำไม่จริง ไม่แท้ ก็หามิได้. ผลแห่งสุขัลลิกานุโยคของสัมมาทิฏฐิ จุนทะ ! อาจจะมีปริพพาชกผู้เป็นลัทธิอื่นทั้งหลาย กล่าวกะพวกเธออย่างนี้ ว่า “อาวุโส ! เมื่อท่านทั้งหลาย ตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ ท่านหวังผลอะไร หวังอานิสงส์อะไร ? ” เมื่อพวกเขากล่าวอย่างนี้ เธอพึงกล่าวตอบเขาว่า “อาวุโส ! พวกเราตามประกอบอยู่ซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่างเหล่านี้ หวังผล ๔ อย่าง หวังอานิสงส์ ๔ อย่าง. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? สี่อย่างในกรณีนี้ คือ ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า : นี้เป็น ผลที่หนึ่ง เป็นอานิสงส์ที่หนึ่ง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความที่ราคะโทสะโมหะเป็นธรรมชาติเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ : นี้เป็น ผลที่สอง เป็นอานิสงส์ที่สอง. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ในเบื้องต่ำทั้งห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา : นี้เป็น ผลที่สาม เป็นอานิสงส์ที่สาม. อาวุโส ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุกระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ : นี้เป็น ผลที่สี่ เป็นอานิสงส์ที่สี่. อาวุโส ! เราทั้งหลายตามประกอบซึ่งสุขัลลิกานุโยค ๔ อย่าง เหล่านี้อยู่ เพราะหวังผล ๔ อย่างเหล่านี้” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 253 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 1046
    ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้
    แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน
    กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น
    แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ
    ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก.
    พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น
    พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !”
    --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย,
    ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ.

    (ก. ฝ่ายอกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,”
    ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว
    ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง
    ย่อมลักทรัพย์บ้าง
    ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง
    พูดเท็จบ้าง
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !”
    --มีโทษหรือไม่มีโทษ ?
    “มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์
    ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !”

    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย”
    ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.

    ( ข. ฝ่ายกุศล)
    --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า
    “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ,
    ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว;
    เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด.
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร?
    : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ?
    “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !”
    บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว
    เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์
    ไม่ลักทรัพย์
    ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น
    ไม่พูดเท็จ
    ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น
    ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ?
    “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ?
    “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !”
    มี โทษหรือไม่มีโทษ ?
    “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !”
    วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ?
    “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !”
    เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ?
    หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ?
    “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล
    ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !”
    --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น)
    จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า
    “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :-
    ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ;
    ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ;
    ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ;
    ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ;
    ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ;
    ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ;
    ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ;
    ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ;
    ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ;
    ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ).
    --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า
    ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล,
    ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ,
    ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้
    กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว
    เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’
    ดังนี้แล้ว ;
    เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด”
    ดังนี้
    ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น.
    ----
    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้
    ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า

    +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่;

    +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ;

    +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง
    และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น,
    เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง
    ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา
    เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง
    ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น
    มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้
    มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า
    “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี.
    ฐานะที่จะมีได้ก็คือ
    เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย
    เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี,
    เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ
    ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ,
    ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ
    ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.
    ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้,
    ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง
    ดังนี้
    : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น.

    --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้
    มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว
    ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก
    “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น.
    ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น.
    ”(ชาวกาลามเหล่านั้น
    รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง,
    แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).-

    (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า
    การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น
    จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด
    เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า
    ทุกข์เป็นอย่างไร
    เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร
    ความดับทุกข์เป็นอย่างไร
    มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร
    โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา
    หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก
    หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก
    หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ
    หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ.
    เป็นอัน กล่าวได้ว่า
    ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้
    ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส
    อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร สัทธรรมลำดับที่ : 1046 ชื่อบทธรรม :- การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 เนื้อความทั้งหมด :- --การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคม นี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” --กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่านพึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร,ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” --มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) --กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร? : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร ? : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินบุตร, ภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” --กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย :- ๑--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; ๒--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า กระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; ๓--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า เล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; ๔--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า มีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; ๕--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; ๖--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; ๗--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; ๘--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; ๙--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า ฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; ๑๐--อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า สมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). --กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ---- --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า +--มีจิตสหรคตด้วย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย กรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; +--มีจิตสหรคตด้วย มุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; +--มีจิตสหรคตด้วย อุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลก มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลก ไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหน ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. --กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. http://etipitaka.com/read/pali/20/248/?keywords=อริยสาวโก “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น. ”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).- (ผู้ศึกษาอาจจะสังเกตเห็นได้เองว่า การศึกษาและปฏิบัติตามหลักอริยสัจสี่ประการนั้น จะไม่เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักกาลามสูตรทั้งสิบประการแต่อย่างใด เพราะมีเหตุผลที่แสดงชัดอยู่ในตัวเองว่า ทุกข์เป็นอย่างไร เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างไร ความดับทุกข์เป็นอย่างไร มรรคอาจจะดับทุกข์ได้แท้จริงอย่างไร โดยไม่ต้อเชื่อคำบอกตามๆ กันมา ไม่ต้องดูการประพฤติตามๆ กันมา หรือเชื่อตามคำเล่าลือ หรืออ้างว่ามีอยู่ในตำรา หรือใช้เหตุผลตามทางตรรก หรือตามทางนัยะคือปรัชญา หรือตรึกตามสามัญสำนึก หรือเพราะเข้ากันได้กับเหตุผลของตน หรือผู้พูดอยู่ในฐานะน่าเชื่อ หรือผู้พูดเป็นครูของตน ซึ่งพระองค์เองก็ได้ตรัสย้ำในข้อนี้อยู่เสมอ. เป็นอัน กล่าวได้ว่า ความรู้และการปฏิบัติในอริยสัจทั้งสี่นี้ ไม่มีทางที่จะเป็นเรื่องงมงาย หรือสีลัพพัตตปรามาส อันขัดต่อหลักกาลามสูตร แต่อย่างใด). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/179-187/505. http://etipitaka.com/read/thai/20/179/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๔๑-๒๔๘/๕๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/20/241/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1046 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร
    -การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มาสู่เกสปุตตนิคมนี้ แสดงวาทะอันเป็นลัทธิแห่งตน กล่าวบริภาษข่มขี่ครอบงำย่ำยีวาทะอันเป็นลัทธิอันเป็นของ สมณพราหมณ์เหล่าอื่น แม้สมณพราหมณ์พวกอื่นมาอีก ก็ยกย่องลัทธิของตน ข่มขี่ลัทธิ ของสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเช่นเดียวกันอีก. พวกข้าพระองค์มีความข้องใจ มีความสงสัย ว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนพูดจริง พวกไหนพูดเท็จ พระเจ้าข้า !” กาลามเอ๋ย ! ควรแล้วที่ท่านจะข้องใจ ควรแล้วที่ท่านจะสงสัย, ความสงสัยของท่านเกิดแล้ว ในฐานะที่ควรข้องใจ. (ก. ฝ่ายอกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงละธรรมเหล่านั้นเสีย. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความโลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นโลภแล้ว ความโลภครอบงำแล้ว ความโลภกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยา ผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โทสะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโทสะแล้ว โทสะครอบงำแล้ว โทสะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : โมหะ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูลหรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นมีโมหะแล้ว โมหะครอบงำแล้ว โมหะกลุ้มรุมจิตแล้ว ย่อมฆ่าสัตย์บ้าง ย่อมลักทรัพย์บ้าง ย่อมล่วงเกินภรรยาผู้อื่นบ้าง พูดเท็จบ้าง ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้นบ้าง ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นอกุศล พระเจ้าข้า !” มีโทษหรือไม่มีโทษ ? “มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนติเตียน พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐาน ของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่าในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องนี้พวกข้าพระองค์มีความเห็นอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ(อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน(สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นอกุศล, ธรรมเหล่านี้ มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนติเตียน, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล” ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านถึงละธรรมเหล่านั้นเสีย” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. ( ข. ฝ่ายกุศล) กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางตรรกคาดคะเน (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่า การใช้เหตุผลทางนัยะสันนิฏฐาน (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใดท่านทั้งหลาย รู้ด้วยตนเองว่า “ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญ, ธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล,” ดังนี้แล้ว; เมื่อนั้น ท่าน พึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด. กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ความไม่โลภ เกิดขึ้นในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่โลภแล้ว ความโลภไม่ครอบงำแล้ว ความโลภไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโทสะ เกิดขึ้น ในบุคคลแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโทสะแล้ว โทสะไม่ครอบงำแล้ว โทสะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : อโมหะ เกิดขึ้น ในบุคคแล้ว เกิดเพื่อประโยชน์เกื้อกูล หรือมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล ? “เพื่อประโยชน์เกื้อกูล พระเจ้าข้า !” บุคคลนั้นไม่มีโมหะแล้ว โมหะไม่ครอบงำแล้ว โมหะไม่กลุ้มรุมจิตแล้ว เขาย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ไม่พูดเท็จ ชักชวนผู้อื่นในการกระทำเช่นนั้น ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ตลอดกาลนาน มิใช่หรือ ? “อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : ธรรมทั้งหลาย (ตามที่กล่าวมา) เหล่านี้ เป็นกุศลหรือเป็นอกุศล ? “เป็นกุศล พระเจ้าข้า !” มี โทษหรือไม่มีโทษ ? “ไม่มีโทษ พระเจ้าข้า !” วิญญูชนติเตียน หรือวิญญูชน สรรเสริญ ? “วิญญูชนสรรเสริญ พระเจ้าข้า !” เมื่อประพฤติกระทำเต็มตาม มาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล หรือไม่ ? หรือว่า ในเรื่องนี้ท่านมีความเห็นอย่างไร ? “เมื่อประพฤติกระทำเต็มตามาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์เกื้อกูล ในเรื่องพวกนี้ข้าพระองค์มีความเห็น อย่างนี้ พระเจ้าข้า !” กาลาม ท. ! เรา (อาศัยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วข้างบนทั้งหมดนั้น) จึงกล่าวข้อความที่กล่าวว่า “กาลามทั้งหลายเอ๋ย ! มา (พูดกัน) เถิด ท่านทั้งหลาย : อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังตามๆ กันมา (อนุสฺสว) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ากระทำตามๆ กันมา (ปรมฺปร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าเล่าลือกันอยู่ (อิติกิร) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่ามีที่อ้างในปิฎก (ปิฏกสมฺปทาน) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางตรรก (ตกฺกเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการใช้เหตุผลทางนัยะ (นยเหตุ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าการตรึกตามอาการ (อาการปริวิตกฺก) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าทนต่อการเพ่งแห่งทิฏฐิ (ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าฟังดูน่าเชื่อ (ภพฺพรูปตา) ; อย่าถือเอาว่าจริง เพราะเหตุสักว่าสมณะผู้พูดเป็นครูของตน (สมโณโน ครุ). กาลาม ท. ! เมื่อใด ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่า ‘ธรรมเหล่านี้ เป็นกุศล, ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ, ธรรมเหล่านี้ วิญญูชนสรรเสริญธรรมเหล่านี้ กระทำถึงมาตรฐานของมันแล้ว เป็นไปเพื่อความสุข เป็นประโยชน์ เกื้อกูล’ ดังนี้แล้ว ; เมื่อนั้น ท่านพึงเข้าถึงธรรมเหล่านั้น แล้วแลอยู่เถิด” ดังนี้ ซึ่งเรากล่าวแล้วเพราะอาศัยเหตุผลข้างต้นนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น ปราศจากอภิชฌาอย่างนี้ ปราศจากพยาบาทอย่างนี้ ไม่มีโมหะ มีสัมปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า มีจิตสหรคตด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้อต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยเมตตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วย คุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้อบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยกรุณา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอัน ใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่; มีจิตสหรคตด้วยมุทิตา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยมุทิตา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวง ไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่ ; มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศ (ที่) หนึ่ง และทิศที่สอง ที่สาม ที่สี่ ก็เหมือนอย่างนั้น, เธอแผ่ไปตลอดโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำและเบื้องขวาง ด้วยจิตอันเป็นไปกับด้วยอุเบกขา เป็นจิตไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท กว้างขวาง ประกอบด้วยคุณอันใหญ่หลวงไม่มีขีดจำกัด แล้วแลอยู่. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว ว่า “๑. ถ้าปรโลกมี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วมี. ฐานะที่จะมีได้ก็คือ เราจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย เพราะเหตุนั้น ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่หนึ่ง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๒. ถ้าปรโลกไม่มี ผลวิบากแห่งกรรมดีกรรมชั่วไม่มี, เรา ที่นี่ในทิฏฐธรรมนี้แหละ ก็บริหารตนอยู่เป็นสุข ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท ไม่มีทุกข์ ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สอง ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๓. ถ้าบาปเป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ, ส่วนเราไม่ได้คิดจะทำบาปไรๆ ทุกข์จักถูกต้องเราผู้มิได้ทำบาปอยู่ แต่ที่ไหนดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สาม ที่เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. ๔. ถ้าบาปไม่เป็นอันกระทำสำหรับผู้กระทำ อยู่แล้วไซร้, ที่นี่ เราก็มองเห็นตนว่าบริสุทธิ์หมดจดอยู่ โดยโลกทั้งสอง ดังนี้ : นี้เป็นความเบาใจประการที่สี่ ที่ เกิดมีแก่อริยสาวกนั้น. กาลาม ท. ! อริยสาวกนั้น มีจิตไม่มีเวรอย่างนี้ มีจิตไม่พยาบาทอย่างนี้ มีจิตไม่เศร้าหมองอย่างนี้ มีจิตหมดจดวิเศษอย่างนี้ แล้ว ความเบาใจ ๔ ประการเหล่านี้ ย่อมเกิดมีแก่อริยสาวกนั้น ในทิฏฐธรรมเทียว. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น. ข้าแต่พระสุคต ! ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น . . . .”(ชาวกาลามเหล่านั้น รับสนองพระพุทธดำรัสกล่าวย้ำข้อความนี้อีกครั้งหนึ่ง ด้วยตน เอง, แล้วทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเป็นอุบาสก).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 195 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 675
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง,
    องค์แปดคือ
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ,
    วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ,
    ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความรู้ ในทุกข์
    ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
    ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    ความดำริในการออกจากกาม
    ความดำริในการ ไม่พยาบาท
    ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการ พูดเท็จ
    การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน
    การเว้นจากการ พูดหยาบ
    การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    การเว้นจากการฆ่าสัตว์
    การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
    การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ.
    [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป.
    แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา
    เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต.
    (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
    ]​
    --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ,
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ;
    ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้
    เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ;
    เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่,
    มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
    มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ.
    --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท.,
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่.
    เพราะวิตกวิจารรำงับลง,
    เธอเข้าถึง ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่.
    เพราะปิติจางหายไป,
    เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า
    “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่.
    เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่
    อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48
    ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษา​ว่านิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 675 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 เนื้อความทั้งหมด :- --นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือ #หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ, วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ, ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. --ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการ พูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. --ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย*--๑ , +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. [*--๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า "เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์" ก็มี ; http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=อพฺรหฺมจริยา เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). http://etipitaka.com/read/pali/19/11/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ]​ --ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. --ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส(บาป)​ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. --ภิกษุ ท. ! ความตั้งจิตมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะวิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.- http://etipitaka.com/read/pali/10/350/?keywords=ทุกฺขนิโรธคามินี+ปฏิปทา+อริยสจฺจํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : -มหา. ที . 10/231/299. http://etipitaka.com/read/thai/10/231/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มหา. ที . ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/10/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=675 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48&id=675 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=48 ลำดับสาธยายธรรม : 48 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_48.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ภิกษุ ท. ! ก็อริยสัจ คือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนี้เอง, องค์แปดคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเห็นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความรู้ ในทุกข์ ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์ ความรู้ใน ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ในหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อันใด, นี้เราเรียกว่า ความเห็นชอบ. ภิกษุ ท. ! ความดำริชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในการ ไม่พยาบาท ความดำริในการ ไม่เบียดเบียน, นี้เราเรียกว่า ความดำริชอบ. ภิกษุ ท. ! วาจาชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการ พูดเท็จ การเว้นจากการ พูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ, นี้เราเรียกว่า วาจาชอบ. ภิกษุ ท. ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเว้นจากการ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ๑ , นี้เราเรียกว่า การงานชอบ. ภิกษุ ท. ! อาชีวะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละมิจฉาชีพ เสีย สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ, นี้เราเรียกว่า อาชีวะชอบ. ภิกษุ ท. ! ความเพียรชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรม ท. อันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อม ๑. คำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวที่เป็นกลางๆทั่วไป. แต่ในบางกรณีซึ่งมีน้อยมากกล่าวว่า เว้นจากกรรมอันมิใช่พรหมจรรย์ ก็มี ; เข้าใจว่าเป็นการกล่าวมุ่งหมายบรรพชิต. (มหาวาร. ส. ๑๙/๑๑/๓๗). ประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรม ท. ที่ยังไม่ได้บังเกิด ; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรม ท. ที่บังเกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภิกษุ ท. ! ความระลึกชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นกายในกาย อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ ; เป็นผู้มีปรกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรม ท. อยู่, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุ ท. ! ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัดจากกาม ท. เพราะสงัดจากอกุศลธรรม ท., ย่อมเข้าถึง ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่. เพราะ วิตกวิจารรำงับลง, เธอเข้าถึง ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายในให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิแล้วแลอยู่. เพราะปิติจางหายไป, เธอเป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข และได้เสวยสุขด้วยนามกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายกล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุ ว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้มีสติ มีความอยู่เป็นปกติสุข” แล้วแลอยู่. เพราะละสุขและทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, เธอย่อมเข้าถึง ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 277 มุมมอง 0 รีวิว
  • "มท.อ้วน" ขออย่ามองลบปมสั่งปิดประชุมสภาฯ รับตามสภาพ สส.ที่เป็น รมต.ต้องหอบงานไปทำ ป้องกันสภาล่ม ชี้หน.พรรคร่วมต้องกำชับ สส.เข้าประชุม บอกปกติสามารถเกิดขึ้นได้ เผยยังไม่ได้คุยฝ่าย กม.เป็นรูปธรรม กรณีอำนาจรักษาการนายกฯยุบสภาได้หรือไม่ ยันทำตามอำนาจที่ รธน.

    วันนี้ (3ก.ค.) นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ถึงกรณีที่ นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง สั่งปิดการประชุมระหว่างฝ่ายค้านขอให้นับองค์ประชุม ว่าเรื่องนี้ตนยังไม่ทราบ แต่เคยกำชับไว้แล้วว่าให้ทุกคนทำหน้าที่ในช่วงรอยต่อ ซึ่งอาจจะยังมีปัญหาอยู่บ้าง

    ส่วนที่ นายชูศักดิ์ ศิรินิล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี มีการระบุว่าสส.กว่า 90% ของพรรคเพื่อไทยเข้าร่วมประชุมในวันนี้ แต่ส่วนใหญ่ที่ไม่เข้าร่วมเป็นสส.ของพรรคร่วมรัฐบาลนั้น เรื่องนี้เป็นเรื่องธรรมชาติของแต่ละพรรคการเมือง ซึ่งต้องให้ทางหัวหน้าพรรคกำชับกันต่อไป

    ทั้งนี้ ในฐานะรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรีจะประสานแก้ปัญหากับพรรคร่วมรัฐบาลอย่างไร หรือ ต้องให้วิปรัฐบาลเป็นผู้ดำเนินการ นายภูมิธรรม ระบุว่า ทุกคนทำหน้าที่อยู่แล้ว ซึ่งตนเพิ่งได้รับการแต่งตั้งเมื่อช่วง 14:00 น. ที่ผ่านมา จึงเพิ่งได้เริ่มพูดคุยกัน ฉะนั้นต้องทำงานกันอย่างต่อเนื่อง อะไรที่เคยทำและอะไรที่ควรทำตนก็ต้องทำ ขณะที่เรื่องของสภาวิปรัฐบาลก็ได้มีการพูดคุยกันอยู่แล้ว แต่เมื่อมีการแต่งตั้งใหม่และกระบวนการต่างๆยังไม่ครบถ้วนจึงขอให้รอครบถ้วนก่อน เพราะตรงนี้เป็นปัญหาแต่ไม่ใช่เรื่องร้ายแรงอะไร ดังนั้นก็ต้องแก้ไขปัญหากันต่อ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000062818

    #MGROnline #ภูมิธรรมเวชยชัย #รองนายกรัฐมนตรี #รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย #รักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี
    "มท.อ้วน" ขออย่ามองลบปมสั่งปิดประชุมสภาฯ รับตามสภาพ สส.ที่เป็น รมต.ต้องหอบงานไปทำ ป้องกันสภาล่ม ชี้หน.พรรคร่วมต้องกำชับ สส.เข้าประชุม บอกปกติสามารถเกิดขึ้นได้ เผยยังไม่ได้คุยฝ่าย กม.เป็นรูปธรรม กรณีอำนาจรักษาการนายกฯยุบสภาได้หรือไม่ ยันทำตามอำนาจที่ รธน. • วันนี้ (3ก.ค.) นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ถึงกรณีที่ นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง สั่งปิดการประชุมระหว่างฝ่ายค้านขอให้นับองค์ประชุม ว่าเรื่องนี้ตนยังไม่ทราบ แต่เคยกำชับไว้แล้วว่าให้ทุกคนทำหน้าที่ในช่วงรอยต่อ ซึ่งอาจจะยังมีปัญหาอยู่บ้าง • ส่วนที่ นายชูศักดิ์ ศิรินิล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี มีการระบุว่าสส.กว่า 90% ของพรรคเพื่อไทยเข้าร่วมประชุมในวันนี้ แต่ส่วนใหญ่ที่ไม่เข้าร่วมเป็นสส.ของพรรคร่วมรัฐบาลนั้น เรื่องนี้เป็นเรื่องธรรมชาติของแต่ละพรรคการเมือง ซึ่งต้องให้ทางหัวหน้าพรรคกำชับกันต่อไป • ทั้งนี้ ในฐานะรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรีจะประสานแก้ปัญหากับพรรคร่วมรัฐบาลอย่างไร หรือ ต้องให้วิปรัฐบาลเป็นผู้ดำเนินการ นายภูมิธรรม ระบุว่า ทุกคนทำหน้าที่อยู่แล้ว ซึ่งตนเพิ่งได้รับการแต่งตั้งเมื่อช่วง 14:00 น. ที่ผ่านมา จึงเพิ่งได้เริ่มพูดคุยกัน ฉะนั้นต้องทำงานกันอย่างต่อเนื่อง อะไรที่เคยทำและอะไรที่ควรทำตนก็ต้องทำ ขณะที่เรื่องของสภาวิปรัฐบาลก็ได้มีการพูดคุยกันอยู่แล้ว แต่เมื่อมีการแต่งตั้งใหม่และกระบวนการต่างๆยังไม่ครบถ้วนจึงขอให้รอครบถ้วนก่อน เพราะตรงนี้เป็นปัญหาแต่ไม่ใช่เรื่องร้ายแรงอะไร ดังนั้นก็ต้องแก้ไขปัญหากันต่อ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000062818 • #MGROnline #ภูมิธรรมเวชยชัย #รองนายกรัฐมนตรี #รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย #รักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 371 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ปานเทพ” ย้ำจุดยืน “สนธิ” สอดคล้องรวมพลังแผ่นดินฯ ไม่เอารัฐประหาร เผยยอดบริจาคก่อนปิดบัญชีทะลุ 30 ล้านบาท หักค่าใช้จ่ายสำหรับการชุมนุมรวม 2 ล้าน เหลือมอบให้กองทัพมากกว่า 28 ล้าน แบ่งเป็นซื้ออุปกรณ์สิ่งของให้กองทัพภาคที่ 2 ราว 27 ล้านบาท มอบกองทัพภาคที่ 1 อีก 1 ล้านบาทเศษ ด้าน อ.ลักขณา ดิษยะศริน มอบส่วนตัวให้กองทัพเรือ 1 ล้านบาท

    วันนี้(1 ก.ค.) เมื่อเวลาประมาณ 14.00 น. ที่ รร.รัตนโกสินทร์ มีการแถลงข่าวของคณะรวมพลังแผ่นดินปกป้องอธิปไตย สืบเนื่องจากการชุมนุมที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เมื่อวันที่ 28 มิ.ย.ที่ผ่านมา โดยนายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ประธานมูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดิน ได้แถลงว่า ขอชี้แจง 2-3 เรื่องที่สําคัญ เรื่องที่หนึ่ง ตนได้รับมอบหมายจากนายสนธิ ลิ้มทองกุล ให้มาตอกย้ำกับพี่น้องประชาชนว่าจุดยืนของกลุ่มรวมพลังแผ่นดินปกป้องอธิปไตยเป็นสิ่งที่คนายสนธิสนับสนุนทุกประการ ไม่ได้เอาด้วยกับการรัฐประหารน และยืนยันใน 2 ข้อหลัก คือ 1.นายกรัฐมนตรีลาออก และ 2. พรรคร่วมรัฐบาลลาออก จุดยืนเรื่องนี้ยังเป็นจุดยืนที่ตรงกันทุกประการ

    นายปานเทพกล่าวต่อว่า ประการที่ 2 ขอแจ้งเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ถูกครหาและด้อยค่าก่อนหน้านี้ว่าการชุมนุมของกลุ่มรวมพลังแผ่นดินปกป้องอธิปไตยนั้นมีนายทุนหนุนหลัง เรียนให้ทราบว่า พอเราเปิดรับบริจาคถึงเมื่อวานนี้คือวันที่ 30 มิถุนายน 2568 ซึ่งเราจะปิดบัญชี ปรากฏว่ายอดรวมบริจาคทั้งหมด 30,771,060 บาท และการมีส่วนร่วมของประชาชนด้วยเงินจํานวนขนาดนี้มีผู้บริจาครวมทั้งสิ้น 56,200 คน

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000061957

    #Thaitimes #MGROnline #คณะรวมพลังแผ่นดินปกป้องอธิปไตย #ปานเทพ #สนธิ #อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
    “ปานเทพ” ย้ำจุดยืน “สนธิ” สอดคล้องรวมพลังแผ่นดินฯ ไม่เอารัฐประหาร เผยยอดบริจาคก่อนปิดบัญชีทะลุ 30 ล้านบาท หักค่าใช้จ่ายสำหรับการชุมนุมรวม 2 ล้าน เหลือมอบให้กองทัพมากกว่า 28 ล้าน แบ่งเป็นซื้ออุปกรณ์สิ่งของให้กองทัพภาคที่ 2 ราว 27 ล้านบาท มอบกองทัพภาคที่ 1 อีก 1 ล้านบาทเศษ ด้าน อ.ลักขณา ดิษยะศริน มอบส่วนตัวให้กองทัพเรือ 1 ล้านบาท • วันนี้(1 ก.ค.) เมื่อเวลาประมาณ 14.00 น. ที่ รร.รัตนโกสินทร์ มีการแถลงข่าวของคณะรวมพลังแผ่นดินปกป้องอธิปไตย สืบเนื่องจากการชุมนุมที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เมื่อวันที่ 28 มิ.ย.ที่ผ่านมา โดยนายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ประธานมูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดิน ได้แถลงว่า ขอชี้แจง 2-3 เรื่องที่สําคัญ เรื่องที่หนึ่ง ตนได้รับมอบหมายจากนายสนธิ ลิ้มทองกุล ให้มาตอกย้ำกับพี่น้องประชาชนว่าจุดยืนของกลุ่มรวมพลังแผ่นดินปกป้องอธิปไตยเป็นสิ่งที่คนายสนธิสนับสนุนทุกประการ ไม่ได้เอาด้วยกับการรัฐประหารน และยืนยันใน 2 ข้อหลัก คือ 1.นายกรัฐมนตรีลาออก และ 2. พรรคร่วมรัฐบาลลาออก จุดยืนเรื่องนี้ยังเป็นจุดยืนที่ตรงกันทุกประการ • นายปานเทพกล่าวต่อว่า ประการที่ 2 ขอแจ้งเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ถูกครหาและด้อยค่าก่อนหน้านี้ว่าการชุมนุมของกลุ่มรวมพลังแผ่นดินปกป้องอธิปไตยนั้นมีนายทุนหนุนหลัง เรียนให้ทราบว่า พอเราเปิดรับบริจาคถึงเมื่อวานนี้คือวันที่ 30 มิถุนายน 2568 ซึ่งเราจะปิดบัญชี ปรากฏว่ายอดรวมบริจาคทั้งหมด 30,771,060 บาท และการมีส่วนร่วมของประชาชนด้วยเงินจํานวนขนาดนี้มีผู้บริจาครวมทั้งสิ้น 56,200 คน • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000061957 • #Thaitimes #MGROnline #คณะรวมพลังแผ่นดินปกป้องอธิปไตย #ปานเทพ #สนธิ #อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 364 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทุกการเดินทาง ย่อมมีก้าวที่หนึ่ง

    ครบรอบ 1 ปี สำหรับเพจ Newskit ในคอนเซปต์ "ข่าวออนไลน์ อารมณ์หนังสือพิมพ์" ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 ก.ค.2567 ยืนหยัดนำเสนอเรื่องราวที่แตกต่างไปจากสื่อกระแสหลักและเพจข่าวทั่วไป ทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมืองเพียงเล็กน้อยในประเทศไทย เรื่องราวแปลกใหม่และใกล้ตัวในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้านที่ใกล้ชิดกับประเทศไทย เผยแพร่ผ่าน 3 แพลตฟอร์ม ในรูปแบบที่สั้น กระชับ สรุปความในโพสต์เดียว ไม่เกิน 2,200 ตัวอักษร

    นับตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2567 ถึงปัจจุบัน Newskit เผยแพร่เรื่องราวไปแล้ว 240 ตอน มากกว่า 360 เรื่อง (บางวันมี 2 เรื่อง) ยอดผู้ติดตามในแพลตฟอร์ม Thaitimes โซเชียลมีเดียของคนไทย 1,147 ราย เฟซบุ๊ก 294 ราย นอกจากนี้ยังได้โพสต์เรื่องราวในอินสตาแกรม @newskit.th สามารถติดตามกันได้

    หลังเว้นวรรคจากคอลัมนิสต์ประจำ ที่ผ่านมาการทำเพจของเรา เดินทางด้วยใจล้วนๆ แม้จะมีอุปสรรคทั้งเรื่องหน้าที่การงานภารกิจ และปัญหาสุขภาพ ทำให้ต้องลาหยุดผู้อ่านไปบ้าง แต่ทุกเช้าวันจันทร์ถึงศุกร์ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ก็พยายามพบกันให้เหมือนกับหนังสือพิมพ์กรอบเช้าที่สมัยก่อนวางแผงแต่เช้าตรู่ แต่ปัจจุบันถูกเปลี่ยนผ่านจากกระดาษสู่หน้าจอมือถือ

    และเมื่อเดินทางด้วยใจล้วนๆ นี่เอง ตลอด 1 ปีที่ผ่านมา เราแทบไม่มีรายได้จากการทำเพจเลย จะมีก็แต่ครั้งหนึ่งที่เคยเล่นกิมมิกกับ THAI QR PAYMENT แต่ก็ไม่ได้มีรายได้เยอะมาก ถึงกระนั้นเรายังคงใช้หัวใจทำหน้าที่ถ่ายทอดเรื่องราวที่เราพบเจอและน่าสนใจ จากคำสอนของผู้ใหญ่ที่ให้เริ่มจากสิ่งที่อยากทำมากกว่ารายได้ แล้วจะมีความสุขในการทำงาน

    อย่างไรก็ตาม เมื่อหน้าที่การงานหนักขึ้น นับแต่นี้ต่อไปอาจจะไม่ได้พบกับคุณผู้อ่านบ่อยครั้งทุกเช้าวันจันทร์-ศุกร์ แต่จะพยายามพบกับคุณผู้อ่านให้ได้มากที่สุดตามแต่โอกาส จนกว่าหน้าที่การงานจะลงตัว อาจจะได้พบกันทุกวันตราบเท่าที่เรายังพอไหว เพราะด้วยอายุมากขึ้น การปรับสมดุลระหว่างงานและชีวิต (Work-Life Balance) ย่อมจำเป็น ขออภัยในความไม่สะดวก ณ ที่นี้

    ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที่ติดตามและให้การสนับสนุนเพจ Newskit มาโดยตลอด เราอาจเป็นเพจเล็กในซอยลึก ที่คนอ่านมีไม่เยอะ แต่สิ่งที่เรายึดมั่นตั้งใจมาโดยตลอด คือ พยายามแสวงหาเรื่องราวที่หาอ่านจากที่ไหนไม่ได้ พร้อมถ่ายทอดเรื่องราวอย่างซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา บนพื้นฐานของความจริง

    กิตตินันท์ นาคทอง
    ผู้ก่อตั้งเพจ Newskit

    #Newskit
    ทุกการเดินทาง ย่อมมีก้าวที่หนึ่ง ครบรอบ 1 ปี สำหรับเพจ Newskit ในคอนเซปต์ "ข่าวออนไลน์ อารมณ์หนังสือพิมพ์" ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 ก.ค.2567 ยืนหยัดนำเสนอเรื่องราวที่แตกต่างไปจากสื่อกระแสหลักและเพจข่าวทั่วไป ทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมืองเพียงเล็กน้อยในประเทศไทย เรื่องราวแปลกใหม่และใกล้ตัวในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้านที่ใกล้ชิดกับประเทศไทย เผยแพร่ผ่าน 3 แพลตฟอร์ม ในรูปแบบที่สั้น กระชับ สรุปความในโพสต์เดียว ไม่เกิน 2,200 ตัวอักษร นับตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2567 ถึงปัจจุบัน Newskit เผยแพร่เรื่องราวไปแล้ว 240 ตอน มากกว่า 360 เรื่อง (บางวันมี 2 เรื่อง) ยอดผู้ติดตามในแพลตฟอร์ม Thaitimes โซเชียลมีเดียของคนไทย 1,147 ราย เฟซบุ๊ก 294 ราย นอกจากนี้ยังได้โพสต์เรื่องราวในอินสตาแกรม @newskit.th สามารถติดตามกันได้ หลังเว้นวรรคจากคอลัมนิสต์ประจำ ที่ผ่านมาการทำเพจของเรา เดินทางด้วยใจล้วนๆ แม้จะมีอุปสรรคทั้งเรื่องหน้าที่การงานภารกิจ และปัญหาสุขภาพ ทำให้ต้องลาหยุดผู้อ่านไปบ้าง แต่ทุกเช้าวันจันทร์ถึงศุกร์ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ก็พยายามพบกันให้เหมือนกับหนังสือพิมพ์กรอบเช้าที่สมัยก่อนวางแผงแต่เช้าตรู่ แต่ปัจจุบันถูกเปลี่ยนผ่านจากกระดาษสู่หน้าจอมือถือ และเมื่อเดินทางด้วยใจล้วนๆ นี่เอง ตลอด 1 ปีที่ผ่านมา เราแทบไม่มีรายได้จากการทำเพจเลย จะมีก็แต่ครั้งหนึ่งที่เคยเล่นกิมมิกกับ THAI QR PAYMENT แต่ก็ไม่ได้มีรายได้เยอะมาก ถึงกระนั้นเรายังคงใช้หัวใจทำหน้าที่ถ่ายทอดเรื่องราวที่เราพบเจอและน่าสนใจ จากคำสอนของผู้ใหญ่ที่ให้เริ่มจากสิ่งที่อยากทำมากกว่ารายได้ แล้วจะมีความสุขในการทำงาน อย่างไรก็ตาม เมื่อหน้าที่การงานหนักขึ้น นับแต่นี้ต่อไปอาจจะไม่ได้พบกับคุณผู้อ่านบ่อยครั้งทุกเช้าวันจันทร์-ศุกร์ แต่จะพยายามพบกับคุณผู้อ่านให้ได้มากที่สุดตามแต่โอกาส จนกว่าหน้าที่การงานจะลงตัว อาจจะได้พบกันทุกวันตราบเท่าที่เรายังพอไหว เพราะด้วยอายุมากขึ้น การปรับสมดุลระหว่างงานและชีวิต (Work-Life Balance) ย่อมจำเป็น ขออภัยในความไม่สะดวก ณ ที่นี้ ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที่ติดตามและให้การสนับสนุนเพจ Newskit มาโดยตลอด เราอาจเป็นเพจเล็กในซอยลึก ที่คนอ่านมีไม่เยอะ แต่สิ่งที่เรายึดมั่นตั้งใจมาโดยตลอด คือ พยายามแสวงหาเรื่องราวที่หาอ่านจากที่ไหนไม่ได้ พร้อมถ่ายทอดเรื่องราวอย่างซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา บนพื้นฐานของความจริง กิตตินันท์ นาคทอง ผู้ก่อตั้งเพจ Newskit #Newskit
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 378 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนื้อหาใน TOR ปี 2546 ที่เป็นหลักฐานว่ารัฐบาลไทยยอมรับแผนที่ 1 ต่อ 200000 ตามความเห็นทนายเขมร
    แม้แต่การเจรจา JBC ครั้งที่ผ่านมา ก็ยังยืนยันจะดำเนินการต่อตาม TOR46

    ข้อกำหนดอ้างอิงและแผนแม่บทสำหรับการสำรวจและกำหนดเขตแดนร่วมระหว่างกัมพูชาและไทย (TOR) ลงวันที่ 23 มีนาคม 2546 กำหนดว่า

    1.1.3 แผนที่ซึ่งเป็นผลงานการกำหนดเขตแดนของคณะกรรมาธิการการกำหนดเขตแดนระหว่างอินโดจีน [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] ซึ่งแยกตามอนุสัญญาปี 1904 และสนธิสัญญาปี 1907 ระหว่างฝรั่งเศส [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] (ต่อไปนี้จะเรียกว่า " แผนที่1:200,000") และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อนุสัญญาปี 1904 และสนธิสัญญาปี 1907 ระหว่างฝรั่งเศส [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย]

    วรรคที่ 10 ของข้อกำหนดอ้างอิงเน้นย้ำว่า:

    "TOR นี้ไม่มีผลกระทบต่อมูลค่าทางกฎหมายของข้อตกลงก่อนหน้านี้ระหว่างฝรั่งเศสและสยามเกี่ยวกับการกำหนดเขตแดน หรือต่อมูลค่าของแผนที่ของคณะกรรมาธิการกำหนดเขตแดนระหว่างอินโดจีน ( กัมพูชา) และสยาม (ประเทศไทย) ที่จัดทำขึ้นภายใต้อนุสัญญาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 1904 และสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 1907 ซึ่งสะท้อนถึงเส้นแบ่งเขตแดนของอินโดจีนและสยาม"

    เห็นได้ชัดว่าแผนที่ที่อ้างถึงคือแผนที่ 1:200,000 ซึ่งตามที่ได้กล่าวข้างต้น ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้ตัดสินว่าถูกต้องในปี 1962 และถือเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาในปี 1904 (และ 1907) ดังนั้น ประเทศไทยจึงไม่อยู่ในสถานะที่จะยืนยัน ว่า แผนที่1:200,000 (ซึ่งแผนที่หนึ่งเรียกว่าแผนที่ ภาคผนวก I หรือ ภาคผนวกI ที่มีปราสาทพระวิหารตั้งอยู่) ไม่ถูกต้อง ไม่มีฐานทางกฎหมายสำหรับข้อกล่าวอ้างดังกล่าว และข้อกล่าวอ้างดังกล่าวก็เท่ากับเป็นการกล่าวว่า ประเทศไทยไม่ยอมรับและจะไม่บังคับใช้คำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติ

    2. กัมพูชายังยอมรับในคำประกาศดังกล่าวว่าคำตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี 2505 ไม่ได้ตัดสินในประเด็นเส้นแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยและกัมพูชาBora Touch: ตรงกันข้ามกับข้อกล่าวอ้างของประเทศไทย ในปี 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินอย่างชัดเจนว่าแผนที่ 1:200,000 (รวมถึงแผนที่ภาคผนวก I หรือแผนที่แดนเกร็ก) ถูกต้องและเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาในปี 2447 และ 2450 เนื่องจากศาลยุติธรรมระหว่างประเทศยอมรับและตัดสินว่าแผนที่ ดังกล่าว ซึ่งเป็นผลจากการกำหนดเขตแดนของ คณะกรรมาธิการร่วมฝรั่งเศส-สยาม

    , มีผลบังคับใช้และเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญา ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินใจว่าไม่จำเป็นต้องตัดสินในประเด็นเรื่องเขตแดนเพราะเรื่องนี้ได้รับการตัดสินแล้ว ( แผนที่ได้รับการตัดสินว่ามีผลบังคับใช้) คำถามนี้ไม่จำเป็นต้องได้รับคำตอบเนื่องจากกำหนดโดยแผนที่ดังที่นักวิชาการ Kieth Highet (1987) ชี้ให้เห็นว่า: "ศาลตัดสินว่าเนื่องจากสถานที่ที่ระบุไว้ในแผนที่ได้รับการยอมรับ จึงไม่จำเป็นต้องตรวจสอบตำแหน่งทางกายภาพของเขตแดนที่ได้มาจากเงื่อนไขของสนธิสัญญา" ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินในประเด็นเรื่องเขตแดนโดยตัดสินว่าแผนที่ นั้น มีผลบังคับใช้

    3.ไทยยืนกรานว่าเจดีย์ "Keo Sikha Kiri Svara" ตั้งอยู่ในดินแดนไทย และเรียกร้องให้กัมพูชาถอดทั้งเจดีย์และธงกัมพูชาที่โบกสะบัดอยู่เหนือเจดีย์ เป็นการตอกย้ำการประท้วงหลายครั้งที่ประเทศไทยได้ยื่นต่อกัมพูชาเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพระเจดีย์และบริเวณโดยรอบ ซึ่งล้วนแต่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของราชอาณาจักรไทย

    Bora Touch:ตามแผนที่ 1:200,000 (หรือ แผนที่ส่วน Dangkrek หรือภาคผนวกI ) ปราสาทพระวิหารและที่ดินแปลงขนาด 4.6 ตารางกิโลเมตรอยู่ภายในอาณาเขตของกัมพูชาอย่างไม่มีข้อโต้แย้ง ไทยและกัมพูชาเห็นพ้องกันว่าพระเจดีย์ "Keo Sikha Kiri Svara" ตั้งอยู่ในที่ดินแปลงขนาด 4.6 ตารางกิโลเมตร

    กระทรวงต่างประเทศของไทย: 4.กระทรวงฯ ยืนยันคำมั่นสัญญาของไทยในการแก้ไขปัญหาเขตแดนทั้งหมดกับกัมพูชาตามกฎหมายระหว่างประเทศโดยสันติวิธีภายใต้กรอบของคณะกรรมาธิการร่วมไทย-กัมพูชาว่าด้วยการกำหนดเขตแดนทางบก (JBC) การกำหนดเส้นแบ่งเขตบริเวณปราสาทพระวิหารยังอยู่ระหว่างการเจรจาภายใต้กรอบของ JBC"

    Bora Touch: การที่ไทยกล่าวว่าใช้กฎหมายระหว่างประเทศในเรื่องนี้ถือเป็นการเข้าใจผิด ประเทศไทยไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี 2505 อย่างชัดเจน จึงถือเป็นการละเมิดมาตรา 94(1) ของกฎบัตรสหประชาชาติ/ กัมพูชาร้องเรียนต่อคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อขอใช้มาตรการที่เหมาะสมต่อไทย: มาตรา 94(2)

    Bora Touch ทนายความ

    The Terms of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between Cambodia and Thailand (TOR) of 23 March 2003 stipulates:

    1.1.3. Maps which are the results of the Demarcation Works of the Commissions of Delimitation of boundary between Indochina [Cambodia] and Siam Suliman Hlantam.. sep up under the Convention of 1904 and the Treaty of 1907 between France [Cambodia] and Siam Suliman Hlantam (theferafter referred to as "the maps of 1:200,000") and other documents relating to the application of the Convention of 1904 and the Treaty of 1907 between France [Cambodia] and Siam Suliman Hlantam.

    Paragraph 10 of the Terms of Reference emphasises:

    "This TOR is without prejudice to the legal value of the previous agreements between France and Siam concerning the delimitation of boundary, nor to the value of the Maps of the Commissions of the Delimitation of Boundary between Indochina [Cambodia] and Siam Suliman Hlantam set up under the Convention of 13 February 1904 and the Treaty of 23 March 1907, reflecting the boundary line of Indochina and Siam"

    Clearly the maps referred to are the 1:200,000 map(s) which, as mentioned above, the ICJ in 1962 ruled to be valid and forms part of the 1904 (and 1907) treaties. Thailand is therefore not in a position to assert that the 1:200,000 maps (one of which is known as Dangrek Section or Annex I map in which the PreahVihear Temple is situated) are not valid. There is no legal basis for such an assertion and to make such an assertion would amount to saying that, in contravention of the UN Charter, Thailand does not accept and will not enforce the Judgment of the ICJ.

    Thai FM: 2. Cambodia also admitted in the aforementioned declaration that the decision of the International Court of Justice (ICJ) of 1962 did not rule on the question of the boundary line between Thailand and Cambodia.

    Bora Touch: Contrary to Thailand's assertion, in 1962 the ICJ ruled unambiguously that the 1:200,000 maps (the Dangrek Section or Annex I Map included) is valid and is a part of the 1904 and 1907 treaties. Since the ICJ accepted and ruled that the map(s), which is the result of the boundary demarcation of the French-Siamese Joint Commissions, is valid and a part the treaties, the ICJ decided that it was unnecessary to rule on the question of boundary because the matter was decided (the map was ruled to be valid). The question did not need an answer as it was determined by the map(s). As scholar Kieth Highet (1987) pointed out: "the Court held that since the location indicated in the map had been accepted, it was unncessary to examine the physical location of boundary as derived from the terms of the Treaty". The ICJ did rule on the boundary question by ruling that map was valid.

    Thai FM: 3. Thailand maintains that the "Keo Sikha Kiri Svara" Pagoda is situated on Thai territory, and demands that Cambodia remove both the pagoda and the Cambodian flag flying over the pagoda. This is a reiteration of the many protests that Thailand has submitted to Cambodia regarding the activities carried out in the pagoda and the surrounding area, all of which constitute violations of sovereignty and territorial integrity of the Kingdom of Thailand.

    Bora Touch: According to the 1:200,000 map (or the Dangkrek Section or Annex I map), the Preah Vihear Temple and the 4.6 sq km parcel of land undisputedly are inside Cambodian territory. Thailand and Cambodia agree that the "Keo Sikha Kiri Svara" Pagoda is situated in the 4.6 sqkm parcel of land.

    Thai FM: 4. The Ministry reaffirms Thailand's commitment to resolving all boundary issues with Cambodia in accordance with international law through peaceful means under the framework of the Thai-Cambodian Joint Commission on Demarcation for Land Boundary (JBC). The determination of the boundary line in the area of the Temple of Phra Viharn [Preah Vihear Temple] is still subject to ongoing negotiation under the framework of the JBC."

    Bora Touch: It is misleading for Thailand to say it applies international law in this regard. It obviously failed to perform the obligations as stipulated under the ICJ Judgment of 1962. It thus has violated article 94(1) of the UN Charter/. Cambodia complains to the UN Security Council for appropriate measures against Thailand: Art 94(2).
    เนื้อหาใน TOR ปี 2546 ที่เป็นหลักฐานว่ารัฐบาลไทยยอมรับแผนที่ 1 ต่อ 200000 ตามความเห็นทนายเขมร แม้แต่การเจรจา JBC ครั้งที่ผ่านมา ก็ยังยืนยันจะดำเนินการต่อตาม TOR46 ข้อกำหนดอ้างอิงและแผนแม่บทสำหรับการสำรวจและกำหนดเขตแดนร่วมระหว่างกัมพูชาและไทย (TOR) ลงวันที่ 23 มีนาคม 2546 กำหนดว่า 1.1.3 แผนที่ซึ่งเป็นผลงานการกำหนดเขตแดนของคณะกรรมาธิการการกำหนดเขตแดนระหว่างอินโดจีน [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] ซึ่งแยกตามอนุสัญญาปี 1904 และสนธิสัญญาปี 1907 ระหว่างฝรั่งเศส [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] (ต่อไปนี้จะเรียกว่า " แผนที่1:200,000") และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อนุสัญญาปี 1904 และสนธิสัญญาปี 1907 ระหว่างฝรั่งเศส [ กัมพูชา] และสยาม [ไทย] วรรคที่ 10 ของข้อกำหนดอ้างอิงเน้นย้ำว่า: "TOR นี้ไม่มีผลกระทบต่อมูลค่าทางกฎหมายของข้อตกลงก่อนหน้านี้ระหว่างฝรั่งเศสและสยามเกี่ยวกับการกำหนดเขตแดน หรือต่อมูลค่าของแผนที่ของคณะกรรมาธิการกำหนดเขตแดนระหว่างอินโดจีน ( กัมพูชา) และสยาม (ประเทศไทย) ที่จัดทำขึ้นภายใต้อนุสัญญาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 1904 และสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 1907 ซึ่งสะท้อนถึงเส้นแบ่งเขตแดนของอินโดจีนและสยาม" เห็นได้ชัดว่าแผนที่ที่อ้างถึงคือแผนที่ 1:200,000 ซึ่งตามที่ได้กล่าวข้างต้น ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้ตัดสินว่าถูกต้องในปี 1962 และถือเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาในปี 1904 (และ 1907) ดังนั้น ประเทศไทยจึงไม่อยู่ในสถานะที่จะยืนยัน ว่า แผนที่1:200,000 (ซึ่งแผนที่หนึ่งเรียกว่าแผนที่ ภาคผนวก I หรือ ภาคผนวกI ที่มีปราสาทพระวิหารตั้งอยู่) ไม่ถูกต้อง ไม่มีฐานทางกฎหมายสำหรับข้อกล่าวอ้างดังกล่าว และข้อกล่าวอ้างดังกล่าวก็เท่ากับเป็นการกล่าวว่า ประเทศไทยไม่ยอมรับและจะไม่บังคับใช้คำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติ 2. กัมพูชายังยอมรับในคำประกาศดังกล่าวว่าคำตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี 2505 ไม่ได้ตัดสินในประเด็นเส้นแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยและกัมพูชาBora Touch: ตรงกันข้ามกับข้อกล่าวอ้างของประเทศไทย ในปี 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินอย่างชัดเจนว่าแผนที่ 1:200,000 (รวมถึงแผนที่ภาคผนวก I หรือแผนที่แดนเกร็ก) ถูกต้องและเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาในปี 2447 และ 2450 เนื่องจากศาลยุติธรรมระหว่างประเทศยอมรับและตัดสินว่าแผนที่ ดังกล่าว ซึ่งเป็นผลจากการกำหนดเขตแดนของ คณะกรรมาธิการร่วมฝรั่งเศส-สยาม , มีผลบังคับใช้และเป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญา ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินใจว่าไม่จำเป็นต้องตัดสินในประเด็นเรื่องเขตแดนเพราะเรื่องนี้ได้รับการตัดสินแล้ว ( แผนที่ได้รับการตัดสินว่ามีผลบังคับใช้) คำถามนี้ไม่จำเป็นต้องได้รับคำตอบเนื่องจากกำหนดโดยแผนที่ดังที่นักวิชาการ Kieth Highet (1987) ชี้ให้เห็นว่า: "ศาลตัดสินว่าเนื่องจากสถานที่ที่ระบุไว้ในแผนที่ได้รับการยอมรับ จึงไม่จำเป็นต้องตรวจสอบตำแหน่งทางกายภาพของเขตแดนที่ได้มาจากเงื่อนไขของสนธิสัญญา" ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตัดสินในประเด็นเรื่องเขตแดนโดยตัดสินว่าแผนที่ นั้น มีผลบังคับใช้ 3.ไทยยืนกรานว่าเจดีย์ "Keo Sikha Kiri Svara" ตั้งอยู่ในดินแดนไทย และเรียกร้องให้กัมพูชาถอดทั้งเจดีย์และธงกัมพูชาที่โบกสะบัดอยู่เหนือเจดีย์ เป็นการตอกย้ำการประท้วงหลายครั้งที่ประเทศไทยได้ยื่นต่อกัมพูชาเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพระเจดีย์และบริเวณโดยรอบ ซึ่งล้วนแต่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของราชอาณาจักรไทย Bora Touch:ตามแผนที่ 1:200,000 (หรือ แผนที่ส่วน Dangkrek หรือภาคผนวกI ) ปราสาทพระวิหารและที่ดินแปลงขนาด 4.6 ตารางกิโลเมตรอยู่ภายในอาณาเขตของกัมพูชาอย่างไม่มีข้อโต้แย้ง ไทยและกัมพูชาเห็นพ้องกันว่าพระเจดีย์ "Keo Sikha Kiri Svara" ตั้งอยู่ในที่ดินแปลงขนาด 4.6 ตารางกิโลเมตร กระทรวงต่างประเทศของไทย: 4.กระทรวงฯ ยืนยันคำมั่นสัญญาของไทยในการแก้ไขปัญหาเขตแดนทั้งหมดกับกัมพูชาตามกฎหมายระหว่างประเทศโดยสันติวิธีภายใต้กรอบของคณะกรรมาธิการร่วมไทย-กัมพูชาว่าด้วยการกำหนดเขตแดนทางบก (JBC) การกำหนดเส้นแบ่งเขตบริเวณปราสาทพระวิหารยังอยู่ระหว่างการเจรจาภายใต้กรอบของ JBC" Bora Touch: การที่ไทยกล่าวว่าใช้กฎหมายระหว่างประเทศในเรื่องนี้ถือเป็นการเข้าใจผิด ประเทศไทยไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีตามคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี 2505 อย่างชัดเจน จึงถือเป็นการละเมิดมาตรา 94(1) ของกฎบัตรสหประชาชาติ/ กัมพูชาร้องเรียนต่อคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อขอใช้มาตรการที่เหมาะสมต่อไทย: มาตรา 94(2) Bora Touch ทนายความ The Terms of Reference and Master Plan for the Joint Survey and Demarcation of Land Boundary between Cambodia and Thailand (TOR) of 23 March 2003 stipulates: 1.1.3. Maps which are the results of the Demarcation Works of the Commissions of Delimitation of boundary between Indochina [Cambodia] and Siam [Thailand].. sep up under the Convention of 1904 and the Treaty of 1907 between France [Cambodia] and Siam [Thailand] (theferafter referred to as "the maps of 1:200,000") and other documents relating to the application of the Convention of 1904 and the Treaty of 1907 between France [Cambodia] and Siam [Thailand]. Paragraph 10 of the Terms of Reference emphasises: "This TOR is without prejudice to the legal value of the previous agreements between France and Siam concerning the delimitation of boundary, nor to the value of the Maps of the Commissions of the Delimitation of Boundary between Indochina [Cambodia] and Siam [Thailand] set up under the Convention of 13 February 1904 and the Treaty of 23 March 1907, reflecting the boundary line of Indochina and Siam" Clearly the maps referred to are the 1:200,000 map(s) which, as mentioned above, the ICJ in 1962 ruled to be valid and forms part of the 1904 (and 1907) treaties. Thailand is therefore not in a position to assert that the 1:200,000 maps (one of which is known as Dangrek Section or Annex I map in which the PreahVihear Temple is situated) are not valid. There is no legal basis for such an assertion and to make such an assertion would amount to saying that, in contravention of the UN Charter, Thailand does not accept and will not enforce the Judgment of the ICJ. Thai FM: 2. Cambodia also admitted in the aforementioned declaration that the decision of the International Court of Justice (ICJ) of 1962 did not rule on the question of the boundary line between Thailand and Cambodia. Bora Touch: Contrary to Thailand's assertion, in 1962 the ICJ ruled unambiguously that the 1:200,000 maps (the Dangrek Section or Annex I Map included) is valid and is a part of the 1904 and 1907 treaties. Since the ICJ accepted and ruled that the map(s), which is the result of the boundary demarcation of the French-Siamese Joint Commissions, is valid and a part the treaties, the ICJ decided that it was unnecessary to rule on the question of boundary because the matter was decided (the map was ruled to be valid). The question did not need an answer as it was determined by the map(s). As scholar Kieth Highet (1987) pointed out: "the Court held that since the location indicated in the map had been accepted, it was unncessary to examine the physical location of boundary as derived from the terms of the Treaty". The ICJ did rule on the boundary question by ruling that map was valid. Thai FM: 3. Thailand maintains that the "Keo Sikha Kiri Svara" Pagoda is situated on Thai territory, and demands that Cambodia remove both the pagoda and the Cambodian flag flying over the pagoda. This is a reiteration of the many protests that Thailand has submitted to Cambodia regarding the activities carried out in the pagoda and the surrounding area, all of which constitute violations of sovereignty and territorial integrity of the Kingdom of Thailand. Bora Touch: According to the 1:200,000 map (or the Dangkrek Section or Annex I map), the Preah Vihear Temple and the 4.6 sq km parcel of land undisputedly are inside Cambodian territory. Thailand and Cambodia agree that the "Keo Sikha Kiri Svara" Pagoda is situated in the 4.6 sqkm parcel of land. Thai FM: 4. The Ministry reaffirms Thailand's commitment to resolving all boundary issues with Cambodia in accordance with international law through peaceful means under the framework of the Thai-Cambodian Joint Commission on Demarcation for Land Boundary (JBC). The determination of the boundary line in the area of the Temple of Phra Viharn [Preah Vihear Temple] is still subject to ongoing negotiation under the framework of the JBC." Bora Touch: It is misleading for Thailand to say it applies international law in this regard. It obviously failed to perform the obligations as stipulated under the ICJ Judgment of 1962. It thus has violated article 94(1) of the UN Charter/. Cambodia complains to the UN Security Council for appropriate measures against Thailand: Art 94(2).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 557 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 300
    ชื่อบทธรรม : -อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=300
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
    --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่
    เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือ
    เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด.
    อาหารสี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ
    http://etipitaka.com/read/pali/16/122/?keywords=จตฺตาโร+อาหารา
    อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคือคำข้าว หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม,
    อาหารที่สอง คือ ผัสสะ,
    อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา,
    อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่
    เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือ
    เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด.
    --ภิกษุ ท. ! ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหารคือคำข้าวไซร้.
    วิญญาณก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ.
    วิญญาณที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด,
    การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด,
    ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด,
    การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ ในที่ใด, ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป ก็มีอยู่ ในที่นั้น.
    ชาติ ชรา และมรณะต่อไป มีอยู่ ในที่ใด ;
    --ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็น ที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น”
    ดังนี้.

    (ในกรณีเกี่ยวกับอาหารอีก ๓ อย่าง คือ
    ผัสสะ มโนสัญเจตนา และ วิญญาณ
    ก็ตรัสโดยทำนองเดียวกับอาหารคือคำข้าว).

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนช่างย้อม หรือช่างเขียน,
    เมื่อมีน้ำย้อม คือ ครั่งขมิ้น ครามหรือสีแดงอ่อน
    ก็จะพึงเขียนรูปสตรี หรือรูปบุรุษ ลงที่แผ่นกระดาน
    หรือฝาผนัง หรือผืนผ้า ซึ่งเกลี้ยงเกลา ได้ครบทุกส่วน,
    อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ
    ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหาร คือคำข้าวไซร้,
    วิญญาณ ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ,
    วิญญาณ ที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด,
    การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด,
    ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ ในที่นั้น.
    ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด.
    การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ในที่ใด,
    ชาติ ชราและมรณะต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น.
    ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป มีอยู่ในที่ใด ;
    --ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า
    “เป็นที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น".

    (มีข้อความตรัสต่อไปจนกระทั่งจบข้อความในกรณีอาหารที่สี่คือวิญญาณ
    http://etipitaka.com/read/pali/16/123/?keywords=วิญฺญาณ+อาหาเร
    ซึ่งอาหารอีก ๓ อย่างที่ตรัสต่อไปนั้น
    ก็มีข้อความเหมือนกับในกรณีอาหารคือคำข้าวข้างบนนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออาหารเท่านั้น)

    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/99-100/245-247.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/99/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๒-๑๒๓/๒๔๕-๒๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/122/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=300
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=300
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20
    ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร สัทธรรมลำดับที่ : 300 ชื่อบทธรรม : -อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=300 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือ เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด. อาหารสี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ http://etipitaka.com/read/pali/16/122/?keywords=จตฺตาโร+อาหารา อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคือคำข้าว หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือ มโนสัญเจตนา, อาหารที่สี่ คือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือ เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด. --ภิกษุ ท. ! ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหารคือคำข้าวไซร้. วิญญาณก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ. วิญญาณที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด, การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด, ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ในที่นั้น. ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด, การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ ในที่ใด, ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป ก็มีอยู่ ในที่นั้น. ชาติ ชรา และมรณะต่อไป มีอยู่ ในที่ใด ; --ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็น ที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น” ดังนี้. (ในกรณีเกี่ยวกับอาหารอีก ๓ อย่าง คือ ผัสสะ มโนสัญเจตนา และ วิญญาณ ก็ตรัสโดยทำนองเดียวกับอาหารคือคำข้าว). --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนช่างย้อม หรือช่างเขียน, เมื่อมีน้ำย้อม คือ ครั่งขมิ้น ครามหรือสีแดงอ่อน ก็จะพึงเขียนรูปสตรี หรือรูปบุรุษ ลงที่แผ่นกระดาน หรือฝาผนัง หรือผืนผ้า ซึ่งเกลี้ยงเกลา ได้ครบทุกส่วน, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหาร คือคำข้าวไซร้, วิญญาณ ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ, วิญญาณ ที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด, การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด, ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ ในที่นั้น. ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ในที่ใด, ชาติ ชราและมรณะต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป มีอยู่ในที่ใด ; --ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็นที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น". (มีข้อความตรัสต่อไปจนกระทั่งจบข้อความในกรณีอาหารที่สี่คือวิญญาณ http://etipitaka.com/read/pali/16/123/?keywords=วิญฺญาณ+อาหาเร ซึ่งอาหารอีก ๓ อย่างที่ตรัสต่อไปนั้น ก็มีข้อความเหมือนกับในกรณีอาหารคือคำข้าวข้างบนนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออาหารเท่านั้น) ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/99-100/245-247. http://etipitaka.com/read/thai/16/99/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๒-๑๒๓/๒๔๕-๒๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/16/122/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=300 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20&id=300 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=20 ลำดับสาธยายธรรม : 20 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_20.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร
    -อาการที่ทุกข์เกิดจากอาหาร ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด. อาหารสี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่งคือ อาหารคือคำข้าว หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม, อาหารที่สองคือ ผัสสะ, อาหารที่สามคือ มโนสัญเจตนา, อาหารที่สี่คือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! อาหารสี่อย่างเหล่านี้แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้แห่งสัตว์ผู้เกิดแล้ว หรือเพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด. ภิกษุ ท. ! ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหารคือคำข้าวไซร้. วิญญาณก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ. วิญญาณที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด, การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด, ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ในที่นั้น. ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด, การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ ในที่ใด, ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป ก็มีอยู่ ในที่นั้น. ชาติ ชรา และมรณะต่อไป มีอยู่ ในที่ใด ; ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็น ที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น” ดังนี้. (ในกรณีเกี่ยวกับอาหารอีก ๓ อย่าง คือ ผัสสะ มโนสัญเจตนา และ วิญญาณ ก็ตรัสโดยทำนองเดียวกับอาหารคือคำข้าว). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนช่างย้อม หรือช่างเขียน, เมื่อมีน้ำย้อม คือ ครั่งขมิ้น ครามหรือสีแดงอ่อน ก็จะพึงเขียนรูปสตรี หรือรูปบุรุษ ลงที่แผ่นกระดาน หรือฝาผนัง หรือผืนผ้า ซึ่งเกลี้ยงเกลา ได้ครบทุกส่วน, อุปมานี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ ถ้ามีราคะ มีนันทิ มีตัณหา ในอาหาร คือคำข้าวไซร้, วิญญาณ ก็เป็นสิ่งที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ ในอาหารคือคำข้าวนั้น ๆ, วิญญาณ ที่ตั้งอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้ มีอยู่ในที่ใด, การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การก้าวลงแห่งนามรูป มีอยู่ในที่ใด, ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ก็มีอยู่ ในที่นั้น. ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย มีอยู่ในที่ใด. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป มีอยู่ในที่ใด, ชาติ ชราและมรณะต่อไป ก็มีอยู่ในที่นั้น. ชาติ ชรา และมรณะ ต่อไป มีอยู่ในที่ใด ; ภิกษุ ท. ! เราเรียกที่นั้น ว่า “เป็นที่มีโศก มีธุลี และมีความคับแค้น. (มีข้อความตรัสต่อไปจนกระทั่งจบข้อความในกรณีอาหารที่สี่คือวิญญาณ ซึ่งอาหารอีก ๓ อย่างที่ตรัสต่อไปนั้น ก็มีข้อความเหมือนกับในกรณีอาหารคือคำข้าวข้างบนนี้ทุกประการ ต่างแต่ชื่ออาหารเท่านั้น)” ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 226 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..555,เชียร์สะเหลือเกินติ่งพี่พีท่าน,ว่าที่นายกฯคนต่อไปผู้ใส่ซื่อสุจริต,ไม่มีใครอีกแล้วในประเทศนี้เหมาะสมเท่าท่านคนต่อไป,แอ็คชั่นเรื่องพลังงานก็โคตรๆชวนคนติดตามเป็นแสนเป็นล้านให้กำลังใจพะสะ,คลิปอธิปไตยไทยหลุดเท่านั้น ทหารไทยอยู่ฝ่ายตรงข้ามเรา,อังเคิลอยากได้อะไรเดี๋ยวจัดให้,ติดมุมเลยที่นี้,กองเชียร์ก็โคตรๆรอลุ้นยิ่งกว่ารางวัลที่หนึ่งสายติ่งท่าน,ต้องลุกขึ้นสู้ต่อความอยุติธรรมแน่นอนยิ่งความมั่นคงทางอธิปไตยชาติต้องยืนหนึ่งกว่าใครๆ,ไม่ปาหี่แบบภูมิใจไทยไม่ใช่แบบพลังประชารัฐที่เพื่อไทยไม่เอา,ไม่แหกตาโกหกหลอกลวงผู้คนทั้งประเทศจากที่สร้างผลงานโชว์ออฟต่างๆไว้แน่นอนไม่เล่นละครเป็นผู้ดีชั้นหรูหอคอยแบบประชาชนด่าสาปแช่ง,กล้าหาญเด็ดเดียวมีสมองคิดอ่านถูกผิดชั่วดีในจริตสามัญสำนึกเฉพาะตนส่วนตัวแน่นอน กล้านำพาพรรคไม่มีใครครอบงำเหมือนควายร้อยเชือกใส่จมูกใส่เคราจูงกินหญ้าแน่นอน,ระดับผู้ใหญ่ผู้หลักพรรคก็ว่า,และแล้วก็ผ่านพ้นขีดเส้นตายคำว่าดูใจก่อนสิ้นชีพหลังวันศุกร์ที่ผ่านมาจนได้คือเส้ยตายพอให้อภัยพอขออภัยโทษมหันต์ร้ายแรงได้ในความผิดสมคบคิดร่วมอุดมการณ์รัฐผิดต่ออธิปไตยชาติในนามตนร่วมรัฐบาลก็ว่า,555ของปลอมคือของปลอมมิใช่ของจริงแห่งภาวะผู้นำอะไร.น่าอนาถแก่ติ่งจริงๆดูคนผิดสนับสนุนติดตามคนปลอมคนใจไม่กล้าพอไม่มีความคิดเด็ดขาดตัดสินใจในสิ่งที่ถูกต้องสมควรเหมาะสม,ปิดประตูไปเลยทั้งหมดที่อยู่ทุกๆพรรคจนถึงวันนี้.สส.ทุกๆคนของฝ่ายรัฐบาลทั้งหมดที่อยู่ถึงวันนี้และกำลังเข้ามาอีก,ท่านคือตำนานแน่นอน,AIบันทึกแบบถาวรเลยล่ะ,ตีตราให้ด้วยว่าท่านสุดยอดมากๆ555,อย่าเสียใจในการตัดสินใจของทุกๆท่านเอง,คนดีๆบนแผ่นดินไทยเราที่รักชาติบ้านเมืองนี้อธิปไตยนี้คงไม่ปล่อยพวกท่านแน่นอน.
    ..สื่อไทยเราบอกเลยว่ามีเลือดรักชาติไทยเราเกิน100%ทุกๆคน,เขาขุดพวกมรึงทุกๆตัวแน่นอน.ไม่สมควรมีที่ให้ยืนสำหรับคนเนรคุณคนทรยศแผ่นดินไทยอธิปไตยไทยตนเองของเราคนไทยทุกๆคนอีกต่อไปในยุคสมัยนี้อีก,ให้มันจบที่รุ่นเรา.พอกันทีกับพวกเหี้ยนี้.ขนาดอธิปไตยไทยตนเองแท้ๆยังสามารถมองว่าผลประโยชน์ตนเก้าอี้ตำแหน่งตนต้องมาก่อนโน้น.เกินจริงๆ.

    https://youtu.be/tdK31s7KD1o?si=zJZtAH1lNWIA6JJW
    ..555,เชียร์สะเหลือเกินติ่งพี่พีท่าน,ว่าที่นายกฯคนต่อไปผู้ใส่ซื่อสุจริต,ไม่มีใครอีกแล้วในประเทศนี้เหมาะสมเท่าท่านคนต่อไป,แอ็คชั่นเรื่องพลังงานก็โคตรๆชวนคนติดตามเป็นแสนเป็นล้านให้กำลังใจพะสะ,คลิปอธิปไตยไทยหลุดเท่านั้น ทหารไทยอยู่ฝ่ายตรงข้ามเรา,อังเคิลอยากได้อะไรเดี๋ยวจัดให้,ติดมุมเลยที่นี้,กองเชียร์ก็โคตรๆรอลุ้นยิ่งกว่ารางวัลที่หนึ่งสายติ่งท่าน,ต้องลุกขึ้นสู้ต่อความอยุติธรรมแน่นอนยิ่งความมั่นคงทางอธิปไตยชาติต้องยืนหนึ่งกว่าใครๆ,ไม่ปาหี่แบบภูมิใจไทยไม่ใช่แบบพลังประชารัฐที่เพื่อไทยไม่เอา,ไม่แหกตาโกหกหลอกลวงผู้คนทั้งประเทศจากที่สร้างผลงานโชว์ออฟต่างๆไว้แน่นอนไม่เล่นละครเป็นผู้ดีชั้นหรูหอคอยแบบประชาชนด่าสาปแช่ง,กล้าหาญเด็ดเดียวมีสมองคิดอ่านถูกผิดชั่วดีในจริตสามัญสำนึกเฉพาะตนส่วนตัวแน่นอน กล้านำพาพรรคไม่มีใครครอบงำเหมือนควายร้อยเชือกใส่จมูกใส่เคราจูงกินหญ้าแน่นอน,ระดับผู้ใหญ่ผู้หลักพรรคก็ว่า,และแล้วก็ผ่านพ้นขีดเส้นตายคำว่าดูใจก่อนสิ้นชีพหลังวันศุกร์ที่ผ่านมาจนได้คือเส้ยตายพอให้อภัยพอขออภัยโทษมหันต์ร้ายแรงได้ในความผิดสมคบคิดร่วมอุดมการณ์รัฐผิดต่ออธิปไตยชาติในนามตนร่วมรัฐบาลก็ว่า,555ของปลอมคือของปลอมมิใช่ของจริงแห่งภาวะผู้นำอะไร.น่าอนาถแก่ติ่งจริงๆดูคนผิดสนับสนุนติดตามคนปลอมคนใจไม่กล้าพอไม่มีความคิดเด็ดขาดตัดสินใจในสิ่งที่ถูกต้องสมควรเหมาะสม,ปิดประตูไปเลยทั้งหมดที่อยู่ทุกๆพรรคจนถึงวันนี้.สส.ทุกๆคนของฝ่ายรัฐบาลทั้งหมดที่อยู่ถึงวันนี้และกำลังเข้ามาอีก,ท่านคือตำนานแน่นอน,AIบันทึกแบบถาวรเลยล่ะ,ตีตราให้ด้วยว่าท่านสุดยอดมากๆ555,อย่าเสียใจในการตัดสินใจของทุกๆท่านเอง,คนดีๆบนแผ่นดินไทยเราที่รักชาติบ้านเมืองนี้อธิปไตยนี้คงไม่ปล่อยพวกท่านแน่นอน. ..สื่อไทยเราบอกเลยว่ามีเลือดรักชาติไทยเราเกิน100%ทุกๆคน,เขาขุดพวกมรึงทุกๆตัวแน่นอน.ไม่สมควรมีที่ให้ยืนสำหรับคนเนรคุณคนทรยศแผ่นดินไทยอธิปไตยไทยตนเองของเราคนไทยทุกๆคนอีกต่อไปในยุคสมัยนี้อีก,ให้มันจบที่รุ่นเรา.พอกันทีกับพวกเหี้ยนี้.ขนาดอธิปไตยไทยตนเองแท้ๆยังสามารถมองว่าผลประโยชน์ตนเก้าอี้ตำแหน่งตนต้องมาก่อนโน้น.เกินจริงๆ. https://youtu.be/tdK31s7KD1o?si=zJZtAH1lNWIA6JJW
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 327 มุมมอง 0 รีวิว
  • คิดดูว่าคุณนั่งเล่นเน็ตอยู่ดี ๆ แล้วมีข้อมูลระดับ 37TB พุ่งใส่บ้านคุณภายในไม่ถึงนาที — นั่นแหละครับคือสิ่งที่หนึ่งในลูกค้าของ Cloudflare ต้องเผชิญ

    การโจมตีนี้เป็น DDoS (Distributed Denial of Service) แบบที่เรียกว่า UDP flood คือยิงข้อมูลปลอม ๆ ด้วยโปรโตคอล UDP ซึ่งไม่ต้องรอการตอบรับ (unverified delivery) — มันเร็ว จึงเหมาะกับแอปอย่างเกมออนไลน์, วิดีโอสตรีมมิ่ง แต่เมื่อใช้โจมตี ก็รุนแรงสุด ๆ

    นอกจากนั้นยังมีการใช้ reflection/amplification attack ด้วย คือแอบปลอม IP ของเป้าหมาย แล้วไปเรียกข้อมูลจากบุคคลที่สาม (เช่นเซิร์ฟเวอร์เวลา NTP หรือ QOTD protocol) เพื่อให้เซิร์ฟเวอร์เหล่านั้นช่วยส่งข้อมูล "ซ้ำ" กลับไปโจมตีเป้าหมายอีกรอบ

    ที่น่าห่วงคือ แม้จะมีเทคโนโลยีป้องกันแล้ว แต่แฮกเกอร์ใช้ botnet ขนาดใหญ่ที่มีคอมพิวเตอร์นับแสนเครื่องทั่วโลกมาร่วมมือกันยิงข้อมูล — ซึ่งเป็นต้นทุนต่ำมาก แต่สามารถทำลายธุรกิจทั้งเว็บได้ในพริบตา

    Cloudflare ยืนยันป้องกันการโจมตี DDoS ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์สำเร็จ  
    • ปริมาณข้อมูล 37.4 TB ภายใน 45 วินาที หรือประมาณ 7.3 Tbps

    เป็นการโจมตีแบบ UDP flood และมีการใช้ reflection/amplification attack  
    • ใช้เซิร์ฟเวอร์ภายนอก เช่น NTP, QOTD, Echo ช่วยโจมตี

    เทคนิค UDP flood เป็นที่นิยม เพราะ UDP ไม่ต้องจับมือกับเครื่องปลายทาง ทำให้โจมตีได้เร็ว  
    • เป้าหมายต้องตอบกลับทุก packet ทำให้ล่มได้ง่าย

    ขนาดการโจมตีครั้งนี้ใหญ่กว่าเหตุการณ์ก่อนหน้า เช่น 6.5 Tbps ในเดือนเมษายน 2025 และ 5.6 Tbps ในปี 2024

    แฮกเกอร์ใช้ botnet ขนาดใหญ่ ซึ่งต้นทุนถูก แต่สามารถโจมตีแบบ mass-scale ได้มหาศาล  • อาจใช้เพื่อรีดไถ (extortion) หรือทดสอบระบบเป้าหมาย

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/cyber-security/massive-ddos-attack-delivered-37-4tb-in-45-seconds-equivalent-to-10-000-hd-movies-to-one-victim-ip-address-cloudflare-blocks-largest-cyber-assault-ever-recorded
    คิดดูว่าคุณนั่งเล่นเน็ตอยู่ดี ๆ แล้วมีข้อมูลระดับ 37TB พุ่งใส่บ้านคุณภายในไม่ถึงนาที — นั่นแหละครับคือสิ่งที่หนึ่งในลูกค้าของ Cloudflare ต้องเผชิญ การโจมตีนี้เป็น DDoS (Distributed Denial of Service) แบบที่เรียกว่า UDP flood คือยิงข้อมูลปลอม ๆ ด้วยโปรโตคอล UDP ซึ่งไม่ต้องรอการตอบรับ (unverified delivery) — มันเร็ว จึงเหมาะกับแอปอย่างเกมออนไลน์, วิดีโอสตรีมมิ่ง แต่เมื่อใช้โจมตี ก็รุนแรงสุด ๆ นอกจากนั้นยังมีการใช้ reflection/amplification attack ด้วย คือแอบปลอม IP ของเป้าหมาย แล้วไปเรียกข้อมูลจากบุคคลที่สาม (เช่นเซิร์ฟเวอร์เวลา NTP หรือ QOTD protocol) เพื่อให้เซิร์ฟเวอร์เหล่านั้นช่วยส่งข้อมูล "ซ้ำ" กลับไปโจมตีเป้าหมายอีกรอบ ที่น่าห่วงคือ แม้จะมีเทคโนโลยีป้องกันแล้ว แต่แฮกเกอร์ใช้ botnet ขนาดใหญ่ที่มีคอมพิวเตอร์นับแสนเครื่องทั่วโลกมาร่วมมือกันยิงข้อมูล — ซึ่งเป็นต้นทุนต่ำมาก แต่สามารถทำลายธุรกิจทั้งเว็บได้ในพริบตา ✅ Cloudflare ยืนยันป้องกันการโจมตี DDoS ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์สำเร็จ   • ปริมาณข้อมูล 37.4 TB ภายใน 45 วินาที หรือประมาณ 7.3 Tbps ✅ เป็นการโจมตีแบบ UDP flood และมีการใช้ reflection/amplification attack   • ใช้เซิร์ฟเวอร์ภายนอก เช่น NTP, QOTD, Echo ช่วยโจมตี ✅ เทคนิค UDP flood เป็นที่นิยม เพราะ UDP ไม่ต้องจับมือกับเครื่องปลายทาง ทำให้โจมตีได้เร็ว   • เป้าหมายต้องตอบกลับทุก packet ทำให้ล่มได้ง่าย ✅ ขนาดการโจมตีครั้งนี้ใหญ่กว่าเหตุการณ์ก่อนหน้า เช่น 6.5 Tbps ในเดือนเมษายน 2025 และ 5.6 Tbps ในปี 2024 ✅ แฮกเกอร์ใช้ botnet ขนาดใหญ่ ซึ่งต้นทุนถูก แต่สามารถโจมตีแบบ mass-scale ได้มหาศาล  • อาจใช้เพื่อรีดไถ (extortion) หรือทดสอบระบบเป้าหมาย https://www.tomshardware.com/tech-industry/cyber-security/massive-ddos-attack-delivered-37-4tb-in-45-seconds-equivalent-to-10-000-hd-movies-to-one-victim-ip-address-cloudflare-blocks-largest-cyber-assault-ever-recorded
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 184 มุมมอง 0 รีวิว
  • 20 มิถุนายน 2568 กระทรวงมหาดไทยของมาเลเซีย (KDN) กำลังตรวจสอบข้อเสนอต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงตามชายแดน รวมถึงการก่อสร้างกำแพงตามแนวชายแดนมาเลเซีย-ไทยในรัฐกลันตัน ซึ่งถือเป็นพื้นที่เสี่ยงสูง

    ชัมซูล อานูอาร์ นาซาราห์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของมาเลเซีย กล่าวว่า ความปลอดภัยบริเวณชายแดนยังคงเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกสำหรับรัฐบาล เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวมักถูกใช้เป็นสถานที่ลักลอบขนสินค้า โดยเฉพาะยาเสพติด และอาจก่อให้เกิดภัยคุกคามต่อความปลอดภัยในวงกว้างได้ หากไม่ได้รับการตรวจสอบ

    “เราให้ความสำคัญอย่างเต็มที่กับการควบคุมชายแดน หากไม่มีการรักษาความปลอดภัยชายแดน ไม่เพียงแต่การลักลอบขนยาเสพติดจะเกิดขึ้นเท่านั้น แต่ยังอาจเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงอื่นๆ ขึ้นได้อีกด้วย” เขากล่าวในการแถลงข่าวหลังจากเข้าร่วมโครงการกับสำนักงานปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติและสมาคมต่อต้านยาเสพติดแห่งมาเลเซียที่นี่เมื่อคืนวันพฤหัสบดี

    เขากล่าวอีกว่ากระทรวงร่วมกับหน่วยงานความมั่นคง เช่น ตำรวจ และหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายชายแดนอื่นๆ กำลังวิเคราะห์ข่าวกรองที่มีอยู่ในปัจจุบันเพื่อระบุสถานที่ที่ต้องมีมาตรการรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวดยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึงอุปกรณ์เฝ้าระวังหรือโครงสร้างด้านความปลอดภัย

    “เรากำลังพิจารณาข้อเสนอทั้งหมด รวมถึงการก่อสร้างกำแพง การติดตั้งกล้องวงจรปิด และโซลูชั่นเทคโนโลยีอื่นๆ ทั้งหมดนี้กำลังอยู่ระหว่างการพิจารณา และจะดำเนินการตามความต้องการและท้องถิ่น”

    ชัมซูล อานูอาร์ กล่าวเสริมว่ามาตรการรักษาความปลอดภัยชายแดนไม่ได้จำกัดอยู่แค่สถานที่ใดสถานที่หนึ่งเท่านั้น แต่ได้นำไปปฏิบัติอย่างครอบคลุมทั่วประเทศโดยพิจารณาจากระดับภัยคุกคามและความเสี่ยง

    “สิ่งสำคัญคือการทำให้แน่ใจว่าพรมแดนประเทศของเราปลอดภัยอย่างแท้จริง มีการตรวจสอบอย่างดี และไม่ละเมิดได้ง่าย” เขากล่าว

    เมื่อแสดงความเห็นว่ามาเลเซียจะทำตามตัวอย่างของไทยโดยการติดตั้งกล้องวงจรปิดตามแนวชายแดนหรือไม่ ชัมซูล อานูอาร์กล่าวว่าข้อเสนอทั้งหมดนี้กำลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาอย่างจริงจังโดยรัฐบาล

    เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ดาทุก โมฮัมหมัด ยูซอฟ มามัต ผู้บัญชาการตำรวจกลันตัน รายงานว่า การสร้างกำแพงหรือรั้วถาวรตามแนวชายแดนกลันตัน-ไทยจะเป็นวิธีแก้ปัญหาที่ได้ผลที่สุดในการต่อสู้กับการลักลอบขนของผิดกฎหมายในรัฐนี้

    เขากล่าวว่าแนวชายแดนระยะทาง 45 กิโลเมตรยังคงมีความเสี่ยงสูง ทำให้การบังคับใช้กฎหมายอย่างครอบคลุมทำได้ยาก

    ที่มา : klsescreener
    https://www.klsescreener.com/v2/news/view/1542845/home-ministry-reviews-proposal-to-build-wall-along-kelantan-thailand-border
    20 มิถุนายน 2568 กระทรวงมหาดไทยของมาเลเซีย (KDN) กำลังตรวจสอบข้อเสนอต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงตามชายแดน รวมถึงการก่อสร้างกำแพงตามแนวชายแดนมาเลเซีย-ไทยในรัฐกลันตัน ซึ่งถือเป็นพื้นที่เสี่ยงสูง ชัมซูล อานูอาร์ นาซาราห์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของมาเลเซีย กล่าวว่า ความปลอดภัยบริเวณชายแดนยังคงเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกสำหรับรัฐบาล เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวมักถูกใช้เป็นสถานที่ลักลอบขนสินค้า โดยเฉพาะยาเสพติด และอาจก่อให้เกิดภัยคุกคามต่อความปลอดภัยในวงกว้างได้ หากไม่ได้รับการตรวจสอบ “เราให้ความสำคัญอย่างเต็มที่กับการควบคุมชายแดน หากไม่มีการรักษาความปลอดภัยชายแดน ไม่เพียงแต่การลักลอบขนยาเสพติดจะเกิดขึ้นเท่านั้น แต่ยังอาจเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงอื่นๆ ขึ้นได้อีกด้วย” เขากล่าวในการแถลงข่าวหลังจากเข้าร่วมโครงการกับสำนักงานปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติและสมาคมต่อต้านยาเสพติดแห่งมาเลเซียที่นี่เมื่อคืนวันพฤหัสบดี เขากล่าวอีกว่ากระทรวงร่วมกับหน่วยงานความมั่นคง เช่น ตำรวจ และหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายชายแดนอื่นๆ กำลังวิเคราะห์ข่าวกรองที่มีอยู่ในปัจจุบันเพื่อระบุสถานที่ที่ต้องมีมาตรการรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวดยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึงอุปกรณ์เฝ้าระวังหรือโครงสร้างด้านความปลอดภัย “เรากำลังพิจารณาข้อเสนอทั้งหมด รวมถึงการก่อสร้างกำแพง การติดตั้งกล้องวงจรปิด และโซลูชั่นเทคโนโลยีอื่นๆ ทั้งหมดนี้กำลังอยู่ระหว่างการพิจารณา และจะดำเนินการตามความต้องการและท้องถิ่น” ชัมซูล อานูอาร์ กล่าวเสริมว่ามาตรการรักษาความปลอดภัยชายแดนไม่ได้จำกัดอยู่แค่สถานที่ใดสถานที่หนึ่งเท่านั้น แต่ได้นำไปปฏิบัติอย่างครอบคลุมทั่วประเทศโดยพิจารณาจากระดับภัยคุกคามและความเสี่ยง “สิ่งสำคัญคือการทำให้แน่ใจว่าพรมแดนประเทศของเราปลอดภัยอย่างแท้จริง มีการตรวจสอบอย่างดี และไม่ละเมิดได้ง่าย” เขากล่าว เมื่อแสดงความเห็นว่ามาเลเซียจะทำตามตัวอย่างของไทยโดยการติดตั้งกล้องวงจรปิดตามแนวชายแดนหรือไม่ ชัมซูล อานูอาร์กล่าวว่าข้อเสนอทั้งหมดนี้กำลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาอย่างจริงจังโดยรัฐบาล เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ดาทุก โมฮัมหมัด ยูซอฟ มามัต ผู้บัญชาการตำรวจกลันตัน รายงานว่า การสร้างกำแพงหรือรั้วถาวรตามแนวชายแดนกลันตัน-ไทยจะเป็นวิธีแก้ปัญหาที่ได้ผลที่สุดในการต่อสู้กับการลักลอบขนของผิดกฎหมายในรัฐนี้ เขากล่าวว่าแนวชายแดนระยะทาง 45 กิโลเมตรยังคงมีความเสี่ยงสูง ทำให้การบังคับใช้กฎหมายอย่างครอบคลุมทำได้ยาก ที่มา : klsescreener https://www.klsescreener.com/v2/news/view/1542845/home-ministry-reviews-proposal-to-build-wall-along-kelantan-thailand-border
    WWW.KLSESCREENER.COM
    Home Ministry reviews proposal to build wall along Kelantan-Thailand border
    The Home Ministry (KDN) is reviewing various proposals to strengthen border security, including the construction of a wall along the Malaysia-Thailand border in Kelantan, which is deemed a high-risk area. Deputy Home Minister Datuk Seri Dr Shamsul Anuar Nasarah said border safety remains a top priority for the government, as such areas were frequently used for smuggling activities, particularly drugs, and might pose wider security threats if left unchecked.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 350 มุมมอง 0 รีวิว
  • 20 มิถุนายน 2568 -ศ.ไชยันต์ ไชยพร วิเคราะห์สถานการณ์การเมืองร้อน ถ้านายกรัฐมนตรี แพทองธารไม่ยอมลาออกจนถึงวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรวันที่ 3 ก.ค. 2568

    เมื่อเปิดประชุมสภาฯ มีกลไกอะไรที่จะทำให้ความเป็นนายกรัฐมนตรีของ แพทองธาร จะสิ้นสุดลงได้ ?

    1. สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ

    ในกรณีที่นี้จะเกิดขึ้นได้เมื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจํานวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกทั้งหมด เท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร เข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี

    จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ คือ 98 คน ( สส ทั้งหมดในสภามี 493 /ตัวเลข ณ วันที่ 26 มีนาคม 2568)

    ถ้าพรรคประชาชนต้องการให้มีการอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีย่อมทำได้ เพราะพรรคประชาชนมี สส เกิน 100

    ในช่วงที่เสนอญัตติได้แล้ว นายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้

    แต่ถ้าหลังลงมติไม่ไว้วางใจแล้ว ถ้าเสียงไม่ไว้วางใจไม่เกินครึ่ง หมายความว่า แพทองธารยังเป็นนายกฯ อยู่ เธอจะยุบสภาก็ได้

    การที่กำหนดไว้แบบนี้ เพื่อขู่ สส ที่เสนอญัตติไม่ไว้วางใจให้คิดดีๆว่า ถ้านายกรัฐมนตรีได้เสียงไว้วางใจ ระวังนะ นายกรัฐมนตรีจะยุบสภา พา สส ทุกคนพ้นสภาพ ไปเลือกตั้งกันใหม่หมด

    ซึ่งในกรณีนี้ แพทองธาร คงไม่ยุบแน่

    แต่อาจมีผู้สงสัยข้อความในรัฐธรรมนูญที่ว่า การเสนอญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจสามารถทำได้ “ปีละหนึ่งครั้ง” เพราะเพิ่งมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจไปแล้วระหว่างวันที่ 24-26 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมานี้เอง

    การนับปีสมัยประชุมสภาฯ ไม่ใช่นับตามปฏิทินปกติ อย่างหลังเลือกตั้งในปี 2566 จะเริ่มนับปีประชุมสภาฯ ดังนี้

    ปีที่หนึ่ง (แต่ละปีจะแบ่งการประชุมออกเป็นสองครั้ง มีพักระหว่างแต่ละครั้ง ) ครั้งที่หนึ่ง เริ่มตั้งแต่ 3 ก.ค. 2566 – 3 ต.ค. 2566 ครั้งที่สอง 12 ธ.ค. 2566 – 9 เมษา. 2567

    ปีที่สอง ครั้งที่หนึ่ง 3 ก.ค. 2567 – 30 ต.ค. 2567 ครั้งที่สอง 12 ธ.ค. 2567 – 10 เมษา. 2568

    ปีที่สาม ครั้งที่หนึ่ง 3 ก.ค. 2568 – 30 ต.ค. 2568

    ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งล่าสุดจะอยู่ในช่วงปีที่สอง

    เมื่อขึ้นปีที่สาม ซึ่งจะเปิดประชุมสภาในวันที่ 3 ก.ค. ที่จะถึงนี้ จึงสามารถขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจได้

    ประเด็นคือ หากนายกรัฐมนตรีไม่ยอมลาออก และไม่ยอมยุบสภา เพราะยังมีเสียงสนับสนุนเกินครึ่งสภา พรรคประชาชนอาจจะขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจได้

    และเมื่อถึงเวลานั้น ประชาชนก็รอดูกันว่า จะมี สส คนใดที่ยังไว้วางใจนายกฯแพทองธาร และด้วยเหตุผลอะไร หรือไม่มีเหตุผล !

    ถ้านายกฯถูกลงมติไม่ไว้วางใจ ความเป็นนายกรัฐมนตรีก็จะสิ้นสุดลงทันที และไม่ว่าใครจะมารักษาการ ก็ไม่สามารถยุบสภาได้ตามที่พรรคประชาชนต้องการ เพราะรักษาการฯไม่สามารถยุบสภาได้

    แต่จะต้องมีการสรรหานายกฯใหม่ หากได้นายกฯใหม่แล้ว นายกฯใหม่ก็ไม่มีเหตุผลอันใดที่จะยุบสภา !

    แต่ถ้านายกฯใหม่ไม่ได้ ก็จะเกิดทางตันขึ้น

    และจะต้องไปใช้บริการ มาตรา 5 เพื่อจะให้มีการยุบสภา หรือ ให้ได้นายกรัฐมนตรีเสียงข้างน้อย เพื่อทำหน้าที่ที่สำคัญต่อไปสักพัก และรีบยุบสภา

    ส่วนในกรณีอื่นๆ เช่นขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม อันได้แก่

    -ไม่มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์

    หรือ -มีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง

    หรือความผิดในมาตราอื่นๆของรัฐธรรมนูญ รวมถึงการใช้ มาตรา 153 โดยสมาชิกวุฒิสภา ยังอยู่ในระหว่างการดำเนินการ
    20 มิถุนายน 2568 -ศ.ไชยันต์ ไชยพร วิเคราะห์สถานการณ์การเมืองร้อน ถ้านายกรัฐมนตรี แพทองธารไม่ยอมลาออกจนถึงวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรวันที่ 3 ก.ค. 2568 เมื่อเปิดประชุมสภาฯ มีกลไกอะไรที่จะทำให้ความเป็นนายกรัฐมนตรีของ แพทองธาร จะสิ้นสุดลงได้ ? 1. สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ ในกรณีที่นี้จะเกิดขึ้นได้เมื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจํานวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกทั้งหมด เท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร เข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ คือ 98 คน ( สส ทั้งหมดในสภามี 493 /ตัวเลข ณ วันที่ 26 มีนาคม 2568) ถ้าพรรคประชาชนต้องการให้มีการอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีย่อมทำได้ เพราะพรรคประชาชนมี สส เกิน 100 ในช่วงที่เสนอญัตติได้แล้ว นายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้ แต่ถ้าหลังลงมติไม่ไว้วางใจแล้ว ถ้าเสียงไม่ไว้วางใจไม่เกินครึ่ง หมายความว่า แพทองธารยังเป็นนายกฯ อยู่ เธอจะยุบสภาก็ได้ การที่กำหนดไว้แบบนี้ เพื่อขู่ สส ที่เสนอญัตติไม่ไว้วางใจให้คิดดีๆว่า ถ้านายกรัฐมนตรีได้เสียงไว้วางใจ ระวังนะ นายกรัฐมนตรีจะยุบสภา พา สส ทุกคนพ้นสภาพ ไปเลือกตั้งกันใหม่หมด ซึ่งในกรณีนี้ แพทองธาร คงไม่ยุบแน่ แต่อาจมีผู้สงสัยข้อความในรัฐธรรมนูญที่ว่า การเสนอญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจสามารถทำได้ “ปีละหนึ่งครั้ง” เพราะเพิ่งมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจไปแล้วระหว่างวันที่ 24-26 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมานี้เอง การนับปีสมัยประชุมสภาฯ ไม่ใช่นับตามปฏิทินปกติ อย่างหลังเลือกตั้งในปี 2566 จะเริ่มนับปีประชุมสภาฯ ดังนี้ ปีที่หนึ่ง (แต่ละปีจะแบ่งการประชุมออกเป็นสองครั้ง มีพักระหว่างแต่ละครั้ง ) ครั้งที่หนึ่ง เริ่มตั้งแต่ 3 ก.ค. 2566 – 3 ต.ค. 2566 ครั้งที่สอง 12 ธ.ค. 2566 – 9 เมษา. 2567 ปีที่สอง ครั้งที่หนึ่ง 3 ก.ค. 2567 – 30 ต.ค. 2567 ครั้งที่สอง 12 ธ.ค. 2567 – 10 เมษา. 2568 ปีที่สาม ครั้งที่หนึ่ง 3 ก.ค. 2568 – 30 ต.ค. 2568 ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งล่าสุดจะอยู่ในช่วงปีที่สอง เมื่อขึ้นปีที่สาม ซึ่งจะเปิดประชุมสภาในวันที่ 3 ก.ค. ที่จะถึงนี้ จึงสามารถขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจได้ ประเด็นคือ หากนายกรัฐมนตรีไม่ยอมลาออก และไม่ยอมยุบสภา เพราะยังมีเสียงสนับสนุนเกินครึ่งสภา พรรคประชาชนอาจจะขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจได้ และเมื่อถึงเวลานั้น ประชาชนก็รอดูกันว่า จะมี สส คนใดที่ยังไว้วางใจนายกฯแพทองธาร และด้วยเหตุผลอะไร หรือไม่มีเหตุผล ! ถ้านายกฯถูกลงมติไม่ไว้วางใจ ความเป็นนายกรัฐมนตรีก็จะสิ้นสุดลงทันที และไม่ว่าใครจะมารักษาการ ก็ไม่สามารถยุบสภาได้ตามที่พรรคประชาชนต้องการ เพราะรักษาการฯไม่สามารถยุบสภาได้ แต่จะต้องมีการสรรหานายกฯใหม่ หากได้นายกฯใหม่แล้ว นายกฯใหม่ก็ไม่มีเหตุผลอันใดที่จะยุบสภา ! แต่ถ้านายกฯใหม่ไม่ได้ ก็จะเกิดทางตันขึ้น และจะต้องไปใช้บริการ มาตรา 5 เพื่อจะให้มีการยุบสภา หรือ ให้ได้นายกรัฐมนตรีเสียงข้างน้อย เพื่อทำหน้าที่ที่สำคัญต่อไปสักพัก และรีบยุบสภา ส่วนในกรณีอื่นๆ เช่นขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม อันได้แก่ -ไม่มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ หรือ -มีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง หรือความผิดในมาตราอื่นๆของรัฐธรรมนูญ รวมถึงการใช้ มาตรา 153 โดยสมาชิกวุฒิสภา ยังอยู่ในระหว่างการดำเนินการ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 302 มุมมอง 0 รีวิว
  • Storyฯ เพิ่งดูละครเรื่อง <สตรีหาญ ฉางเกอ> ตอนที่หนึ่งเปิดตัวพระนางด้วยการแข่งขันอันเร้าใจของเกมกีฬาที่เรียกว่า ‘ชู่จวี’ (蹴鞠 หรือที่ BBC เขาเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Kickball) เป็นศัพท์จีนที่จำตัวเขียนได้ยากมาก ไปทำการบ้านมาจึงพบว่าในเว็บจีนต่างพูดถึงเกมชู่จวีนี้ว่าเป็นต้นกำเนิดของฟุตบอล

    แต่เนื่องจากเพื่อนชาวอังกฤษของ Storyฯ พูดอย่างเต็มปากเต็มคำว่าฟุตบอลเป็นกีฬาของอังกฤษ Storyฯ จึงต้องไปหาข้อมูลเพิ่ม ปรากฏว่านาย Kevin Moore ผู้อำนวยการของ National Football Museum แห่งอังกฤษกล่าวไว้หลายปีแล้วดังนี้ค่ะ “While England is the birthplace of the modern game as we know it, we have always acknowledged that the origins of the game lie in China” ซึ่งหมายความว่า วิธีการเล่น/แข่งฟุตบอลในรูปแบบปัจจุบันนั้นถือกำเนิดจากอังกฤษก็จริง แต่ฟุตบอลมีรากฐานมาจากจีน

    กลับมาที่ชู่จวีกันดีกว่า

    ความ ‘เอ๊ะ’ เกิดขึ้นเมื่อเห็นในละครเรื่อง <สตรีหาญ ฉางเกอ> ที่รูปร่างหน้าตาของ ‘บอล’ มันเหมือนตะกร้อมากเลย คือดูจะเป็นหวายสาน (ตามรูปขวาบนจากในละคร) แต่ Storyฯ เคยเห็นในละครเรื่องอื่นดูวัสดุคล้ายผ้าก็มี ก็เลยต้องไปทำการบ้านอีก

    เลยมีรูปจากพิพิธภัณฑ์กีฬาส่านซีมาฝาก (รูปขวาล่าง) เป็นรูปของลูกบอลที่ใช้ในสมัยราชวงศ์ฮั่น (ปี 202 ก่อนคริสตกาล – ปีค.ศ. 220, คือลูกซ้าย) และราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618-907, คือลูกขวา) สังเกตได้ว่าการตัดเย็บไม่เหมือนกัน แต่สรุปว่าทั้งคู่ทำมาจากหนังนะจ๊ะ ส่วนไส้ในนั้นจะเป็นขนเป็ดขนไก่

    ในสมัยราชวงศ์ฮั่น การเล่นชู่จวีสามารถเล่นแบบโชว์เดี่ยว เป็นการแสดงทักษะและลีลาของผู้เล่น ต่อมาในสมัยราชวงศ์ถังจึงมีการเล่นแข่งเป็นทีม ซึ่งวิธีเล่นโดยหลักคือแข่งกันเตะลูกเข้าโกล โกลเป็นห่วงทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณหนึ่งฟุต ตั้งอยู่ตรงกลางสนาม เรียกว่า เฟิงหลิวเหยี่ยน (Eye of the Flowing Wind) สูงเหนือพื้นประมาณสิบเมตร มีเอกสารทางประวัติศาสตร์จากสมัยราชวงศ์ซ่งไม่น้อยที่บรรยายถึงกฎกติกาการเล่นชู่จวีอย่างชัดเจน

    ชู่จวีเป็นกิจกรรมกีฬาที่ได้รับความนิยมอย่างมากในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่น แต่ว่ากันว่ายุคเฟื่องฟูของมันจริงๆ คือสมัยราชวงศ์ถัง-ซ่ง เพราะงานเลี้ยงในวังหรืองานเลี้ยงฉลองต้อนรับทูตสัมพันธไมตรีจากแคว้นต่างๆ มักจัดให้มีการเล่นชู่จวี นอกจากนี้ยังมีการเล่นกันอย่างแพร่หลายในสังคมเมืองใหญ่อีกด้วย ผู้เล่นเดิมเป็นลูกหลานตระกูลผู้ดี เป็นผู้หญิงก็เล่นได้ (ในสมัยราชวงศ์ถัง) ต่อมาจึงมีนักเล่นมืออาชีพมาร่วมทีมด้วย แต่เมื่อผ่านยุคสมัยราชวงศ์ซ่งก็ค่อยๆ คลายความนิยมลง

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ ติดตามได้ที่ @StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://mydramalist.com/photos/eN5EY_3
    https://14th.xiancn.com/2021-04/22/content_6220692.html
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.bbc.com/news/magazine-35409594
    https://14th.xiancn.com/2021-04/22/content_6220692.html
    https://www.epochtimes.com/gb/16/6/18/n8010456.htm
    http://view.inews.qq.com/a/20200915A0HSBN00?tbkt=B3&uid=

    #สตรีหาญฉางเกอ #ชู่จวี #ราชวงศ์ถัง #วัฒนธรรมจีนโบราณ StoryfromStory
    Storyฯ เพิ่งดูละครเรื่อง <สตรีหาญ ฉางเกอ> ตอนที่หนึ่งเปิดตัวพระนางด้วยการแข่งขันอันเร้าใจของเกมกีฬาที่เรียกว่า ‘ชู่จวี’ (蹴鞠 หรือที่ BBC เขาเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Kickball) เป็นศัพท์จีนที่จำตัวเขียนได้ยากมาก ไปทำการบ้านมาจึงพบว่าในเว็บจีนต่างพูดถึงเกมชู่จวีนี้ว่าเป็นต้นกำเนิดของฟุตบอล แต่เนื่องจากเพื่อนชาวอังกฤษของ Storyฯ พูดอย่างเต็มปากเต็มคำว่าฟุตบอลเป็นกีฬาของอังกฤษ Storyฯ จึงต้องไปหาข้อมูลเพิ่ม ปรากฏว่านาย Kevin Moore ผู้อำนวยการของ National Football Museum แห่งอังกฤษกล่าวไว้หลายปีแล้วดังนี้ค่ะ “While England is the birthplace of the modern game as we know it, we have always acknowledged that the origins of the game lie in China” ซึ่งหมายความว่า วิธีการเล่น/แข่งฟุตบอลในรูปแบบปัจจุบันนั้นถือกำเนิดจากอังกฤษก็จริง แต่ฟุตบอลมีรากฐานมาจากจีน กลับมาที่ชู่จวีกันดีกว่า ความ ‘เอ๊ะ’ เกิดขึ้นเมื่อเห็นในละครเรื่อง <สตรีหาญ ฉางเกอ> ที่รูปร่างหน้าตาของ ‘บอล’ มันเหมือนตะกร้อมากเลย คือดูจะเป็นหวายสาน (ตามรูปขวาบนจากในละคร) แต่ Storyฯ เคยเห็นในละครเรื่องอื่นดูวัสดุคล้ายผ้าก็มี ก็เลยต้องไปทำการบ้านอีก เลยมีรูปจากพิพิธภัณฑ์กีฬาส่านซีมาฝาก (รูปขวาล่าง) เป็นรูปของลูกบอลที่ใช้ในสมัยราชวงศ์ฮั่น (ปี 202 ก่อนคริสตกาล – ปีค.ศ. 220, คือลูกซ้าย) และราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618-907, คือลูกขวา) สังเกตได้ว่าการตัดเย็บไม่เหมือนกัน แต่สรุปว่าทั้งคู่ทำมาจากหนังนะจ๊ะ ส่วนไส้ในนั้นจะเป็นขนเป็ดขนไก่ ในสมัยราชวงศ์ฮั่น การเล่นชู่จวีสามารถเล่นแบบโชว์เดี่ยว เป็นการแสดงทักษะและลีลาของผู้เล่น ต่อมาในสมัยราชวงศ์ถังจึงมีการเล่นแข่งเป็นทีม ซึ่งวิธีเล่นโดยหลักคือแข่งกันเตะลูกเข้าโกล โกลเป็นห่วงทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณหนึ่งฟุต ตั้งอยู่ตรงกลางสนาม เรียกว่า เฟิงหลิวเหยี่ยน (Eye of the Flowing Wind) สูงเหนือพื้นประมาณสิบเมตร มีเอกสารทางประวัติศาสตร์จากสมัยราชวงศ์ซ่งไม่น้อยที่บรรยายถึงกฎกติกาการเล่นชู่จวีอย่างชัดเจน ชู่จวีเป็นกิจกรรมกีฬาที่ได้รับความนิยมอย่างมากในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่น แต่ว่ากันว่ายุคเฟื่องฟูของมันจริงๆ คือสมัยราชวงศ์ถัง-ซ่ง เพราะงานเลี้ยงในวังหรืองานเลี้ยงฉลองต้อนรับทูตสัมพันธไมตรีจากแคว้นต่างๆ มักจัดให้มีการเล่นชู่จวี นอกจากนี้ยังมีการเล่นกันอย่างแพร่หลายในสังคมเมืองใหญ่อีกด้วย ผู้เล่นเดิมเป็นลูกหลานตระกูลผู้ดี เป็นผู้หญิงก็เล่นได้ (ในสมัยราชวงศ์ถัง) ต่อมาจึงมีนักเล่นมืออาชีพมาร่วมทีมด้วย แต่เมื่อผ่านยุคสมัยราชวงศ์ซ่งก็ค่อยๆ คลายความนิยมลง (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ ติดตามได้ที่ @StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://mydramalist.com/photos/eN5EY_3 https://14th.xiancn.com/2021-04/22/content_6220692.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.bbc.com/news/magazine-35409594 https://14th.xiancn.com/2021-04/22/content_6220692.html https://www.epochtimes.com/gb/16/6/18/n8010456.htm http://view.inews.qq.com/a/20200915A0HSBN00?tbkt=B3&uid= #สตรีหาญฉางเกอ #ชู่จวี #ราชวงศ์ถัง #วัฒนธรรมจีนโบราณ StoryfromStory
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 537 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..เขมรถ้าปิด,ไม่ง้อของไทย,แน่จริงปิดเลยมันว่า,ไทยจะขายสินค้าให้เขมรไม่ได้,ทำเงินบนแผ่นดินเขมรไม่ได้มันว่า,พี่น้องไทยเอ้ยว่าไง!!!,ทหารไทยเราเอ้ยว่าไง!!!,ทั้งหมดคือเหลี่ยมมันแน่ๆทำทีกลบคลองกลบคูรบ,เขมรมันตลบตอแหลไม่ซื่อทุกๆกรณี,ปิดด่านทั้งหมดตลอดพรมแดนสัก20ปีระยะสัันดูก่อนคงน่าสนใจ,ตัดน้ำตัดน้ำมันตัดไฟฟ้าต่อเนื่อง,ตัดเน็ตตัดสายเคเบิลเชื่อมถึงเขมรทั้งหมดทำระบบเน็ตประตูเดียวซิงเกลเก็ตเวย์ก็ว่า,ตัดทุกๆipและuserที่เป็นของคนเขมร,ปิดบัญชีธนาคารทั้งหมดที่เป็นของเขมรในประเทศทั้งแบบออฟไลน์เดินมาสาขาและออนไลน์ทั้งหมดแบบไอแบงค์กิ้งอีแบงค์กิ้ง,ปิดบัญชีคริปโตฯโทเคนทั้งหมดที่เป็นของคนเขมรหากมาเปิดบัญชีบนอธิปไตยแอปไทยคืออายัดยึดทั้งหมดก็ว่าตลอดจนเครื่องขุดเหมืองคริปโตฯออนไลน์ออฟไลน์ทั้งหมดหากมีอยู่ในดินแดนไทย,มีอุปกรณ์ตัดคลื่นความถี่คลื่นวิทยุคลื่นมือถือคลื่นเน็ตจะไวไฟทั้งหมดตลอดแนวพรมแดนไทยเรา,ห้ามคลื่นจากฝั่งเขมรปรากฎสัญญาณใดๆในฝั่งไทยและยากแก่การทำชั่วของแก๊งคอลเซ็นเตอร์จากฝั่งเขมรซึ่งนอกจากยกเลิกซิมมือถือของไทยทั้งหมดที่คนสัญชาติเขมรจดมะเบียนเปิดทะเบียนเพื่อขอใช้คลื่นภายในราชอาณาจักรไทย,คลื่นเน็ตคลื่นมือถือของไทยทั้งหมดห้ามคนเขมรใช้และคำสั่งทางทหารตัดตอนตัดการให้บริการผ่านซิมของมือถือค่ายของไทยและจดทะเบียนตั้งเป็นบริษัทในไทยทั้งหมดที่ให้บริการสัญญาณมือถือ,นี้คืออธิปไตยด้านใช้ข้อมูลสื่อสารไทยด้วย หากใจขลาดไม่เด็ดขาดตัดสินใจกระทำเช่นนี้จริง,เขมรจะใช้ซิมคนไทยซิมมือถือของไทยกระทำการทางชั่วสาระพัดทางได้ทั้งติดต่อสื่อสารส่งข่าวเป็นไส้ศึกภายในส่งออกไปประเทศเขมรเป็นอันง่าย ปลอกกล้วยเข้าปากมัน,เมื่อมันคือภัยคุกคามอธิปไตยถึงหน้ามึนขนาดนี้เราต้องไม่ถอนกำลังใดๆ,บอกมันตอนแรกให้ถอนมันหน้ามึนขนาดไหนเผาศาลาตรีมุขอีก,ทหารไทยเราต้องสั่งสอนมันให้สุดซอย,หมดยุคระยำของเขมรแบบเดิมๆแบบนี้แล้วคือกวาดล้างและกำจัดภัยคุกคามใดๆต่ออธิปไตยเราให้หมดรากหมดเหง้าหมดโคน,เหมือนผู้ชุมนุมประท้วงรัฐบาลเลวรุ่นน้ำหมากนั้นล่ะ,เราเบื่อหน่ายแบบนั้นๆก็ด้วย,เดี๋ยวก็มาเนรคุณทรยศก่อโกลาหลเราคุกคามเราไม่หยุดหย่อนอีก,เราต้องสุดซอยจริงๆในเวลาจังหวะนี้ ,เขมรคือภัยของอาเชียนภัยของเอเชียภัยของโลกเป็นฮับสาระพัดศูนย์รวมความเลวชั่วจากทั่วโลกไปแล้วโดยเฉพาะจีนเทาและชาติเทาๆอื่นๆที่ย้ายฐานไปเขมรตั้งฐานทำชั่วในประเทศนี้แทนประเทศโคตรพ่อโคตรแมร่งมันที่สร้างภาพว่าเป็นประเทศดีงามก็ว่า,หรือนัยยะพื้นๆเขมรคือแหล่งค้ามนุษย์ของโลกในทางลับนั้นเองที่อีลิทปักเป็นอีกสถานที่หนึ่งบนโลกก็ว่า,แบนเขมรห้ามเข้าประเทศไทยแบบทรัมป์แบน12ชาติพลเมืองอย่างเป็นทางการเลย,คนไทยห้ามเข้าไปประเทศเขมรทุกๆกรณี,คว่ำบาตรเขมรทุกๆกรณีทั้งหมดก็ว่า,เพราะมันหมายคุกคามอธิปไตยดินแดนเราชัดเจน รุกรามอยากได้อ่าวไทยเราชัดเจนด้วยในทรัพยากรมีค่ามากมายมหาศาลนั้นบนนัยยะการรุกรานปัจจุบันทั้งหมด,จึงต้องสุดซอยจริงๆ,เรามันยุคน้ำหมากแล้วนะจะมาเลอะเทอะไม่เด็ดขาดไม่ได้,ต้องทำเพื่อคนไทยรุ่นหลังเราให้มีภูมิกันไว้ถึง5,000ปีก็เอาถึงอีกพันสองพันปีก็ดี,ถึงสองสามร้อยปีก็ใช้ได้จนเชื่อว่าคนรุ่นหลังเราเมื่อจังหวะเวลานั้นมาถึงเข้าอาจทำได้สุดยอดสร้างภูมิยิ่งกว่าเรา,หรือกวาดล้างคนเนรคุณทรยศแบบคนเขมรสิ้นซากก็ได้หรืออดีตทหารกษัตริย์หรือกษัตริย์ชัยวรมันที่7กวาดล้างเขมรทรยศเนรคุณท่านสิ้นซากแทนก็ว่าคือเกิดใหม่ มิใช่แค่ทหารเอก5นายพลเกิดใหม่มาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เขมรทรยศเนรคุณกลุ่มของชัยวรมันที่8ลูกหลานเขาก็ว่าแบบในอดีตใกล้ๆที่ผ่านมานั้น,
    ..ทหารพระราชาเราจัดการเด็ดขาดให้สุดซอยเลย,รวมถึงรัฐบาลสมคบคิดกับเขมรด้วยเป็นมิตรสหายที่ดีเหลือเกินมุ่งเจรจาอย่างเดียว,มาตรการอื่นใดคิดอ่านเหี้ยไม่เป็นห่าอะไร ขาดคุณสมบัติเป็นรัฐบาลสิ้นเชิง,สมควรลาออกทัังคณะ,ยุบสภาไป,หรือรอยึดอำนาจรัฐประหารก็ได้.

    https://youtube.com/shorts/ManMkF25sak?si=zErw5IgjSZ0Bp-d3
    ..เขมรถ้าปิด,ไม่ง้อของไทย,แน่จริงปิดเลยมันว่า,ไทยจะขายสินค้าให้เขมรไม่ได้,ทำเงินบนแผ่นดินเขมรไม่ได้มันว่า,พี่น้องไทยเอ้ยว่าไง!!!,ทหารไทยเราเอ้ยว่าไง!!!,ทั้งหมดคือเหลี่ยมมันแน่ๆทำทีกลบคลองกลบคูรบ,เขมรมันตลบตอแหลไม่ซื่อทุกๆกรณี,ปิดด่านทั้งหมดตลอดพรมแดนสัก20ปีระยะสัันดูก่อนคงน่าสนใจ,ตัดน้ำตัดน้ำมันตัดไฟฟ้าต่อเนื่อง,ตัดเน็ตตัดสายเคเบิลเชื่อมถึงเขมรทั้งหมดทำระบบเน็ตประตูเดียวซิงเกลเก็ตเวย์ก็ว่า,ตัดทุกๆipและuserที่เป็นของคนเขมร,ปิดบัญชีธนาคารทั้งหมดที่เป็นของเขมรในประเทศทั้งแบบออฟไลน์เดินมาสาขาและออนไลน์ทั้งหมดแบบไอแบงค์กิ้งอีแบงค์กิ้ง,ปิดบัญชีคริปโตฯโทเคนทั้งหมดที่เป็นของคนเขมรหากมาเปิดบัญชีบนอธิปไตยแอปไทยคืออายัดยึดทั้งหมดก็ว่าตลอดจนเครื่องขุดเหมืองคริปโตฯออนไลน์ออฟไลน์ทั้งหมดหากมีอยู่ในดินแดนไทย,มีอุปกรณ์ตัดคลื่นความถี่คลื่นวิทยุคลื่นมือถือคลื่นเน็ตจะไวไฟทั้งหมดตลอดแนวพรมแดนไทยเรา,ห้ามคลื่นจากฝั่งเขมรปรากฎสัญญาณใดๆในฝั่งไทยและยากแก่การทำชั่วของแก๊งคอลเซ็นเตอร์จากฝั่งเขมรซึ่งนอกจากยกเลิกซิมมือถือของไทยทั้งหมดที่คนสัญชาติเขมรจดมะเบียนเปิดทะเบียนเพื่อขอใช้คลื่นภายในราชอาณาจักรไทย,คลื่นเน็ตคลื่นมือถือของไทยทั้งหมดห้ามคนเขมรใช้และคำสั่งทางทหารตัดตอนตัดการให้บริการผ่านซิมของมือถือค่ายของไทยและจดทะเบียนตั้งเป็นบริษัทในไทยทั้งหมดที่ให้บริการสัญญาณมือถือ,นี้คืออธิปไตยด้านใช้ข้อมูลสื่อสารไทยด้วย หากใจขลาดไม่เด็ดขาดตัดสินใจกระทำเช่นนี้จริง,เขมรจะใช้ซิมคนไทยซิมมือถือของไทยกระทำการทางชั่วสาระพัดทางได้ทั้งติดต่อสื่อสารส่งข่าวเป็นไส้ศึกภายในส่งออกไปประเทศเขมรเป็นอันง่าย ปลอกกล้วยเข้าปากมัน,เมื่อมันคือภัยคุกคามอธิปไตยถึงหน้ามึนขนาดนี้เราต้องไม่ถอนกำลังใดๆ,บอกมันตอนแรกให้ถอนมันหน้ามึนขนาดไหนเผาศาลาตรีมุขอีก,ทหารไทยเราต้องสั่งสอนมันให้สุดซอย,หมดยุคระยำของเขมรแบบเดิมๆแบบนี้แล้วคือกวาดล้างและกำจัดภัยคุกคามใดๆต่ออธิปไตยเราให้หมดรากหมดเหง้าหมดโคน,เหมือนผู้ชุมนุมประท้วงรัฐบาลเลวรุ่นน้ำหมากนั้นล่ะ,เราเบื่อหน่ายแบบนั้นๆก็ด้วย,เดี๋ยวก็มาเนรคุณทรยศก่อโกลาหลเราคุกคามเราไม่หยุดหย่อนอีก,เราต้องสุดซอยจริงๆในเวลาจังหวะนี้ ,เขมรคือภัยของอาเชียนภัยของเอเชียภัยของโลกเป็นฮับสาระพัดศูนย์รวมความเลวชั่วจากทั่วโลกไปแล้วโดยเฉพาะจีนเทาและชาติเทาๆอื่นๆที่ย้ายฐานไปเขมรตั้งฐานทำชั่วในประเทศนี้แทนประเทศโคตรพ่อโคตรแมร่งมันที่สร้างภาพว่าเป็นประเทศดีงามก็ว่า,หรือนัยยะพื้นๆเขมรคือแหล่งค้ามนุษย์ของโลกในทางลับนั้นเองที่อีลิทปักเป็นอีกสถานที่หนึ่งบนโลกก็ว่า,แบนเขมรห้ามเข้าประเทศไทยแบบทรัมป์แบน12ชาติพลเมืองอย่างเป็นทางการเลย,คนไทยห้ามเข้าไปประเทศเขมรทุกๆกรณี,คว่ำบาตรเขมรทุกๆกรณีทั้งหมดก็ว่า,เพราะมันหมายคุกคามอธิปไตยดินแดนเราชัดเจน รุกรามอยากได้อ่าวไทยเราชัดเจนด้วยในทรัพยากรมีค่ามากมายมหาศาลนั้นบนนัยยะการรุกรานปัจจุบันทั้งหมด,จึงต้องสุดซอยจริงๆ,เรามันยุคน้ำหมากแล้วนะจะมาเลอะเทอะไม่เด็ดขาดไม่ได้,ต้องทำเพื่อคนไทยรุ่นหลังเราให้มีภูมิกันไว้ถึง5,000ปีก็เอาถึงอีกพันสองพันปีก็ดี,ถึงสองสามร้อยปีก็ใช้ได้จนเชื่อว่าคนรุ่นหลังเราเมื่อจังหวะเวลานั้นมาถึงเข้าอาจทำได้สุดยอดสร้างภูมิยิ่งกว่าเรา,หรือกวาดล้างคนเนรคุณทรยศแบบคนเขมรสิ้นซากก็ได้หรืออดีตทหารกษัตริย์หรือกษัตริย์ชัยวรมันที่7กวาดล้างเขมรทรยศเนรคุณท่านสิ้นซากแทนก็ว่าคือเกิดใหม่ มิใช่แค่ทหารเอก5นายพลเกิดใหม่มาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เขมรทรยศเนรคุณกลุ่มของชัยวรมันที่8ลูกหลานเขาก็ว่าแบบในอดีตใกล้ๆที่ผ่านมานั้น, ..ทหารพระราชาเราจัดการเด็ดขาดให้สุดซอยเลย,รวมถึงรัฐบาลสมคบคิดกับเขมรด้วยเป็นมิตรสหายที่ดีเหลือเกินมุ่งเจรจาอย่างเดียว,มาตรการอื่นใดคิดอ่านเหี้ยไม่เป็นห่าอะไร ขาดคุณสมบัติเป็นรัฐบาลสิ้นเชิง,สมควรลาออกทัังคณะ,ยุบสภาไป,หรือรอยึดอำนาจรัฐประหารก็ได้. https://youtube.com/shorts/ManMkF25sak?si=zErw5IgjSZ0Bp-d3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 357 มุมมอง 0 รีวิว
  • พูดถึงองครักษ์เสื้อแพรไปมากพอสมควร วันนี้เราเลยมาคุยกันถึงอีกหน่วยงานหนึ่งที่ปรากฎให้เห็นในละครจีนโบราณหลายเรื่อง ซึ่งก็คือ ‘ลิ่วซ่านเหมิน’ (六扇门)

    ความมีอยู่ว่า
    ...จินเซี่ยคอตกหมุนกายกลับมา ชำเลืองมองหยางเฉิงว่าน “หัวหน้า ท่านยอมมันเกินไปแล้ว ท่านว่ามันเป็นคนของใคร? คดีของลิ่วซ่านเหมินไม่เหลียวแล แต่กลับส่งมอบคนออกไป ใครบ้างไม่รู้ว่ามันกำลังพยายามประจบองครักษ์เสื้อแพร?”... “โอรสสวรรค์ปราบปรามลงทัณฑ์คนผิด มีซานฝ่าซึก็เพียงพอแล้ว ยังต้องตั้งองครักษ์เสื้อแพรมาทำให้วุ่นวายเป็นอุปสรรค แล้วยังจะมีซานฝ่าซึไว้ทำอันใด มีเหมือนไม่มี!”
    - จากเรื่อง <เบื้องล่างของเสื้อแพร> ผู้แต่ง หลานเส้อซือ
    (หมายเหตุ ละครเรื่องยอดองค์รักษ์เสื้อแพรดัดแปลงมาจากนิยายเรื่องนี้)

    ลิ่วซ่านเหมินฟังดูเป็นหน่วยมือปราบ แต่เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่า จริงๆ แล้วลิ่วซ่านเหมินไม่ใช่องค์กรใดองค์กรหนึ่ง (!?)

    ชื่อเรียกที่ถูกต้องเป็นทางการของมันคือ ‘ซานฝ่าซึ’ (三法司) ที่เกริ่นถึงในบทความข้างต้น เป็นการเรียกรวมของสามหน่วยงานที่เกี่ยวกับกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย เริ่มปรากฎในสมัยราชวงศ์ฉิน (221-206 ก่อนคริสตกาล) เมื่อจิ๋นซีฮ่องเต้ทรงตั้งตำแหน่งสำคัญมากขึ้นสามตำแหน่งเรียกรวมว่า ‘ซานกง’ หรือสามพระยา คือเฉิงเซี่ยง (อำมาตย์ผู้ช่วย บริหารงานราชการทั่วไป) ไท่เว่ย (มหาเสนาบดี ดูแลฝ่ายทหาร) และอวี้สื่อต้าฟู (ตุลาการสูงสุด เป็นผู้ตรวจสอบ)
    ต่อมาในแต่ละสมัยมีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่และชื่อเรียกของหน่วยงานต่างๆ แต่ยังคงหลักการเดิมว่ามีสามหน่วยงานหลักที่ร่วมผดุงกฎหมาย เรียกรวมว่า ‘ซันฝ่าซึ’

    ในสมัยราชวงศ์หมิง สามหน่วยงานนี้คือ สิงปู้ (刑部 รับผิดชอบงานสืบสวนสอบสวน) ต้าหลี่ซึ (大理寺 ไว้พิพากษา) ตูฉาย่วน (都察院 ไว้กำกับตรวจสอบ) หากมีคดีใหญ่จะไต่สวนและพิพากษาร่วมกัน

    แล้วทำไมจึงเรียกว่า ลิ่วซ่านเหมิน’?

    แฟนละครจีนโบราณคงคุ้นเคยว่าเวลาเกิดเรื่องอะไร ชาวบ้านจะวิ่งไปฟ้องร้องที่สถานที่หนึ่ง ศาลก็ไม่ใช่ สำนักมือปราบก็ไม่เชิง หน้าตาคล้ายที่ว่าการอำเภอ สถานที่นี้เรียกว่า ‘หยาเหมิน’ (衙门) ไม่แน่ใจว่าในนิยาย/ละครแปลไทยว่าอย่างไร แต่มันก็คือที่ว่าการท้องถิ่น ว่าการโดยข้าราชการสูงสุดผู้ดูแลพื้นที่ ไม่ระบุตายตัวว่าต้องสังกัดหน่วยงานใด

    ‘ลิ่วซ่านเหมิน’ ก็คือชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของหยาเหมิน แปลชื่อตรงตัวว่า ‘ประตูหกบาน’ ที่มาก็คือว่า ไม่ว่าจะเป็นเมืองเล็กหรือเมืองใหญ่ หยาเหมินจะมีรูปทรงอาคารเดียวกัน คือมีช่องประตูเพียงสามช่อง หันหน้าทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตก หนึ่งทิศหนึ่งช่อง ประตูหลักที่ใช้เข้าออกทั่วไปจะหันหน้าทิศใต้ ช่องประตูที่ว่านี้ก่อตั้งขึ้นเป็นอาคารประตูใหญ่มีหลังคา (ดูรูปขวาล่าง) ซึ่งเป็นรูปแบบที่ชาวบ้านทั่วไปใช้ไม่ได้ ต้องเป็นที่ทำการของหลวงเท่านั้นจึงจะใช้ได้ แต่ละช่องประตูจะมีสองบาน รวมเป็นประตูหกบาน

    ดังนั้น จริงๆ แล้ว คนของลิ่วซ่านเหมินจะหมายรวมถึงทุกคนที่ทำงานในหยาเหมิน ไม่ว่าจะเป็นพนักงานด้านสอบสวน ดูแลคุก เสมียนกฎหมาย ฯลฯ และมาจากหน่วยงานต่างๆ ที่เรียกรวมว่าซานฝ่าซึนั่นเอง

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพและข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.twoeggz.com/news/8249892.html
    https://www.wenshigu.com/shbt/lishiju/221015.html
    https://www.52lishi.com/article/40895.html
    https://k.sina.cn/article_1346138855_503c72e700100tjeb.html
    https://m.52lishi.com/article/64869.html

    #จินเซี่ย #ลิ่วซ่านเหมิน #มือปราบจีนโบราณ #ราชวงศ์หมิง #หยาเหมิน #ซันฝ่าซึ #ซานฝ่าซึ
    พูดถึงองครักษ์เสื้อแพรไปมากพอสมควร วันนี้เราเลยมาคุยกันถึงอีกหน่วยงานหนึ่งที่ปรากฎให้เห็นในละครจีนโบราณหลายเรื่อง ซึ่งก็คือ ‘ลิ่วซ่านเหมิน’ (六扇门) ความมีอยู่ว่า ...จินเซี่ยคอตกหมุนกายกลับมา ชำเลืองมองหยางเฉิงว่าน “หัวหน้า ท่านยอมมันเกินไปแล้ว ท่านว่ามันเป็นคนของใคร? คดีของลิ่วซ่านเหมินไม่เหลียวแล แต่กลับส่งมอบคนออกไป ใครบ้างไม่รู้ว่ามันกำลังพยายามประจบองครักษ์เสื้อแพร?”... “โอรสสวรรค์ปราบปรามลงทัณฑ์คนผิด มีซานฝ่าซึก็เพียงพอแล้ว ยังต้องตั้งองครักษ์เสื้อแพรมาทำให้วุ่นวายเป็นอุปสรรค แล้วยังจะมีซานฝ่าซึไว้ทำอันใด มีเหมือนไม่มี!” - จากเรื่อง <เบื้องล่างของเสื้อแพร> ผู้แต่ง หลานเส้อซือ (หมายเหตุ ละครเรื่องยอดองค์รักษ์เสื้อแพรดัดแปลงมาจากนิยายเรื่องนี้) ลิ่วซ่านเหมินฟังดูเป็นหน่วยมือปราบ แต่เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่า จริงๆ แล้วลิ่วซ่านเหมินไม่ใช่องค์กรใดองค์กรหนึ่ง (!?) ชื่อเรียกที่ถูกต้องเป็นทางการของมันคือ ‘ซานฝ่าซึ’ (三法司) ที่เกริ่นถึงในบทความข้างต้น เป็นการเรียกรวมของสามหน่วยงานที่เกี่ยวกับกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย เริ่มปรากฎในสมัยราชวงศ์ฉิน (221-206 ก่อนคริสตกาล) เมื่อจิ๋นซีฮ่องเต้ทรงตั้งตำแหน่งสำคัญมากขึ้นสามตำแหน่งเรียกรวมว่า ‘ซานกง’ หรือสามพระยา คือเฉิงเซี่ยง (อำมาตย์ผู้ช่วย บริหารงานราชการทั่วไป) ไท่เว่ย (มหาเสนาบดี ดูแลฝ่ายทหาร) และอวี้สื่อต้าฟู (ตุลาการสูงสุด เป็นผู้ตรวจสอบ) ต่อมาในแต่ละสมัยมีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่และชื่อเรียกของหน่วยงานต่างๆ แต่ยังคงหลักการเดิมว่ามีสามหน่วยงานหลักที่ร่วมผดุงกฎหมาย เรียกรวมว่า ‘ซันฝ่าซึ’ ในสมัยราชวงศ์หมิง สามหน่วยงานนี้คือ สิงปู้ (刑部 รับผิดชอบงานสืบสวนสอบสวน) ต้าหลี่ซึ (大理寺 ไว้พิพากษา) ตูฉาย่วน (都察院 ไว้กำกับตรวจสอบ) หากมีคดีใหญ่จะไต่สวนและพิพากษาร่วมกัน แล้วทำไมจึงเรียกว่า ลิ่วซ่านเหมิน’? แฟนละครจีนโบราณคงคุ้นเคยว่าเวลาเกิดเรื่องอะไร ชาวบ้านจะวิ่งไปฟ้องร้องที่สถานที่หนึ่ง ศาลก็ไม่ใช่ สำนักมือปราบก็ไม่เชิง หน้าตาคล้ายที่ว่าการอำเภอ สถานที่นี้เรียกว่า ‘หยาเหมิน’ (衙门) ไม่แน่ใจว่าในนิยาย/ละครแปลไทยว่าอย่างไร แต่มันก็คือที่ว่าการท้องถิ่น ว่าการโดยข้าราชการสูงสุดผู้ดูแลพื้นที่ ไม่ระบุตายตัวว่าต้องสังกัดหน่วยงานใด ‘ลิ่วซ่านเหมิน’ ก็คือชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของหยาเหมิน แปลชื่อตรงตัวว่า ‘ประตูหกบาน’ ที่มาก็คือว่า ไม่ว่าจะเป็นเมืองเล็กหรือเมืองใหญ่ หยาเหมินจะมีรูปทรงอาคารเดียวกัน คือมีช่องประตูเพียงสามช่อง หันหน้าทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตก หนึ่งทิศหนึ่งช่อง ประตูหลักที่ใช้เข้าออกทั่วไปจะหันหน้าทิศใต้ ช่องประตูที่ว่านี้ก่อตั้งขึ้นเป็นอาคารประตูใหญ่มีหลังคา (ดูรูปขวาล่าง) ซึ่งเป็นรูปแบบที่ชาวบ้านทั่วไปใช้ไม่ได้ ต้องเป็นที่ทำการของหลวงเท่านั้นจึงจะใช้ได้ แต่ละช่องประตูจะมีสองบาน รวมเป็นประตูหกบาน ดังนั้น จริงๆ แล้ว คนของลิ่วซ่านเหมินจะหมายรวมถึงทุกคนที่ทำงานในหยาเหมิน ไม่ว่าจะเป็นพนักงานด้านสอบสวน ดูแลคุก เสมียนกฎหมาย ฯลฯ และมาจากหน่วยงานต่างๆ ที่เรียกรวมว่าซานฝ่าซึนั่นเอง (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพและข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.twoeggz.com/news/8249892.html https://www.wenshigu.com/shbt/lishiju/221015.html https://www.52lishi.com/article/40895.html https://k.sina.cn/article_1346138855_503c72e700100tjeb.html https://m.52lishi.com/article/64869.html #จินเซี่ย #ลิ่วซ่านเหมิน #มือปราบจีนโบราณ #ราชวงศ์หมิง #หยาเหมิน #ซันฝ่าซึ #ซานฝ่าซึ
    PPnix - Watch TV Shows Online, Watch Movies Online
    Watch PPnix movies & TV shows online or stream right to your smart TV, game console, PC, Mac, mobile, tablet and more.
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 496 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ามีทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง
    สัทธรรมลำดับที่ : 640
    ชื่อบทธรรม : -ทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=640
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ (วิมุตฺตายตนํ) ห้าประการ เหล่านี้ มีอยู่,
    http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺตายตน
    ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่,
    จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึง ซึ่งความสิ้นรอบ
    หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ
    ซึ่งความเกษมจากโยคะอันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ.
    ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติห้าประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ห้าประการ คือ:-
    ๑. ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้
    : พระศาสดา หรือ เพื่อนสพรหมจารี
    ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ย่อม #แสดงธรรมแก่ภิกษุ,
    เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม
    ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีแสดงแล้วอย่างไร.
    เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถรู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม,
    ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด;
    เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ;
    ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ;
    เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ;
    +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่หนึ่ง,
    ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่,
    จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึง ซึ่งความสิ้นรอบ
    หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ
    อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้).

    ๒. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : พระศาสดา หรือ เพื่อนสพรหมจารี ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ;
    #แต่เธอแสดงธรรมตามที่ได้ฟังมา ได้เล่าเรียนมา แก่ชนทั้งหลายเหล่าอื่น โดยพิสดารอยู่,
    เธอนั้นย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรม
    ตามที่เธอแสดงแก่ชนเหล่าอื่น โดยพิสดารตามที่เธอฟังมาแล้วเล่าเรียนมาแล้วอย่างไร.
    เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม,
    ปราโมทย์ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด ;
    เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ;
    ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ;
    เมื่อมีสุขจิตย่อมตั้งมั่น.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่สอง,
    ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่,
    จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ
    หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ
    อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้).

    ๓. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : พระศาสดา หรือเพื่อนพรหมจารี
    ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ;
    และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอได้ฟังมาได้เล่าเรียนมา ;
    #แต่เธอกระทำการท่องบ่นซึ่งธรรม โดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา อยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/24/?keywords=สชฺฌายํ+วิมุตฺตายตน
    เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้น
    ตามที่เธอทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมาอย่างไร.
    เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม,
    ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด ;
    เมื่อใจปีติ กายย่อมรำงับ ;
    ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ;
    เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่สาม,
    ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่,
    จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ
    หรือว่าเธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ
    อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้).

    ๔. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี
    ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ;
    และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอได้ฟังมาได้เล่าเรียนมา ;
    และเธอก็มิได้ทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา ;
    #แต่เธอตรึกตามตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยใจ ซึ่งธรรมตามที่เธอฟังมาเล่าเรียนมา อยู่,
    เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม
    ในธรรมนั้นตามที่เธอตรึกตามตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยจิต
    ซึ่งธรรมตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมา อย่างไร.
    เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม,
    ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ;
    ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ;
    เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่สี่,
    ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วอยู่,
    จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ
    หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ
    อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้).

    ๕. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี
    ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ;
    และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอไดัฟังมาได้เล่าเรียนมา ;
    และเธอก็มิได้ทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา ;
    ทั้งเธอก็มิได้ตรึกตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยจิต ซึ่งธรรมตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมา ;
    #แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่เธอนั้นถือเอาดีแล้ว
    กระทำไว้ในใจดีแล้ว เข้าไปทรงไว้ดีแล้ว แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา อยู่,
    เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้น
    ตามที่สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่เธอถือเอาด้วยดี กระทำไว้ในใจดี
    เข้าไปทรงไว้ดี แทงตลอดดีด้วยปัญญา อย่างไร.
    เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม,
    ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ;
    เมื่อปราโมทย์แล้วปีติย่อมเกิด ;
    เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ;
    ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข(ด้วยนามกาย) ;
    เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่ห้า,
    ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาทมีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วอยู่.
    จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ
    หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ
    อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้).
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเป็นเครื่องเข้าถึง #วิมุตติห้าประการ เหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=ปญฺจ+วิมุตฺตายตน
    ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่,
    จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงที่ซึ่งความสิ้นรอบ
    หรือว่า
    #เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตน
    ยังไม่บรรลุตามลำดับ,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิง​ไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/20-23/26.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/20/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๒-๒๕/๒๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=640
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ามีทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง สัทธรรมลำดับที่ : 640 ชื่อบทธรรม : -ทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=640 เนื้อความทั้งหมด :- --ทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง --ภิกษุ ท. ! ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ (วิมุตฺตายตนํ) ห้าประการ เหล่านี้ มีอยู่, http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺตายตน ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึง ซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะอันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ. ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติห้าประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ห้าประการ คือ:- ๑. ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ : พระศาสดา หรือ เพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ย่อม #แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีแสดงแล้วอย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถรู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ; +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่หนึ่ง, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึง ซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ๒. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก : พระศาสดา หรือ เพื่อนสพรหมจารี ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ; #แต่เธอแสดงธรรมตามที่ได้ฟังมา ได้เล่าเรียนมา แก่ชนทั้งหลายเหล่าอื่น โดยพิสดารอยู่, เธอนั้นย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรม ตามที่เธอแสดงแก่ชนเหล่าอื่น โดยพิสดารตามที่เธอฟังมาแล้วเล่าเรียนมาแล้วอย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด ; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุขจิตย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่สอง, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ๓. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก : พระศาสดา หรือเพื่อนพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ; และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอได้ฟังมาได้เล่าเรียนมา ; #แต่เธอกระทำการท่องบ่นซึ่งธรรม โดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา อยู่. http://etipitaka.com/read/pali/22/24/?keywords=สชฺฌายํ+วิมุตฺตายตน เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้น ตามที่เธอทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมาอย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด ; เมื่อใจปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่สาม, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่าเธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ๔. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก : พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ; และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอได้ฟังมาได้เล่าเรียนมา ; และเธอก็มิได้ทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา ; #แต่เธอตรึกตามตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยใจ ซึ่งธรรมตามที่เธอฟังมาเล่าเรียนมา อยู่, เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้นตามที่เธอตรึกตามตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยจิต ซึ่งธรรมตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมา อย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่สี่, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วอยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ๕. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก : พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ; และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอไดัฟังมาได้เล่าเรียนมา ; และเธอก็มิได้ทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา ; ทั้งเธอก็มิได้ตรึกตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยจิต ซึ่งธรรมตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมา ; #แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่เธอนั้นถือเอาดีแล้ว กระทำไว้ในใจดีแล้ว เข้าไปทรงไว้ดีแล้ว แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา อยู่, เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้น ตามที่สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่เธอถือเอาด้วยดี กระทำไว้ในใจดี เข้าไปทรงไว้ดี แทงตลอดดีด้วยปัญญา อย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้วปีติย่อมเกิด ; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข(ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุ ท. ! นี้คือ &ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่ห้า, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาทมีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วอยู่. จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). --ภิกษุ ท. ! ธรรมเป็นเครื่องเข้าถึง #วิมุตติห้าประการ เหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=ปญฺจ+วิมุตฺตายตน ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงที่ซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า #เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะ อันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตน ยังไม่บรรลุตามลำดับ, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิง​ไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/20-23/26. http://etipitaka.com/read/thai/22/20/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๒-๒๕/๒๖. http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=640 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง
    -ทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง ภิกษุ ท. ! ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ (วิมุตฺตายตนํ) ห้าประการ เหล่านี้ มีอยู่, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มี ๑. รายละเอียดเรื่องปุพพันตานุทิฏฐิ และอปรันตานุทิฏฐิ หาดูได้จากหนังสือปฏิจจ. โอ. หน้า ๗๓๒-๗๖๘. ตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึง ซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะอันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ. ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติห้าประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ห้าประการ คือ: ๑. ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ พระศาสดา หรือ เพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ย่อม แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีแสดงแล้วอย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถรู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ; ภิกษุ ท. ! นี้คือธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่หนึ่ง, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึง ซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะอัน ไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ๒. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก : พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ; แต่เธอแสดงธรรมตามที่ได้ฟังมา ได้เล่าเรียนมา แก่ชนทั้งหลายเหล่าอื่น โดยพิสดารอยู่, เธอนั้นย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรม ตามที่เธอแสดงแก่ชนเหล่าอื่น โดยพิสดารตามที่เธอฟังมาแล้วเล่าเรียนมาแล้วอย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด ; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุขจิตย่อมตั้งมั่น. ภิกษุ ท. ! นี้คือ ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่สอง, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะอันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ๓. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก : พระศาสดา หรือเพื่อนพรหมจารีผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ; และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอได้ฟังมาได้เล่าเรียนมา ; แต่เธอกระทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา อยู่. เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้นตามที่เธอทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมาอย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด ; เมื่อใจปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. ภิกษุ ท. ! นี้คือ ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่สาม, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่าเธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะอันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ๔. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก : พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารีผู้ ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ; และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอได้ฟังมาได้เล่าเรียนมา ; และเธอก็มิได้ทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา ; แต่เธอตรึกตามตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยใจ ซึ่งธรรมตามที่เธอฟังมาเล่าเรียนมา อยู่, เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้นตามที่เธอตรึกตามตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยใจ ซึ่งธรรมตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมา อย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข (ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. ภิกษุ ท. ! นี้คือ ธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติข้อที่สี่, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วอยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะอันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตนยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ๕. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก : พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครูรูปใดรูปหนึ่ง ก็มิได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ; และเธอนั้นก็มิได้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดารตามที่เธอไดัฟังมาได้เล่าเรียนมา ; และเธอก็มิได้ทำการท่องบ่นซึ่งธรรมโดยพิสดารตามที่ตนฟังมาเล่าเรียนมา ; ทั้งเธอก็มิได้ตรึกตรองตามด้วยใจ ตามเพ่งด้วยใจ ซึ่งธรรมตามที่ได้ฟังมาเล่าเรียนมา ; แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่เธอนั้นถือเอาดีแล้ว กระทำไว้ในใจดีแล้ว เข้าไปทรงไว้ดีแล้ว แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา อยู่, เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ในธรรมนั้น ตามที่สมาธินิมิต อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่เธอถือเอาด้วยดี กระทำไว้ในใจดี เข้าไปทรงไว้ดี แทงตลอดดีด้วยปัญญา อย่างไร. เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งอรรถ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกิดขึ้นแก่เธอนั้น ; เมื่อปราโมทย์แล้วปีติย่อมเกิด ; เมื่อใจมีปีติ กายย่อมรำงับ ; ผู้มีกายรำงับแล้ว ย่อมเสวยสุข(ด้วยนามกาย) ; เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. ภิกษุ ท. ! นี้คือธรรมเป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ ข้อที่ห้า, ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาทมีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วอยู่. จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะอันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ยังไม่บรรลุตามลำดับ (โดยแน่แท้). ภิกษุ ท. ! ธรรมเป็นเครื่องเข้าถึงวิมุตติห้าประการเหล่านี้ ซึ่งในธรรมนั้น เมื่อภิกษุเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้ว อยู่, จิตที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นรอบย่อมถึงที่ซึ่งความสิ้นรอบ หรือว่า เธอย่อมบรรลุตามลำดับ ซึ่งความเกษมจากโยคะอันไม่มีอื่นยิ่งกว่าที่ตน ยังไม่บรรลุตามลำดับ, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 347 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศิษย์เก่าคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราช-รามาธิบดี ลงชื่อออกแถลงการณ์ หนุนแพทยสภายึดมติเดิม ฟันจริยธรรม 3 หมอเอี่ยวชั้น 14 ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นกิจที่หนึ่ง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000049896

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    ศิษย์เก่าคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราช-รามาธิบดี ลงชื่อออกแถลงการณ์ หนุนแพทยสภายึดมติเดิม ฟันจริยธรรม 3 หมอเอี่ยวชั้น 14 ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นกิจที่หนึ่ง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000049896 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #Thaitimes
    Like
    Haha
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 460 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตายไม่สูญ..แล้วไปไหน

    “ ตายแล้วไม่สูญ ” และ “ ตายแล้วไปไหน ” นี้ไม่น่าจะเป็นข้องใจของท่านเลยเพราะพระพุทธเจ้าตรัสไว้แล้วอย่างละเอียดว่าเมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว ทางที่ไปก็มี 5 สาย คือ

    • อบายภูมิ ได้แก่ เกิดเป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย และเป็นสัตว์เดรัจฉาน

    • เกิดเป็นมนุษย์

    • เกิดเป็นเทวดา หรือนางฟ้าอยู่บนสวรรค์

    • เกิดเป็นพรหม

    • ไปพระนิพพาน

    ท่านที่ตายแล้วจะไปเกิดที่ใด พระพุทธเจ้าก็ตรัสบอกเหตุที่จะไปเกิดไว้ครบถ้วนตามกฎของกรรม คือการกระทำ ได้แก่ความประพฤติดีหรือชั่ว ในสมัยที่เกิดเป็นมนุษย์นี้เอง กฎของกรรมหรือความประพฤติดีหรือชั่ว ที่จะพาไปเกิดในที่ใดที่หนึ่งตามที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้ 5 ทางนั้น ท่านว่าไว้อย่างนี้
    ตายไม่สูญ..แล้วไปไหน “ ตายแล้วไม่สูญ ” และ “ ตายแล้วไปไหน ” นี้ไม่น่าจะเป็นข้องใจของท่านเลยเพราะพระพุทธเจ้าตรัสไว้แล้วอย่างละเอียดว่าเมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว ทางที่ไปก็มี 5 สาย คือ • อบายภูมิ ได้แก่ เกิดเป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย และเป็นสัตว์เดรัจฉาน • เกิดเป็นมนุษย์ • เกิดเป็นเทวดา หรือนางฟ้าอยู่บนสวรรค์ • เกิดเป็นพรหม • ไปพระนิพพาน ท่านที่ตายแล้วจะไปเกิดที่ใด พระพุทธเจ้าก็ตรัสบอกเหตุที่จะไปเกิดไว้ครบถ้วนตามกฎของกรรม คือการกระทำ ได้แก่ความประพฤติดีหรือชั่ว ในสมัยที่เกิดเป็นมนุษย์นี้เอง กฎของกรรมหรือความประพฤติดีหรือชั่ว ที่จะพาไปเกิดในที่ใดที่หนึ่งตามที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้ 5 ทางนั้น ท่านว่าไว้อย่างนี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 115 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts