• อริยสาวกพึงศึกษานิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา
    สัทธรรมลำดับที่ : 237
    ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณาการแห่งตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด
    #เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    --- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91

    http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา
    --- ขนฺธ. สํ. ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%95

    +--#ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล
    http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=ตณฺหา
    ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น.
    เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว
    ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น.
    ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว,
    ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ*--๑
    ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น.

    ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น,
    เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป.
    +--ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย
    มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่,
    ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น
    อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา.
    +--กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง.
    เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่.
    ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย #ด้วยปัญญา.
    +--โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์,
    สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี,
    สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา.
    +--หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง)
    ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง
    เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น.
    สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.-

    *--๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย.

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/41/34.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/41/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๖๐/๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=237
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษานิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา สัทธรรมลำดับที่ : 237 ชื่อบทธรรม :- นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ-ลักษณาการแห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณาการแห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด #เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ. http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา --- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑; http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 http://etipitaka.com/read/pali/19/529/?keywords=ตณฺหา+โปโนพฺภวิกา+นนฺทิราคสหคตา --- ขนฺธ. สํ. ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%95 +--#ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=ตณฺหา ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น. เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น. ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว, ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ*--๑ ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น. ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น, เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป. +--ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่, ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา. +--กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง. เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่. ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย #ด้วยปัญญา. +--โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์, สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี, สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา. +--หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง) ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น. สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.- *--๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย. #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/41/34. http://etipitaka.com/read/thai/25/41/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๖๐/๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/25/60/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=237 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=237 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ
    -นิทเทศแห่งสมุทยอริยสัจ ____________ นิทเทศ ๔ ว่าด้วยลักษณะแห่งตัณหา (มี ๔๑ เรื่อง) ลักษณาการแห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! ตัณหานี้ใด ทำให้มีการเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัด เพราะอำนาจแห่งความเพลิน มีปกติทำให้เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ. ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๕๑; และ ๑๙/๕๒๙/๑๖๖๕. ตัณหา ย่อมปกคลุมบุคคล ผู้ประพฤติตนเป็นคนมัวเมาเหมือนเครือเถามาลุวา (ใบดกขึ้นปกคลุมต้นไม้อยู่) ฉะนั้น. เขาผู้ถูกตัณหาปกคลุมแล้ว ย่อมเร่ร่อนไปสู่ภพน้อยภพใหญ่ เหมือนวานรต้องการผลไม้ เร่ร่อนไปในป่า ฉะนั้น. ตัณหา ซึ่งเป็นของลามก ส่ายซ่านไปได้ทั่วโลกนี้ ครอบงำผู้ใดเข้าแล้ว, ความโศกทั้งหลาย ย่อมลุกลามแก่บุคคลผู้นั้น เหมือนหญ้าวีรณะ๑ ซึ่งงอกงาม แผ่กว้างออกไปโดยเร็ว ฉะนั้น. ต้นไม้ แม้ถูกตัดแล้ว แต่เมื่อรากยังมั่นคง ไม่มีอันตรายย่อมงอกงามขึ้นมาได้อีก ฉันใด ; ความทุกข์นี้ก็ฉันนั้น, เมื่อตัณหานุสัย (ซึ่งเป็นรากเง่าของมัน) ยังไม่ถูกถอนขึ้นแล้ว, มันย่อมเกิดขึ้นร่ำไป. ๑. วีรณะ เป็นชื่อซึ่งหมายถึงหญ้าที่ขึ้นรกแผ่กว้างโดยเร็วชนิดหนึ่ง ยังไม่ทราบชื่อในภาษาไทย. ตัณหา ซึ่งมีกระแสสามสิบหกสาย มีกำลังกล้าแข็ง ไหลไปตามใจชอบ ของบุคคลใด มีอยู่, ความดำริซึ่งอาศัยราคะ มีกระแสอันใหญ่หลวง ย่อมพัดพาไป ซึ่งบุคคลนั้น อันมีทิฏฐิ ผิดเป็นธรรมดา. กระแส (แห่งตัณหา) ย่อมหลั่งไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง. เถาวัลย์ (คือตัณหา) แตกขึ้นแล้ว ตั้งอยู่. ท่านทั้งหลาย เห็นเถาวัลย์นั้นเกิดขึ้นแล้ว จงตัดรากมันเสีย ด้วยปัญญา. โสมนัส ซึ่งซาบซ่านและมีเยื่อใย มีอยู่แก่สัตว์, สัตว์เหล่านั้น จึงแสวงสุข เพราะอาศัยความยินดี, สัตว์เหล่านั้น แหละเป็นผู้เข้าถึงชาติและชรา. หมู่สัตว์ เผชิญหน้าด้วยตัณหา (เครื่องให้เกิดความสะดุ้ง) ย่อมกระสับกระส่าย เหมือนกระต่ายที่ติดบ่วง เผชิญหน้านายพราน กระสับกระส่ายอยู่ ฉะนั้น. สัตว์ผู้ข้องแล้วด้วยสัญโญชน์ ก็เข้าถึงความทุกข์อยู่ร่ำไป ตลอดกาลนาน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949
    ชื่อบทธรรม : -แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร
    : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน
    ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน.
    สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป;
    ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :-
    )​
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น
    : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ;
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า
    “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”.
    --ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า
    “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”.
    (ในกรณีแห่ง
    &ทุติยฌาน...
    &ตติยฌาน... และ
    &จตุตถฌาน...
    ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน
    ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว
    จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึง อากาสานัญจายตนะ :-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ
    เพราะก้าวล่วงซึ่ง รูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา
    เพราะการไม่ทำไว้ในใจซึ่ง นานัตตสัญญา
    จึงเข้าถึง &​อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด”
    ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า
    ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป
    ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น.
    (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ
    &วิญญาณัญจายตนะ...
    &อากิญจัญญายตนะ... และ
    &เนวสัญญานาสัญญายตนะ....
    ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน
    ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว.
    ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ
    เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง
    จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่,
    #อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไปเพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/456/?keywords=อาสวา+ปริกฺขีณา+โหนฺติ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า
    ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป
    ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น ,
    ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก
    ดังนี้.-
    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน,
    เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร
    คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ
    เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้
    แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด.
    ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน
    สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อ. 23/350-353/243.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/350/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อ. ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/450/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร สัทธรรมลำดับที่ : 949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949 ชื่อบทธรรม : -แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร เนื้อความทั้งหมด :- --แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน. สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป; ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :- )​ --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ; --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”. --ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”. (ในกรณีแห่ง &ทุติยฌาน... &ตติยฌาน... และ &จตุตถฌาน... ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึง อากาสานัญจายตนะ :- ) --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่ง รูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำไว้ในใจซึ่ง นานัตตสัญญา จึงเข้าถึง &​อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น. (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ &วิญญาณัญจายตนะ... &อากิญจัญญายตนะ... และ &เนวสัญญานาสัญญายตนะ.... ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว. ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:- ) --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, #อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไปเพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/23/456/?keywords=อาสวา+ปริกฺขีณา+โหนฺติ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น , ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก ดังนี้.- (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อ. 23/350-353/243. http://etipitaka.com/read/thai/23/350/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อ. ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓. http://etipitaka.com/read/pali/23/450/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. - ๑๗/๒๐/๓๐. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๒๕๙ - ๒๖๒ และที่หน้า ๓๓๘ - ๓๔๑ .
    -(ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. - ๑๗/๒๐/๓๐. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๒๕๙ - ๒๖๒ และที่หน้า ๓๓๘ - ๓๔๑ . ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการ รู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี ดังที่ได้ยกมาไว้ในภาคนำแห่งหนังสือเล่มนี้ ที่หน้า ๗๕. ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการ รู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. - ๑๘/๑๐๐/๑๔๘. ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. - ๑๘/๑๘๑/๒๕๐). แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน. สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป; ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :-) ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ; ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”. ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัว อยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึงอากาสานัญจายตนะ :-) ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งรูปสัญญาเสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำไว้ในใจ ซึ่งนานัตตสัญญา จึงเข้าถึง อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น. (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว. ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:-) ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไป เพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น , ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 397 มุมมอง 0 รีวิว