• คุยกันเรื่องวังหลังของเฉียนหลงฮ่องเต้มาหลายสัปดาห์ วันนี้ยังคุยกันเรื่องนี้ แต่เปลี่ยนเป็นละครเรื่อง <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> เป็นเรื่องที่เพื่อนเพจท่านหนึ่งถามถึงเกี่ยวกับเรื่องราวของภาพวาดที่พูดถึงในละคร

    ท่านใดที่ได้เคยดูละครหรืออ่านนิยายเรื่องนี้จะทราบว่า เฉียนหลงฮ่องเต้ทรงพระราชทานรูปภาพทั้งหมดสิบสองภาพให้แก่เหล่าพระมเหสี โดยในเรื่องมีการเล่าถึงความหมายของบางรูปภาพและมีการตีความกันไปต่างๆ นาๆ ว่าองค์เฉียนหลงทรงหมายถึงอะไร ในเรื่องนั้นองค์เฉียนหลงทรงต้องการให้พวกนางไปใช้เวลาไปตีความหมายกันเองจะได้ไม่มีเรื่องราวมากวนพระทัย แต่แน่นอนว่าภาพวาดเหล่านี้ล้วนมีเรื่องราวของมัน คงต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์กว่าเราจะคุยจบทั้ง 12 ภาพวาด อย่าเพิ่งเบื่อกันนะ

    ภาพทั้งสิบสองภาพนี้ถูกเรียกรวมว่า ‘กงซวิ่นถู’ (宫训图 แปลตรงตัวว่า พระราชวัง+คำสอน+ภาพ) ได้รับการวาดขึ้นคู่กับบทกวีสิบสองบทที่เรียกว่า ‘กงซวิ่นซือ’ (宫训诗 แปลตรงตัวว่า พระราชวัง+คำสอน+บทกวี) ที่ทรงให้เหล่าขุนนางเป็นผู้แต่งและจัดทำเป็นป้ายสี่อักษรที่สื่อถึงบทกวีเต็ม และได้ทรงกำหนดไว้ว่า ในทุกวันที่ 26 เดือน 12 ตามปฏิทินจีน (คือห้าวันก่อนตรุษจีน ซึ่งเป็นช่วงเวลาจัดเตรียมการฉลองวันตรุษ) ทั้งสิบสองตำหนักต้องเอาภาพและป้ายอักษรดังกล่าวออกมาแขวน โดยภาพวาดให้แขวนไว้บนผนังทิศตะวันตก ส่วนป้ายอักษรให้แขวนไว้บนผนังทิศตะวันออก รอจนวันที่ 2 เดือน 2 จึงจะปลดลงได้

    ภาพแรกที่จะคุยกันวันนี้เป็นภาพที่องค์เฉียนหลงพระราชทานให้ฮองเฮา เซี่ยวเสียนฉุนหวงโฮ่วแห่งพระตำหนักฉางชุนกง มีชื่อว่าภาพวาด ‘ไท่ซึฮุ่ยจื่อ’ (太姒诲子/ไท่ซึสอนบุตร)

    ‘ไท่ซึ’ คือใคร? ไท่ซึเป็นชายาเอกในองค์โจวเหวินหวาง อ๋องผู้ปกครองแคว้นโจวในสมัยปลายราชวงศ์ซางระหว่างปี 1110-1050 ก่อนคริสตกาลและเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์โจว (หมายเหตุ คือองค์โจวเหวินหวางผู้ทรงกำหนดเพิ่มสายพิณเส้นที่หกที่มีชื่อว่า เซ่ากง บนพิณโบราณกู่ฉินเพื่อเป็นการระลึกถึงโอรสที่วายชนม์ ซึ่ง Storyฯ เคยเล่าถึงตอนคุยเรื่องชื่อของสายพิณจากละครเรื่อง <ดาราจักรรักลำนำใจ> https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/569581261836837 )

    จากบันทึกโบราณและบทกวีต่างๆ ที่กล่าวถึง ว่ากันว่า ไท่ซึมีรูปโฉมและจริยวัตรงดงามและมีเมตตา เป็นผู้ที่ถูกยกย่องว่าเป็นคู่ครองที่เหมาะสมกับโจวเหวินหวางและเป็นมารดาที่ดีแห่งแคว้น (ขออภัยไม่ใช้ราชาศัพท์) นางมีบุตรชายสิบคนให้กับโจวเหวินหวาง ซึ่งเป็นที่กล่าวขานว่านางสั่งสอนบุตรอย่างเข้มงวดจนเป็นคนดีมีความกตัญญูทุกคน

    มีเรื่องราวต่อมาอีกว่า โอรสคนโตของนางและโจวเหวินหวาง นามว่า ป๋ออี้เข่า นั้น ในตำนานว่ากันว่าเป็นบุรุษรูปงาม เชี่ยวชาญด้านพิณ และขึ้นชื่อว่าเป็นบุตรที่กตัญญูมาก ในสมัยนั้นโจ้วหวางผู้เป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซางเพ่งเล็งและระแวงในแคว้นโจว และเพื่อเป็นการปกป้องโจวเหวินหวางและแคว้น ป๋ออี้เข่ายอมจากบ้านเกิดมาเป็นตัวประกันที่ราชสำนักซาง

    โจ้วหวางมีมเหสีที่รักมากชื่อว่าต๋าจี่ ผู้มีความงามอย่างที่หาใครเปรียบได้ยาก ตามตำนานเล่าว่า ต๋าจี่หลงรักป๋ออี้เข่าตั้งแต่แรกพบ เลยใช้ข้ออ้างขอเรียนพิณเพื่อเข้าใกล้ป๋ออี้เข่า แต่เขาไม่มีใจให้นาง นางโกรธแค้นเขามาก จึงสร้างเรื่องว่าถูกเขาลวนลาม ทำให้โจ้วหวางโกรธจนสังหารป๋ออี้เข่าทิ้ง ไม่แน่ใจว่าเพื่อนเพจเริ่มคุ้นหูคุ้นตากันบ้างไหมกับชื่อ ‘ต๋าจี่’ นี้ แต่นี่คือเรื่องเล่าในตำนานสงครามเทพ <เฟิงเสิน> และต๋าจี่คือนางงามที่เป็นปีศาจจิ้งจอกจำแลงนั่นเอง

    โจ้วหวางถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นทรราชเพราะมีพฤติกรรมโหดเหี้ยมอำมหิตมากมาย ต๋าจี่กลายเป็นตำนานนางจิ้งจอก เป็นตัวแทนของหญิงงามล่มเมือง และเรื่องราวของป๋ออี้เข่าเป็นโศกนาฏกรรมที่เกิดต่อครอบครัวของโจวเหวินหวางและไท่ซึ และเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ทำให้โจวเหวินหวางลุกขึ้นเป็นปฏิปักษ์ต่อราชวงศ์ซางและสถาปนาตนขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจว ต่อมาบุตรชายคนรองคือโจวอู่หวางก็โค่นล้มราชวงศ์ซางได้สำเร็จ (และในเรื่องชื่อของสายพิณที่ Storyฯ เคยเล่าถึงไปแล้วนั้น โจวอู่หวางคือผู้ที่เสริมสายพิณเส้นที่เจ็ดเข้าไปในพิณโบราณกู่ฉินและตั้งชื่อสายพิณเส้นนั้นว่า เซ่าซาง เพื่อเป็นการรำลึกถึงการล้มราชวงศ์ซางได้สำเร็จ)

    ดูจะเชื่อมโยงตัวละครจากหลากหลายบทความที่ Storyฯ เคยเขียนถึง ลองย้อนกลับไปอ่านบทความเก่าๆ กันนะคะ จะได้ไม่งง

    สรุปว่า ภาพวาด ‘ไท่ซึฮุ่ยจื่อ’ นี้แฝงไว้ซึ่งเรื่องราวความกตัญญูและโศกนาฏกรรมของป๋ออี้เข่า อารมณ์แฝงอาจสอดคล้องกับอารมณ์ที่โศกเศร้าของฮองเฮาเซี่ยวเสียนฉุนที่ต้องสูญเสียพระโอรสไปก่อนเวลาอันควร แต่ยังสะท้อนถึงจริยวัตรของการเป็นมารดาที่สั่งสอนบุตรอย่างดีอีกด้วย ส่วนป้ายอักษรที่มาคู่กับภาพนี้คือ ‘จิ้งซิวเน่ยเจ๋อ’ (敬休内则) มีความหมายประมาณว่า วางตนอย่างสงบและบริหารงานภายในครอบครัวให้เรียบร้อย

    จึงเป็นที่มาของการตีความโดยตัวละครต่างๆ ในเรื่องนี้ว่า ความหมายของรูปภาพนี้คืออยากให้ฮองเฮาเซี่ยวเสียนฉุนเลิกโศกเศร้าแล้วลุกขึ้นมาดูแลวังหลังในฐานะมารดาแห่งแผ่นดิน การตีความแบบนี้ถูกหรือไม่ Storyฯ ก็ไม่แน่ใจ แต่เห็นว่าเรื่องราวจากภาพนี้ก็อ่านเพลินดี เพื่อนเพจเห็นด้วยไหม

    สัปดาห์หน้ามาคุยกันต่อกับภาพต่อไปค่ะ

    หมายเหตุ อัพเดทเพิ่มเติมวันที่ 22/8/2566 นะคะว่า ภาพวาดที่ Storyฯ แปะมาให้ดูนี้ เป็นผลงานในสมัยองค์คังซีของช่างวาดหลวงเจียวปิ่งเจินเกี่ยวกับไท่ซึค่ะ ภาพจริงของ ‘ไท่ซึฮุ่ยจื่อ’ ซึ่งเป็น 1 ใน 12 กงซวิ่นถูนั้นสูญหายไปแล้ว หน้าตาเป็นอย่างไรก็ไม่ทราบได้

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://autos.yahoo.com.tw/被催生氣炸-富察皇后吐單身心聲-094507428.html
    https://zh.m.wikipedia.org/zh-my/太姒
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    http://www.takungpao.com/culture/237140/2019/1207/387125.html
    http://lethe921.blogspot.com/2013/05/blog-post.html
    http://www.chinakongzi.org/baike/RENWU/xianqin/201707/t20170720_139258.htm
    https://zh.m.wikipedia.org/zh-my/妲己
    https://zh.m.wikipedia.org/zh-my/伯邑考
    https://zh.m.wikipedia.org/zh-my/太姒

    #เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่ #ภาพวาดเฉียนหลง #ไท่ซึฮุ่ยจื่อ #ไท่ซึ #โจวเหวินหวาง #โจวอู่หวาง #โจ้วหวาง #ต๋าจี่ #นางจิ้งจอก #เฟิงเสิน
    คุยกันเรื่องวังหลังของเฉียนหลงฮ่องเต้มาหลายสัปดาห์ วันนี้ยังคุยกันเรื่องนี้ แต่เปลี่ยนเป็นละครเรื่อง <เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่> เป็นเรื่องที่เพื่อนเพจท่านหนึ่งถามถึงเกี่ยวกับเรื่องราวของภาพวาดที่พูดถึงในละคร ท่านใดที่ได้เคยดูละครหรืออ่านนิยายเรื่องนี้จะทราบว่า เฉียนหลงฮ่องเต้ทรงพระราชทานรูปภาพทั้งหมดสิบสองภาพให้แก่เหล่าพระมเหสี โดยในเรื่องมีการเล่าถึงความหมายของบางรูปภาพและมีการตีความกันไปต่างๆ นาๆ ว่าองค์เฉียนหลงทรงหมายถึงอะไร ในเรื่องนั้นองค์เฉียนหลงทรงต้องการให้พวกนางไปใช้เวลาไปตีความหมายกันเองจะได้ไม่มีเรื่องราวมากวนพระทัย แต่แน่นอนว่าภาพวาดเหล่านี้ล้วนมีเรื่องราวของมัน คงต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์กว่าเราจะคุยจบทั้ง 12 ภาพวาด อย่าเพิ่งเบื่อกันนะ ภาพทั้งสิบสองภาพนี้ถูกเรียกรวมว่า ‘กงซวิ่นถู’ (宫训图 แปลตรงตัวว่า พระราชวัง+คำสอน+ภาพ) ได้รับการวาดขึ้นคู่กับบทกวีสิบสองบทที่เรียกว่า ‘กงซวิ่นซือ’ (宫训诗 แปลตรงตัวว่า พระราชวัง+คำสอน+บทกวี) ที่ทรงให้เหล่าขุนนางเป็นผู้แต่งและจัดทำเป็นป้ายสี่อักษรที่สื่อถึงบทกวีเต็ม และได้ทรงกำหนดไว้ว่า ในทุกวันที่ 26 เดือน 12 ตามปฏิทินจีน (คือห้าวันก่อนตรุษจีน ซึ่งเป็นช่วงเวลาจัดเตรียมการฉลองวันตรุษ) ทั้งสิบสองตำหนักต้องเอาภาพและป้ายอักษรดังกล่าวออกมาแขวน โดยภาพวาดให้แขวนไว้บนผนังทิศตะวันตก ส่วนป้ายอักษรให้แขวนไว้บนผนังทิศตะวันออก รอจนวันที่ 2 เดือน 2 จึงจะปลดลงได้ ภาพแรกที่จะคุยกันวันนี้เป็นภาพที่องค์เฉียนหลงพระราชทานให้ฮองเฮา เซี่ยวเสียนฉุนหวงโฮ่วแห่งพระตำหนักฉางชุนกง มีชื่อว่าภาพวาด ‘ไท่ซึฮุ่ยจื่อ’ (太姒诲子/ไท่ซึสอนบุตร) ‘ไท่ซึ’ คือใคร? ไท่ซึเป็นชายาเอกในองค์โจวเหวินหวาง อ๋องผู้ปกครองแคว้นโจวในสมัยปลายราชวงศ์ซางระหว่างปี 1110-1050 ก่อนคริสตกาลและเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์โจว (หมายเหตุ คือองค์โจวเหวินหวางผู้ทรงกำหนดเพิ่มสายพิณเส้นที่หกที่มีชื่อว่า เซ่ากง บนพิณโบราณกู่ฉินเพื่อเป็นการระลึกถึงโอรสที่วายชนม์ ซึ่ง Storyฯ เคยเล่าถึงตอนคุยเรื่องชื่อของสายพิณจากละครเรื่อง <ดาราจักรรักลำนำใจ> https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/569581261836837 ) จากบันทึกโบราณและบทกวีต่างๆ ที่กล่าวถึง ว่ากันว่า ไท่ซึมีรูปโฉมและจริยวัตรงดงามและมีเมตตา เป็นผู้ที่ถูกยกย่องว่าเป็นคู่ครองที่เหมาะสมกับโจวเหวินหวางและเป็นมารดาที่ดีแห่งแคว้น (ขออภัยไม่ใช้ราชาศัพท์) นางมีบุตรชายสิบคนให้กับโจวเหวินหวาง ซึ่งเป็นที่กล่าวขานว่านางสั่งสอนบุตรอย่างเข้มงวดจนเป็นคนดีมีความกตัญญูทุกคน มีเรื่องราวต่อมาอีกว่า โอรสคนโตของนางและโจวเหวินหวาง นามว่า ป๋ออี้เข่า นั้น ในตำนานว่ากันว่าเป็นบุรุษรูปงาม เชี่ยวชาญด้านพิณ และขึ้นชื่อว่าเป็นบุตรที่กตัญญูมาก ในสมัยนั้นโจ้วหวางผู้เป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซางเพ่งเล็งและระแวงในแคว้นโจว และเพื่อเป็นการปกป้องโจวเหวินหวางและแคว้น ป๋ออี้เข่ายอมจากบ้านเกิดมาเป็นตัวประกันที่ราชสำนักซาง โจ้วหวางมีมเหสีที่รักมากชื่อว่าต๋าจี่ ผู้มีความงามอย่างที่หาใครเปรียบได้ยาก ตามตำนานเล่าว่า ต๋าจี่หลงรักป๋ออี้เข่าตั้งแต่แรกพบ เลยใช้ข้ออ้างขอเรียนพิณเพื่อเข้าใกล้ป๋ออี้เข่า แต่เขาไม่มีใจให้นาง นางโกรธแค้นเขามาก จึงสร้างเรื่องว่าถูกเขาลวนลาม ทำให้โจ้วหวางโกรธจนสังหารป๋ออี้เข่าทิ้ง ไม่แน่ใจว่าเพื่อนเพจเริ่มคุ้นหูคุ้นตากันบ้างไหมกับชื่อ ‘ต๋าจี่’ นี้ แต่นี่คือเรื่องเล่าในตำนานสงครามเทพ <เฟิงเสิน> และต๋าจี่คือนางงามที่เป็นปีศาจจิ้งจอกจำแลงนั่นเอง โจ้วหวางถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นทรราชเพราะมีพฤติกรรมโหดเหี้ยมอำมหิตมากมาย ต๋าจี่กลายเป็นตำนานนางจิ้งจอก เป็นตัวแทนของหญิงงามล่มเมือง และเรื่องราวของป๋ออี้เข่าเป็นโศกนาฏกรรมที่เกิดต่อครอบครัวของโจวเหวินหวางและไท่ซึ และเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ทำให้โจวเหวินหวางลุกขึ้นเป็นปฏิปักษ์ต่อราชวงศ์ซางและสถาปนาตนขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจว ต่อมาบุตรชายคนรองคือโจวอู่หวางก็โค่นล้มราชวงศ์ซางได้สำเร็จ (และในเรื่องชื่อของสายพิณที่ Storyฯ เคยเล่าถึงไปแล้วนั้น โจวอู่หวางคือผู้ที่เสริมสายพิณเส้นที่เจ็ดเข้าไปในพิณโบราณกู่ฉินและตั้งชื่อสายพิณเส้นนั้นว่า เซ่าซาง เพื่อเป็นการรำลึกถึงการล้มราชวงศ์ซางได้สำเร็จ) ดูจะเชื่อมโยงตัวละครจากหลากหลายบทความที่ Storyฯ เคยเขียนถึง ลองย้อนกลับไปอ่านบทความเก่าๆ กันนะคะ จะได้ไม่งง สรุปว่า ภาพวาด ‘ไท่ซึฮุ่ยจื่อ’ นี้แฝงไว้ซึ่งเรื่องราวความกตัญญูและโศกนาฏกรรมของป๋ออี้เข่า อารมณ์แฝงอาจสอดคล้องกับอารมณ์ที่โศกเศร้าของฮองเฮาเซี่ยวเสียนฉุนที่ต้องสูญเสียพระโอรสไปก่อนเวลาอันควร แต่ยังสะท้อนถึงจริยวัตรของการเป็นมารดาที่สั่งสอนบุตรอย่างดีอีกด้วย ส่วนป้ายอักษรที่มาคู่กับภาพนี้คือ ‘จิ้งซิวเน่ยเจ๋อ’ (敬休内则) มีความหมายประมาณว่า วางตนอย่างสงบและบริหารงานภายในครอบครัวให้เรียบร้อย จึงเป็นที่มาของการตีความโดยตัวละครต่างๆ ในเรื่องนี้ว่า ความหมายของรูปภาพนี้คืออยากให้ฮองเฮาเซี่ยวเสียนฉุนเลิกโศกเศร้าแล้วลุกขึ้นมาดูแลวังหลังในฐานะมารดาแห่งแผ่นดิน การตีความแบบนี้ถูกหรือไม่ Storyฯ ก็ไม่แน่ใจ แต่เห็นว่าเรื่องราวจากภาพนี้ก็อ่านเพลินดี เพื่อนเพจเห็นด้วยไหม สัปดาห์หน้ามาคุยกันต่อกับภาพต่อไปค่ะ หมายเหตุ อัพเดทเพิ่มเติมวันที่ 22/8/2566 นะคะว่า ภาพวาดที่ Storyฯ แปะมาให้ดูนี้ เป็นผลงานในสมัยองค์คังซีของช่างวาดหลวงเจียวปิ่งเจินเกี่ยวกับไท่ซึค่ะ ภาพจริงของ ‘ไท่ซึฮุ่ยจื่อ’ ซึ่งเป็น 1 ใน 12 กงซวิ่นถูนั้นสูญหายไปแล้ว หน้าตาเป็นอย่างไรก็ไม่ทราบได้ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://autos.yahoo.com.tw/被催生氣炸-富察皇后吐單身心聲-094507428.html https://zh.m.wikipedia.org/zh-my/太姒 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: http://www.takungpao.com/culture/237140/2019/1207/387125.html http://lethe921.blogspot.com/2013/05/blog-post.html http://www.chinakongzi.org/baike/RENWU/xianqin/201707/t20170720_139258.htm https://zh.m.wikipedia.org/zh-my/妲己 https://zh.m.wikipedia.org/zh-my/伯邑考 https://zh.m.wikipedia.org/zh-my/太姒 #เล่ห์รักตำหนักเหยียนสี่ #ภาพวาดเฉียนหลง #ไท่ซึฮุ่ยจื่อ #ไท่ซึ #โจวเหวินหวาง #โจวอู่หวาง #โจ้วหวาง #ต๋าจี่ #นางจิ้งจอก #เฟิงเสิน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 56 มุมมอง 0 รีวิว

  • #วัดหนองป่าพง
    #อุบลราชธานี

    วัดหนองป่าพง – ย้อนรำลึกความหลัง เมื่อเกือบยี่สิบปีก่อน ผมได้มีโอกาสสัมผัส วัดหนองป่าพง ด้วยความไม่รู้ และไม่ลึกซึ้งถึงแวดวงพระพุทธศาสนา เลยทำให้การไปวัดหนองป่าพง ครั้งแรก ผมไม่ได้อะไรติดมือติดใจกลับมาเป็นวิทยาทานเลย จนเมื่อครั้งล่าสุดที่ไป ชีวิตมีประสบการณ์ และพอมีพื้นฐานพุทธศาสนาเพิ่มขึ้นบ้าง ครั้งนี้ เป็นการใช้เวลาอยู่ที่วัดนานขึ้น พร้อมพกพาความรู้สึก ความประทับใจที่ต่างออกไป กลับออกมาด้วยอย่างปลื้มอกปลื้มใจ ล้อมวงมาฟังกันครับ วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี (ยาวสักหน่อยนะครับ)

    คงจะไม่ถูกต้อง ถ้าจะกล่าวถึงวัดหนองป่าพง โดยไม่กล่าวถึง หลวงปู่ชา

    หลวงปู่ชา พระสำคัญผู้ก่อตั้งวัดแห่งนี้ ให้สามารถไปเผยแพร่พุทธศาสนาได้กว้างไกล ไม่เพียงแค่ในประเทศไทย หากแต่ไปไกลถึงสิบกว่าประเทศทั่วโลก หลวงปู่ชา พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) แห่งวัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี ต้นแบบของพระป่าทั่วโลก ด้วยวัตรปฎิบัติที่เคร่งครัดสายวิปัสสนากรรมฐานที่มีต้นแบบจาก"พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต"

    หลวงปู่ชา หรือ พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) เกิดเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 ตรงกับ วันศุกร์ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิกก่อ หมู่ที่ 9 ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชื่อนายมา ช่วงโชติ มารดาชื่อ นางพิมพ์ ช่วงโชติ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 10 คน ในวัยเด็ก หลวงปู่ชาเรียนชั้นประถมศึกษา ที่โรงเรียนบ้านก่อ ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จนจบชั้นประถม 1 จึงขอลาออกเพื่อมาบวชเรียนตามความสนใจของตนเอง โดยช่วงอายุ 13 ปี หลังจากลาออกจากโรงเรียนประถมศึกษา โยมบิดาได้นำไปฝากกับเจ้าอาวาสเพื่อเรียนรู้บุพกิจเบื้องต้นเกี่ยวกับบรรพชาวิธี จึงได้รับอนุญาตให้บรรพชาเป็น “สามเณรชา โชติช่วง” จนอยู่ปฏิบัติครูอาจารย์ เป็นเวลา 3 ปี ได้แล้วจึงได้ลาสิกขาบทมาช่วยบิดามารดาทำไร่ทำนา แต่ด้วยจิตใจที่ใฝ่ในทางธรรม เมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ จึงลาพ่อแม่มาบวชเป็นพระ โดยอุปสมบทเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2482 เวลา 13.55 น. ณ พัทธสีมา วัดก่อใน ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ อุบลราชธานี พระชา สุภทฺโท ได้จำพรรษาอยู่ ณ วัดก่อนอก 2 พรรษา ตั้งใจศึกษาปริยัติธรรม ทั้งจากตำรับตำราและจากครูอาจารย์ จนสอบนักธรรมชั้นตรีได้ในสำนักวัดแห่งนี้ แต่โชคร้าย ช่วงนั้น หลวงพ่อชา ได้ว่างเว้นจากการศึกษา เพื่อไปดูแลโยมบิดาที่ป่วย แม้หลวงพ่อชา ก็เกิดความลังเลใจ พะว้าพะวง ห่วงการศึกษาก็ห่วง ห่วงโยมบิดาก็ห่วง แต่ความห่วงผู้บังเกิดเกล้ามีน้ำหนักมากกว่า เพราะโยมบิดาเป็นผู้มีพระคุณอย่างเหลือล้น หลวงปู่จึงตัดสินใจกลับไปดูแลโยมพ่อทั้งที่วันสอบนักธรรมก็ใกล้เข้ามาทุกที แต่ก็เลือกที่จะเดินในเส้นทางสายกตัญญุตา โดยที่สุด มาอยู่เฝ้าดูแลอาการป่วยของโยมพ่อนับเป็นเวลา 13 วัน โยมพ่อจึงได้ถึงแก่กรรม (ปี 2483)

    หลังจากนั้น หลวงปู่ชา ก็ได้เดินทางไปศึกษาเล่าเรียนยังที่ต่างๆ เช่น ที่สำนักของหลวงพ่อเภา วัดเขาวงกฏ จ.ลพบุรี และพระอาจารย์ชาวกัมพูชาที่เป็นพระธุดงค์ซึ่งได้พบกันที่วัดเขาวงกฏ หลวงปู่กินรี อาจารย์คำดี หลวงปู่ทองรัตน์ พระอาจารย์มั่น เป็นต้น พออินทรีย์แก่กล้าแล้วก็ออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมต่อไปเรื่อยๆ โดยยังดำรงสมณเพศเป็นพระมหานิกายอยู่ตลอดเวลา

    กิจที่หลวงปู่ฯ โปรดปราน คือการได้ธุดงค์ไปยังที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อโปรดสานุศิษย์และเผยแพร่พุทธศาสนา จนที่สุดเมื่อคณะศิษย์ และหลวงพ่อได้เดินทางมาถึงชายดงป่าพง ตรงกับวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 พอเช้าวันที่ 9 มีนาคม 2497 จึงได้พากันเข้าสำรวจ สถานที่พักในดงป่านี้ และได้ช่วยกันดำเนินการสร้างวัดป่าขึ้น ซึ่งเรารู้จักในปัจจุบัน คือ “วัดหนองป่าพง”

    จนภายหลังมีสานุศิษย์มากมายทั้งไทยและเทศ ขยายไปหลายสาขา ดังที่กล่าวไปข้างต้น และท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนี้มาโดยตลอด และถึงแก่มรณภาพเมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2535 เวลา 05.20 น. ที่ วัดหนองป่าพง อย่างสงบท่ามกลางธรรมสังเวชของศิษยานุศิษย์จากทุกสารทิศทั่วโลก ด้วยความที่วัดหนองป่าพง มีพระสงฆ์ต่างชาติ เป็นจำนวนมาก เคยมีคนไปถามหลวงปู่ว่า พูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แล้วจะสอนชาวต่างชาติได้อย่างไร หลวงปู่ท่านเมตตาตอบว่า น้ำร้อน ที่ฝรั่งว่ากันว่า ฮ๊อตวอเตอร์ เอามือลงไปสัมผัส ทุกชาติก็รู้ว่าร้อน ไม่เห็นต้องรู้ภาษาก่อนเลย นัยว่า ธรรมะ เรียนรู้ได้จากการสัมผัส การปฏิบัติ มิใช่การอ่านเขียนเท่านั้น

    ปัจจุบัน แม้หลวงปู่ชาฯ จะละสังขารไปแล้วกว่าสามสิบปีกว่าปี คำสอนและวัตรปฏิบัติอันดีงาม ก็ยังอยู่ในความทรงจำสานุศิษย์ทั้งหลาย เห็นได้จากการที่กลับไปสัมผัส วัดหนองป่าพง อีกครั้ง เมื่อเร็ว ๆ นี้ ความสงบ และ ความเคร่งครัด แบบพระป่า ยังคงมีให้เห็นและสัมผัสได้ มีโอกาสได้แวะเข้าไปชม พิพิธภัณฑ์พระโพธิญาณเถร (ชา สุภัทโท) โดยจะจัดแสดงเครื่องอัฐบริขารและหุ่นขี้ผึ้งของหลวงปู่ชา สุภัทโท มีเครื่องทองเหลือง พระพุทธรูป และ เจดีย์ศรีโพธิญาณ เป็นสถานที่พระราชทานเพลิงศพของหลวงปู่ชาอีกด้วย จุดเด่นที่ประทับใจ คือ ป้าย คำสอนต่าง ๆ ที่ติดไว้ตามต้นไม้ อ่านแล้วทำให้เราได้นึกทบทวนชีวิตเราไปด้วยขณะเดินชมไปเงียบ ๆ นอกจากนี้ ได้มีโอกาสเข้าไปที่ อุโบสถด้านใน ทางเข้าเขตสังฆาวาส ที่พระสงฆ์ใช้ทำวัด ทำให้พอนึกเห็นภาพบรรยากาศเมื่อสมัยก่อน ที่หลวงปู่ ลงมาเทศนาธรรม

    รวม ๆ แล้วประทับใจมาก ครับ ผมกราบเรียนเชิญ ท่านที่มีโอกาสไป อุบลราชธานี อยากให้ไปสัมผัส วัดหนองป่าพง สักครั้งครับ

    #ชีวิตนี้ต้องมี1000วัด #เที่ยวไทยไปกับส้มโจ #เที่ยววัด #วัด #ไหว้พระ #ทำบุญ #travel #thailand #amazingthailand #thaitour #temple #history #architecture #culture #thaitemple #ท่องเที่ยว #CultureTrip
    #วัดหนองป่าพง #อุบลราชธานี วัดหนองป่าพง – ย้อนรำลึกความหลัง เมื่อเกือบยี่สิบปีก่อน ผมได้มีโอกาสสัมผัส วัดหนองป่าพง ด้วยความไม่รู้ และไม่ลึกซึ้งถึงแวดวงพระพุทธศาสนา เลยทำให้การไปวัดหนองป่าพง ครั้งแรก ผมไม่ได้อะไรติดมือติดใจกลับมาเป็นวิทยาทานเลย จนเมื่อครั้งล่าสุดที่ไป ชีวิตมีประสบการณ์ และพอมีพื้นฐานพุทธศาสนาเพิ่มขึ้นบ้าง ครั้งนี้ เป็นการใช้เวลาอยู่ที่วัดนานขึ้น พร้อมพกพาความรู้สึก ความประทับใจที่ต่างออกไป กลับออกมาด้วยอย่างปลื้มอกปลื้มใจ ล้อมวงมาฟังกันครับ วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี (ยาวสักหน่อยนะครับ) คงจะไม่ถูกต้อง ถ้าจะกล่าวถึงวัดหนองป่าพง โดยไม่กล่าวถึง หลวงปู่ชา หลวงปู่ชา พระสำคัญผู้ก่อตั้งวัดแห่งนี้ ให้สามารถไปเผยแพร่พุทธศาสนาได้กว้างไกล ไม่เพียงแค่ในประเทศไทย หากแต่ไปไกลถึงสิบกว่าประเทศทั่วโลก หลวงปู่ชา พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) แห่งวัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี ต้นแบบของพระป่าทั่วโลก ด้วยวัตรปฎิบัติที่เคร่งครัดสายวิปัสสนากรรมฐานที่มีต้นแบบจาก"พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต" หลวงปู่ชา หรือ พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) เกิดเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 ตรงกับ วันศุกร์ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิกก่อ หมู่ที่ 9 ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชื่อนายมา ช่วงโชติ มารดาชื่อ นางพิมพ์ ช่วงโชติ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 10 คน ในวัยเด็ก หลวงปู่ชาเรียนชั้นประถมศึกษา ที่โรงเรียนบ้านก่อ ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จนจบชั้นประถม 1 จึงขอลาออกเพื่อมาบวชเรียนตามความสนใจของตนเอง โดยช่วงอายุ 13 ปี หลังจากลาออกจากโรงเรียนประถมศึกษา โยมบิดาได้นำไปฝากกับเจ้าอาวาสเพื่อเรียนรู้บุพกิจเบื้องต้นเกี่ยวกับบรรพชาวิธี จึงได้รับอนุญาตให้บรรพชาเป็น “สามเณรชา โชติช่วง” จนอยู่ปฏิบัติครูอาจารย์ เป็นเวลา 3 ปี ได้แล้วจึงได้ลาสิกขาบทมาช่วยบิดามารดาทำไร่ทำนา แต่ด้วยจิตใจที่ใฝ่ในทางธรรม เมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ จึงลาพ่อแม่มาบวชเป็นพระ โดยอุปสมบทเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2482 เวลา 13.55 น. ณ พัทธสีมา วัดก่อใน ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ อุบลราชธานี พระชา สุภทฺโท ได้จำพรรษาอยู่ ณ วัดก่อนอก 2 พรรษา ตั้งใจศึกษาปริยัติธรรม ทั้งจากตำรับตำราและจากครูอาจารย์ จนสอบนักธรรมชั้นตรีได้ในสำนักวัดแห่งนี้ แต่โชคร้าย ช่วงนั้น หลวงพ่อชา ได้ว่างเว้นจากการศึกษา เพื่อไปดูแลโยมบิดาที่ป่วย แม้หลวงพ่อชา ก็เกิดความลังเลใจ พะว้าพะวง ห่วงการศึกษาก็ห่วง ห่วงโยมบิดาก็ห่วง แต่ความห่วงผู้บังเกิดเกล้ามีน้ำหนักมากกว่า เพราะโยมบิดาเป็นผู้มีพระคุณอย่างเหลือล้น หลวงปู่จึงตัดสินใจกลับไปดูแลโยมพ่อทั้งที่วันสอบนักธรรมก็ใกล้เข้ามาทุกที แต่ก็เลือกที่จะเดินในเส้นทางสายกตัญญุตา โดยที่สุด มาอยู่เฝ้าดูแลอาการป่วยของโยมพ่อนับเป็นเวลา 13 วัน โยมพ่อจึงได้ถึงแก่กรรม (ปี 2483) หลังจากนั้น หลวงปู่ชา ก็ได้เดินทางไปศึกษาเล่าเรียนยังที่ต่างๆ เช่น ที่สำนักของหลวงพ่อเภา วัดเขาวงกฏ จ.ลพบุรี และพระอาจารย์ชาวกัมพูชาที่เป็นพระธุดงค์ซึ่งได้พบกันที่วัดเขาวงกฏ หลวงปู่กินรี อาจารย์คำดี หลวงปู่ทองรัตน์ พระอาจารย์มั่น เป็นต้น พออินทรีย์แก่กล้าแล้วก็ออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมต่อไปเรื่อยๆ โดยยังดำรงสมณเพศเป็นพระมหานิกายอยู่ตลอดเวลา กิจที่หลวงปู่ฯ โปรดปราน คือการได้ธุดงค์ไปยังที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อโปรดสานุศิษย์และเผยแพร่พุทธศาสนา จนที่สุดเมื่อคณะศิษย์ และหลวงพ่อได้เดินทางมาถึงชายดงป่าพง ตรงกับวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 พอเช้าวันที่ 9 มีนาคม 2497 จึงได้พากันเข้าสำรวจ สถานที่พักในดงป่านี้ และได้ช่วยกันดำเนินการสร้างวัดป่าขึ้น ซึ่งเรารู้จักในปัจจุบัน คือ “วัดหนองป่าพง” จนภายหลังมีสานุศิษย์มากมายทั้งไทยและเทศ ขยายไปหลายสาขา ดังที่กล่าวไปข้างต้น และท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนี้มาโดยตลอด และถึงแก่มรณภาพเมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2535 เวลา 05.20 น. ที่ วัดหนองป่าพง อย่างสงบท่ามกลางธรรมสังเวชของศิษยานุศิษย์จากทุกสารทิศทั่วโลก ด้วยความที่วัดหนองป่าพง มีพระสงฆ์ต่างชาติ เป็นจำนวนมาก เคยมีคนไปถามหลวงปู่ว่า พูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แล้วจะสอนชาวต่างชาติได้อย่างไร หลวงปู่ท่านเมตตาตอบว่า น้ำร้อน ที่ฝรั่งว่ากันว่า ฮ๊อตวอเตอร์ เอามือลงไปสัมผัส ทุกชาติก็รู้ว่าร้อน ไม่เห็นต้องรู้ภาษาก่อนเลย นัยว่า ธรรมะ เรียนรู้ได้จากการสัมผัส การปฏิบัติ มิใช่การอ่านเขียนเท่านั้น ปัจจุบัน แม้หลวงปู่ชาฯ จะละสังขารไปแล้วกว่าสามสิบปีกว่าปี คำสอนและวัตรปฏิบัติอันดีงาม ก็ยังอยู่ในความทรงจำสานุศิษย์ทั้งหลาย เห็นได้จากการที่กลับไปสัมผัส วัดหนองป่าพง อีกครั้ง เมื่อเร็ว ๆ นี้ ความสงบ และ ความเคร่งครัด แบบพระป่า ยังคงมีให้เห็นและสัมผัสได้ มีโอกาสได้แวะเข้าไปชม พิพิธภัณฑ์พระโพธิญาณเถร (ชา สุภัทโท) โดยจะจัดแสดงเครื่องอัฐบริขารและหุ่นขี้ผึ้งของหลวงปู่ชา สุภัทโท มีเครื่องทองเหลือง พระพุทธรูป และ เจดีย์ศรีโพธิญาณ เป็นสถานที่พระราชทานเพลิงศพของหลวงปู่ชาอีกด้วย จุดเด่นที่ประทับใจ คือ ป้าย คำสอนต่าง ๆ ที่ติดไว้ตามต้นไม้ อ่านแล้วทำให้เราได้นึกทบทวนชีวิตเราไปด้วยขณะเดินชมไปเงียบ ๆ นอกจากนี้ ได้มีโอกาสเข้าไปที่ อุโบสถด้านใน ทางเข้าเขตสังฆาวาส ที่พระสงฆ์ใช้ทำวัด ทำให้พอนึกเห็นภาพบรรยากาศเมื่อสมัยก่อน ที่หลวงปู่ ลงมาเทศนาธรรม รวม ๆ แล้วประทับใจมาก ครับ ผมกราบเรียนเชิญ ท่านที่มีโอกาสไป อุบลราชธานี อยากให้ไปสัมผัส วัดหนองป่าพง สักครั้งครับ #ชีวิตนี้ต้องมี1000วัด #เที่ยวไทยไปกับส้มโจ #เที่ยววัด #วัด #ไหว้พระ #ทำบุญ #travel #thailand #amazingthailand #thaitour #temple #history #architecture #culture #thaitemple #ท่องเที่ยว #CultureTrip
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 287 มุมมอง 0 รีวิว
  • คำสอนทั้งหมดขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าหรือพระพุทธเจ้า เรียกว่า "พระธรรม" หรือ "ธรรมะ" ซึ่งเป็นหลักคำสอนที่ครอบคลุมทั้งด้านปรัชญา จริยธรรม และการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้นจากความทุกข์ โดยสรุปหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธองค์มีดังนี้:

    ### 1. **อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ)**
    - **ทุกข์ (ความทุกข์)**: ชีวิตเต็มไปด้วยความทุกข์ เช่น ความเกิด ความแก่ ความเจ็บป่วย ความตาย การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก การไม่ได้สิ่งที่ปรารถนา
    - **สมุทัย (เหตุแห่งทุกข์)**: สาเหตุของความทุกข์คือตัณหา (ความอยาก) ทั้งทางกายและใจ
    - **นิโรธ (การดับทุกข์)**: การดับทุกข์สามารถทำได้ด้วยการดับตัณหา
    - **มรรค (ทางดับทุกข์)**: ทางปฏิบัติเพื่อดับทุกข์คือมรรคมีองค์ 8

    ### 2. **มรรคมีองค์ 8 (ทางสายกลาง)**
    - **สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)**: เข้าใจในอริยสัจ 4
    - **สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)**: คิดในทางที่ไม่ก่อให้เกิดความทุกข์
    - **สัมมาวาจา (เจรจาชอบ)**: พูดคำจริง ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ
    - **สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ)**: ไม่ทำบาปทั้งปวง
    - **สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ)**: เลี้ยงชีพในทางที่ถูกต้อง
    - **สัมมาวายามะ (พยายามชอบ)**: พยายามละความชั่วและทำความดี
    - **สัมมาสติ (ระลึกชอบ)**: มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ
    - **สัมมาสมาธิ (ตั้งใจมั่นชอบ)**: ฝึกสมาธิให้จิตสงบ

    ### 3. **ไตรลักษณ์ (ลักษณะของสรรพสิ่ง)**
    - **อนิจจัง (ไม่เที่ยง)**: ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
    - **ทุกขัง (เป็นทุกข์)**: ทุกสิ่งไม่สามารถให้ความสุขที่แท้จริงได้
    - **อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน)**: ไม่มีสิ่งใดที่เป็นตัวตนที่แท้จริง

    ### 4. **กรรมและวิบาก**
    - การกระทำทุกอย่าง (กรรม) ย่อมส่งผล (วิบาก) ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า
    - การทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว

    ### 5. **ขันธ์ 5 (องค์ประกอบของชีวิต)**
    - **รูป (ร่างกาย)**
    - **เวทนา (ความรู้สึก)**
    - **สัญญา (ความจำ)**
    - **สังขาร (ความคิด)**
    - **วิญญาณ (จิตสำนึก)**

    ### 6. **หลักการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้น**
    - **ศีล (ความประพฤติดี)**: การรักษาศีล 5 หรือศีล 8
    - **สมาธิ (จิตตั้งมั่น)**: การฝึกสมาธิเพื่อให้จิตสงบ
    - **ปัญญา (ความรู้แจ้ง)**: การเข้าใจความจริงของชีวิต

    ### 7. **พรหมวิหาร 4 (ธรรมะสำหรับการอยู่ร่วมกัน)**
    - **เมตตา (ความรัก)**
    - **กรุณา (ความสงสาร)**
    - **มุทิตา (ความยินดีในความสำเร็จของผู้อื่น)**
    - **อุเบกขา (ความวางใจเป็นกลาง)**

    ### 8. **โอวาทปาติโมกข์ (คำสอนสำคัญ)**
    - **ไม่ทำบาปทั้งปวง**
    - **ทำความดีให้ถึงพร้อม**
    - **ทำจิตใจให้ผ่องใส**

    พระพุทธเจ้าทรงสอนให้มนุษย์เข้าใจธรรมชาติของชีวิตและฝึกฝนตนเองเพื่อบรรลุถึงความหลุดพ้นจากวัฏสงสาร (การเวียนว่ายตายเกิด) โดยเน้นการปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่เชื่อสิ่งใดโดยปราศจากเหตุผล (กาลามสูตร) และให้ใช้ปัญญาในการพิจารณาไตร่ตรองทุกสิ่ง
    คำสอนทั้งหมดขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าหรือพระพุทธเจ้า เรียกว่า "พระธรรม" หรือ "ธรรมะ" ซึ่งเป็นหลักคำสอนที่ครอบคลุมทั้งด้านปรัชญา จริยธรรม และการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้นจากความทุกข์ โดยสรุปหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธองค์มีดังนี้: ### 1. **อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ)** - **ทุกข์ (ความทุกข์)**: ชีวิตเต็มไปด้วยความทุกข์ เช่น ความเกิด ความแก่ ความเจ็บป่วย ความตาย การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก การไม่ได้สิ่งที่ปรารถนา - **สมุทัย (เหตุแห่งทุกข์)**: สาเหตุของความทุกข์คือตัณหา (ความอยาก) ทั้งทางกายและใจ - **นิโรธ (การดับทุกข์)**: การดับทุกข์สามารถทำได้ด้วยการดับตัณหา - **มรรค (ทางดับทุกข์)**: ทางปฏิบัติเพื่อดับทุกข์คือมรรคมีองค์ 8 ### 2. **มรรคมีองค์ 8 (ทางสายกลาง)** - **สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)**: เข้าใจในอริยสัจ 4 - **สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ)**: คิดในทางที่ไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ - **สัมมาวาจา (เจรจาชอบ)**: พูดคำจริง ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ - **สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ)**: ไม่ทำบาปทั้งปวง - **สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ)**: เลี้ยงชีพในทางที่ถูกต้อง - **สัมมาวายามะ (พยายามชอบ)**: พยายามละความชั่วและทำความดี - **สัมมาสติ (ระลึกชอบ)**: มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ - **สัมมาสมาธิ (ตั้งใจมั่นชอบ)**: ฝึกสมาธิให้จิตสงบ ### 3. **ไตรลักษณ์ (ลักษณะของสรรพสิ่ง)** - **อนิจจัง (ไม่เที่ยง)**: ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ - **ทุกขัง (เป็นทุกข์)**: ทุกสิ่งไม่สามารถให้ความสุขที่แท้จริงได้ - **อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน)**: ไม่มีสิ่งใดที่เป็นตัวตนที่แท้จริง ### 4. **กรรมและวิบาก** - การกระทำทุกอย่าง (กรรม) ย่อมส่งผล (วิบาก) ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า - การทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ### 5. **ขันธ์ 5 (องค์ประกอบของชีวิต)** - **รูป (ร่างกาย)** - **เวทนา (ความรู้สึก)** - **สัญญา (ความจำ)** - **สังขาร (ความคิด)** - **วิญญาณ (จิตสำนึก)** ### 6. **หลักการปฏิบัติเพื่อการหลุดพ้น** - **ศีล (ความประพฤติดี)**: การรักษาศีล 5 หรือศีล 8 - **สมาธิ (จิตตั้งมั่น)**: การฝึกสมาธิเพื่อให้จิตสงบ - **ปัญญา (ความรู้แจ้ง)**: การเข้าใจความจริงของชีวิต ### 7. **พรหมวิหาร 4 (ธรรมะสำหรับการอยู่ร่วมกัน)** - **เมตตา (ความรัก)** - **กรุณา (ความสงสาร)** - **มุทิตา (ความยินดีในความสำเร็จของผู้อื่น)** - **อุเบกขา (ความวางใจเป็นกลาง)** ### 8. **โอวาทปาติโมกข์ (คำสอนสำคัญ)** - **ไม่ทำบาปทั้งปวง** - **ทำความดีให้ถึงพร้อม** - **ทำจิตใจให้ผ่องใส** พระพุทธเจ้าทรงสอนให้มนุษย์เข้าใจธรรมชาติของชีวิตและฝึกฝนตนเองเพื่อบรรลุถึงความหลุดพ้นจากวัฏสงสาร (การเวียนว่ายตายเกิด) โดยเน้นการปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่เชื่อสิ่งใดโดยปราศจากเหตุผล (กาลามสูตร) และให้ใช้ปัญญาในการพิจารณาไตร่ตรองทุกสิ่ง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 128 มุมมอง 0 รีวิว
  • เจ้าชายสิทธัตถะ หรือที่รู้จักในนาม **พระโคตมพุทธเจ้า** เป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์และศาสนาพุทธ พระองค์ประสูติเมื่อประมาณ 563 ปีก่อนคริสตกาล (หรือตามบางแหล่งข้อมูลคือ 480 ปีก่อนคริสตกาล) ที่ลุมพินีวัน ปัจจุบันอยู่ในประเทศเนปาล

    ### ชีวิตในวัยเยาว์
    เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งแคว้นสักกะ และพระนางสิริมหามายา พระองค์ทรงเติบโตในพระราชวังที่เต็มไปด้วยความสุขสบายและความหรูหรา ทรงได้รับการศึกษาอย่างดีและมีชีวิตที่สุขสบาย

    ### การออกบวช
    เมื่อพระองค์ทรงพบกับความทุกข์ในชีวิต เช่น การเจ็บป่วย ความแก่ และความตาย พระองค์ตัดสินพระทัยออกบวชเพื่อค้นหาความจริงของชีวิตและหนทางในการหลุดพ้นจากความทุกข์ พระองค์ทรงออกจากพระราชวังเมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา และทรงเริ่มการแสวงหาความรู้และความจริง

    ### การตรัสรู้
    หลังจากแสวงหาความรู้และปฏิบัติธรรมอย่างหนัก พระองค์ทรงตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าใต้ต้นโพธิ์ที่ตำบลพุทธคยา เมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา พระองค์ทรงค้นพบ **อริยสัจ 4** (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ) และ **มรรคมีองค์ 8** (หนทางสู่การหลุดพ้นจากความทุกข์)

    ### การเผยแผ่ธรรมะ
    หลังจากตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงใช้เวลากว่า 45 ปี ในการเผยแผ่ธรรมะและสอนผู้คนให้เข้าใจถึงความจริงของชีวิตและหนทางสู่การหลุดพ้น พระองค์ทรงมีสาวกจำนวนมาก ทั้งพระภิกษุและฆราวาส

    ### การปรินิพพาน
    พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานเมื่อพระชนมายุ 80 พรรษา ที่เมืองกุสินารา ปัจจุบันอยู่ในประเทศอินเดีย การปรินิพพานของพระองค์ถือเป็นการสิ้นสุดของวัฏสงสารและการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง

    ### มรดกทางจิตวิญญาณ
    พระพุทธเจ้าทรงทิ้งมรดกทางจิตวิญญาณอันยิ่งใหญ่ไว้ให้แก่มนุษยชาติ หลักธรรมคำสอนของพระองค์ยังคงมีอิทธิพลต่อผู้คนทั่วโลกจนถึงปัจจุบัน ทั้งในด้านการปฏิบัติธรรมและการดำเนินชีวิตอย่างมีสติและปัญญา

    หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า หรือหลักธรรมคำสอนของพระองค์ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้นะครับ!
    เจ้าชายสิทธัตถะ หรือที่รู้จักในนาม **พระโคตมพุทธเจ้า** เป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์และศาสนาพุทธ พระองค์ประสูติเมื่อประมาณ 563 ปีก่อนคริสตกาล (หรือตามบางแหล่งข้อมูลคือ 480 ปีก่อนคริสตกาล) ที่ลุมพินีวัน ปัจจุบันอยู่ในประเทศเนปาล ### ชีวิตในวัยเยาว์ เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งแคว้นสักกะ และพระนางสิริมหามายา พระองค์ทรงเติบโตในพระราชวังที่เต็มไปด้วยความสุขสบายและความหรูหรา ทรงได้รับการศึกษาอย่างดีและมีชีวิตที่สุขสบาย ### การออกบวช เมื่อพระองค์ทรงพบกับความทุกข์ในชีวิต เช่น การเจ็บป่วย ความแก่ และความตาย พระองค์ตัดสินพระทัยออกบวชเพื่อค้นหาความจริงของชีวิตและหนทางในการหลุดพ้นจากความทุกข์ พระองค์ทรงออกจากพระราชวังเมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา และทรงเริ่มการแสวงหาความรู้และความจริง ### การตรัสรู้ หลังจากแสวงหาความรู้และปฏิบัติธรรมอย่างหนัก พระองค์ทรงตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าใต้ต้นโพธิ์ที่ตำบลพุทธคยา เมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา พระองค์ทรงค้นพบ **อริยสัจ 4** (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ) และ **มรรคมีองค์ 8** (หนทางสู่การหลุดพ้นจากความทุกข์) ### การเผยแผ่ธรรมะ หลังจากตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงใช้เวลากว่า 45 ปี ในการเผยแผ่ธรรมะและสอนผู้คนให้เข้าใจถึงความจริงของชีวิตและหนทางสู่การหลุดพ้น พระองค์ทรงมีสาวกจำนวนมาก ทั้งพระภิกษุและฆราวาส ### การปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานเมื่อพระชนมายุ 80 พรรษา ที่เมืองกุสินารา ปัจจุบันอยู่ในประเทศอินเดีย การปรินิพพานของพระองค์ถือเป็นการสิ้นสุดของวัฏสงสารและการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง ### มรดกทางจิตวิญญาณ พระพุทธเจ้าทรงทิ้งมรดกทางจิตวิญญาณอันยิ่งใหญ่ไว้ให้แก่มนุษยชาติ หลักธรรมคำสอนของพระองค์ยังคงมีอิทธิพลต่อผู้คนทั่วโลกจนถึงปัจจุบัน ทั้งในด้านการปฏิบัติธรรมและการดำเนินชีวิตอย่างมีสติและปัญญา หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า หรือหลักธรรมคำสอนของพระองค์ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้นะครับ!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 124 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญหลวงพ่อในกุฏิ วัดกุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์
    เหรียญหลวงพ่อในกุฏิ รุ่นเสาร์ 5 วัดกุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ ปี2543 // เกจิอาจารย์ผู้วิเศษของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ //พระสถาพสวย ผิวหิ้ง หายากกครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเมตตามหานิยม โชคลาภ แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด หรือแม้แต่ทางด้านมหาเสน่ห์ ผู้ใหญ่เจ้านาย. รักใคร่เอ็นดู เสริมชีวิตให้มีความสุข >>

    ** หลวงพ่อในกุฏิ สันนิษฐานว่าน่าจะปกครองวัดกุยบุรี อยู่ในราว พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๑๓ หลวงพ่อในกุฏิท่านเป็นผู้เคร่งครัดในด้านวิปัสสนา กัมมัฎฐาน จนทำให้ชาวบ้านเชื่อว่าหลวงพ่อในกุฏิเป็นผู้มีวาจาสิทธ์ และมีวิชาอาคมแกร่งกล้า ศักดิ์สิทธิ์ มีอิทธิฤทธิ์ ใครขออะไรกับท่านมักไม่ผิดหวัง และท่านเป็นผู้มีเมตตาจิต ได้ช่วยเหลืออนุเคราะห์ และสงเคราะห์กับคนทุกเพศ ทุกวัย เป็นที่พึ่งอาศัยของคนทั้งหลาย ที่ทุกข์กาย ทุกข์ใจ ทุกชนชั้นอยู่ตลอดเวลา ตลอดจนถึงได้สั่งสอนให้ประชาชนยึดมั่นในคำสอนของพระพุทธศาสนา ทำให้ท่านเป็นที่เคารพเลื่อมใสศรัทธาของประชาชน

    หลังจากหลวงพ่อในกุฏิได้มรณภาพไป ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันสร้างรูปเหมือนของท่าน และบรรจุอัฐิของท่านไว้ภายใน ให้ชาวบ้านได้ระลึกถึง และสักการบูชา การได้มาทำบุญ กราบไว้หลวงพ่อในกุฏิ ที่วัดกุยบุรีสักครั้งหนึ่ง จึงเป็นเหมือนสิริมงคลของชีวิต ของพุทธศาสนิกชน >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131

    เหรียญหลวงพ่อในกุฏิ วัดกุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ เหรียญหลวงพ่อในกุฏิ รุ่นเสาร์ 5 วัดกุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ ปี2543 // เกจิอาจารย์ผู้วิเศษของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ //พระสถาพสวย ผิวหิ้ง หายากกครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเมตตามหานิยม โชคลาภ แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด หรือแม้แต่ทางด้านมหาเสน่ห์ ผู้ใหญ่เจ้านาย. รักใคร่เอ็นดู เสริมชีวิตให้มีความสุข >> ** หลวงพ่อในกุฏิ สันนิษฐานว่าน่าจะปกครองวัดกุยบุรี อยู่ในราว พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๑๓ หลวงพ่อในกุฏิท่านเป็นผู้เคร่งครัดในด้านวิปัสสนา กัมมัฎฐาน จนทำให้ชาวบ้านเชื่อว่าหลวงพ่อในกุฏิเป็นผู้มีวาจาสิทธ์ และมีวิชาอาคมแกร่งกล้า ศักดิ์สิทธิ์ มีอิทธิฤทธิ์ ใครขออะไรกับท่านมักไม่ผิดหวัง และท่านเป็นผู้มีเมตตาจิต ได้ช่วยเหลืออนุเคราะห์ และสงเคราะห์กับคนทุกเพศ ทุกวัย เป็นที่พึ่งอาศัยของคนทั้งหลาย ที่ทุกข์กาย ทุกข์ใจ ทุกชนชั้นอยู่ตลอดเวลา ตลอดจนถึงได้สั่งสอนให้ประชาชนยึดมั่นในคำสอนของพระพุทธศาสนา ทำให้ท่านเป็นที่เคารพเลื่อมใสศรัทธาของประชาชน หลังจากหลวงพ่อในกุฏิได้มรณภาพไป ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันสร้างรูปเหมือนของท่าน และบรรจุอัฐิของท่านไว้ภายใน ให้ชาวบ้านได้ระลึกถึง และสักการบูชา การได้มาทำบุญ กราบไว้หลวงพ่อในกุฏิ ที่วัดกุยบุรีสักครั้งหนึ่ง จึงเป็นเหมือนสิริมงคลของชีวิต ของพุทธศาสนิกชน >> ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 131 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระพุทธเจ้าตรัสรู้เรื่องอะไร สอนอะไร ชาวพุทธที่มีศรัทธา จะฟังแต่คำสอนของพระองค์เท่านั้น สิ่งใดท่านไม่ได้บัญญัติ มิได้สอนไว้ ก็จะไม่ศึกษานำมาศึกษาเล่าเรียน

    พระตถาคตมุ่งสอนให้สาวกหลุดพ้นจากวงจรกรรม ให้หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด หรือไม่ต้องตายอีก..คำตอบมีอยู่ใน "อิทัปปัจจยตา&ปฏิจจสมุปบาท" ซึ่งชาวพุทธควรท่องให้จำขึ้นใจ จะได้ไคร่ครวญธรรมหรือมีธรรมวจนได้เข้าใจ เข้นถึงปัญญาวิมุติ&เจโตวิมุติ
    พระพุทธเจ้าตรัสรู้เรื่องอะไร สอนอะไร ชาวพุทธที่มีศรัทธา จะฟังแต่คำสอนของพระองค์เท่านั้น สิ่งใดท่านไม่ได้บัญญัติ มิได้สอนไว้ ก็จะไม่ศึกษานำมาศึกษาเล่าเรียน พระตถาคตมุ่งสอนให้สาวกหลุดพ้นจากวงจรกรรม ให้หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด หรือไม่ต้องตายอีก..คำตอบมีอยู่ใน "อิทัปปัจจยตา&ปฏิจจสมุปบาท" ซึ่งชาวพุทธควรท่องให้จำขึ้นใจ จะได้ไคร่ครวญธรรมหรือมีธรรมวจนได้เข้าใจ เข้นถึงปัญญาวิมุติ&เจโตวิมุติ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 48 มุมมอง 0 รีวิว
  • เทคโนโลยีกับพระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและน่าสนใจ ทั้งในด้านการเสริมสร้างการปฏิบัติธรรมและการท้าทายต่อหลักคำสอนพื้นฐาน ต่อไปนี้เป็นแนวคิดหลักที่เชื่อมโยงทั้งสองประเด็น:

    ### 1. **เทคโนโลยีสนับสนุนการปฏิบัติธรรม**
    - **แอปพลิเคชันสมาธิและธรรมะ**: แอปเช่น *Insight Timer* หรือ *Headspace* ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงการนั่งสมาธิแบบมีคำแนะนำ บทสวดมนต์ และคำสอนทางพุทธศาสนาได้ง่ายขึ้น
    - **การเรียนรู้ทางไกล**: พุทธศาสนิกชนสามารถฟังธรรมจากพระอาจารย์ทั่วโลกผ่าน YouTube, Podcasts หรือเว็บไซต์ เช่น [DharmaSeed](https://www.dharmaseed.org)
    - **วัดเสมือนจริง**: ในยุคโควิด-19 หลายวัดจัดกิจกรรมทางศาสนาออนไลน์ เช่น การถ่ายทอดสดการบวชพระ หรือการปฏิบัติธรรมร่วมกันผ่าน Zoom

    ### 2. **การเผยแผ่ธรรมะในยุคดิจิทัล**
    - **โซเชียลมีเดีย**: พระสงฆ์หลายรูปใช้ Facebook หรือ TikTok แบ่งปันคำสอนสั้นๆ ที่เข้าถึงคนรุ่นใหม่
    - **ปัญญาประดิษฐ์ (AI)**: มีการพัฒนา AI ที่สามารถตอบคำถามธรรมะเบื้องต้น หรือแปลพระสูตรโบราณได้ แต่ยังเป็นที่ถกเถียงเรื่องความลึกซึ้งทางจิตวิญญาณ

    ### 3. **ความท้าทายต่อหลักพุทธธรรม**
    - **การเสพติดเทคโนโลยี**: การใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปขัดกับหลัก "สติ" และ "ความพอดี" ในทางพุทธ
    - **โลกเสมือนกับความจริง**: การใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลอาจทำให้หลงลืมการอยู่กับปัจจุบัน (หลักอริยสัจ 4)
    - **จริยธรรมทางเทคโนโลยี**: การพัฒนา AI หรือชีวเทคโนโลยีตั้งคำถามเชิงพุทธเกี่ยวกับ "กรรม" และ "เจตนา"

    ### 4. **พุทธธรรมกับการออกแบบเทคโนโลยี**
    - **เทคโนโลยีเชิงเมตตา**: หลัก "กรุณา" และ "มุทิตา" อาจ inspire การออกแบบเทคโนโลยีที่ลดการแบ่งแยกหรือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส
    - **Digital Detox**: แนวคิด "ความไม่ยึดมั่น" ส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีสติ ไม่ตกเป็นทาสของอุปกรณ์

    ### 5. **กรณีศึกษา**
    - **หุ่นยนต์สอนธรรมะ**: ในญี่ปุ่น มีการทดลองใช้หุ่นยนต์ Pepper อ่านพระสูตร แต่หลายคนเห็นว่าขาด "จิตวิญญาณแห่งการสั่งสอน"
    - **Blockchain กับวัด**: บางวัดใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพื่อความโปร่งใสในการบริจาค

    ### 6. **ทางสายกลางในยุคดิจิทัล**
    พระพุทธศาสนาเน้น "มัชฌิมาปฏิปทา" การใช้เทคโนโลยีจึงควรอยู่บนพื้นฐาน:
    - **สติ**: รู้ตัวว่ากำลังใช้เทคโนโลยีเพื่ออะไร
    - **วัตถุประสงค์เชิงกุศล**: นำไปสู่การลดทุกข์ ไม่ใช่เพิ่มตัณหา
    - **ความสัมพันธ์มนุษย์**: ไม่ให้เทคโนโลยีทำลายการสื่อสารแบบเห็นหน้า

    ### สรุป
    เทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่องมือ ไม่ใช่จุดหมายสุดท้าย การใช้อย่างชาญฉลาดภายใต้กรอบศีลธรรมทางพุทธศาสนาจะช่วยให้มนุษย์พัฒนาจิตใจควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางวัตถุ โดยไม่หลงลืมแก่นแท้แห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ ☸️💻
    เทคโนโลยีกับพระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและน่าสนใจ ทั้งในด้านการเสริมสร้างการปฏิบัติธรรมและการท้าทายต่อหลักคำสอนพื้นฐาน ต่อไปนี้เป็นแนวคิดหลักที่เชื่อมโยงทั้งสองประเด็น: ### 1. **เทคโนโลยีสนับสนุนการปฏิบัติธรรม** - **แอปพลิเคชันสมาธิและธรรมะ**: แอปเช่น *Insight Timer* หรือ *Headspace* ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงการนั่งสมาธิแบบมีคำแนะนำ บทสวดมนต์ และคำสอนทางพุทธศาสนาได้ง่ายขึ้น - **การเรียนรู้ทางไกล**: พุทธศาสนิกชนสามารถฟังธรรมจากพระอาจารย์ทั่วโลกผ่าน YouTube, Podcasts หรือเว็บไซต์ เช่น [DharmaSeed](https://www.dharmaseed.org) - **วัดเสมือนจริง**: ในยุคโควิด-19 หลายวัดจัดกิจกรรมทางศาสนาออนไลน์ เช่น การถ่ายทอดสดการบวชพระ หรือการปฏิบัติธรรมร่วมกันผ่าน Zoom ### 2. **การเผยแผ่ธรรมะในยุคดิจิทัล** - **โซเชียลมีเดีย**: พระสงฆ์หลายรูปใช้ Facebook หรือ TikTok แบ่งปันคำสอนสั้นๆ ที่เข้าถึงคนรุ่นใหม่ - **ปัญญาประดิษฐ์ (AI)**: มีการพัฒนา AI ที่สามารถตอบคำถามธรรมะเบื้องต้น หรือแปลพระสูตรโบราณได้ แต่ยังเป็นที่ถกเถียงเรื่องความลึกซึ้งทางจิตวิญญาณ ### 3. **ความท้าทายต่อหลักพุทธธรรม** - **การเสพติดเทคโนโลยี**: การใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปขัดกับหลัก "สติ" และ "ความพอดี" ในทางพุทธ - **โลกเสมือนกับความจริง**: การใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลอาจทำให้หลงลืมการอยู่กับปัจจุบัน (หลักอริยสัจ 4) - **จริยธรรมทางเทคโนโลยี**: การพัฒนา AI หรือชีวเทคโนโลยีตั้งคำถามเชิงพุทธเกี่ยวกับ "กรรม" และ "เจตนา" ### 4. **พุทธธรรมกับการออกแบบเทคโนโลยี** - **เทคโนโลยีเชิงเมตตา**: หลัก "กรุณา" และ "มุทิตา" อาจ inspire การออกแบบเทคโนโลยีที่ลดการแบ่งแยกหรือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส - **Digital Detox**: แนวคิด "ความไม่ยึดมั่น" ส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีสติ ไม่ตกเป็นทาสของอุปกรณ์ ### 5. **กรณีศึกษา** - **หุ่นยนต์สอนธรรมะ**: ในญี่ปุ่น มีการทดลองใช้หุ่นยนต์ Pepper อ่านพระสูตร แต่หลายคนเห็นว่าขาด "จิตวิญญาณแห่งการสั่งสอน" - **Blockchain กับวัด**: บางวัดใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพื่อความโปร่งใสในการบริจาค ### 6. **ทางสายกลางในยุคดิจิทัล** พระพุทธศาสนาเน้น "มัชฌิมาปฏิปทา" การใช้เทคโนโลยีจึงควรอยู่บนพื้นฐาน: - **สติ**: รู้ตัวว่ากำลังใช้เทคโนโลยีเพื่ออะไร - **วัตถุประสงค์เชิงกุศล**: นำไปสู่การลดทุกข์ ไม่ใช่เพิ่มตัณหา - **ความสัมพันธ์มนุษย์**: ไม่ให้เทคโนโลยีทำลายการสื่อสารแบบเห็นหน้า ### สรุป เทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่องมือ ไม่ใช่จุดหมายสุดท้าย การใช้อย่างชาญฉลาดภายใต้กรอบศีลธรรมทางพุทธศาสนาจะช่วยให้มนุษย์พัฒนาจิตใจควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางวัตถุ โดยไม่หลงลืมแก่นแท้แห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ ☸️💻
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 196 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฟังเทศน์ฟังธรรมก็มีสุขใจ ร่มรื่นไปพระธรรมคำสอน ดี
    ฟังเทศน์ฟังธรรมก็มีสุขใจ ร่มรื่นไปพระธรรมคำสอน ดี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว
  • สนธิเล่าเรื่อง 12-2-68
    .
    สวัสดีวันมาฆบูชาวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์" แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้ โดย หลักคำสอนนี้เป็นหลักการและวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ หากสรุปเป็นใจความสำคัญ คือ "ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์" คุณสนธิ ก็มีเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งทางโลก และทางธรรม มาเล่าให้ฟัง เช่น เรื่องกรณีน้องแตงโมเสียชีวิต คนบนเรือโทรหาใครบ้างหลังเกิดเหตุ, เรื่อง "หมวดมานพ" ผู้ยิ่งใหญ๋ที่แม่สอด, ราคาทองคำ ฯลฯ
    .
    คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=-EtugbXUvyg
    .
    #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง
    สนธิเล่าเรื่อง 12-2-68 . สวัสดีวันมาฆบูชาวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์" แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้ โดย หลักคำสอนนี้เป็นหลักการและวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ หากสรุปเป็นใจความสำคัญ คือ "ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์" คุณสนธิ ก็มีเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งทางโลก และทางธรรม มาเล่าให้ฟัง เช่น เรื่องกรณีน้องแตงโมเสียชีวิต คนบนเรือโทรหาใครบ้างหลังเกิดเหตุ, เรื่อง "หมวดมานพ" ผู้ยิ่งใหญ๋ที่แม่สอด, ราคาทองคำ ฯลฯ . คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=-EtugbXUvyg . #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง
    Like
    Love
    4
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 241 มุมมอง 0 รีวิว
  • สนธิเล่าเรื่อง 12-2-68

    สวัสดีวันมาฆบูชาวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์" แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้ โดย หลักคำสอนนี้เป็นหลักการและวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ หากสรุปเป็นใจความสำคัญ คือ "ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์" คุณสนธิ ก็มีเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งทางโลก และทางธรรม
    https://www.youtube.com/watch?v=-EtugbXUvyg

    #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง
    สนธิเล่าเรื่อง 12-2-68 สวัสดีวันมาฆบูชาวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์" แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้ โดย หลักคำสอนนี้เป็นหลักการและวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ หากสรุปเป็นใจความสำคัญ คือ "ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์" คุณสนธิ ก็มีเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งทางโลก และทางธรรม https://www.youtube.com/watch?v=-EtugbXUvyg #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง
    Like
    Love
    Haha
    Wow
    Sad
    59
    4 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 3262 มุมมอง 1 รีวิว
  • สกุลถานไถ

    วันนี้มีเกร็ดเล็กๆ จากเรื่อง <จันทราอัสดง> มาฝาก สืบเนื่องจากความ ‘เอ๊ะ’ ของ Storyฯ เกี่ยวกับแซ่ ‘ถานไถ’ (澹台) ของพระเอกในเรื่อง เพราะ Storyฯ หูตาคับแคบไม่เคยผ่านตาผ่านหูแซ่นี้มาก่อน จึงไปทำการบ้านมา และพบว่าก็มีเรื่องราวให้อ่านเพลินได้เหมือนกัน

    แซ่ถานไถปรากฏเป็นลำดับที่ 421 ในบันทึก ‘หนึ่งร้อยแซ่’ (ป่ายเจียซิ่ง / 百家姓) ซึ่งจริงๆ รวมไว้ทั้งหมด 504 แซ่ มีมาแต่สมัยซ่งเหนือ เป็นหนึ่งในหนังสือเรียนของเด็กที่ Storyฯ เคยเล่าถึง (https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid0s5Bpm8cCd2bAxRL1yW3RDTbdyco8ee6z5Jifnvg5R5k9waJpeWmyfo13f7ysJnyEl)

    จีนมีศาสตร์แขนงหนึ่งที่เรียกว่า ‘ซิ่งซื่อเสวีย’ (姓氏学) ซึ่งเป็นการศึกษาเกี่ยวกับที่มาของชื่อสกุล โดยศึกษาผ่านเอกสารจารึกทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมโบราณ ชื่อสถานที่โบราณ ฯลฯ เป็นองค์ประกอบ ภาษาอังกฤษเรียกศาสตร์นี้ว่า Anthroponymy ซึ่งเคยมีคนแปลไว้ว่า ‘มานุษยวิทยา’ แต่ Storyฯ ก็ไม่แน่ใจว่าคำแปลนี้ถูกต้องหรือไม่ หนึ่งในบันทึกที่รวบรวมการศึกษาดังกล่าวคือ ‘ซิ่งซื่อข่าวเลวี่ย’ (姓氏考略 / บทวิเคราะห์ชื่อสกุล) ที่จัดทำในสมัยราชวงศ์ชิงของเฉินถิงเหว่ย โดยมีกล่าวถึงที่มาของแซ่ถานไถนี้ว่า มีมาแต่ยุคสมัยชุนชิว (ประมาณปี 770-403 ก่อนคริสตศักราช) ต้นตระกูลคือถานไถเมี่ยหมิง (澹台灭冥)

    เลยต้องมาคุยกันสักหน่อยเกี่ยวกับถานไถเมี่ยหมิง เขาเป็นหนึ่งใน 72 ศิษย์เอกของขงจื๊อ

    ไม่ปรากฏข้อมูลเกี่ยวกับบุพการีและสกุลเดิมของเขา ทราบแต่ว่าชื่อเมี่ยหมิง นามรองคือจื๋ออวี่ เกิดเมื่อประมาณปี 512 ก่อนคริสตศักราชที่แคว้นหลู่ ด้วยภูมิลำเนาใกล้กับเขาถานไถ (ปัจจุบันคือมณฑลซานตง) จึงใช้ถานไถนี้เป็นแซ่ของตัวเอง

    เมี่ยหมิงเดิมเป็นข้าราชการชั้นผู้น้อย อายุอ่อนกว่าขงจื๊อ 39 ปี ดังนั้นในสมัยที่เขากราบเรียนกับขงจื๊อนั้น เป็นช่วงบั้นปลายชีวิตของขงจื๊อ เขาเป็นคนตรงไม่เห็นแก่สมบัติลาภยศ ไม่ใช้ทางลัดใฝ่หาความสำเร็จ เป็นคนใฝ่รู้ขยันศึกษา และในใจมีประชาชนเป็นที่ตั้ง

    ด้วยอุปนิสัยใจคออย่างนี้ เขาควรเป็นศิษย์รักของขงจื๊อ แต่... เขาหน้าตาอัปลักษณ์มาก จนบางข้อมูลบอกว่าขงจื๊อไม่รับเขาเป็นศิษย์ เพราะมีอคติว่าหน้าตาอย่างนี้จะมีพรสวรรค์อะไรได้ เขาจึงต้องอาศัยการศึกษาอ่านตำราเอง บางข้อมูลบอกว่าขงจื๊อรับเขาเป็นศิษย์ แต่ไม่ค่อยดูดำดูดีเพราะไม่ปลื้มหน้าตาของเขา

    ข้อเท็จจริงจะเป็นอย่างไรก็แล้วแต่ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นคือ เมี่ยหมิงศึกษาตำราและคำสอนของขงจื๊อด้วยตนเองจนแตกฉานแล้วออกเดินทางลงใต้ไปยังแคว้นอู๋จนสุดท้ายปักหลักอยู่แถบพื้นที่เจียงซู รับศิษย์กว่าสามร้อยคน ถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่ปรัชญาของขงจื๊อ ตลอดชีวิตที่เหลือของเขานั้น เขายกย่องนับถือขงจื๊อเป็นอาจารย์ และเขาได้รับการยกย่องนับถือมากมาย ทั้งด้วยการวางตนที่ดีและความรู้ที่ลึกล้ำ ชื่อเสียงของเขาร่ำลือไปไกลจนถึงหูของขงจื๊อ ขงจื๊อก็คิดได้ถึงความอคติของตนที่เคยมี จนถึงกับปรารภขึ้นอย่างละอายใจว่า “ข้าพเจ้ามองคนที่ภายนอก จึงมองจื๋ออวี่ผิดไป”... และว่ากันว่า นี่เป็นที่มาของคติสอนใจว่า ‘อย่ามองคนที่ภายนอก’ (人不可貌相 / เหรินปู้เข่อเม่าเซี่ยง)

    นับได้ว่าเมี่ยหมิงเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ลัทธิหรู และต่อมาถูกยกย่องว่าเป็นหนึ่งใน 72 ศิษย์ของขงจื๊อที่สามารถศึกษาปรัชญาของขงจื๊อสำเร็จจนแตกฉาน

    ปัจจุบันยังมีคนใช้แซ่ถานไถนี้อยู่ และที่เพิ่มเติมคือได้มีการแตกสกุลออกมาเป็นแซ่ถาน และแซ่ไถด้วย

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    http://m.cyol.com/gb/articles/2023-04/03/content_mObpd4cVLq.html
    https://www.newton.com.tw/wiki/澹臺滅明/14241

    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    http://www.guoxue.com/rw/kongzi/kz04.htm
    http://www.kongjia.org/web/xdrw/20160924/1107.html
    https://so.gushiwen.cn/guwen/bookv_46653FD803893E4FD56C8A9082CD0AF3.aspx
    http://www.qulishi.com/baijiaxing/421.htm
    https://baijiaxing.bmcx.com/dantai__baijiaxing/

    #จันทราอัสดง #แซ่ถานไถ #ถานไถ #ถานไถเมี่ยหมิง #ขงจื๊อ #อย่ามองคนที่ภายนอก
    สกุลถานไถ วันนี้มีเกร็ดเล็กๆ จากเรื่อง <จันทราอัสดง> มาฝาก สืบเนื่องจากความ ‘เอ๊ะ’ ของ Storyฯ เกี่ยวกับแซ่ ‘ถานไถ’ (澹台) ของพระเอกในเรื่อง เพราะ Storyฯ หูตาคับแคบไม่เคยผ่านตาผ่านหูแซ่นี้มาก่อน จึงไปทำการบ้านมา และพบว่าก็มีเรื่องราวให้อ่านเพลินได้เหมือนกัน แซ่ถานไถปรากฏเป็นลำดับที่ 421 ในบันทึก ‘หนึ่งร้อยแซ่’ (ป่ายเจียซิ่ง / 百家姓) ซึ่งจริงๆ รวมไว้ทั้งหมด 504 แซ่ มีมาแต่สมัยซ่งเหนือ เป็นหนึ่งในหนังสือเรียนของเด็กที่ Storyฯ เคยเล่าถึง (https://www.facebook.com/StoryfromStory/posts/pfbid0s5Bpm8cCd2bAxRL1yW3RDTbdyco8ee6z5Jifnvg5R5k9waJpeWmyfo13f7ysJnyEl) จีนมีศาสตร์แขนงหนึ่งที่เรียกว่า ‘ซิ่งซื่อเสวีย’ (姓氏学) ซึ่งเป็นการศึกษาเกี่ยวกับที่มาของชื่อสกุล โดยศึกษาผ่านเอกสารจารึกทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมโบราณ ชื่อสถานที่โบราณ ฯลฯ เป็นองค์ประกอบ ภาษาอังกฤษเรียกศาสตร์นี้ว่า Anthroponymy ซึ่งเคยมีคนแปลไว้ว่า ‘มานุษยวิทยา’ แต่ Storyฯ ก็ไม่แน่ใจว่าคำแปลนี้ถูกต้องหรือไม่ หนึ่งในบันทึกที่รวบรวมการศึกษาดังกล่าวคือ ‘ซิ่งซื่อข่าวเลวี่ย’ (姓氏考略 / บทวิเคราะห์ชื่อสกุล) ที่จัดทำในสมัยราชวงศ์ชิงของเฉินถิงเหว่ย โดยมีกล่าวถึงที่มาของแซ่ถานไถนี้ว่า มีมาแต่ยุคสมัยชุนชิว (ประมาณปี 770-403 ก่อนคริสตศักราช) ต้นตระกูลคือถานไถเมี่ยหมิง (澹台灭冥) เลยต้องมาคุยกันสักหน่อยเกี่ยวกับถานไถเมี่ยหมิง เขาเป็นหนึ่งใน 72 ศิษย์เอกของขงจื๊อ ไม่ปรากฏข้อมูลเกี่ยวกับบุพการีและสกุลเดิมของเขา ทราบแต่ว่าชื่อเมี่ยหมิง นามรองคือจื๋ออวี่ เกิดเมื่อประมาณปี 512 ก่อนคริสตศักราชที่แคว้นหลู่ ด้วยภูมิลำเนาใกล้กับเขาถานไถ (ปัจจุบันคือมณฑลซานตง) จึงใช้ถานไถนี้เป็นแซ่ของตัวเอง เมี่ยหมิงเดิมเป็นข้าราชการชั้นผู้น้อย อายุอ่อนกว่าขงจื๊อ 39 ปี ดังนั้นในสมัยที่เขากราบเรียนกับขงจื๊อนั้น เป็นช่วงบั้นปลายชีวิตของขงจื๊อ เขาเป็นคนตรงไม่เห็นแก่สมบัติลาภยศ ไม่ใช้ทางลัดใฝ่หาความสำเร็จ เป็นคนใฝ่รู้ขยันศึกษา และในใจมีประชาชนเป็นที่ตั้ง ด้วยอุปนิสัยใจคออย่างนี้ เขาควรเป็นศิษย์รักของขงจื๊อ แต่... เขาหน้าตาอัปลักษณ์มาก จนบางข้อมูลบอกว่าขงจื๊อไม่รับเขาเป็นศิษย์ เพราะมีอคติว่าหน้าตาอย่างนี้จะมีพรสวรรค์อะไรได้ เขาจึงต้องอาศัยการศึกษาอ่านตำราเอง บางข้อมูลบอกว่าขงจื๊อรับเขาเป็นศิษย์ แต่ไม่ค่อยดูดำดูดีเพราะไม่ปลื้มหน้าตาของเขา ข้อเท็จจริงจะเป็นอย่างไรก็แล้วแต่ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นคือ เมี่ยหมิงศึกษาตำราและคำสอนของขงจื๊อด้วยตนเองจนแตกฉานแล้วออกเดินทางลงใต้ไปยังแคว้นอู๋จนสุดท้ายปักหลักอยู่แถบพื้นที่เจียงซู รับศิษย์กว่าสามร้อยคน ถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่ปรัชญาของขงจื๊อ ตลอดชีวิตที่เหลือของเขานั้น เขายกย่องนับถือขงจื๊อเป็นอาจารย์ และเขาได้รับการยกย่องนับถือมากมาย ทั้งด้วยการวางตนที่ดีและความรู้ที่ลึกล้ำ ชื่อเสียงของเขาร่ำลือไปไกลจนถึงหูของขงจื๊อ ขงจื๊อก็คิดได้ถึงความอคติของตนที่เคยมี จนถึงกับปรารภขึ้นอย่างละอายใจว่า “ข้าพเจ้ามองคนที่ภายนอก จึงมองจื๋ออวี่ผิดไป”... และว่ากันว่า นี่เป็นที่มาของคติสอนใจว่า ‘อย่ามองคนที่ภายนอก’ (人不可貌相 / เหรินปู้เข่อเม่าเซี่ยง) นับได้ว่าเมี่ยหมิงเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ลัทธิหรู และต่อมาถูกยกย่องว่าเป็นหนึ่งใน 72 ศิษย์ของขงจื๊อที่สามารถศึกษาปรัชญาของขงจื๊อสำเร็จจนแตกฉาน ปัจจุบันยังมีคนใช้แซ่ถานไถนี้อยู่ และที่เพิ่มเติมคือได้มีการแตกสกุลออกมาเป็นแซ่ถาน และแซ่ไถด้วย (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: http://m.cyol.com/gb/articles/2023-04/03/content_mObpd4cVLq.html https://www.newton.com.tw/wiki/澹臺滅明/14241 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: http://www.guoxue.com/rw/kongzi/kz04.htm http://www.kongjia.org/web/xdrw/20160924/1107.html https://so.gushiwen.cn/guwen/bookv_46653FD803893E4FD56C8A9082CD0AF3.aspx http://www.qulishi.com/baijiaxing/421.htm https://baijiaxing.bmcx.com/dantai__baijiaxing/ #จันทราอัสดง #แซ่ถานไถ #ถานไถ #ถานไถเมี่ยหมิง #ขงจื๊อ #อย่ามองคนที่ภายนอก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 330 มุมมอง 0 รีวิว
  • สี่อาชีพในสังคมจีนโบราณ

    ไม่ทราบว่าเพื่อนเพจที่ได้ดูเรื่อง <ยอดบุรุษพลิกคดี> จะยังจำได้ไหมว่าในตอนต้นเรื่องนั้น จางผิงผู้เป็นบัณฑิตตกยากออกมาขายของกินยามค่ำคืนกับเพื่อนซี้ เขาโดนคนที่เดินผ่านมาถากถางว่าเป็นบัณฑิตแต่กลับไม่รักดีมาขายของโดยสาธยายว่า “ในบรรดาบัณฑิต เกษตรกร ช่าง และพ่อค้านั้น พ่อค้าคือต่ำต้อยสุด” (士农工商 商为最贱)

    ‘บัณฑิต เกษตรกร ช่าง และพ่อค้า’ หรือที่เรียกว่า ‘ซื่อหนงกงซัง” (士农工商) นั้น เป็นสี่หมวดอาชีพในสังคมจีนโบราณโดยในประโยคที่ยกมาจากในละครข้างต้นได้จัดเรียงลำดับชนชั้นจากความสูงส่งไปจนต่ำต้อย

    แล้วในสมัยจีนโบราณอาชีพพ่อค้าต่ำต้อยที่สุดจริงหรือ?

    จริงๆ แล้วไม่ใช่ค่ะ แรกเริ่มเลยในสมัยราชวงศ์ซาง (1600-1050 ก่อนคริสตกาล) การเป็นพ่อค้าเป็นอาชีพที่คนชอบ ทำให้มีเกษตรกรน้อย ต่อมาในราชวงศ์ถัดๆ ไปจึงถูกมองว่านั่นทำให้รากฐานสังคมไม่แข็งแรงและเป็นหนึ่งในสาเหตุของการล่มสลายของราชวงศ์ซาง ในสมัยราชวงศ์โจวจึงมีการสนับสนุนให้ประชาชนทำการเกษตรมากกว่าการค้า

    ในยุคสมัยชุนชิว (770-476 ปีก่อนคริสตกาล) สี่หมวดอาชีพ ‘ซื่อหนงกงซัง’ นี้ถูกรวมกันเป็น ‘ซื่อหมิน’ (四民 แปลตรงตัวว่า ‘สี่ประชาชน’ หมายถึงสี่อาชีพ) ในบันทึกสั้นโบราณว่าด้วยปรัชญาการปกครองที่มีชื่อเรียกว่า ‘เสี่ยวควง’ ของก่วนจ้ง อัครมหาเสนาบดีของแคว้นฉีในยุคสมัยชุนชิว ซึ่งต่อมาถูกผนวกรวมเข้าไปไว้ในหมวดที่สามของประมวลสาส์นสี่พระคลัง (四库全书 / ซื่อคู่เฉวียนซู) ที่จัดทำขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิง

    ก่วนจ้งเองมาจากครอบครัวพ่อค้า เขามองอาชีพพ่อค้าเป็นอาชีพเท่าเทียมกับอาชีพอื่น ข้อความเดิมของเขาระบุไว้ว่า ‘ซื่อหนงกงซังสี่ประชาชนนั้น ล้วนเป็นศิลารากฐานแห่งประเทศชาติ’ โดยมีนัยว่าสังคมจะขาดหนึ่งกลุ่มอาชีพใดไม่ได้ และก่วนจ้งไม่ได้มีการจัดแบ่งชนชั้นต่ำสูง แต่ให้แง่คิดสำหรับระบบการปกครองว่าควรจัดสรรที่ดินทำกินและเขตพำนักให้เหมาะสมกับกลุ่มอาชีพ เพราะแต่ละกลุ่มจะมีความสันทัดและมีรูปแบบชีวิตของตน และหากคนในวิชาชีพเดียวกันได้อยู่ด้วยกันจะสืบทอดและพัฒนาความรู้ในวิชาชีพนั้นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า อีกทั้งยังเอื้อต่อการปกครอง (หมายเหตุ ‘ซื่อ’ ไม่เพียงหมายถึงบัณฑิต หากแต่หมายรวมถึงผู้มีการศึกษาสามารถดูแลปกครองผู้อื่นได้ และหมายรวมถึงผู้ที่เข้ารับราชการด้วย)

    จะเห็นได้ว่า แรกเริ่มเลย ‘สี่ประชาชน’ นั้นเป็นการวางระบบการปกครองตามหมวดหมู่วิชาชีพโดยมองทุกกลุ่มชนเท่าเทียมกัน แต่ผลที่ตามมาก็คือ เกษตรกรเกิดในครอบครัวเกษตรกร คนมีการศึกษาเกิดในตระกูลคนมีการศึกษาด้วยกัน พอผ่านไปหลายชั่วคน ประชาชนจะถูกจำกัดให้อยู่ภายในกลุ่มหมวดอาชีพของตนโดยปริยาย

    ต่อมาในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่น ปรัชญาขงจื๊อได้รับการยกย่องและยอมรับอย่างแพร่หลายและมีอิทธิพลอย่างมากต่อการปกครองบ้านเมือง ผลที่ตามมาคือการยกระดับกลุ่มคนมีการศึกษาขึ้นสูงเหนือกลุ่มอื่น และเริ่มมีการมองอย่างดูแคลนว่าพ่อค้าเอาผลประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้งมากกว่าความเจริญของส่วนรวม นี่ไม่ใช่คำสอนของขงจื๊อ แต่เป็นวิวัฒนาการทางความคิดของสังคมที่ไปในทิศทางนั้น

    ในตำราประวัติศาสตร์สมัยถังต้น (旧唐书¬) มีการบันทึกไว้ว่า ‘ผู้ที่รับเบี้ยหวัดราชการ ห้ามแก่งแย่งผลประโยชน์จากผู้ที่ต่ำกว่า ช่างและพ่อค้าหลากประเภท ห้ามมิให้เข้ารับราชการ’ (食禄之家,不得与下人争利。工商杂类,不得预于士伍。) เป็นที่สังเกตได้ว่ามีการใช้คำ ‘ผู้ที่ต่ำกว่า’ และ ‘หลากประเภท’ ซึ่งสะท้อนถึงการแบ่งแยกต่ำและสูง (หมายเหตุ ‘หลากประเภท’ ในที่นี้เป็นคำเรียกที่สะท้อนความหมายถึงชนชั้นต่ำ) และในสมัยถังไท่จงมีกฎว่า ห้ามไม่ให้ขุนนางขั้นที่ห้าขึ้นไปทำการค้า วัตถุประสงค์ของกฎเกณฑ์ต่างๆ เหล่านี้เป็นการจัดระเบียบสังคมและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ แต่อย่างไรก็ดี มันเสริมสร้างการแบ่งแยกทางชนชั้นด้วยอาชีพ สุดท้ายกลายเป็นการตอกย้ำความเชื่อของสังคมที่ว่า ‘ในบรรดาบัณฑิต เกษตรกร ช่าง และพ่อค้านั้น พ่อค้าคือต่ำต้อยสุด’

    แต่ความคิดนี้เริ่มเปลี่ยนไปในช่วงกลางและปลายของสมัยถัง และได้มีการผ่อนคลายกฏเกณฑ์บางอย่าง การเปลี่ยนแปลงนี้ค่อยๆ มีอย่างต่อเนื่อง ต่อมาในสมัยซ่ง การค้าเจริญรุ่งเรือง เกิดการคบค้าสมาคมกันอย่างกว้างขวางข้ามกลุ่มอาชีพ และพ่อค้ากลับกลายมาเป็นหนึ่งในรากฐานสำคัญของสังคม โดยมีบทบาทเข้ามาช่วยเหลือจุนเจือสังคมมากขึ้น จะเห็นได้ว่า บทบาทและสถานะทางสังคมของอาชีพต่างๆ แปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย

    Storyฯ ไม่ได้ค้นคว้าอย่างลึกซึ้งในรายละเอียดของวิวัฒนาการต่างๆ ทางด้านการปกครองและเศรษฐกิจเพราะเป็นสองศาสตร์วิชาที่ทั้งกว้างทั้งลึก วันนี้จึงเพียงคุยโดยคร่าวให้เพื่อนเพจฟังในแง่ที่ว่า สี่หมวดหมู่อาชีพนี้ เป็นการจัดหมวดหมู่เพื่อการปกครองมาแต่โบราณกาลและเดิมไม่ได้เป็นการตั้งใจแบ่งชนชั้นวรรณะตามอาชีพ เพียงแต่เมื่อสังคมเปลี่ยนไป มุมมองก็เปลี่ยนไปจนเกิดเป็นการแบ่งแยกให้ชนชั้นที่มีการศึกษาเป็นชั้นสูงและให้พ่อค้าเป็นชนชั้นล่างสุด แต่นี่ไม่ใช่สถานะที่ถาวร หากแต่เปลี่ยนไปตามยุคสมัยเช่นกัน

    ละครเรื่อง <ยอดบุรุษพลิกคดี> เป็นเรื่องราวในรัชสมัยสมมุติ แต่ดูจากการแต่งกายและเครื่องแบบข้าราชการแล้วเป็นการอิงตามสมัยถัง จึงไม่แปลกที่เราจะเห็นวลีที่ว่า ‘ในบรรดาบัณฑิต เกษตรกร ช่าง และพ่อค้านั้น พ่อค้าคือต่ำต้อยสุด’ นี้ในละครเรื่องนี้

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.themoviedb.org/tv/128712/images/posters?language=zh-HK
    https://zhuanlan.zhihu.com/p/531009133
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://ctext.org/guanzi/xiao-kuang/zhs
    http://www.qulishi.com/article/201909/363094.html
    https://www.163.com/dy/article/FLEULDGE0543KAMS.html
    https://www.sxlib.org.cn/dfzy/sczl/wwgjp/qb/201808/t20180806_929973.html
    http://www.rmlt.com.cn/2018/1116/533321.shtml
    http://www.jjckb.cn/2016-12/05/c_135881236.htm#
    http://economy.guoxue.com/?p=888

    #ยอดบุรุษพลิกคดี #สี่อาชีพจีนโบราณ #ซี่อหนงกงซัง #ซื่อหมิน #สี่ประชาชน
    สี่อาชีพในสังคมจีนโบราณ ไม่ทราบว่าเพื่อนเพจที่ได้ดูเรื่อง <ยอดบุรุษพลิกคดี> จะยังจำได้ไหมว่าในตอนต้นเรื่องนั้น จางผิงผู้เป็นบัณฑิตตกยากออกมาขายของกินยามค่ำคืนกับเพื่อนซี้ เขาโดนคนที่เดินผ่านมาถากถางว่าเป็นบัณฑิตแต่กลับไม่รักดีมาขายของโดยสาธยายว่า “ในบรรดาบัณฑิต เกษตรกร ช่าง และพ่อค้านั้น พ่อค้าคือต่ำต้อยสุด” (士农工商 商为最贱) ‘บัณฑิต เกษตรกร ช่าง และพ่อค้า’ หรือที่เรียกว่า ‘ซื่อหนงกงซัง” (士农工商) นั้น เป็นสี่หมวดอาชีพในสังคมจีนโบราณโดยในประโยคที่ยกมาจากในละครข้างต้นได้จัดเรียงลำดับชนชั้นจากความสูงส่งไปจนต่ำต้อย แล้วในสมัยจีนโบราณอาชีพพ่อค้าต่ำต้อยที่สุดจริงหรือ? จริงๆ แล้วไม่ใช่ค่ะ แรกเริ่มเลยในสมัยราชวงศ์ซาง (1600-1050 ก่อนคริสตกาล) การเป็นพ่อค้าเป็นอาชีพที่คนชอบ ทำให้มีเกษตรกรน้อย ต่อมาในราชวงศ์ถัดๆ ไปจึงถูกมองว่านั่นทำให้รากฐานสังคมไม่แข็งแรงและเป็นหนึ่งในสาเหตุของการล่มสลายของราชวงศ์ซาง ในสมัยราชวงศ์โจวจึงมีการสนับสนุนให้ประชาชนทำการเกษตรมากกว่าการค้า ในยุคสมัยชุนชิว (770-476 ปีก่อนคริสตกาล) สี่หมวดอาชีพ ‘ซื่อหนงกงซัง’ นี้ถูกรวมกันเป็น ‘ซื่อหมิน’ (四民 แปลตรงตัวว่า ‘สี่ประชาชน’ หมายถึงสี่อาชีพ) ในบันทึกสั้นโบราณว่าด้วยปรัชญาการปกครองที่มีชื่อเรียกว่า ‘เสี่ยวควง’ ของก่วนจ้ง อัครมหาเสนาบดีของแคว้นฉีในยุคสมัยชุนชิว ซึ่งต่อมาถูกผนวกรวมเข้าไปไว้ในหมวดที่สามของประมวลสาส์นสี่พระคลัง (四库全书 / ซื่อคู่เฉวียนซู) ที่จัดทำขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิง ก่วนจ้งเองมาจากครอบครัวพ่อค้า เขามองอาชีพพ่อค้าเป็นอาชีพเท่าเทียมกับอาชีพอื่น ข้อความเดิมของเขาระบุไว้ว่า ‘ซื่อหนงกงซังสี่ประชาชนนั้น ล้วนเป็นศิลารากฐานแห่งประเทศชาติ’ โดยมีนัยว่าสังคมจะขาดหนึ่งกลุ่มอาชีพใดไม่ได้ และก่วนจ้งไม่ได้มีการจัดแบ่งชนชั้นต่ำสูง แต่ให้แง่คิดสำหรับระบบการปกครองว่าควรจัดสรรที่ดินทำกินและเขตพำนักให้เหมาะสมกับกลุ่มอาชีพ เพราะแต่ละกลุ่มจะมีความสันทัดและมีรูปแบบชีวิตของตน และหากคนในวิชาชีพเดียวกันได้อยู่ด้วยกันจะสืบทอดและพัฒนาความรู้ในวิชาชีพนั้นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า อีกทั้งยังเอื้อต่อการปกครอง (หมายเหตุ ‘ซื่อ’ ไม่เพียงหมายถึงบัณฑิต หากแต่หมายรวมถึงผู้มีการศึกษาสามารถดูแลปกครองผู้อื่นได้ และหมายรวมถึงผู้ที่เข้ารับราชการด้วย) จะเห็นได้ว่า แรกเริ่มเลย ‘สี่ประชาชน’ นั้นเป็นการวางระบบการปกครองตามหมวดหมู่วิชาชีพโดยมองทุกกลุ่มชนเท่าเทียมกัน แต่ผลที่ตามมาก็คือ เกษตรกรเกิดในครอบครัวเกษตรกร คนมีการศึกษาเกิดในตระกูลคนมีการศึกษาด้วยกัน พอผ่านไปหลายชั่วคน ประชาชนจะถูกจำกัดให้อยู่ภายในกลุ่มหมวดอาชีพของตนโดยปริยาย ต่อมาในยุคสมัยราชวงศ์ฮั่น ปรัชญาขงจื๊อได้รับการยกย่องและยอมรับอย่างแพร่หลายและมีอิทธิพลอย่างมากต่อการปกครองบ้านเมือง ผลที่ตามมาคือการยกระดับกลุ่มคนมีการศึกษาขึ้นสูงเหนือกลุ่มอื่น และเริ่มมีการมองอย่างดูแคลนว่าพ่อค้าเอาผลประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้งมากกว่าความเจริญของส่วนรวม นี่ไม่ใช่คำสอนของขงจื๊อ แต่เป็นวิวัฒนาการทางความคิดของสังคมที่ไปในทิศทางนั้น ในตำราประวัติศาสตร์สมัยถังต้น (旧唐书¬) มีการบันทึกไว้ว่า ‘ผู้ที่รับเบี้ยหวัดราชการ ห้ามแก่งแย่งผลประโยชน์จากผู้ที่ต่ำกว่า ช่างและพ่อค้าหลากประเภท ห้ามมิให้เข้ารับราชการ’ (食禄之家,不得与下人争利。工商杂类,不得预于士伍。) เป็นที่สังเกตได้ว่ามีการใช้คำ ‘ผู้ที่ต่ำกว่า’ และ ‘หลากประเภท’ ซึ่งสะท้อนถึงการแบ่งแยกต่ำและสูง (หมายเหตุ ‘หลากประเภท’ ในที่นี้เป็นคำเรียกที่สะท้อนความหมายถึงชนชั้นต่ำ) และในสมัยถังไท่จงมีกฎว่า ห้ามไม่ให้ขุนนางขั้นที่ห้าขึ้นไปทำการค้า วัตถุประสงค์ของกฎเกณฑ์ต่างๆ เหล่านี้เป็นการจัดระเบียบสังคมและป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ แต่อย่างไรก็ดี มันเสริมสร้างการแบ่งแยกทางชนชั้นด้วยอาชีพ สุดท้ายกลายเป็นการตอกย้ำความเชื่อของสังคมที่ว่า ‘ในบรรดาบัณฑิต เกษตรกร ช่าง และพ่อค้านั้น พ่อค้าคือต่ำต้อยสุด’ แต่ความคิดนี้เริ่มเปลี่ยนไปในช่วงกลางและปลายของสมัยถัง และได้มีการผ่อนคลายกฏเกณฑ์บางอย่าง การเปลี่ยนแปลงนี้ค่อยๆ มีอย่างต่อเนื่อง ต่อมาในสมัยซ่ง การค้าเจริญรุ่งเรือง เกิดการคบค้าสมาคมกันอย่างกว้างขวางข้ามกลุ่มอาชีพ และพ่อค้ากลับกลายมาเป็นหนึ่งในรากฐานสำคัญของสังคม โดยมีบทบาทเข้ามาช่วยเหลือจุนเจือสังคมมากขึ้น จะเห็นได้ว่า บทบาทและสถานะทางสังคมของอาชีพต่างๆ แปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย Storyฯ ไม่ได้ค้นคว้าอย่างลึกซึ้งในรายละเอียดของวิวัฒนาการต่างๆ ทางด้านการปกครองและเศรษฐกิจเพราะเป็นสองศาสตร์วิชาที่ทั้งกว้างทั้งลึก วันนี้จึงเพียงคุยโดยคร่าวให้เพื่อนเพจฟังในแง่ที่ว่า สี่หมวดหมู่อาชีพนี้ เป็นการจัดหมวดหมู่เพื่อการปกครองมาแต่โบราณกาลและเดิมไม่ได้เป็นการตั้งใจแบ่งชนชั้นวรรณะตามอาชีพ เพียงแต่เมื่อสังคมเปลี่ยนไป มุมมองก็เปลี่ยนไปจนเกิดเป็นการแบ่งแยกให้ชนชั้นที่มีการศึกษาเป็นชั้นสูงและให้พ่อค้าเป็นชนชั้นล่างสุด แต่นี่ไม่ใช่สถานะที่ถาวร หากแต่เปลี่ยนไปตามยุคสมัยเช่นกัน ละครเรื่อง <ยอดบุรุษพลิกคดี> เป็นเรื่องราวในรัชสมัยสมมุติ แต่ดูจากการแต่งกายและเครื่องแบบข้าราชการแล้วเป็นการอิงตามสมัยถัง จึงไม่แปลกที่เราจะเห็นวลีที่ว่า ‘ในบรรดาบัณฑิต เกษตรกร ช่าง และพ่อค้านั้น พ่อค้าคือต่ำต้อยสุด’ นี้ในละครเรื่องนี้ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.themoviedb.org/tv/128712/images/posters?language=zh-HK https://zhuanlan.zhihu.com/p/531009133 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://ctext.org/guanzi/xiao-kuang/zhs http://www.qulishi.com/article/201909/363094.html https://www.163.com/dy/article/FLEULDGE0543KAMS.html https://www.sxlib.org.cn/dfzy/sczl/wwgjp/qb/201808/t20180806_929973.html http://www.rmlt.com.cn/2018/1116/533321.shtml http://www.jjckb.cn/2016-12/05/c_135881236.htm# http://economy.guoxue.com/?p=888 #ยอดบุรุษพลิกคดี #สี่อาชีพจีนโบราณ #ซี่อหนงกงซัง #ซื่อหมิน #สี่ประชาชน
    WWW.THEMOVIEDB.ORG
    神探同盟
    故事改編自內地網絡作家大風颳過撰寫嘅原創長篇網絡小說《張公案》.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 365 มุมมอง 0 รีวิว
  • พุทธศาสนากับไพ่ทาโรต์ดูจะเป็นอะไรที่ไม่น่าไปด้วยกันได้ ถ้าเป็นคริสต์ศาสนาก็ยังพอมีจุดที่นำไปเชื่อมโยงกับไพ่ได้อยู่ แต่ไพ่ชุดที่จะกล่าวถึงในคราวนี้เป็นอีกหนึ่งหลักฐานว่า ไม่มีอะไรที่ศักดิ์สิทธิ์เกินไปสำหรับไพ่ทาโรต์

    'Siddhartha Tarot' เป็นไพ่ทาโรต์ในสังกัด Lo Scarabeo ตีพิมพ์เมื่อปี 2022 ผลิตและวางจำหน่ายแบบไพ่แมสตามร้านหนังสือชั้นนำ พอเป็นไพ่แมสของ สนพ. นี้จะมีสเปกเหมือน ๆ กันหมด คือพิมพ์ด้วยกระดาษอาร์ตหนาประมาณ 280 gsm (ซึ่งถือว่าค่อนข้างบางแล้วเมื่อเทียบกับไพ่ของผู้ผลิตไทยหลายรายเดี๋ยวนี้) เคลือบมันทั้งหน้าและหลัง บรรจุในกล่องกระดาษแบบฝาเปิดด้านบน (Tuck box) และมีคู่มือกระดาษเล่มเล็กแบบเย็บมุงหลังคาแถมมาให้ด้วย คราวนี้ขอเอาสเปกขึ้นก่อน เพราะไพ่ชุดนี้มีอะไรมัน ๆ ให้พิมพ์ถึงอีกมาก

    ดูจากชื่อไพ่กับหน้ากล่องแล้วก็น่าจะเข้าใจไม่ยากว่าเป็นไพ่ธีมพุทธ "Siddhartha" คือ สิทธารถะ ซึ่งเป็นการออกเสียงแบบสันสกฤตของชื่อ "สิทธัตถะ" หรือพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าที่ไทยเรารู้จัก แต่ไพ่ชุดนี้เป็นธีมพุทธแบบนิกายมหายาน (โดยเน้นไปที่ฝั่งทิเบต) ซึ่งมีความเชื่อและหลักธรรมคำสอนแตกต่างไปจากนิกายหินยานหรือเถรวาทแบบของไทยเรา ต้องบอกไว้แบบนี้ก่อน เพราะเดี๋ยวจะมีใครเห็นรูปพระปาง "ยับยุม" บนหน้าไพ่ Lovers แล้วจะอกแตกหรือไม่ก็เส้นเลือดในสมองแตกเอา โปรดจำไว้ว่า พระพุทธเจ้าและพระพุทธศาสนาไม่ได้เป็นกรรมสิทธิ์ในการนับถือและตีความโดยชาวไทยพุทธเท่านั้น เข้าใจนะครับ ถ้าเข้าใจตรงนี้ได้ คุณก็จะยอมรับและสนุกกับไพ่ชุดนี้ได้

    สำรับไพ่ชุดนี้มี 78 ใบตามโครงสร้างของทาโรต์มาตรฐาน ภาพหน้าไพ่วาดในสไตล์กึ่งอาร์ตนูโวกึ่งการ์ตูนสมจริงแบบคอมิกฝรั่ง บนหน้าไพ่แต่ละใบเป็นรูปพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์ตามคติมหายาน ตลอดจนบุคคลสำคัญ (เช่น ดาไลลามะ ในไพ่ 10 เหรียญ) และสถานที่สำคัญทางศาสนา (เช่น สถูป ในไพ่ 10 ไม้เท้า) ส่วนไพ่ Ace แต่ละตระกูลจะเป็นท่ามุทรา 4 ท่า ซึ่งเชื่อมโยงกับพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ ตรงนี้เดี๋ยวจะขยายความต่อไป

    ผมรู้ครับว่าคนไทยบางส่วนเข็ดขยาดกับการอ่านหนังสือ มิพักต้องพูดถึงหนังสือในภาษาต่างประเทศ แต่ถ้าอยากเข้าถึงและใช้งานไพ่ชุดนี้ได้อย่างเต็มที่ หากว่าคุณเป็นคนไทยพุทธที่ไม่ได้คุ้นเคยอะไรกับระบบความเชื่อแบบพุทธมหายานแล้ว คู่มือเล่มเล็ก ๆ ที่แถมมาในกล่องไพ่ชุดนี้จะเป็นตัวช่วยที่ดีที่สุด และถ้าคุณสนใจหรือกำลังอยากศึกษา Mythology ของพุทธมหายาน คู่มือไพ่ชุดนี้ก็จะเป็นจุดเริ่มต้นอันประเสริฐ เพราะคนที่ออกแบบไพ่ชุดนี้ขึ้นมาน่าจะศึกษาคติมหายานมาลึกซึ้งไม่น้อย และยังนำมาดัดแปลงเป็นโครงสร้างไพ่ทาโรต์ได้น่าสนใจมาก ๆ

    ตามที่คู่มือบอกมา ไพ่ชุดนี้ออกแบบโดยมีโครงสร้างหลักคือ "พระธยานิพุทธะ" หรือพระพุทธเจ้า 5 องค์ ซึ่งเป็นแก่นความเชื่อของพุทธมหายาน และผู้สร้างไพ่ก็นำแต่ละพระองค์ไปเชื่อมโยงกับ Suits หรือไพ่ทั้ง 5 กลุ่มในสารบบทาโรต์ ได้แก่

    - ไพ่ชุดหลัก (Major Arcana) : พระไวโรจนพุทธเจ้า (Vairochana) ธาตุอากาศ สีขาว มีสัญลักษณ์คือ ธรรมจักร

    - ไพ่ถ้วย (Cups) : พระอมิตาภพุทธเจ้า (Amithaba) ธาตุไฟ สีแดง มีสัญลักษณ์คือ ดอกบัว (ปทมะ) คนไทยพุทธน่าจะคุ้นเคยกับภาพหน้าไพ่กลุ่มนี้มากที่สุด เพราะแสดงถึงฉากเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติของพระศากยมุณีพุทธเจ้า (เจ้าชายสิทธัตถะ) ไพ่ Ace เป็นรูปธยานมุทรา

    - ไพ่เหรียญ (Pentacles) : พระรัตนสัมภวพุทธเจ้า (Ratnasambhava) ธาตุดิน สีเหลือง มีสัญลักษณ์คือ รัตนมณี หรือหินมีค่า ไพ่ Ace เป็นรูปวรทมุทรา

    - ไพ่ไม้เท้า (Wands) : พระอักโษภยพุทธเจ้า (Aksobhaya) ธาตุน้ำ สีน้ำเงิน มีสัญลักษณ์คือ วัชระ ไพ่ Ace เป็นรูปภูมิผัสมุทรา

    - ไพ่ดาบ (Swords) : พระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า (Amoghasiddhi) ธาตุลม สีเขียว มีสัญลักษณ์คือ วัชระแฝด (กรรมะ) ไพ่ Ace เป็นรูปอภยมุทรา

    ในไพ่ชุดรองทั้ง 4 กลุ่ม พระพุทธเจ้าที่เป็นองค์ประจำกลุ่มจะอยู่ในไพ่ King ส่วนในไพ่ชุดหลัก พระไวโรจนพุทธเจ้าที่เป็นองค์ประจำกลุ่มอยู่ในไพ่ The Fool พร้อมกับทรงทำมือเป็นท่าธรรมจักรมุทรา และพระศากยมุณีหรือพระพุทธเจ้าของไทยเราจะอยู่ในไพ่ The World

    ถ้าคุณได้อ่านบรรทัดเกี่ยวกับไพ่แต่ละกลุ่มข้างบน จะเห็นว่าไพ่ถ้วยกับไม้เท้าไม่ได้เป็นธาตุน้ำกับไฟตามที่ยึดถือกันในขนบทาโรต์มาตรฐาน แต่เป็นการยึดตามคติพุทธมหายานแทน ไม่ใช่แค่นั้น ความหมายไพ่แต่ละใบ ตามที่อธิบายไว้ในคู่มือ ก็มีการตีความแตกต่างไปจากทาโรต์มาตรฐานด้วย ดังนั้นการใช้งานไพ่ชุดนี้จึงเป็นเรื่องท้าทายเอามาก ๆ สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับความเชื่อแบบมหายาน ทางที่ดีคือยึดเอาจากในคู่มือเป็นหลักเถอะครับ ถ้ามีอะไรนอกเหนือจากนั้นค่อยนำความหมายไพ่แบบมาตรฐานโปะ ๆ เข้าไป

    ส่วนตัวผมมองว่า การจะใช้ไพ่ชุดนี้ให้เต็มประสิทธิภาพ (ถ้ามีใครอยากใช้จริง ๆ อะนะ) ก็ต้องทำไม่ต่างจากเวลาชาวไทยพุทธเราเจอรูปพระปาง "ยับ-ยุม" หรือความเชื่อเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าที่แตกต่างไปจากที่เราเรียนกันมาในวิชาพระพุทธศาสนา นั่นคือ "วางอคติลง และ เปิดใจยอมรับ" พึงระลึกไว้ครับว่า พุทธศาสนามีอายุมากว่า 2,500 ปี ผ่านวิวัฒนาการจนแตกสาแหรกแขนงความเชื่อไปเยอะ และจะไม่หยุดเปลี่ยนแปลงตราบใดที่ยังมีมนุษย์อยู่ ดังนั้น ย้ำอีกครั้งว่า พุทธศาสนาไม่ใช่กรรมสิทธิ์ในการตีความและนับถือโดยชาวพุทธไทยแต่เพียงกลุ่มเดียว

    ปัจจุบัน ไพ่ Siddhartha Tarot ยังคงมีขายในร้าน Asia Books และคิโนะคูนิยะของบ้านเราครับ
    พุทธศาสนากับไพ่ทาโรต์ดูจะเป็นอะไรที่ไม่น่าไปด้วยกันได้ ถ้าเป็นคริสต์ศาสนาก็ยังพอมีจุดที่นำไปเชื่อมโยงกับไพ่ได้อยู่ แต่ไพ่ชุดที่จะกล่าวถึงในคราวนี้เป็นอีกหนึ่งหลักฐานว่า ไม่มีอะไรที่ศักดิ์สิทธิ์เกินไปสำหรับไพ่ทาโรต์ 'Siddhartha Tarot' เป็นไพ่ทาโรต์ในสังกัด Lo Scarabeo ตีพิมพ์เมื่อปี 2022 ผลิตและวางจำหน่ายแบบไพ่แมสตามร้านหนังสือชั้นนำ พอเป็นไพ่แมสของ สนพ. นี้จะมีสเปกเหมือน ๆ กันหมด คือพิมพ์ด้วยกระดาษอาร์ตหนาประมาณ 280 gsm (ซึ่งถือว่าค่อนข้างบางแล้วเมื่อเทียบกับไพ่ของผู้ผลิตไทยหลายรายเดี๋ยวนี้) เคลือบมันทั้งหน้าและหลัง บรรจุในกล่องกระดาษแบบฝาเปิดด้านบน (Tuck box) และมีคู่มือกระดาษเล่มเล็กแบบเย็บมุงหลังคาแถมมาให้ด้วย คราวนี้ขอเอาสเปกขึ้นก่อน เพราะไพ่ชุดนี้มีอะไรมัน ๆ ให้พิมพ์ถึงอีกมาก ดูจากชื่อไพ่กับหน้ากล่องแล้วก็น่าจะเข้าใจไม่ยากว่าเป็นไพ่ธีมพุทธ "Siddhartha" คือ สิทธารถะ ซึ่งเป็นการออกเสียงแบบสันสกฤตของชื่อ "สิทธัตถะ" หรือพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าที่ไทยเรารู้จัก แต่ไพ่ชุดนี้เป็นธีมพุทธแบบนิกายมหายาน (โดยเน้นไปที่ฝั่งทิเบต) ซึ่งมีความเชื่อและหลักธรรมคำสอนแตกต่างไปจากนิกายหินยานหรือเถรวาทแบบของไทยเรา ต้องบอกไว้แบบนี้ก่อน เพราะเดี๋ยวจะมีใครเห็นรูปพระปาง "ยับยุม" บนหน้าไพ่ Lovers แล้วจะอกแตกหรือไม่ก็เส้นเลือดในสมองแตกเอา โปรดจำไว้ว่า พระพุทธเจ้าและพระพุทธศาสนาไม่ได้เป็นกรรมสิทธิ์ในการนับถือและตีความโดยชาวไทยพุทธเท่านั้น เข้าใจนะครับ ถ้าเข้าใจตรงนี้ได้ คุณก็จะยอมรับและสนุกกับไพ่ชุดนี้ได้ สำรับไพ่ชุดนี้มี 78 ใบตามโครงสร้างของทาโรต์มาตรฐาน ภาพหน้าไพ่วาดในสไตล์กึ่งอาร์ตนูโวกึ่งการ์ตูนสมจริงแบบคอมิกฝรั่ง บนหน้าไพ่แต่ละใบเป็นรูปพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์ตามคติมหายาน ตลอดจนบุคคลสำคัญ (เช่น ดาไลลามะ ในไพ่ 10 เหรียญ) และสถานที่สำคัญทางศาสนา (เช่น สถูป ในไพ่ 10 ไม้เท้า) ส่วนไพ่ Ace แต่ละตระกูลจะเป็นท่ามุทรา 4 ท่า ซึ่งเชื่อมโยงกับพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ ตรงนี้เดี๋ยวจะขยายความต่อไป ผมรู้ครับว่าคนไทยบางส่วนเข็ดขยาดกับการอ่านหนังสือ มิพักต้องพูดถึงหนังสือในภาษาต่างประเทศ แต่ถ้าอยากเข้าถึงและใช้งานไพ่ชุดนี้ได้อย่างเต็มที่ หากว่าคุณเป็นคนไทยพุทธที่ไม่ได้คุ้นเคยอะไรกับระบบความเชื่อแบบพุทธมหายานแล้ว คู่มือเล่มเล็ก ๆ ที่แถมมาในกล่องไพ่ชุดนี้จะเป็นตัวช่วยที่ดีที่สุด และถ้าคุณสนใจหรือกำลังอยากศึกษา Mythology ของพุทธมหายาน คู่มือไพ่ชุดนี้ก็จะเป็นจุดเริ่มต้นอันประเสริฐ เพราะคนที่ออกแบบไพ่ชุดนี้ขึ้นมาน่าจะศึกษาคติมหายานมาลึกซึ้งไม่น้อย และยังนำมาดัดแปลงเป็นโครงสร้างไพ่ทาโรต์ได้น่าสนใจมาก ๆ ตามที่คู่มือบอกมา ไพ่ชุดนี้ออกแบบโดยมีโครงสร้างหลักคือ "พระธยานิพุทธะ" หรือพระพุทธเจ้า 5 องค์ ซึ่งเป็นแก่นความเชื่อของพุทธมหายาน และผู้สร้างไพ่ก็นำแต่ละพระองค์ไปเชื่อมโยงกับ Suits หรือไพ่ทั้ง 5 กลุ่มในสารบบทาโรต์ ได้แก่ - ไพ่ชุดหลัก (Major Arcana) : พระไวโรจนพุทธเจ้า (Vairochana) ธาตุอากาศ สีขาว มีสัญลักษณ์คือ ธรรมจักร - ไพ่ถ้วย (Cups) : พระอมิตาภพุทธเจ้า (Amithaba) ธาตุไฟ สีแดง มีสัญลักษณ์คือ ดอกบัว (ปทมะ) คนไทยพุทธน่าจะคุ้นเคยกับภาพหน้าไพ่กลุ่มนี้มากที่สุด เพราะแสดงถึงฉากเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติของพระศากยมุณีพุทธเจ้า (เจ้าชายสิทธัตถะ) ไพ่ Ace เป็นรูปธยานมุทรา - ไพ่เหรียญ (Pentacles) : พระรัตนสัมภวพุทธเจ้า (Ratnasambhava) ธาตุดิน สีเหลือง มีสัญลักษณ์คือ รัตนมณี หรือหินมีค่า ไพ่ Ace เป็นรูปวรทมุทรา - ไพ่ไม้เท้า (Wands) : พระอักโษภยพุทธเจ้า (Aksobhaya) ธาตุน้ำ สีน้ำเงิน มีสัญลักษณ์คือ วัชระ ไพ่ Ace เป็นรูปภูมิผัสมุทรา - ไพ่ดาบ (Swords) : พระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า (Amoghasiddhi) ธาตุลม สีเขียว มีสัญลักษณ์คือ วัชระแฝด (กรรมะ) ไพ่ Ace เป็นรูปอภยมุทรา ในไพ่ชุดรองทั้ง 4 กลุ่ม พระพุทธเจ้าที่เป็นองค์ประจำกลุ่มจะอยู่ในไพ่ King ส่วนในไพ่ชุดหลัก พระไวโรจนพุทธเจ้าที่เป็นองค์ประจำกลุ่มอยู่ในไพ่ The Fool พร้อมกับทรงทำมือเป็นท่าธรรมจักรมุทรา และพระศากยมุณีหรือพระพุทธเจ้าของไทยเราจะอยู่ในไพ่ The World ถ้าคุณได้อ่านบรรทัดเกี่ยวกับไพ่แต่ละกลุ่มข้างบน จะเห็นว่าไพ่ถ้วยกับไม้เท้าไม่ได้เป็นธาตุน้ำกับไฟตามที่ยึดถือกันในขนบทาโรต์มาตรฐาน แต่เป็นการยึดตามคติพุทธมหายานแทน ไม่ใช่แค่นั้น ความหมายไพ่แต่ละใบ ตามที่อธิบายไว้ในคู่มือ ก็มีการตีความแตกต่างไปจากทาโรต์มาตรฐานด้วย ดังนั้นการใช้งานไพ่ชุดนี้จึงเป็นเรื่องท้าทายเอามาก ๆ สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับความเชื่อแบบมหายาน ทางที่ดีคือยึดเอาจากในคู่มือเป็นหลักเถอะครับ ถ้ามีอะไรนอกเหนือจากนั้นค่อยนำความหมายไพ่แบบมาตรฐานโปะ ๆ เข้าไป ส่วนตัวผมมองว่า การจะใช้ไพ่ชุดนี้ให้เต็มประสิทธิภาพ (ถ้ามีใครอยากใช้จริง ๆ อะนะ) ก็ต้องทำไม่ต่างจากเวลาชาวไทยพุทธเราเจอรูปพระปาง "ยับ-ยุม" หรือความเชื่อเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าที่แตกต่างไปจากที่เราเรียนกันมาในวิชาพระพุทธศาสนา นั่นคือ "วางอคติลง และ เปิดใจยอมรับ" พึงระลึกไว้ครับว่า พุทธศาสนามีอายุมากว่า 2,500 ปี ผ่านวิวัฒนาการจนแตกสาแหรกแขนงความเชื่อไปเยอะ และจะไม่หยุดเปลี่ยนแปลงตราบใดที่ยังมีมนุษย์อยู่ ดังนั้น ย้ำอีกครั้งว่า พุทธศาสนาไม่ใช่กรรมสิทธิ์ในการตีความและนับถือโดยชาวพุทธไทยแต่เพียงกลุ่มเดียว ปัจจุบัน ไพ่ Siddhartha Tarot ยังคงมีขายในร้าน Asia Books และคิโนะคูนิยะของบ้านเราครับ
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 281 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไอ้หนูกระโถนรั่ว เธอนี่มันสมงสมองไปหมดแล้ว

    หาว่าที่ฉันจะฟ้องเธอนี่คือปกป้องสันดานตัวเอง แล้วที่เธอใส่ร้ายใส่ความฉันนี่เธอปกป้องสันดานใคร ว่างๆ เข้าไปถามพ่อเฒ่าโล้นนะ ที่ไล่ฟ้องชาวบ้านเป็นสิบๆ คดี ปกป้องสันดานใคร

    ฉันเคยให้อภัยไม่ฟ้องเธอไปครั้งแล้ว จำได้ไหม ที่เธอใส่ร้ายฉันว่ารับงานมาล้มคำสอน คราวนี้เห็นแก่ที่เธอช่วยด่าพ่อเฒ่าโล้นให้ ฉันจะใส่กระโถนให้เธออีกสักครั้ง

    แต่ไอ้หนู สมงสมองเธอไปหมดแล้ว ด่าคนจนสมองเสื่อม พูดอะไรคำหน้าคำหลังไม่ตรงกันรู้ตัวไหม

    กร่างแค่หน้าไมค์ พอเวลาโดนเขาเอาเรื่องเธอบอกมาคุยกันก่อน บอกสิเธอผิดอะไร สอนเธอสิ แต่พอเขาบอกเขาสอน เธอด่าเขาสาระแน 🤔

    เธอบอกถ้าเธอสอนผิด สอนแก้เธอได้ แต่พอเขาสอนแก้ เธอด่าเขา อวดภูมิ ยึดถือเอาความถูกต้องไม่ยึดถือสัจจะความจริง ห๊า...😵 ต่อมความจำพิการแล้วไอ้หนู 😷😴

    เธอด่าชาวบ้านเขาได้ พอเขาด่ากลับ เธอบอกอิจฉา เฮ้ยย ไอ้หนู แล้วที่เธอด่าหมอดูนี่เธออิจฉาเขาไหม เธอเที่ยวยัดเยียดข้อหาให้หมอดูทั้งโลกเป็นมิจฉาชีพเป็นมิจฉาทิฏฐิ คือเธอดังเพราะด่าหมอดู จำใส่หัวโล้นกระโถนบานเธอไว้ให้ดี😎🤠

    ไอ้หนู กระโถนน่ะ มีไว้ทำไม ตักน้ำใส่เข้า จะได้เห็นเงาตนเอง

    สกิลการด่าของเธอบอกตรงๆ กระจอก ด่าคำหยาบมันก็ไปได้ไม่กี่คำหรอก อย่างมากก็ไปได้แค่หยิบอวัยวะเพศขึ้นมาด่า เหมือนปากเธอนี่ อมอวัยวะเพศชายหญิงไว้เต็มปากพร้อมที่จะพ่นด่า 🍌 ไม่มีใครเขากลัวดอกไอ้หนูเอ้ยย ที่เขานิ่งกันเพราะเขาไม่อยากเอาพิมเสนมาแลกเกลือเน่า เหลืออดเหลือทนเมื่อไหร่ เขาก็เรียงแถวกันสั่งสอนเธอเองแหละ

    ไปฟังไอ้หนูมันนี่มันกำลังปกป้องสันดานของใคร 😅🤣

    https://vt.tiktok.com/ZS6EPxbKA/

    ด่าเขาอวัยวะเพศเน่า จนจรเข้ไม่กล้างับ คือไง ตอนที่อมไว้ในปากก่อนจะพ่นด่าได้กลิ่นแล้วงี้อ่อ คือตามดมอวัยวะเพศหมอดูงี้อ่อ

    https://vt.tiktok.com/ZS6ECXNfy/
    @ไฮไลท์
    ไอ้หนูกระโถนรั่ว เธอนี่มันสมงสมองไปหมดแล้ว หาว่าที่ฉันจะฟ้องเธอนี่คือปกป้องสันดานตัวเอง แล้วที่เธอใส่ร้ายใส่ความฉันนี่เธอปกป้องสันดานใคร ว่างๆ เข้าไปถามพ่อเฒ่าโล้นนะ ที่ไล่ฟ้องชาวบ้านเป็นสิบๆ คดี ปกป้องสันดานใคร ฉันเคยให้อภัยไม่ฟ้องเธอไปครั้งแล้ว จำได้ไหม ที่เธอใส่ร้ายฉันว่ารับงานมาล้มคำสอน คราวนี้เห็นแก่ที่เธอช่วยด่าพ่อเฒ่าโล้นให้ ฉันจะใส่กระโถนให้เธออีกสักครั้ง แต่ไอ้หนู สมงสมองเธอไปหมดแล้ว ด่าคนจนสมองเสื่อม พูดอะไรคำหน้าคำหลังไม่ตรงกันรู้ตัวไหม กร่างแค่หน้าไมค์ พอเวลาโดนเขาเอาเรื่องเธอบอกมาคุยกันก่อน บอกสิเธอผิดอะไร สอนเธอสิ แต่พอเขาบอกเขาสอน เธอด่าเขาสาระแน 🤔 เธอบอกถ้าเธอสอนผิด สอนแก้เธอได้ แต่พอเขาสอนแก้ เธอด่าเขา อวดภูมิ ยึดถือเอาความถูกต้องไม่ยึดถือสัจจะความจริง ห๊า...😵 ต่อมความจำพิการแล้วไอ้หนู 😷😴 เธอด่าชาวบ้านเขาได้ พอเขาด่ากลับ เธอบอกอิจฉา เฮ้ยย ไอ้หนู แล้วที่เธอด่าหมอดูนี่เธออิจฉาเขาไหม เธอเที่ยวยัดเยียดข้อหาให้หมอดูทั้งโลกเป็นมิจฉาชีพเป็นมิจฉาทิฏฐิ คือเธอดังเพราะด่าหมอดู จำใส่หัวโล้นกระโถนบานเธอไว้ให้ดี😎🤠 ไอ้หนู กระโถนน่ะ มีไว้ทำไม ตักน้ำใส่เข้า จะได้เห็นเงาตนเอง สกิลการด่าของเธอบอกตรงๆ กระจอก ด่าคำหยาบมันก็ไปได้ไม่กี่คำหรอก อย่างมากก็ไปได้แค่หยิบอวัยวะเพศขึ้นมาด่า เหมือนปากเธอนี่ อมอวัยวะเพศชายหญิงไว้เต็มปากพร้อมที่จะพ่นด่า 🍌 ไม่มีใครเขากลัวดอกไอ้หนูเอ้ยย ที่เขานิ่งกันเพราะเขาไม่อยากเอาพิมเสนมาแลกเกลือเน่า เหลืออดเหลือทนเมื่อไหร่ เขาก็เรียงแถวกันสั่งสอนเธอเองแหละ ไปฟังไอ้หนูมันนี่มันกำลังปกป้องสันดานของใคร 😅🤣 https://vt.tiktok.com/ZS6EPxbKA/ ด่าเขาอวัยวะเพศเน่า จนจรเข้ไม่กล้างับ คือไง ตอนที่อมไว้ในปากก่อนจะพ่นด่าได้กลิ่นแล้วงี้อ่อ คือตามดมอวัยวะเพศหมอดูงี้อ่อ https://vt.tiktok.com/ZS6ECXNfy/ @ไฮไลท์
    @sit_arejan_.beer

    ทนายครูพระจะเอาอาจารย์เบียร์ติดคุกให้ได้ อาจารย์บอกทำเลยจ้าถ้าทำแล้วมันโจ๊ะผรึ่มพรึม555#คนตื่นธรรม #funny #viraltiktok #อาจารย์เบียร์ #memes #viralvideo #เทรนด์วันนี้ ฆราวาสติดธรรมนำพุทโธติดใจ🙏🙏 #ตลก

    ♬ เสียงต้นฉบับ - ศิษย์ฅนตื่นธรรม Aire - ศิษย์ฅนตื่นธรรม Aire
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 140 มุมมอง 0 รีวิว
  • 77 ปี ลอบสังหาร “มหาตมา คานธี” นักต่อสู้ผู้ไร้อาวุธ ผู้บุกเบิกแนวคิด “สัตยาเคราะห์”

    “ตาต่อตาฟันต่อฟัน จะทำให้ทั้งโลกมืดบอด” มหาตมา คานธี

    ย้อนไปเมื่อ 77 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2491 นับเป็นวันที่โลกต้องจารึก เมื่อ "มหาตมา คานธี" ผู้นำทางจิตวิญญาณ และนักต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย ถูกลอบสังหารขณะอายุ 78 ปี ภายในบริเวณบ้านพิรลา ในกรุงนิวเดลี เหตุการณ์นี้ ไม่เพียงเป็นจุดสิ้นสุดของชีวิต บุคคลผู้เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ แต่ยังเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ของประวัติศาสตร์อินเดีย และขบวนการเคลื่อนไหว เพื่อสิทธิพลเมืองทั่วโลก

    โศกนาฏกรรมแห่งสันติ วันสุดท้ายของมหาตมา คานธี
    ช่วงเย็นของวันที่ 30 มกราคม 2491 "มหาตมา คานธี" เดินไปยังสวนหลังบ้านพิรลา ซึ่งเป็นสถานที่ ที่เขาใช้จัดการสวดภาวนา เป็นประจำทุกเย็น ท่ามกลางฝูงชน ที่มารอฟังคำสอนของเขา "นถูราม โคฑเส" ชายวัย 30 ปี ผู้เป็นสมาชิกกลุ่มชาตินิยมฮินดู ได้แฝงตัวเข้ามาในฝูงชน และเมื่อคานธี เดินลงจากปะรำพิธี โคฑเสก็ฉวยโอกาส ก้าวออกมากั้นทาง แล้วลั่นไกปืน สามนัดยิงเข้าที่อก และท้องของคานธีระยะเผาขน

    เสียงปืนนั้น เปรียบเสมือนเสียงสะเทือน แห่งประวัติศาสตร์...
    "มหาตมา คานธี" ทรุดลงกับพื้น และกล่าวเพียงว่า "เฮ ราม" (โอ้ พระเจ้า!) ก่อนหมดสติ และจากไปในที่สุด

    เหตุใดโคฑเส จึงลอบสังหารคานธี?
    "นถูราม โคฑเส" เป็นนักชาตินิยมฮินดู และเป็นสมาชิกของ ราษฏรียสวยัมเสวักสงฆ์ (RSS) กลุ่มขวาจัด ที่สนับสนุนการปกครองโดยชาวฮินดู โคฑเสเชื่อว่า คานธีให้ความช่วยเหลือชาวมุสลิม มากเกินไป และมีบทบาทสำคัญ ในการสนับสนุน การแยกดินแดนอินเดีย และปากีสถาน

    เขาเห็นว่าคานธีเป็นอุปสรรค ต่อความเป็นเอกภาพ ของชาวฮินดูในอินเดีย และการที่คานธี เรียกร้องให้รัฐบาลอินเดียส่งเงิน 550 ล้านรูปี ให้กับปากีสถาน ยิ่งทำให้เขาโกรธแค้น

    หลังการสังหาร โคฑเสถูกจับกุมทันที และถูกนำตัวขึ้นศาล พร้อมกับผู้สมรู้ร่วมคิดอีกหลายคน ในที่สุด เขาถูกตัดสินประหารชีวิต และถูกแขวนคอ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2492

    บุรุษผู้เปลี่ยนแปลงโลกด้วยสันติวิธี ต้นกำเนิดของนักต่อสู้ผู้ยิ่งใหญ่
    "มหาตมา คานธี" หรือ "โมหนทาส กรมจันท์ คานธี" เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2412 ที่รัฐคุชราต ประเทศอินเดีย เติบโตมาในครอบครัวชาวฮินดู และเดินทางไปศึกษากฎหมายที่ อินเนอร์เทมเพิล ลอนดอน ก่อนกลับมาอินเดีย

    ค้นพบ “สัตยาเคราะห์” บนแผ่นดินแอฟริกาใต้
    ขณะที่คานธีทำงานเป็นทนาย ในแอฟริกาใต้ เขาประสบเหตุการณ์เหยียดเชื้อชาติ เมื่อเขาถูกไล่ออกจากตู้รถไฟชั้นหนึ่ง เพียงเพราะเป็นชาวอินเดีย เหตุการณ์นี้ ทำให้คานธี ตระหนักถึงความอยุติธรรม และจุดประกายให้เขาต่อสู้ เพื่อสิทธิพลเมือง

    คานธีพัฒนาแนวคิด “สัตยาเคราะห์” (Satyagraha) ซึ่งหมายถึง “การยึดมั่นในสัจจะ” หรือ “การต่อต้านโดยสันติวิธี” โดยมุ่งเน้นการใช้ความจริง ความรัก และความไม่รุนแรง เป็นอาวุธหลัก

    สัตยาเคราะห์ พลังแห่งสัจจะและสันติ
    สัตยาเคราะห์เป็นหัวใจสำคัญ ในการต่อสู้ของคานธี เพื่อปลดแอกอินเดียจากอังกฤษ โดยมีหลักการสำคัญ ได้แก่

    1. อหิงสา (Ahimsa) การไม่ใช้ความรุนแรง
    คานธีเชื่อว่า ความรุนแรงก่อให้เกิดความเกลียดชัง และการแก้แค้นที่ไม่มีที่สิ้นสุด

    2. สัจจะ (Satya) ความจริง
    เขาเชื่อว่าความจริงคือสิ่งสูงสุด และคนที่ยึดมั่นในความจริง จะได้รับชัยชนะเสมอ

    3. ตบะ (Tapasya) ความอดทนและเสียสละ
    คานธีอดอาหารประท้วงหลายครั้ง เพื่อเรียกร้องความยุติธรรม ให้กับคนทุกศาสนา

    ขบวนการอิสระของอินเดีย จุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์
    เดินขบวนเกลือ (Salt March) ปี 2473
    คานธีนำประชาชนเดินเท้า เป็นระยะทางกว่า 400 กิโลเมตร เพื่อประท้วงกฎหมายภาษีเกลือ ของอังกฤษ ซึ่งเป็นหนึ่งในขบวนการต่อต้าน ที่ทรงพลังที่สุด

    ขบวนการ “ออกจากอินเดีย” (Quit India Movement) ปี 2485
    คานธีเรียกร้องให้อังกฤษ ถอนตัวจากอินเดีย โดยไม่มีเงื่อนไข ทำให้อังกฤษจับกุมเขา และผู้สนับสนุนจำนวนมาก

    ในที่สุด วันที่ 15 สิงหาคม 2490 อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษ แต่ต้องแลกมา ด้วยการแบ่งประเทศเป็นอินเดีย และปากีสถาน ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้ง และการอพยพครั้งใหญ่

    มรดกของมหาตมา คานธี อิทธิพลต่อโลก
    แม้จะถูกลอบสังหาร แต่แนวคิดของคานธี ได้เป็นแรงบันดาลใจ ให้ขบวนการเรียกร้องสิทธิพลเมือง ทั่วโลก เช่น

    ✅ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ ขบวนการสิทธิพลเมือง ของคนผิวดำในอเมริกา
    ✅ เนลสัน แมนเดลา การต่อต้านการแบ่งแยกสีผิว ในแอฟริกาใต้
    ✅ ดาไลลามะ การต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพ ของทิเบต

    คานธี กับบทเรียนแห่งสันติ
    การลอบสังหารมหาตมา คานธี เป็นโศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ แต่แนวคิดของเขายังคงอยู่ และเป็นแรงบันดาลใจ ให้ผู้คนทั่วโลก

    🌏 ความจริงและสันติวิธี เป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในการเปลี่ยนแปลงโลก
    🙏 อหิงสา ไม่ใช่ความอ่อนแอ แต่คือความกล้าหาญ ในการให้อภัย
    💡 สัตยาเคราะห์ เป็นเครื่องมือแห่งการต่อสู้ เพื่อความยุติธรรม

    77 ปี ผ่านไป... ชื่อของคานธี ยังคงเป็นสัญลักษณ์ แห่งสันติภาพ 🕊️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 300857 ม.ค. 2568

    #MahatmaGandhi #Gandhi77Years #Satyagraha #อหิงสา #สันติวิธี #IndiaIndependence #PeaceMovement #QuitIndia #GandhiPhilosophy #GandhiLegacy
    77 ปี ลอบสังหาร “มหาตมา คานธี” นักต่อสู้ผู้ไร้อาวุธ ผู้บุกเบิกแนวคิด “สัตยาเคราะห์” “ตาต่อตาฟันต่อฟัน จะทำให้ทั้งโลกมืดบอด” มหาตมา คานธี ย้อนไปเมื่อ 77 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2491 นับเป็นวันที่โลกต้องจารึก เมื่อ "มหาตมา คานธี" ผู้นำทางจิตวิญญาณ และนักต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย ถูกลอบสังหารขณะอายุ 78 ปี ภายในบริเวณบ้านพิรลา ในกรุงนิวเดลี เหตุการณ์นี้ ไม่เพียงเป็นจุดสิ้นสุดของชีวิต บุคคลผู้เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ แต่ยังเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ของประวัติศาสตร์อินเดีย และขบวนการเคลื่อนไหว เพื่อสิทธิพลเมืองทั่วโลก โศกนาฏกรรมแห่งสันติ วันสุดท้ายของมหาตมา คานธี ช่วงเย็นของวันที่ 30 มกราคม 2491 "มหาตมา คานธี" เดินไปยังสวนหลังบ้านพิรลา ซึ่งเป็นสถานที่ ที่เขาใช้จัดการสวดภาวนา เป็นประจำทุกเย็น ท่ามกลางฝูงชน ที่มารอฟังคำสอนของเขา "นถูราม โคฑเส" ชายวัย 30 ปี ผู้เป็นสมาชิกกลุ่มชาตินิยมฮินดู ได้แฝงตัวเข้ามาในฝูงชน และเมื่อคานธี เดินลงจากปะรำพิธี โคฑเสก็ฉวยโอกาส ก้าวออกมากั้นทาง แล้วลั่นไกปืน สามนัดยิงเข้าที่อก และท้องของคานธีระยะเผาขน เสียงปืนนั้น เปรียบเสมือนเสียงสะเทือน แห่งประวัติศาสตร์... "มหาตมา คานธี" ทรุดลงกับพื้น และกล่าวเพียงว่า "เฮ ราม" (โอ้ พระเจ้า!) ก่อนหมดสติ และจากไปในที่สุด เหตุใดโคฑเส จึงลอบสังหารคานธี? "นถูราม โคฑเส" เป็นนักชาตินิยมฮินดู และเป็นสมาชิกของ ราษฏรียสวยัมเสวักสงฆ์ (RSS) กลุ่มขวาจัด ที่สนับสนุนการปกครองโดยชาวฮินดู โคฑเสเชื่อว่า คานธีให้ความช่วยเหลือชาวมุสลิม มากเกินไป และมีบทบาทสำคัญ ในการสนับสนุน การแยกดินแดนอินเดีย และปากีสถาน เขาเห็นว่าคานธีเป็นอุปสรรค ต่อความเป็นเอกภาพ ของชาวฮินดูในอินเดีย และการที่คานธี เรียกร้องให้รัฐบาลอินเดียส่งเงิน 550 ล้านรูปี ให้กับปากีสถาน ยิ่งทำให้เขาโกรธแค้น หลังการสังหาร โคฑเสถูกจับกุมทันที และถูกนำตัวขึ้นศาล พร้อมกับผู้สมรู้ร่วมคิดอีกหลายคน ในที่สุด เขาถูกตัดสินประหารชีวิต และถูกแขวนคอ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2492 บุรุษผู้เปลี่ยนแปลงโลกด้วยสันติวิธี ต้นกำเนิดของนักต่อสู้ผู้ยิ่งใหญ่ "มหาตมา คานธี" หรือ "โมหนทาส กรมจันท์ คานธี" เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2412 ที่รัฐคุชราต ประเทศอินเดีย เติบโตมาในครอบครัวชาวฮินดู และเดินทางไปศึกษากฎหมายที่ อินเนอร์เทมเพิล ลอนดอน ก่อนกลับมาอินเดีย ค้นพบ “สัตยาเคราะห์” บนแผ่นดินแอฟริกาใต้ ขณะที่คานธีทำงานเป็นทนาย ในแอฟริกาใต้ เขาประสบเหตุการณ์เหยียดเชื้อชาติ เมื่อเขาถูกไล่ออกจากตู้รถไฟชั้นหนึ่ง เพียงเพราะเป็นชาวอินเดีย เหตุการณ์นี้ ทำให้คานธี ตระหนักถึงความอยุติธรรม และจุดประกายให้เขาต่อสู้ เพื่อสิทธิพลเมือง คานธีพัฒนาแนวคิด “สัตยาเคราะห์” (Satyagraha) ซึ่งหมายถึง “การยึดมั่นในสัจจะ” หรือ “การต่อต้านโดยสันติวิธี” โดยมุ่งเน้นการใช้ความจริง ความรัก และความไม่รุนแรง เป็นอาวุธหลัก สัตยาเคราะห์ พลังแห่งสัจจะและสันติ สัตยาเคราะห์เป็นหัวใจสำคัญ ในการต่อสู้ของคานธี เพื่อปลดแอกอินเดียจากอังกฤษ โดยมีหลักการสำคัญ ได้แก่ 1. อหิงสา (Ahimsa) การไม่ใช้ความรุนแรง คานธีเชื่อว่า ความรุนแรงก่อให้เกิดความเกลียดชัง และการแก้แค้นที่ไม่มีที่สิ้นสุด 2. สัจจะ (Satya) ความจริง เขาเชื่อว่าความจริงคือสิ่งสูงสุด และคนที่ยึดมั่นในความจริง จะได้รับชัยชนะเสมอ 3. ตบะ (Tapasya) ความอดทนและเสียสละ คานธีอดอาหารประท้วงหลายครั้ง เพื่อเรียกร้องความยุติธรรม ให้กับคนทุกศาสนา ขบวนการอิสระของอินเดีย จุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์ เดินขบวนเกลือ (Salt March) ปี 2473 คานธีนำประชาชนเดินเท้า เป็นระยะทางกว่า 400 กิโลเมตร เพื่อประท้วงกฎหมายภาษีเกลือ ของอังกฤษ ซึ่งเป็นหนึ่งในขบวนการต่อต้าน ที่ทรงพลังที่สุด ขบวนการ “ออกจากอินเดีย” (Quit India Movement) ปี 2485 คานธีเรียกร้องให้อังกฤษ ถอนตัวจากอินเดีย โดยไม่มีเงื่อนไข ทำให้อังกฤษจับกุมเขา และผู้สนับสนุนจำนวนมาก ในที่สุด วันที่ 15 สิงหาคม 2490 อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษ แต่ต้องแลกมา ด้วยการแบ่งประเทศเป็นอินเดีย และปากีสถาน ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้ง และการอพยพครั้งใหญ่ มรดกของมหาตมา คานธี อิทธิพลต่อโลก แม้จะถูกลอบสังหาร แต่แนวคิดของคานธี ได้เป็นแรงบันดาลใจ ให้ขบวนการเรียกร้องสิทธิพลเมือง ทั่วโลก เช่น ✅ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ ขบวนการสิทธิพลเมือง ของคนผิวดำในอเมริกา ✅ เนลสัน แมนเดลา การต่อต้านการแบ่งแยกสีผิว ในแอฟริกาใต้ ✅ ดาไลลามะ การต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพ ของทิเบต คานธี กับบทเรียนแห่งสันติ การลอบสังหารมหาตมา คานธี เป็นโศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่ แต่แนวคิดของเขายังคงอยู่ และเป็นแรงบันดาลใจ ให้ผู้คนทั่วโลก 🌏 ความจริงและสันติวิธี เป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในการเปลี่ยนแปลงโลก 🙏 อหิงสา ไม่ใช่ความอ่อนแอ แต่คือความกล้าหาญ ในการให้อภัย 💡 สัตยาเคราะห์ เป็นเครื่องมือแห่งการต่อสู้ เพื่อความยุติธรรม 77 ปี ผ่านไป... ชื่อของคานธี ยังคงเป็นสัญลักษณ์ แห่งสันติภาพ 🕊️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 300857 ม.ค. 2568 #MahatmaGandhi #Gandhi77Years #Satyagraha #อหิงสา #สันติวิธี #IndiaIndependence #PeaceMovement #QuitIndia #GandhiPhilosophy #GandhiLegacy
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 747 มุมมอง 0 รีวิว
  • [1]
    ***ราชา ***กษัตริย์ ราชา... เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยโคตร... ท่านผู้ถึง พร้อมด้วยวิชา และจรณะ... เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ในหมู่เทวดา และมนุษย์...{อัมพัฏฐสูตร}


    {จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม11/หน้า511/บรรทัด18}
    {จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม11/หน้า434/บรรทัด9}
    {จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม15/หน้า165/บรรทัด3}
    {จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม15/หน้า161/บรรทัด17}
    http://www.tripitaka91.com/11-512-2.html
    http://www.tripitaka91.com/11-511-18.html#middle
    http://www.tripitaka91.com/15-165-3.html
    http://www.tripitaka91.com/15-164-18.html#middle
    http://www.tripitaka91.com/91book/book11/501_550.htm#512
    www.tripitaka91.com (เว็ปพระไตรปิฏก)








    >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร]






    ***[พระพุทธเจ้าตรัส]... ดูก่อนอัมพัฏฐะ...ก็คาถานี้นั้น สนังกุมารพรหมขับถูกไม่ผิด... กล่าวไว้ถูกไม่ผิด... ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ใช่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์...
    [เราเห็นด้วย]








    ***[พระพุทธเจ้าตรัส]... ดูก่อนอัมพัฏฐะ... [ถึงเรา ก็กล่าวเช่นนี้ว่า กษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐที่สุด]... ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยโคตร ท่านผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐที่สุดในหมู่เทวดา และมนุษย์.





    >>>จบ ภาณวาร ที่ ๑











    >>>>(หมายเหตุ)<<<<<

    ****[อกาลิโก]….หมายความว่า พระธรรมพระวินัยคำสอนของพระพุทธเจ้า ทุกสูตรทุกข้อนั้น….(ไม่มียุคสมัยไม่ประกอบด้วยกาล ไม่มีกำหนดจำกัดอายุกาลเวลา)…. ให้ผลทุกเมื่อทุกโอกาสทุกเวลา ทุกยุคทุกสมัยตามลำดับแห่งการปฏิบัติ…. (จริงแท้อยู่ตลอดอนันตกาล)….ด้วยเหตุนี้ พระธรรมพระวินัย จึงไม่ประกอบด้วยกาล ไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา.




    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม34/หน้า186/บรรทัด12-13]
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม34/หน้า189/บรรทัด13]
    www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก}
    http://www.tripitaka91.com/34-186-12.html#middle
    http://www.tripitaka91.com/34-186-13.html#middle
    http://www.tripitaka91.com/91book/book34/151_200.htm#186









    [2]
    >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร]






    ***[พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า]…. สาวิตฺติ ฉนฺทโส มุขํ ฉันท์ทั้งหลายมีสาวิตติฉันท์ เป็นประมุข เพราะอันผู้สาธยายพระเวททั้งหลายต้องสาธยายก่อน.



    ***พระราชาท่านกล่าวว่า… เป็นประมุข เพราะประเสริฐที่สุดกว่ามนุษย์ทั้งหลาย.



    >>>>เสลสูตรที่ ๗
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม47/หน้า554/บรรทัด8]
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม47/หน้า451/บรรทัด23]
    http://www.tripitaka91.com/47-554-8.html
    www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก}






    [3]

    >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร]







    ***อนึ่ง พระราชาผู้เป็นกษัตริย์ แม้ทรงพระเยาว์ … เป็นกษัตริย์ผู้ได้รับ มุรธาภิเษกแล้ว หรือจะเป็นพราหมณ์ก็ตาม ก็เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้ของชนที่เหลือ … ชื่อว่า ชาติวุฑฒะ ผู้เจริญโดยชาติ.




    >>>อ.กิงสีลสูตร
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม47/หน้า277/บรรทัด1]
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม47/หน้า221/บรรทัด1]
    http://www.tripitaka91.com/47-277-1.html#middle
    www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก}
    [1] ***ราชา ***กษัตริย์ ราชา... เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยโคตร... ท่านผู้ถึง พร้อมด้วยวิชา และจรณะ... เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ในหมู่เทวดา และมนุษย์...{อัมพัฏฐสูตร} {จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม11/หน้า511/บรรทัด18} {จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม11/หน้า434/บรรทัด9} {จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม15/หน้า165/บรรทัด3} {จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม15/หน้า161/บรรทัด17} http://www.tripitaka91.com/11-512-2.html http://www.tripitaka91.com/11-511-18.html#middle http://www.tripitaka91.com/15-165-3.html http://www.tripitaka91.com/15-164-18.html#middle http://www.tripitaka91.com/91book/book11/501_550.htm#512 www.tripitaka91.com (เว็ปพระไตรปิฏก) >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร] ***[พระพุทธเจ้าตรัส]... ดูก่อนอัมพัฏฐะ...ก็คาถานี้นั้น สนังกุมารพรหมขับถูกไม่ผิด... กล่าวไว้ถูกไม่ผิด... ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ใช่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์... [เราเห็นด้วย] ***[พระพุทธเจ้าตรัส]... ดูก่อนอัมพัฏฐะ... [ถึงเรา ก็กล่าวเช่นนี้ว่า กษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐที่สุด]... ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยโคตร ท่านผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐที่สุดในหมู่เทวดา และมนุษย์. >>>จบ ภาณวาร ที่ ๑ >>>>(หมายเหตุ)<<<<< ****[อกาลิโก]….หมายความว่า พระธรรมพระวินัยคำสอนของพระพุทธเจ้า ทุกสูตรทุกข้อนั้น….(ไม่มียุคสมัยไม่ประกอบด้วยกาล ไม่มีกำหนดจำกัดอายุกาลเวลา)…. ให้ผลทุกเมื่อทุกโอกาสทุกเวลา ทุกยุคทุกสมัยตามลำดับแห่งการปฏิบัติ…. (จริงแท้อยู่ตลอดอนันตกาล)….ด้วยเหตุนี้ พระธรรมพระวินัย จึงไม่ประกอบด้วยกาล ไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา. [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม34/หน้า186/บรรทัด12-13] [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม34/หน้า189/บรรทัด13] www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก} http://www.tripitaka91.com/34-186-12.html#middle http://www.tripitaka91.com/34-186-13.html#middle http://www.tripitaka91.com/91book/book34/151_200.htm#186 [2] >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร] ***[พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า]…. สาวิตฺติ ฉนฺทโส มุขํ ฉันท์ทั้งหลายมีสาวิตติฉันท์ เป็นประมุข เพราะอันผู้สาธยายพระเวททั้งหลายต้องสาธยายก่อน. ***พระราชาท่านกล่าวว่า… เป็นประมุข เพราะประเสริฐที่สุดกว่ามนุษย์ทั้งหลาย. >>>>เสลสูตรที่ ๗ [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม47/หน้า554/บรรทัด8] [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม47/หน้า451/บรรทัด23] http://www.tripitaka91.com/47-554-8.html www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก} [3] >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร] ***อนึ่ง พระราชาผู้เป็นกษัตริย์ แม้ทรงพระเยาว์ … เป็นกษัตริย์ผู้ได้รับ มุรธาภิเษกแล้ว หรือจะเป็นพราหมณ์ก็ตาม ก็เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้ของชนที่เหลือ … ชื่อว่า ชาติวุฑฒะ ผู้เจริญโดยชาติ. >>>อ.กิงสีลสูตร [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม47/หน้า277/บรรทัด1] [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม47/หน้า221/บรรทัด1] http://www.tripitaka91.com/47-277-1.html#middle www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก}
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 240 มุมมอง 0 รีวิว
  • วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว – เพชรบูรณ์
    อีกหนึ่งวัดสวยงามอลังการตา ที่ต้องมาเมื่อมาเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวภาคเหนือ ต้องยกให้ วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว หรือ วัดพระธาตุผาแก้ว หนึ่งใน เพชรบูรณ์ที่เที่ยว ค่ะ ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาของหมู่บ้านทางแดง อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์
    วัดพระธาตุผาซ่อนแก้วก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ในนาม “พุทธธรรมสถานผาซ่อนแก้ว” ได้รับการอนุมัติจัดตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓ โดยมีพระครูปลัด ปารมี สุรยุทโธ เป็นเจ้าอาวาส

    เจดีย์พระธาตุผาแก้ว สร้างเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี และเป็นที่สืบพระศาสนาให้ดำรงอยู่คู่แผ่นดินไทย เพื่อประโยชน์แก่มนุษยชาติและคนรุ่นหลัง ได้มีโอกาสเรียนรู้ต่อไป บนยอดเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุซึ่งได้รับพระราชทานมาจากสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ความพิเศษของเจดีย์ คือ ลวดลายการตกแต่งด้วยถ้วยกระเบื้อง หินสีต่าง ๆ ดูงดงามแปลกตาและบริเวณใต้ฐานพระเจดีย์ใช้เป็นที่เก็บรวบรวมหลักธรรมคำสอน ภาพปริศนาธรรม และเป็นที่เจริญสติภาวนา สำหรับพุทธศาสนิกชนทั่วไป

    การเดินทาง : เดินทางมาได้ทั้งทางรถยนต์ส่วนตัว - จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางผ่านจังหวัดสระบุรี และใช้เส้นทางหมายเลข 21 สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ เมื่อ ผ่านตัวเมืองจังหวัดเพชรบูรณ์มาสักระยะ จนใกล้หลักกิโลเมตรที่ 260 ให้สังเกตอนุสาวรีย์พ่อขุนผาเมืองทางซ้ายมือ และเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 12 หล่มสัก พิษณุโลก ขับต่อไปยัง ทางหลวงหมายเลข 12 ประมาณ 30 นาที หลักกิโลเมตรที่ 103 มีจุดสังเกตคือ อบต.แคมป์สนอยู่ทางขวามือ และธนาคารกสิกรไทย เยื้องขึ้นไปทางซ้ายมือ ตรงไปกลับรถ และจะเห็นป้าย พุทธธรรมสถานผาซ่อนแก้ว อยู่ปากซอยทางเข้า หมู่บ้านทางแดง ซึ่งอยู่ด้านข้าง อบต.แคมป์สน เลี้ยวซ้ายเข้าไป ตรงตลอดจนเห็นสะพานทางเข้าวัด เลี้ยวขวาข้ามสะพานและจอดรถ ณ บริเวณที่จัดไว้

    #วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว
    #ท่องเที่ยว
    วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว – เพชรบูรณ์ อีกหนึ่งวัดสวยงามอลังการตา ที่ต้องมาเมื่อมาเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวภาคเหนือ ต้องยกให้ วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว หรือ วัดพระธาตุผาแก้ว หนึ่งใน เพชรบูรณ์ที่เที่ยว ค่ะ ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาของหมู่บ้านทางแดง อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ วัดพระธาตุผาซ่อนแก้วก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ในนาม “พุทธธรรมสถานผาซ่อนแก้ว” ได้รับการอนุมัติจัดตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓ โดยมีพระครูปลัด ปารมี สุรยุทโธ เป็นเจ้าอาวาส เจดีย์พระธาตุผาแก้ว สร้างเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี และเป็นที่สืบพระศาสนาให้ดำรงอยู่คู่แผ่นดินไทย เพื่อประโยชน์แก่มนุษยชาติและคนรุ่นหลัง ได้มีโอกาสเรียนรู้ต่อไป บนยอดเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุซึ่งได้รับพระราชทานมาจากสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ความพิเศษของเจดีย์ คือ ลวดลายการตกแต่งด้วยถ้วยกระเบื้อง หินสีต่าง ๆ ดูงดงามแปลกตาและบริเวณใต้ฐานพระเจดีย์ใช้เป็นที่เก็บรวบรวมหลักธรรมคำสอน ภาพปริศนาธรรม และเป็นที่เจริญสติภาวนา สำหรับพุทธศาสนิกชนทั่วไป การเดินทาง : เดินทางมาได้ทั้งทางรถยนต์ส่วนตัว - จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางผ่านจังหวัดสระบุรี และใช้เส้นทางหมายเลข 21 สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ เมื่อ ผ่านตัวเมืองจังหวัดเพชรบูรณ์มาสักระยะ จนใกล้หลักกิโลเมตรที่ 260 ให้สังเกตอนุสาวรีย์พ่อขุนผาเมืองทางซ้ายมือ และเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 12 หล่มสัก พิษณุโลก ขับต่อไปยัง ทางหลวงหมายเลข 12 ประมาณ 30 นาที หลักกิโลเมตรที่ 103 มีจุดสังเกตคือ อบต.แคมป์สนอยู่ทางขวามือ และธนาคารกสิกรไทย เยื้องขึ้นไปทางซ้ายมือ ตรงไปกลับรถ และจะเห็นป้าย พุทธธรรมสถานผาซ่อนแก้ว อยู่ปากซอยทางเข้า หมู่บ้านทางแดง ซึ่งอยู่ด้านข้าง อบต.แคมป์สน เลี้ยวซ้ายเข้าไป ตรงตลอดจนเห็นสะพานทางเข้าวัด เลี้ยวขวาข้ามสะพานและจอดรถ ณ บริเวณที่จัดไว้ #วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว #ท่องเที่ยว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 406 มุมมอง 0 รีวิว
  • บทความถึงท่านพ่อหลวง(ในหลวงรัชกาลที่ ๙)ฉบับที่ 2
    นี่คือฉบับถ่ายทำนะครับ
    ถึงแม้ว่าจะเป็นแค่ฉบับถ่ายทำที่มีการร้องและการเตรียมการมาเป็นอย่างดีแล้วก็ตามที แต่ก็ดูเหมือนมันจะกลายมาเป็นต้นฉบับที่มีความลงตัวในตัวของมันเองเลยทีเดียวเชียว
    และไม่ว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไรก็ตามที คำสอนของพ่อหลวง(ในหลวงรัชกาลที่ ๙)ของท่านก็จะยังคงมีผู้ที่คอยสืบทอดและสานต่อไปอย่างแน่นอน ผมคิดไว้อย่างนั้นจริงๆ
    และอย่างน้อยผมก็เป็นคนหนึ่งในนั้นที่สานต่องานของท่าน ถึงแม่ว่าผมจะไม่มีความสามารถมากมายอะไรนัก แต่ผมก็ขอที่จะเป็นคนดีและทำความดีถวายให้เป็นพลีของแผ่นดินให้กับบรรพชน และท่านพ่อหลวง(ในหลวงรัชกาลที่ ๙)ต่อไปตลอดไปตราบจนชั่วชีวิตนี้จักหาไม่อย่างแน่นอน
    ดังตัวอย่างที่คนโบราณท่านได้เคยพูดเอาไว้ว่า "แผ่นดินไทย ไม่สิ้นคนดี" อย่างแน่นอน
    ในยูทูปที่ชื่อ 13 ตุลา หนึ่งทุ่มตรง โดย ธเนศ วรากุลนุเคราะห์
    บทความถึงท่านพ่อหลวง(ในหลวงรัชกาลที่ ๙)ฉบับที่ 2 นี่คือฉบับถ่ายทำนะครับ ถึงแม้ว่าจะเป็นแค่ฉบับถ่ายทำที่มีการร้องและการเตรียมการมาเป็นอย่างดีแล้วก็ตามที แต่ก็ดูเหมือนมันจะกลายมาเป็นต้นฉบับที่มีความลงตัวในตัวของมันเองเลยทีเดียวเชียว และไม่ว่าผลลัพธ์จะเป็นอย่างไรก็ตามที คำสอนของพ่อหลวง(ในหลวงรัชกาลที่ ๙)ของท่านก็จะยังคงมีผู้ที่คอยสืบทอดและสานต่อไปอย่างแน่นอน ผมคิดไว้อย่างนั้นจริงๆ และอย่างน้อยผมก็เป็นคนหนึ่งในนั้นที่สานต่องานของท่าน ถึงแม่ว่าผมจะไม่มีความสามารถมากมายอะไรนัก แต่ผมก็ขอที่จะเป็นคนดีและทำความดีถวายให้เป็นพลีของแผ่นดินให้กับบรรพชน และท่านพ่อหลวง(ในหลวงรัชกาลที่ ๙)ต่อไปตลอดไปตราบจนชั่วชีวิตนี้จักหาไม่อย่างแน่นอน ดังตัวอย่างที่คนโบราณท่านได้เคยพูดเอาไว้ว่า "แผ่นดินไทย ไม่สิ้นคนดี" อย่างแน่นอน ในยูทูปที่ชื่อ 13 ตุลา หนึ่งทุ่มตรง โดย ธเนศ วรากุลนุเคราะห์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 139 มุมมอง 0 รีวิว
  • คนที่มีจิตใจสูงกับคนที่มีจิตใจต่ำ
    นับวันโลกใบนี้ยิ่งอยู่กันยากมากขึ้นทุกวันๆ แต่โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะอยู่ที่กลุ่มบุคคลที่มีพวกพ้องมากนั่นเอง และก็จะได้รับสิทธิพิเศษต่างๆมากมาย ยิ่งคนที่เป็นผู้นำกลุ่มแล้วด้วย ถ้าเป็นคนที่ดีก็ดีไป และก็ดีมากๆด้วย แต่ถ้าเป็นคนที่ชั่วล่ะก็ ฉิบหายแม่งมันทั้งโคตรตระกูลโคตรเหง้ากันเลยทีเดียว “ผู้นำที่ดีก็ดีไป ผู้นำที่ชั่วก็ชั่วไป” ค่าของคนไม่ได้วัดกันที่คนมากหรือน้อย ไม่ได้วัดกันที่มีชื่อเสียงมากดีหรือไม่ ไม่ได้วัดกันที่มีอิทธิพลมากหรือเปล่า แต่วัดกันที่คุณงามความดีในขณะที่ตนเองยังมีชีวิตอยู่ ไม่ใช่ที่ผลงานอย่างที่ใครๆหลายๆคนเข้าใจกัน ซึ่งบางคนเค้าก็ไม่ได้มีงานทำ ไม่ได้มีผลงานออกมาเป็นชิ้นเป็นอัน ในแบบที่จะสามารถจับต้องกันได้ ก็ไม่มีผลงานออกมา และแม้แต่พระพุทธเจ้าเองท่านก็ไม่มีผลงานที่จับต้องได้เป็นชิ้นเป็นอันเลยแม้แต่น้อยเดียว แต่ท่านมี “ความดี” มี “ธรรมะ” มี “สาระ” และเป็นแก่นสารในตัวของท่านเอง ท่านไม่เคยชักจูงใครให้หลงใหลไปกับท่าน และแถมยังมีแม้แต่คำสอนของท่านเองที่ยังหักล้างในตัวของท่านเองเลยว่า “ห้ามให้เชื่อโดยปราศจากเหตุและผล” ถ้าตัวของท่านเองไม่มี “เหตุผล” ไม่มี “ธรรม” ซึ่งก็คือ “ปัญญา” ความรอบรู้ในทุกโลกหล้า ในทุกอณูของจักรวาล ในทุกดวงจิตวิญญาณแล้ว ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องมาเชื่อถือเคารพศรัทธาในตัวของท่านเองเลยแม้แต่น้อยเดียว แต่มันไม่ใช่ ใช่มั้ย ก็เพราะว่าท่านเป็นถึง “พุทธะ” ซึ่งก็คือ “ผู้รู้” และแถมด้วย “รู้แจ้งเห็นจริงทุกสรรพสิ่ง” ศาสนาของท่านถึงได้มีผู้คนศรัทธานับถือมากมายมาจนถึงปัจจุบันนี้นั่นเอง
    เรามาเปรียบเทียบกันว่าระหว่างคนที่มีจิตใจสูงกับคนที่มีจิตใจต่ำว่ามันแตกต่างกันอย่างไร
    คนที่มีจิตใจสูงก็คือ “คนดี” นั่นเอง โดยสรุปย่อๆง่ายๆ แต่เรามาขยายความต่อกันเลยว่ามันเป็นอย่างไร คนที่มีจิตใจสูงมักจะเป็นคนที่มีคุณงามความดีอยู่ในตัวเอง เป็นคนที่ไม่คิดพูดทำในสิ่งที่ไม่ดีไม่งามไม่ถูกต้องต่างๆนาๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กใหญ่ขนาดไหนอย่างไรก็ตาม โดยรวมแล้วก็คือคนที่มี “หิริ” กับ “โอตัปปะ” ซึ่งก็คือ ความละอายความชั่วกลัวเกรงต่อบาปกรรมความชั่วความเลวต่างๆในทุกประเภททั้งหมดโดยไม่มีการยกเว้นเลยแม้แต่เรื่องเดียว พูดไปพูดมามันก็เหมือนกับว่ามันทำกันได้ง่ายๆ แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้นมันไม่ได้ทำกันได้ง่ายๆเลย และเป็นเรื่องที่ยากมากๆเลยด้วย โดยเฉพาะกับคนที่เป็นเพียงแค่คนปุถุชนคนธรรมดาอย่างเราๆท่านๆ แต่กับในคนวิญญูชนนั้นมันเป็นเรื่องที่ไม่ได้ยากเย็นอะไรเลยสำหรับพวกเค้า ก็เพราะว่าเค้าคนนั้นได้ผ่านพ้นจากการเป็นคนปุถุชนมาแล้วนั่นเอง ซึ่งกว่าคนปุถุชนจะมากลายเป็นคนวิญญูชนนั้นมันมักจะต้องพานพบเจอกับตัวอุปสรรคขวากหนามต่างๆมามากมายและกับตัวปัญหาที่ยากยิ่งมาก่อน ซึ่งในจำพวกนี้ก็คือ “เจ้ากรรม นายเวร อริศัตรู และบททดสอบจากเบื้องบน” นั่นเอง และเค้าคนนั้นก็ได้สัมผัสรับรู้ซึ้งได้ถึงสัจธรรมของชีวิตและได้บรรลุธรรมแล้วด้วยดีอย่างลึกซึ้งจนถึงขั้นปล่อยปลดลดละวางซึ่งกิเลสตัวตนของเค้าเอง และได้ค้นพบหนทางสว่างในวิถีชีวิตของตนเองว่าต่อจากนี้ไปจะดำเนินชีวิตไปในทางใดอย่างไรให้มีความสุขและเป็นปกติสุขในแบบฉบับของตนเองจนกว่าร่างกายจะละสังขารของตนเองไปสู่ชีวิตที่เป็นนิรันดร์ในชาติภพหน้าต่อไป นี่คือคนที่มีจิตใจสูง
    แล้วเรามาว่ากันถึงคนที่มีจิตใจต่ำกันบ้างว่ามันเป็นอย่างไร คนที่มีจิตใจต่ำนั้นโดยทั่วไปเรามักจะเรียกขานกันว่าเป็น “คนชั่ว” นั่นเอง แต่เราจะมาอธิบายกันให้เข้าใจยิ่งขึ้นไปอีกคือ คนประเภทนี้นั้นมักจะเป็นคนเห็นแก่ตัว ชอบเอาแต่ใจของตนเองเป็นใหญ่ ไม่สนใจผู้อื่นว่าตนเองจะทำให้ใครเดือดเนื้อร้อนใจหรือไม่อย่างไรในการกระทำของตนเอง ชอบยกตนข่มท่าน ชอบเอาชนะ โลภโมโทสัน มักโกรธโมโหง่าย เลือดร้อนวู่วามบ้าคลั่ง ไม่คิดหน้าระวังหลัง ชื่นชอบอบายมุก เจ้าชู้ประตูดิน ลุ่มหลงมัวเมา และจิตใจเต็มไปด้วยกิเลสตัณหา ชอบอวดเบ่งใหญ่โต วางก้ามเป็นคนอันธพาลขวางคลองคูเมือง นึกว่าตนเองยิ่งใหญ่คับฟ้าทั่วแผ่นดิน มักทะเยอทะยานอยากเป็นใหญ่เป็นโต มักใหญ่ใฝ่สูง บ้าอำนาจ ชอบฆ่าชอบทำลายล้างผลาญ นิสัยโดยรวมแล้วแย่มาก เอาเป็นว่านี่เป็นคนที่ไม่มีธรรมในจิตใจ ไม่มีความดีงามในตัวของตัวเองเลย คนจำพวกนี้มักมีอยู่ทั่วไปในสังคมเรา ไม่เว้นแม้กระทั่งคนที่เห็นแก่ตัวก็เป็นคนชั่วด้วย และก็ชอบที่จะมีความสุขบนความทุกข์ของคนดี เพราะอยู่ในสังคมของคนชั่วเพียงอย่างเดียวไม่ได้ เพราะว่าจะไม่มีใครยอมใคร และจะฆ่ากันเองนั่นเอง และไม่สามารถที่จะอยู่ในหมู่ของคนดีได้อีกด้วย ก็เพราะว่าไม่มีคนดีที่ไหนเค้ายอมรับในนิสัยสันดานความประพฤติชั่วได้ พอตัวเองใกล้จะตายก็ทุรนทุรายและก็ตกนรกลงหลุมกันทุกราย คนจำพวกนี้มักจะกลัวมากๆเพียงอย่างเดียวคือ “กลัวตาย” แต่ไม่กลัวลงนรก เพราะไม่เชื่อในเรื่องของกฎแห่งกรรม พอตายลงไปแล้วก็มาขอส่วนบุญคนอื่น ซึ่งก็สมควรกับการกระทำของตนเองอย่างยิ่งแล้ว นี่คือคนที่มีจิตใจต่ำนั่นเอง
    สุดท้ายแล้ว ในท้ายที่สุดแล้ว คนที่จะเลือกเดินบนทางเดินของตนเองที่จะไปในทิศทางใดนั้นก็มักจะได้เป็นไปในแบบนั้น “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” “ทำอย่างไรได้อย่างนั้น” มันเป็นกฎแห่งกรรม มันเป็นสัจธรรม ไม่มีใครหลีกหนีกรรมพ้นไปได้ กรรมคือการกระทำ “ทำกรรมดีย่อมได้ดี ทำกรรมชั่วย่อมได้ชั่ว” ตอบแทนกรรมกลับไป กรรมยุติธรรมเสมอ แล้วคุณหล่ะ จะเลือกเดินไปในทิศทางใดแบบไหน จะเลือกเป็นคนที่มีจิตใจสูงหรือต่ำ คุณเลือกได้ตั้งแต่บัดนี้นะ เลือกให้ดีก็แล้วกัน ก่อนที่จะหมดโอกาสที่จะได้เลือกอีกตลอดไป เลือกให้ทันก่อนที่คุณจะตายลงไปก็แล้วกัน
    คนที่มีจิตใจสูงกับคนที่มีจิตใจต่ำ นับวันโลกใบนี้ยิ่งอยู่กันยากมากขึ้นทุกวันๆ แต่โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะอยู่ที่กลุ่มบุคคลที่มีพวกพ้องมากนั่นเอง และก็จะได้รับสิทธิพิเศษต่างๆมากมาย ยิ่งคนที่เป็นผู้นำกลุ่มแล้วด้วย ถ้าเป็นคนที่ดีก็ดีไป และก็ดีมากๆด้วย แต่ถ้าเป็นคนที่ชั่วล่ะก็ ฉิบหายแม่งมันทั้งโคตรตระกูลโคตรเหง้ากันเลยทีเดียว “ผู้นำที่ดีก็ดีไป ผู้นำที่ชั่วก็ชั่วไป” ค่าของคนไม่ได้วัดกันที่คนมากหรือน้อย ไม่ได้วัดกันที่มีชื่อเสียงมากดีหรือไม่ ไม่ได้วัดกันที่มีอิทธิพลมากหรือเปล่า แต่วัดกันที่คุณงามความดีในขณะที่ตนเองยังมีชีวิตอยู่ ไม่ใช่ที่ผลงานอย่างที่ใครๆหลายๆคนเข้าใจกัน ซึ่งบางคนเค้าก็ไม่ได้มีงานทำ ไม่ได้มีผลงานออกมาเป็นชิ้นเป็นอัน ในแบบที่จะสามารถจับต้องกันได้ ก็ไม่มีผลงานออกมา และแม้แต่พระพุทธเจ้าเองท่านก็ไม่มีผลงานที่จับต้องได้เป็นชิ้นเป็นอันเลยแม้แต่น้อยเดียว แต่ท่านมี “ความดี” มี “ธรรมะ” มี “สาระ” และเป็นแก่นสารในตัวของท่านเอง ท่านไม่เคยชักจูงใครให้หลงใหลไปกับท่าน และแถมยังมีแม้แต่คำสอนของท่านเองที่ยังหักล้างในตัวของท่านเองเลยว่า “ห้ามให้เชื่อโดยปราศจากเหตุและผล” ถ้าตัวของท่านเองไม่มี “เหตุผล” ไม่มี “ธรรม” ซึ่งก็คือ “ปัญญา” ความรอบรู้ในทุกโลกหล้า ในทุกอณูของจักรวาล ในทุกดวงจิตวิญญาณแล้ว ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องมาเชื่อถือเคารพศรัทธาในตัวของท่านเองเลยแม้แต่น้อยเดียว แต่มันไม่ใช่ ใช่มั้ย ก็เพราะว่าท่านเป็นถึง “พุทธะ” ซึ่งก็คือ “ผู้รู้” และแถมด้วย “รู้แจ้งเห็นจริงทุกสรรพสิ่ง” ศาสนาของท่านถึงได้มีผู้คนศรัทธานับถือมากมายมาจนถึงปัจจุบันนี้นั่นเอง เรามาเปรียบเทียบกันว่าระหว่างคนที่มีจิตใจสูงกับคนที่มีจิตใจต่ำว่ามันแตกต่างกันอย่างไร คนที่มีจิตใจสูงก็คือ “คนดี” นั่นเอง โดยสรุปย่อๆง่ายๆ แต่เรามาขยายความต่อกันเลยว่ามันเป็นอย่างไร คนที่มีจิตใจสูงมักจะเป็นคนที่มีคุณงามความดีอยู่ในตัวเอง เป็นคนที่ไม่คิดพูดทำในสิ่งที่ไม่ดีไม่งามไม่ถูกต้องต่างๆนาๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กใหญ่ขนาดไหนอย่างไรก็ตาม โดยรวมแล้วก็คือคนที่มี “หิริ” กับ “โอตัปปะ” ซึ่งก็คือ ความละอายความชั่วกลัวเกรงต่อบาปกรรมความชั่วความเลวต่างๆในทุกประเภททั้งหมดโดยไม่มีการยกเว้นเลยแม้แต่เรื่องเดียว พูดไปพูดมามันก็เหมือนกับว่ามันทำกันได้ง่ายๆ แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้นมันไม่ได้ทำกันได้ง่ายๆเลย และเป็นเรื่องที่ยากมากๆเลยด้วย โดยเฉพาะกับคนที่เป็นเพียงแค่คนปุถุชนคนธรรมดาอย่างเราๆท่านๆ แต่กับในคนวิญญูชนนั้นมันเป็นเรื่องที่ไม่ได้ยากเย็นอะไรเลยสำหรับพวกเค้า ก็เพราะว่าเค้าคนนั้นได้ผ่านพ้นจากการเป็นคนปุถุชนมาแล้วนั่นเอง ซึ่งกว่าคนปุถุชนจะมากลายเป็นคนวิญญูชนนั้นมันมักจะต้องพานพบเจอกับตัวอุปสรรคขวากหนามต่างๆมามากมายและกับตัวปัญหาที่ยากยิ่งมาก่อน ซึ่งในจำพวกนี้ก็คือ “เจ้ากรรม นายเวร อริศัตรู และบททดสอบจากเบื้องบน” นั่นเอง และเค้าคนนั้นก็ได้สัมผัสรับรู้ซึ้งได้ถึงสัจธรรมของชีวิตและได้บรรลุธรรมแล้วด้วยดีอย่างลึกซึ้งจนถึงขั้นปล่อยปลดลดละวางซึ่งกิเลสตัวตนของเค้าเอง และได้ค้นพบหนทางสว่างในวิถีชีวิตของตนเองว่าต่อจากนี้ไปจะดำเนินชีวิตไปในทางใดอย่างไรให้มีความสุขและเป็นปกติสุขในแบบฉบับของตนเองจนกว่าร่างกายจะละสังขารของตนเองไปสู่ชีวิตที่เป็นนิรันดร์ในชาติภพหน้าต่อไป นี่คือคนที่มีจิตใจสูง แล้วเรามาว่ากันถึงคนที่มีจิตใจต่ำกันบ้างว่ามันเป็นอย่างไร คนที่มีจิตใจต่ำนั้นโดยทั่วไปเรามักจะเรียกขานกันว่าเป็น “คนชั่ว” นั่นเอง แต่เราจะมาอธิบายกันให้เข้าใจยิ่งขึ้นไปอีกคือ คนประเภทนี้นั้นมักจะเป็นคนเห็นแก่ตัว ชอบเอาแต่ใจของตนเองเป็นใหญ่ ไม่สนใจผู้อื่นว่าตนเองจะทำให้ใครเดือดเนื้อร้อนใจหรือไม่อย่างไรในการกระทำของตนเอง ชอบยกตนข่มท่าน ชอบเอาชนะ โลภโมโทสัน มักโกรธโมโหง่าย เลือดร้อนวู่วามบ้าคลั่ง ไม่คิดหน้าระวังหลัง ชื่นชอบอบายมุก เจ้าชู้ประตูดิน ลุ่มหลงมัวเมา และจิตใจเต็มไปด้วยกิเลสตัณหา ชอบอวดเบ่งใหญ่โต วางก้ามเป็นคนอันธพาลขวางคลองคูเมือง นึกว่าตนเองยิ่งใหญ่คับฟ้าทั่วแผ่นดิน มักทะเยอทะยานอยากเป็นใหญ่เป็นโต มักใหญ่ใฝ่สูง บ้าอำนาจ ชอบฆ่าชอบทำลายล้างผลาญ นิสัยโดยรวมแล้วแย่มาก เอาเป็นว่านี่เป็นคนที่ไม่มีธรรมในจิตใจ ไม่มีความดีงามในตัวของตัวเองเลย คนจำพวกนี้มักมีอยู่ทั่วไปในสังคมเรา ไม่เว้นแม้กระทั่งคนที่เห็นแก่ตัวก็เป็นคนชั่วด้วย และก็ชอบที่จะมีความสุขบนความทุกข์ของคนดี เพราะอยู่ในสังคมของคนชั่วเพียงอย่างเดียวไม่ได้ เพราะว่าจะไม่มีใครยอมใคร และจะฆ่ากันเองนั่นเอง และไม่สามารถที่จะอยู่ในหมู่ของคนดีได้อีกด้วย ก็เพราะว่าไม่มีคนดีที่ไหนเค้ายอมรับในนิสัยสันดานความประพฤติชั่วได้ พอตัวเองใกล้จะตายก็ทุรนทุรายและก็ตกนรกลงหลุมกันทุกราย คนจำพวกนี้มักจะกลัวมากๆเพียงอย่างเดียวคือ “กลัวตาย” แต่ไม่กลัวลงนรก เพราะไม่เชื่อในเรื่องของกฎแห่งกรรม พอตายลงไปแล้วก็มาขอส่วนบุญคนอื่น ซึ่งก็สมควรกับการกระทำของตนเองอย่างยิ่งแล้ว นี่คือคนที่มีจิตใจต่ำนั่นเอง สุดท้ายแล้ว ในท้ายที่สุดแล้ว คนที่จะเลือกเดินบนทางเดินของตนเองที่จะไปในทิศทางใดนั้นก็มักจะได้เป็นไปในแบบนั้น “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” “ทำอย่างไรได้อย่างนั้น” มันเป็นกฎแห่งกรรม มันเป็นสัจธรรม ไม่มีใครหลีกหนีกรรมพ้นไปได้ กรรมคือการกระทำ “ทำกรรมดีย่อมได้ดี ทำกรรมชั่วย่อมได้ชั่ว” ตอบแทนกรรมกลับไป กรรมยุติธรรมเสมอ แล้วคุณหล่ะ จะเลือกเดินไปในทิศทางใดแบบไหน จะเลือกเป็นคนที่มีจิตใจสูงหรือต่ำ คุณเลือกได้ตั้งแต่บัดนี้นะ เลือกให้ดีก็แล้วกัน ก่อนที่จะหมดโอกาสที่จะได้เลือกอีกตลอดไป เลือกให้ทันก่อนที่คุณจะตายลงไปก็แล้วกัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 245 มุมมอง 0 รีวิว
  • การเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์
    การเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์นั้นพูดไปมันก็ดูเหมือนว่าจะเป็นกันได้โดยง่ายๆ แต่แท้ที่จริงแล้วนั้นมันเป็นกันได้โดยยากมาก ยากมากๆๆ
    มาดูคุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิ์ที่จะมาเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์กัน ผู้ที่มีคุณสมบัติที่จะมาเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์นั้นมีเพียง 1ใน1ล้าน คนเท่านั้น และผู้ที่เป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์จริงๆนั้นมีเพียงแค่ 1ใน1พันล้าน คนเท่านั้นเอง
    คุณสมบัติของผู้ที่จะมาเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์นั้นมีดังต่อไปนี้ คือ
    1.จะต้องเป็นคนที่ดีอย่างแท้จริงเท่านั้น ซึ่งคนชั่วนั้นเป็นไม่ได้เลย ซึ่งหรือก็คือ คนชั่วนั้นหมดสิทธิ์ที่จะมาเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์นั่นเอง
    2.จะต้องได้รับการยอมรับจากเบี้องบนก่อน นี่หมายถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งมวล ซึ่งนั่นก็คือ เหล่าพุทธะ หรือก็คือ เหล่าผู้รู้แจ้งแล้วนั่นเอง(เมื่อเป็นแล้วก็จะรู้เอง)จะรู้เองเห็นเองเหมือนกันกับพระอรหันต์นั่นแหล่ะ แต่ก็ยังด้อยกว่ามากนัก ซึ่งหมายถึงพวกที่มีความสามารถพิเศษในตัวตนของตนเองนั่นเอง
    3.จะต้องเป็นคนที่มีศีลมีธรรมประจำใจเป็นของตนเอง และเคร่งครัดในศีลมากพอสมควร ซึ่งคนที่ไร้ศีลไร้ธรรมประจำใจของตนเองนั้นหมดสิทธิ์เป็นโดยสิ้นเชิง และยังจะต้องรักษาศีลได้อีกด้วย ซึ่งหมายถึงการไม่ละเมิดในศีลข้องต่างๆอย่างเด็ดขาด และจะต้องมีกฎเหล็กประจำตัวประจำใจเป็นของตนเองตามศาสนาหรือลัทธินั้นๆที่ตนเองเคารพนับถือเพิ่มขึ้นมาอีกด้วย
    4.จะต้องมีศาสนาหรือลัทธิ หรือซึ่งก็คือ จะต้องเป็นผู้ที่นับถือศาสนาหรือลัทธิที่ดีและถูกต้องเท่านั้น ถ้าหากไปนับถือศาสนาหรือลัทธิที่ผิดๆที่แตกต่างไปจากการทำดีการเป็นคนที่ดีแล้วล่ะก็ๆจะหมดสิทธิที่จะได้เป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ในทันที
    5.จะต้องเป็นผู้ที่มีปัญญามากพอสมควร นี่ไม่ได้หมายถึงการที่มีภูมิความรู้เท่าทันผู้คนกลโกงคนอื่นๆที่มีมากมายก่ายกอง แต่นี่หมายถึงการที่จะต้องมีปัญญามากพอที่จะรับรู้ได้ในจิตใจของตนเองว่าสิ่งใดที่เป็นสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม และสิ่งใดที่เป็นสิ่งที่ผิดศีลผิดธรรม ซึ่งหมายถึงการมีปัญญามากพอที่จะแยกแยะผิดชอบชั่วดีได้อย่างแม่นยำและแน่วแน่มั่นคงในตนเอง และถึงแม้ว่าบุคคลผู้นั้นจะเป็นคนที่บริสิทธิ์ผุดผ่องกายใจ และไว้ใจผู้อื่นง่ายจนเกินไป หรือจะให้พูดโดยง่ายๆก็คือ เชื่อใจคนง่ายจนเกินไป ถูกหลอกได้โดยง่ายจนเกินไป ซึ่งนั่นก็ไม่ได้หมายความว่าบุคคลผู้นั้นจะขาดคุณสมบัติในการเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ไป เป็นเพียงแค่บุคคลผู้นั้นเค้าอ่อนต่อโลกเกินไป หรือเป็นคนใสซื่อบริสุทธิ์แล้วจะหมดสิทธิ์หมดคุณสมบัติไป และนี่ก็เป็นหนึ่งในหลายข้อที่บุคคลผู้ซึ่งเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์พึงจะมีควรจะมีอีกด้วย
    6.จะต้องเป็นคนที่กล้าหาญชาญชัย นี่ไม่ได้หมายถึงว่าจะต้องไปเป็นคนที่กล้าหาญชาญชัยในการต่อสู้รบตบมือกับใครเพียงอย่างเดียว แต่หมายรวมถึงการเป็นคนที่กล้าคิดนอกกรอบกฎระเบียบเก่าแก่คร่ำครึโบราณ กล้าที่จะคิดและตัดสินใจในการทำกิจการงานต่างๆในทางที่ดีและถูกต้องชอบธรรมและเด็ดเดี่ยวเด็ดขาดปราศจากความลังเลใจและเกรงกลัวใดๆ และยังต้องมีความกล้าหาญมากพอที่จะยอมรับความผิดหรือรับผิดชอบในสิ่งที่ตนเองได้กระทำมาในสิ่งที่ผู้อื่นชี้แนะและเห็นสมควรว่ามันไม่ถูกต้องชอบธรรม และไม่มีการประนีประนอมยอมความกันหรือเกิดกลัวความผิดพลาดของตนเองต่อผู้อื่นที่ตนเองได้เคยกระทำลงไปแล้วนั่นเอง
    7.จะต้องเป็นคนที่มีระเบียบวินัยในตนเองอย่างเคร่งครัด การมีระเบียบวินัยนั้นสามารถที่จะทำให้กิจการงานต่างๆนั้นมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยราบรื่นไปได้ด้วยดี และจำเป็นที่จะต้องมีระเบียบวินัยในการรักษากฎระเบียบหรือข้อบังคับต่างๆตามสภาพและสถานะของตนเองในสถานที่ตำแหน่งแห่งงานต่างๆด้วยดี
    8.จะต้องเป็นคนที่มีความอดทนอดกลั้น มีความละอายชั่วกลัวบาปเป็นสำคัญ มีความอดทนอดกลั้นต่อหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมายที่ได้รับผิดชอบไว้ จำเป็นที่จะต้องมีความอดทนอดกลั้นต่อแรงกระทบกระทั่งจากสิ่งยั่วยุต่างๆภายนอกไม่ให้เกิดการทะเลาะเบาะแว้งรุกรามไปในวงกว้าง เพียงแค่เราสงบสยบใจของเราไว้ไม่ให้ไปผูกโกรธอาฆาตพยาบาทมาดร้ายใครก็จะทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างจบลงได้โดยเร็วไว จะต้องไม่หลงใหลไปกับกิเลสชั่วอำนาจฝ่ายต่ำที่เข้ามากระทบรบกวนจิตใจ โดยให้กระทำการกิจการงานต่างๆให้เป็นไปได้ด้วยดีราบรื่นปลอดภัย ไม่หวั่นไหวไปกับสิ่งต่างๆที่ไม่ดีไม่ให้มันเข้ามาครอบงำจิตใจได้
    ซึ่งคุณสมบัติคร่าวๆพอประมาณของผู้ที่เป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ก็มีดังนี้ ซึ่งที่จริงแล้วนั้นยังมีอีกหลายข้อนัก แต่โดยส่วนรวมแล้วก็คือ การที่จะต้องเป็นคนที่ดีและการที่จะต้องไม่เป็นคนชั่วนั่นเองครับ แต่ถ้าหากถามว่าโดยสรุปง่ายๆมีมั้ยนั้น มันก็มีตัวอย่างอยู่แล้ว ซึ่งตัวอย่างนั่นก็คือ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ นั่นเอง ประพฤติปฏิบัติตนเองตามอย่างท่าน ทำตามคำสอนของท่าน เป็นให้ได้อย่างท่านก็แค่นั้นเอง มันก็เท่านั้นเอง เพราะว่าท่านคือจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ ท่านเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ที่แท้จริงแล้วนั่นเอง
    การเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ การเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์นั้นพูดไปมันก็ดูเหมือนว่าจะเป็นกันได้โดยง่ายๆ แต่แท้ที่จริงแล้วนั้นมันเป็นกันได้โดยยากมาก ยากมากๆๆ มาดูคุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิ์ที่จะมาเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์กัน ผู้ที่มีคุณสมบัติที่จะมาเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์นั้นมีเพียง 1ใน1ล้าน คนเท่านั้น และผู้ที่เป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์จริงๆนั้นมีเพียงแค่ 1ใน1พันล้าน คนเท่านั้นเอง คุณสมบัติของผู้ที่จะมาเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์นั้นมีดังต่อไปนี้ คือ 1.จะต้องเป็นคนที่ดีอย่างแท้จริงเท่านั้น ซึ่งคนชั่วนั้นเป็นไม่ได้เลย ซึ่งหรือก็คือ คนชั่วนั้นหมดสิทธิ์ที่จะมาเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์นั่นเอง 2.จะต้องได้รับการยอมรับจากเบี้องบนก่อน นี่หมายถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งมวล ซึ่งนั่นก็คือ เหล่าพุทธะ หรือก็คือ เหล่าผู้รู้แจ้งแล้วนั่นเอง(เมื่อเป็นแล้วก็จะรู้เอง)จะรู้เองเห็นเองเหมือนกันกับพระอรหันต์นั่นแหล่ะ แต่ก็ยังด้อยกว่ามากนัก ซึ่งหมายถึงพวกที่มีความสามารถพิเศษในตัวตนของตนเองนั่นเอง 3.จะต้องเป็นคนที่มีศีลมีธรรมประจำใจเป็นของตนเอง และเคร่งครัดในศีลมากพอสมควร ซึ่งคนที่ไร้ศีลไร้ธรรมประจำใจของตนเองนั้นหมดสิทธิ์เป็นโดยสิ้นเชิง และยังจะต้องรักษาศีลได้อีกด้วย ซึ่งหมายถึงการไม่ละเมิดในศีลข้องต่างๆอย่างเด็ดขาด และจะต้องมีกฎเหล็กประจำตัวประจำใจเป็นของตนเองตามศาสนาหรือลัทธินั้นๆที่ตนเองเคารพนับถือเพิ่มขึ้นมาอีกด้วย 4.จะต้องมีศาสนาหรือลัทธิ หรือซึ่งก็คือ จะต้องเป็นผู้ที่นับถือศาสนาหรือลัทธิที่ดีและถูกต้องเท่านั้น ถ้าหากไปนับถือศาสนาหรือลัทธิที่ผิดๆที่แตกต่างไปจากการทำดีการเป็นคนที่ดีแล้วล่ะก็ๆจะหมดสิทธิที่จะได้เป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ในทันที 5.จะต้องเป็นผู้ที่มีปัญญามากพอสมควร นี่ไม่ได้หมายถึงการที่มีภูมิความรู้เท่าทันผู้คนกลโกงคนอื่นๆที่มีมากมายก่ายกอง แต่นี่หมายถึงการที่จะต้องมีปัญญามากพอที่จะรับรู้ได้ในจิตใจของตนเองว่าสิ่งใดที่เป็นสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม และสิ่งใดที่เป็นสิ่งที่ผิดศีลผิดธรรม ซึ่งหมายถึงการมีปัญญามากพอที่จะแยกแยะผิดชอบชั่วดีได้อย่างแม่นยำและแน่วแน่มั่นคงในตนเอง และถึงแม้ว่าบุคคลผู้นั้นจะเป็นคนที่บริสิทธิ์ผุดผ่องกายใจ และไว้ใจผู้อื่นง่ายจนเกินไป หรือจะให้พูดโดยง่ายๆก็คือ เชื่อใจคนง่ายจนเกินไป ถูกหลอกได้โดยง่ายจนเกินไป ซึ่งนั่นก็ไม่ได้หมายความว่าบุคคลผู้นั้นจะขาดคุณสมบัติในการเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ไป เป็นเพียงแค่บุคคลผู้นั้นเค้าอ่อนต่อโลกเกินไป หรือเป็นคนใสซื่อบริสุทธิ์แล้วจะหมดสิทธิ์หมดคุณสมบัติไป และนี่ก็เป็นหนึ่งในหลายข้อที่บุคคลผู้ซึ่งเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์พึงจะมีควรจะมีอีกด้วย 6.จะต้องเป็นคนที่กล้าหาญชาญชัย นี่ไม่ได้หมายถึงว่าจะต้องไปเป็นคนที่กล้าหาญชาญชัยในการต่อสู้รบตบมือกับใครเพียงอย่างเดียว แต่หมายรวมถึงการเป็นคนที่กล้าคิดนอกกรอบกฎระเบียบเก่าแก่คร่ำครึโบราณ กล้าที่จะคิดและตัดสินใจในการทำกิจการงานต่างๆในทางที่ดีและถูกต้องชอบธรรมและเด็ดเดี่ยวเด็ดขาดปราศจากความลังเลใจและเกรงกลัวใดๆ และยังต้องมีความกล้าหาญมากพอที่จะยอมรับความผิดหรือรับผิดชอบในสิ่งที่ตนเองได้กระทำมาในสิ่งที่ผู้อื่นชี้แนะและเห็นสมควรว่ามันไม่ถูกต้องชอบธรรม และไม่มีการประนีประนอมยอมความกันหรือเกิดกลัวความผิดพลาดของตนเองต่อผู้อื่นที่ตนเองได้เคยกระทำลงไปแล้วนั่นเอง 7.จะต้องเป็นคนที่มีระเบียบวินัยในตนเองอย่างเคร่งครัด การมีระเบียบวินัยนั้นสามารถที่จะทำให้กิจการงานต่างๆนั้นมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยราบรื่นไปได้ด้วยดี และจำเป็นที่จะต้องมีระเบียบวินัยในการรักษากฎระเบียบหรือข้อบังคับต่างๆตามสภาพและสถานะของตนเองในสถานที่ตำแหน่งแห่งงานต่างๆด้วยดี 8.จะต้องเป็นคนที่มีความอดทนอดกลั้น มีความละอายชั่วกลัวบาปเป็นสำคัญ มีความอดทนอดกลั้นต่อหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมายที่ได้รับผิดชอบไว้ จำเป็นที่จะต้องมีความอดทนอดกลั้นต่อแรงกระทบกระทั่งจากสิ่งยั่วยุต่างๆภายนอกไม่ให้เกิดการทะเลาะเบาะแว้งรุกรามไปในวงกว้าง เพียงแค่เราสงบสยบใจของเราไว้ไม่ให้ไปผูกโกรธอาฆาตพยาบาทมาดร้ายใครก็จะทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างจบลงได้โดยเร็วไว จะต้องไม่หลงใหลไปกับกิเลสชั่วอำนาจฝ่ายต่ำที่เข้ามากระทบรบกวนจิตใจ โดยให้กระทำการกิจการงานต่างๆให้เป็นไปได้ด้วยดีราบรื่นปลอดภัย ไม่หวั่นไหวไปกับสิ่งต่างๆที่ไม่ดีไม่ให้มันเข้ามาครอบงำจิตใจได้ ซึ่งคุณสมบัติคร่าวๆพอประมาณของผู้ที่เป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ก็มีดังนี้ ซึ่งที่จริงแล้วนั้นยังมีอีกหลายข้อนัก แต่โดยส่วนรวมแล้วก็คือ การที่จะต้องเป็นคนที่ดีและการที่จะต้องไม่เป็นคนชั่วนั่นเองครับ แต่ถ้าหากถามว่าโดยสรุปง่ายๆมีมั้ยนั้น มันก็มีตัวอย่างอยู่แล้ว ซึ่งตัวอย่างนั่นก็คือ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ นั่นเอง ประพฤติปฏิบัติตนเองตามอย่างท่าน ทำตามคำสอนของท่าน เป็นให้ได้อย่างท่านก็แค่นั้นเอง มันก็เท่านั้นเอง เพราะว่าท่านคือจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ ท่านเป็นจิตวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ที่แท้จริงแล้วนั่นเอง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 202 มุมมอง 0 รีวิว
  • จิตวิญญาณ
    บางคนอาจจะคงสงสัยว่าคำๆนี้มีความหมายว่าอย่างไร และคนที่เอ่ยถึงคำๆนี้นั้นเป็นคนอย่างไร ซึ่งผมสามารถที่จะพอตอบกับทุกคนได้เลยว่า คนที่เอ่ยคำๆนี้นั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นคนที่บรรลุธรรมขั้นสูงมาอย่างโชกโชนและมีประสบการณ์มากมายพอตัวเลยทีเดียว ถ้าคนๆนั้นรู้ความหมายที่แท้จริงของคำๆนี้
    จิตวิญญาณนั้นล้วนมีอยู่ในตัวของทุกๆคน แต่เค้าคนนั้นจะล่วงรู้ค้นพบถึงคำๆนี้และเข้าใจความหมายของจิตวิญญาณของตนเองหรือไม่นั้น มันไม่ใช่เรื่องง่ายๆเลยทีเดียว และจะต้องใช้เวลาในการสั่งสมประสบการณ์ความรู้มาอย่างยาวนานมากมาย ซึ่งบางคนอาจจะต้องใช้เวลาทั้งชีวิต แต่ก็มีคนไม่น้อยเลยที่ไม่เข้าถึงซึ่งความหมายของคำๆนี้และได้หมดลมหายใจตายไปอย่างไร้คุณค่าไร้ราคา
    จิตวิญญาณนั้นมีหลากหลายแบบ เช่น จิตวิญญาณของความเป็นคนหรือสัตว์ จิตวิญญาณของความเป็นคนอาชีพนั้นๆ จิตวิญญาณของธรรมชาติ จิตวิญญาณของสรรพสิ่งต่างๆ ซึ่งความหมายของมันก็จะแตกต่างกันไป
    จิตวิญญาณนั้น คือการรวมกันระหว่าง จิตใจ กับ วิญญาณ ซึ่งทุกสรรพสิ่งล้วนมีจิตวิญญาณด้วยกันทั้งนั้น
    ส่วนที่ผมจะกล่าวถึงนั้นคือจิตวิญญาณที่แท้จริง ซึ่งไม่ได้มาง่ายดายเลยทีเดียว เพราะว่าจะต้องหมั่นฝึกฝนตนเองอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งเหมือนกันกับการเรียนรู้สรรพวิชาแขนงต่างๆ ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจ จิตวิญญาณที่แท้จริงนั้นมักจะเกี่ยวข้องกับหลักธรรมคำสอนของศาสนาทุกศาสนา ซึ่งก็แล้วแต่ว่าจะศรัทธานับถือในศาสนาใด และจะต้องเข้าถึงหลักธรรมของศาสนานั้นๆอย่างเข้าใจเข้าถึงอย่างแท้จริง หรือก็คือการบรรลุธรรมขั้นสูงสุดนั่นเอง ซึ่งผมจะยกตัวอย่างเช่น ศาสนาพุทธ ก็จะต้องบรรลุธรรมมรรคผลนิพพานเป็นพระอรหันต์เท่านั้นถึงจะเรียกได้เต็มปากเต็มคำว่าเข้าใจเข้าถึงซึ่งจิตวิญญาณที่แท้จริงนั่นเอง
    จิตวิญญาณ บางคนอาจจะคงสงสัยว่าคำๆนี้มีความหมายว่าอย่างไร และคนที่เอ่ยถึงคำๆนี้นั้นเป็นคนอย่างไร ซึ่งผมสามารถที่จะพอตอบกับทุกคนได้เลยว่า คนที่เอ่ยคำๆนี้นั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นคนที่บรรลุธรรมขั้นสูงมาอย่างโชกโชนและมีประสบการณ์มากมายพอตัวเลยทีเดียว ถ้าคนๆนั้นรู้ความหมายที่แท้จริงของคำๆนี้ จิตวิญญาณนั้นล้วนมีอยู่ในตัวของทุกๆคน แต่เค้าคนนั้นจะล่วงรู้ค้นพบถึงคำๆนี้และเข้าใจความหมายของจิตวิญญาณของตนเองหรือไม่นั้น มันไม่ใช่เรื่องง่ายๆเลยทีเดียว และจะต้องใช้เวลาในการสั่งสมประสบการณ์ความรู้มาอย่างยาวนานมากมาย ซึ่งบางคนอาจจะต้องใช้เวลาทั้งชีวิต แต่ก็มีคนไม่น้อยเลยที่ไม่เข้าถึงซึ่งความหมายของคำๆนี้และได้หมดลมหายใจตายไปอย่างไร้คุณค่าไร้ราคา จิตวิญญาณนั้นมีหลากหลายแบบ เช่น จิตวิญญาณของความเป็นคนหรือสัตว์ จิตวิญญาณของความเป็นคนอาชีพนั้นๆ จิตวิญญาณของธรรมชาติ จิตวิญญาณของสรรพสิ่งต่างๆ ซึ่งความหมายของมันก็จะแตกต่างกันไป จิตวิญญาณนั้น คือการรวมกันระหว่าง จิตใจ กับ วิญญาณ ซึ่งทุกสรรพสิ่งล้วนมีจิตวิญญาณด้วยกันทั้งนั้น ส่วนที่ผมจะกล่าวถึงนั้นคือจิตวิญญาณที่แท้จริง ซึ่งไม่ได้มาง่ายดายเลยทีเดียว เพราะว่าจะต้องหมั่นฝึกฝนตนเองอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งเหมือนกันกับการเรียนรู้สรรพวิชาแขนงต่างๆ ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจ จิตวิญญาณที่แท้จริงนั้นมักจะเกี่ยวข้องกับหลักธรรมคำสอนของศาสนาทุกศาสนา ซึ่งก็แล้วแต่ว่าจะศรัทธานับถือในศาสนาใด และจะต้องเข้าถึงหลักธรรมของศาสนานั้นๆอย่างเข้าใจเข้าถึงอย่างแท้จริง หรือก็คือการบรรลุธรรมขั้นสูงสุดนั่นเอง ซึ่งผมจะยกตัวอย่างเช่น ศาสนาพุทธ ก็จะต้องบรรลุธรรมมรรคผลนิพพานเป็นพระอรหันต์เท่านั้นถึงจะเรียกได้เต็มปากเต็มคำว่าเข้าใจเข้าถึงซึ่งจิตวิญญาณที่แท้จริงนั่นเอง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 165 มุมมอง 0 รีวิว
  • ความสุขที่แท้จริง
    บางครั้งคนเราคิดว่าความสุขนั้นจีรังยั่งยืน บางคนก็ว่ามันไม่จีรังยั่งยืน บ้างก็ว่ามีทั้งความสุขและความทุกข์ปะปนกันไปตามคำสอนของศาสนา แต่สำหรับผมแล้ว ความสุขนั้นมันขึ้นอยู่กับใจของเรา และมันก็มีทั้งชั่วคราวและยั่งยืนทั้งสองแบบนั่นเอง
    ความสุขที่แท้จริงนั้นมันสามารถที่จะเป็นไปได้เสมอมาและเสมอไป แต่มันขึ้นอยู่กับใจของเรา หลวงตาบัวฯท่านได้เคยสอนพวกเราทั้งหลายเอาไว้ว่า ใจเรานั้นไม่เคยตาย มันมีทั้งสวรรค์และนรก เราจึงควรที่จะเร่งกระทำการสั่งสมความดีบุญกุศลบุญบารมีเอาไว้ให้มากๆ เพราะกรรมหรือการกระทำของตัวเราจะเป็นตัวกำหนดว่า ในชาติภพหน้านั้นเราจะได้ไปอยู่ ณ ที่ใดและจะได้ไปเกิดไปเป็นอะไรกัน ฉะนั้นหลวงตาบัวฯท่านถึงได้เฝ้าบอกพวกเราทั้งหลาย และย้ำนักย้ำหนาว่า สวรรค์มี นรกมี ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว นิพพานมีจริง พรหมโลกมีจริง ทำอย่างไรได้อย่างนั้น ให้พวกเราจงจำเอาไว้ให้ขึ้นใจนะ หลวงตาบัวฯท่านว่าเอาไว้อย่างนั้น ขนาดหลวงตาบัวฯท่านเป็นพระอรหันต์ยังว่าไว้อย่างนั้นเลย แล้วพวกเราตัวเท่าหนู เป็นใครเก่งมาจากไหนถึงจะไม่เชื่อท่านเล่า นี่คือหลักธรรมคำสอนที่หลวงตาบัวฯท่านได้ว่าเอาไว้ก่อนที่ท่านจะมรณภาพละสังขารไปนั่นเอง
    ความสุขที่แท้จริงคือ การตั้งกฎเกณฑ์ให้กับตนเองได้ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่เราได้ตั้งเอาไว้อย่างเคร่งครัด โดยในช่วงแรกๆนั้นให้เราตั้งสัจจะตั้งใจตั้งมั่นกับตนเองให้ได้ก่อนว่า เราจะทำตามกฎระเบียบข้อบังคับที่ตนเองได้ตั้งเอาไว้อย่างเคร่งครัด และถ้าหากว่าเราได้เลินเล่อเผลอเลอละเมิดกฎระเบียบข้อบังคับไป เราก็ควรที่จะต้องได้รับการลงโทษทัณฑ์ด้วยตัวของเราเองด้วย โดยโทษทัณฑ์ที่เราจะได้รับนั้น ในตอนแรกๆและหรือครั้งแรกๆนั้น เราอาจจะควรที่จะได้รับไปเป็นแบบเบาๆไปก่อน แต่ถ้าเราได้ทำการละเมิดไปบ่อยครั้งๆเข้า เราก็ต้องควรที่จะได้รับกับโทษทัณฑ์ที่หนักหนาสาหัสยิ่งขึ้น ซึ่งมันยากและน่ากลัว แต่อย่าได้ไปท้อแท้และท้อถอย แต่ให้เราพยายามทำให้ได้ในสิ่งที่เราได้ตั้งมั่นกับตนเองเอาไว้ และอย่าได้ไปท้อถอยกับความชั่วที่มีในจิตใจของตนเอง นี่เป็นแค่ตัวอย่างง่ายๆที่ผมได้เคยประพฤติปฏิบัติมานั่นเอง เพื่อความสุขที่แท้จริงในใจของเราที่เราได้มุ่งหวังคาดหวังเอาไว้นั่นเอง และสุดท้ายนี้ผมขอให้ทุกท่านได้เข้าใจและลองนำไปทำกันดูกันนะครับ
    ความสุขที่แท้จริง บางครั้งคนเราคิดว่าความสุขนั้นจีรังยั่งยืน บางคนก็ว่ามันไม่จีรังยั่งยืน บ้างก็ว่ามีทั้งความสุขและความทุกข์ปะปนกันไปตามคำสอนของศาสนา แต่สำหรับผมแล้ว ความสุขนั้นมันขึ้นอยู่กับใจของเรา และมันก็มีทั้งชั่วคราวและยั่งยืนทั้งสองแบบนั่นเอง ความสุขที่แท้จริงนั้นมันสามารถที่จะเป็นไปได้เสมอมาและเสมอไป แต่มันขึ้นอยู่กับใจของเรา หลวงตาบัวฯท่านได้เคยสอนพวกเราทั้งหลายเอาไว้ว่า ใจเรานั้นไม่เคยตาย มันมีทั้งสวรรค์และนรก เราจึงควรที่จะเร่งกระทำการสั่งสมความดีบุญกุศลบุญบารมีเอาไว้ให้มากๆ เพราะกรรมหรือการกระทำของตัวเราจะเป็นตัวกำหนดว่า ในชาติภพหน้านั้นเราจะได้ไปอยู่ ณ ที่ใดและจะได้ไปเกิดไปเป็นอะไรกัน ฉะนั้นหลวงตาบัวฯท่านถึงได้เฝ้าบอกพวกเราทั้งหลาย และย้ำนักย้ำหนาว่า สวรรค์มี นรกมี ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว นิพพานมีจริง พรหมโลกมีจริง ทำอย่างไรได้อย่างนั้น ให้พวกเราจงจำเอาไว้ให้ขึ้นใจนะ หลวงตาบัวฯท่านว่าเอาไว้อย่างนั้น ขนาดหลวงตาบัวฯท่านเป็นพระอรหันต์ยังว่าไว้อย่างนั้นเลย แล้วพวกเราตัวเท่าหนู เป็นใครเก่งมาจากไหนถึงจะไม่เชื่อท่านเล่า นี่คือหลักธรรมคำสอนที่หลวงตาบัวฯท่านได้ว่าเอาไว้ก่อนที่ท่านจะมรณภาพละสังขารไปนั่นเอง ความสุขที่แท้จริงคือ การตั้งกฎเกณฑ์ให้กับตนเองได้ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่เราได้ตั้งเอาไว้อย่างเคร่งครัด โดยในช่วงแรกๆนั้นให้เราตั้งสัจจะตั้งใจตั้งมั่นกับตนเองให้ได้ก่อนว่า เราจะทำตามกฎระเบียบข้อบังคับที่ตนเองได้ตั้งเอาไว้อย่างเคร่งครัด และถ้าหากว่าเราได้เลินเล่อเผลอเลอละเมิดกฎระเบียบข้อบังคับไป เราก็ควรที่จะต้องได้รับการลงโทษทัณฑ์ด้วยตัวของเราเองด้วย โดยโทษทัณฑ์ที่เราจะได้รับนั้น ในตอนแรกๆและหรือครั้งแรกๆนั้น เราอาจจะควรที่จะได้รับไปเป็นแบบเบาๆไปก่อน แต่ถ้าเราได้ทำการละเมิดไปบ่อยครั้งๆเข้า เราก็ต้องควรที่จะได้รับกับโทษทัณฑ์ที่หนักหนาสาหัสยิ่งขึ้น ซึ่งมันยากและน่ากลัว แต่อย่าได้ไปท้อแท้และท้อถอย แต่ให้เราพยายามทำให้ได้ในสิ่งที่เราได้ตั้งมั่นกับตนเองเอาไว้ และอย่าได้ไปท้อถอยกับความชั่วที่มีในจิตใจของตนเอง นี่เป็นแค่ตัวอย่างง่ายๆที่ผมได้เคยประพฤติปฏิบัติมานั่นเอง เพื่อความสุขที่แท้จริงในใจของเราที่เราได้มุ่งหวังคาดหวังเอาไว้นั่นเอง และสุดท้ายนี้ผมขอให้ทุกท่านได้เข้าใจและลองนำไปทำกันดูกันนะครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 163 มุมมอง 0 รีวิว
  • รูปธรรมกับนามธรรม
    ทุกสิ่งที่เป็นรูปธรรม ล้วนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาตลอดเวลา ไม่มีทางต่อต้านหรือลบล้างได้
    ทุกสิ่งที่เป็นนามธรรม ล้วนคงอยู่ถาวรคู่กับกาลเวลาเสมอมา ไม่มีทางต่อต้านหรือลบล้างได้เช่นกัน
    ตัวอย่างที่ทำให้เห็นได้ชัดเจน คือ สังขารของพระพุทธเจ้าไม่เที่ยง ไม่เหมือนกับคำสอนของท่านที่เที่ยงตรงถาวรเสมอมา
    รูปธรรมกับนามธรรม ทุกสิ่งที่เป็นรูปธรรม ล้วนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาตลอดเวลา ไม่มีทางต่อต้านหรือลบล้างได้ ทุกสิ่งที่เป็นนามธรรม ล้วนคงอยู่ถาวรคู่กับกาลเวลาเสมอมา ไม่มีทางต่อต้านหรือลบล้างได้เช่นกัน ตัวอย่างที่ทำให้เห็นได้ชัดเจน คือ สังขารของพระพุทธเจ้าไม่เที่ยง ไม่เหมือนกับคำสอนของท่านที่เที่ยงตรงถาวรเสมอมา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 60 มุมมอง 0 รีวิว
  • แนวทางพิจารณาทางเลือก: ฝืนทนเพื่ออนาคต หรือเลือกตามใจในปัจจุบัน

    1. ใช้หลักพิจารณาประโยชน์และโทษ

    พระพุทธเจ้าให้พิจารณา "ประโยชน์และโทษ" ของแต่ละทางเลือก ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

    ถามตัวเอง:

    ทางที่ฝืนทนทุกข์ตอนนี้ มีประโยชน์อะไรในอนาคต?

    สิ่งที่ต้องการในปัจจุบัน จะสร้างโทษอะไรในอนาคต?


    หากทางที่ทุกข์ตอนนี้ นำไปสู่ผลที่ดีในอนาคต และทางที่ง่ายในปัจจุบันอาจก่อให้เกิดโทษในระยะยาว ควรเลือกทางที่มีประโยชน์ยาวนานกว่า



    ---

    2. ฝึกมองในระยะยาว: การยอมทุกข์สั้นเพื่อสุขที่ยืนยาว

    บางครั้งการฝืนทนเหมือนการกินยาขมเพื่อหายจากไข้หนัก

    ถ้าทนทุกข์ตอนนี้เพียงชั่วคราว แต่ให้ผลเป็นความสุข ความมั่นคง หรือการเติบโตในระยะยาว พระพุทธเจ้าทรงแนะนำให้เลือกทางนี้

    ตัวอย่าง:

    ฝึกขันติในสิ่งที่ไม่ชอบ เช่น การทำงานหนัก หรือการเสียสละเวลาเพื่อการเรียนรู้

    หากมันทำให้อนาคตมั่นคง สุขภาพจิต และฐานะทางการเงินดีขึ้น ควรเลือกอดทน




    ---

    3. ใช้มรณสติเตือนใจ

    เมื่อไม่รู้ว่าอนาคตจะเกิดอะไรขึ้น ควรเจริญมรณสติ:

    ถามตัวเอง:

    ถ้าต้องตายวันนี้ จะเลือกทางไหนที่ทำให้ใจสงบ และรู้สึกว่าได้ทำสิ่งที่ดีที่สุด?

    สิ่งที่กำลังตัดสินใจทำ จะสร้าง ความรู้สึกเป็นกุศล หรือเป็นอกุศล?



    พระพุทธเจ้าทรงแนะนำว่า: สิ่งที่ทำให้จิตรู้สึกดี มีความสบายใจ และเป็นประโยชน์กับผู้อื่น นั่นคือสิ่งที่ควรทำ



    ---

    4. ความสมดุลระหว่าง “ขันติ” และ “ฟังเสียงหัวใจ”

    หากทางที่ถูกต้องทำให้ทุกข์ใจจนกระทบสุขภาพจิตและความสุขระยะสั้น อาจต้องปรับสมดุล

    ถามตัวเอง:

    "ฉันฝืนมากเกินไปหรือเปล่า?"

    "ฉันสามารถแบ่งเวลาให้ตัวเองมีความสุขเล็กๆ น้อยๆ ในปัจจุบันได้ไหม?"





    ---

    5. สรุปการเลือก: เลือกด้วยความกุศลและปัญญา

    หากการฝึกขันติบารมีช่วยให้เราดำเนินชีวิตอย่างมีวินัย และสร้างสุขในระยะยาว ควรยึดถือ

    หากทางเลือกในปัจจุบันทำให้ใจสงบ สุขในช่วงเวลาสั้นๆ แต่ยังไม่ก่อผลเสียร้ายแรงในอนาคต ก็ไม่ควรมองข้าม

    เลือกทางที่ทำให้จิตใจสงบและเต็มไปด้วยความรู้สึกเป็นกุศล ไม่ว่าในปัจจุบันหรืออนาคต



    ---

    6. ตัวช่วยตัดสินใจ: "ถามตัวเองใน 3 ขั้นตอน"

    สิ่งนี้เป็นประโยชน์ต่อฉันและคนรอบข้างใน ระยะสั้นหรือไม่?

    สิ่งนี้เป็นประโยชน์ต่อฉันและคนรอบข้างใน ระยะยาวหรือไม่?

    เมื่อทำสิ่งนี้แล้ว จิตใจฉันจะสงบ หรือกระวนกระวาย?


    หากคำตอบชี้ไปในทาง ประโยชน์ยาวนาน และจิตสงบ ให้เลือกทางนั้น เพราะมันเป็นเส้นทางที่สอดคล้องกับหลักคำสอนทางพุทธศาสนา.

    แนวทางพิจารณาทางเลือก: ฝืนทนเพื่ออนาคต หรือเลือกตามใจในปัจจุบัน 1. ใช้หลักพิจารณาประโยชน์และโทษ พระพุทธเจ้าให้พิจารณา "ประโยชน์และโทษ" ของแต่ละทางเลือก ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ถามตัวเอง: ทางที่ฝืนทนทุกข์ตอนนี้ มีประโยชน์อะไรในอนาคต? สิ่งที่ต้องการในปัจจุบัน จะสร้างโทษอะไรในอนาคต? หากทางที่ทุกข์ตอนนี้ นำไปสู่ผลที่ดีในอนาคต และทางที่ง่ายในปัจจุบันอาจก่อให้เกิดโทษในระยะยาว ควรเลือกทางที่มีประโยชน์ยาวนานกว่า --- 2. ฝึกมองในระยะยาว: การยอมทุกข์สั้นเพื่อสุขที่ยืนยาว บางครั้งการฝืนทนเหมือนการกินยาขมเพื่อหายจากไข้หนัก ถ้าทนทุกข์ตอนนี้เพียงชั่วคราว แต่ให้ผลเป็นความสุข ความมั่นคง หรือการเติบโตในระยะยาว พระพุทธเจ้าทรงแนะนำให้เลือกทางนี้ ตัวอย่าง: ฝึกขันติในสิ่งที่ไม่ชอบ เช่น การทำงานหนัก หรือการเสียสละเวลาเพื่อการเรียนรู้ หากมันทำให้อนาคตมั่นคง สุขภาพจิต และฐานะทางการเงินดีขึ้น ควรเลือกอดทน --- 3. ใช้มรณสติเตือนใจ เมื่อไม่รู้ว่าอนาคตจะเกิดอะไรขึ้น ควรเจริญมรณสติ: ถามตัวเอง: ถ้าต้องตายวันนี้ จะเลือกทางไหนที่ทำให้ใจสงบ และรู้สึกว่าได้ทำสิ่งที่ดีที่สุด? สิ่งที่กำลังตัดสินใจทำ จะสร้าง ความรู้สึกเป็นกุศล หรือเป็นอกุศล? พระพุทธเจ้าทรงแนะนำว่า: สิ่งที่ทำให้จิตรู้สึกดี มีความสบายใจ และเป็นประโยชน์กับผู้อื่น นั่นคือสิ่งที่ควรทำ --- 4. ความสมดุลระหว่าง “ขันติ” และ “ฟังเสียงหัวใจ” หากทางที่ถูกต้องทำให้ทุกข์ใจจนกระทบสุขภาพจิตและความสุขระยะสั้น อาจต้องปรับสมดุล ถามตัวเอง: "ฉันฝืนมากเกินไปหรือเปล่า?" "ฉันสามารถแบ่งเวลาให้ตัวเองมีความสุขเล็กๆ น้อยๆ ในปัจจุบันได้ไหม?" --- 5. สรุปการเลือก: เลือกด้วยความกุศลและปัญญา หากการฝึกขันติบารมีช่วยให้เราดำเนินชีวิตอย่างมีวินัย และสร้างสุขในระยะยาว ควรยึดถือ หากทางเลือกในปัจจุบันทำให้ใจสงบ สุขในช่วงเวลาสั้นๆ แต่ยังไม่ก่อผลเสียร้ายแรงในอนาคต ก็ไม่ควรมองข้าม เลือกทางที่ทำให้จิตใจสงบและเต็มไปด้วยความรู้สึกเป็นกุศล ไม่ว่าในปัจจุบันหรืออนาคต --- 6. ตัวช่วยตัดสินใจ: "ถามตัวเองใน 3 ขั้นตอน" สิ่งนี้เป็นประโยชน์ต่อฉันและคนรอบข้างใน ระยะสั้นหรือไม่? สิ่งนี้เป็นประโยชน์ต่อฉันและคนรอบข้างใน ระยะยาวหรือไม่? เมื่อทำสิ่งนี้แล้ว จิตใจฉันจะสงบ หรือกระวนกระวาย? หากคำตอบชี้ไปในทาง ประโยชน์ยาวนาน และจิตสงบ ให้เลือกทางนั้น เพราะมันเป็นเส้นทางที่สอดคล้องกับหลักคำสอนทางพุทธศาสนา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 228 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันครู 2568

    ในโอกาสวันครูแห่งชาติ ปี 2568
    ขอกราบขอบพระคุณคุณครู ผู้เป็นแสงสว่างนำทางชีวิต
    ด้วยความรักและความเมตตา คุณครูคือผู้สร้างรากฐานที่มั่นคงให้กับเรา
    ช่วยปลูกฝังความรู้ คู่คุณธรรม และมอบแรงบันดาลใจ ให้ก้าวเดินไปสู่อนาคตที่สดใส

    ขอให้คุณครูทุกท่าน มีสุขภาพแข็งแรง
    เปี่ยมด้วยกำลังใจ ในหน้าที่การสอน
    และพบแต่ความสำเร็จ ความสุขในชีวิต
    พวกเราขอน้อมจิตระลึกถึง พระคุณอันยิ่งใหญ่
    และสัญญาว่าจะนำคำสอนของคุณค ไปใช้ในการสร้างอนาคตที่ดี

    ด้วยความเคารพรักอย่างสูง
    ✨ สุขสันต์วันครู 2568 ✨
    วันครู 2568 ในโอกาสวันครูแห่งชาติ ปี 2568 ขอกราบขอบพระคุณคุณครู ผู้เป็นแสงสว่างนำทางชีวิต ด้วยความรักและความเมตตา คุณครูคือผู้สร้างรากฐานที่มั่นคงให้กับเรา ช่วยปลูกฝังความรู้ คู่คุณธรรม และมอบแรงบันดาลใจ ให้ก้าวเดินไปสู่อนาคตที่สดใส ขอให้คุณครูทุกท่าน มีสุขภาพแข็งแรง เปี่ยมด้วยกำลังใจ ในหน้าที่การสอน และพบแต่ความสำเร็จ ความสุขในชีวิต พวกเราขอน้อมจิตระลึกถึง พระคุณอันยิ่งใหญ่ และสัญญาว่าจะนำคำสอนของคุณค ไปใช้ในการสร้างอนาคตที่ดี ด้วยความเคารพรักอย่างสูง ✨ สุขสันต์วันครู 2568 ✨
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 201 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts