• อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 222
    ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์
    เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
    รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก
    แห่งรูป ตามเป็นจริง
    ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข
    แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).-

    --คาถาท้ายพระสูตร--
    รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น
    อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด
    รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก
    สมมติว่าเป็นสุข
    ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น
    เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์
    ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ
    (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข
    การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย
    ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข
    เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้
    ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ
    เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ
    เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา
    ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้
    อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ
    ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ
    เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน
    บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 222 ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).- --คาถาท้ายพระสูตร-- รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก สมมติว่าเป็นสุข ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์ ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์ บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์ พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้ ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้ อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน ฯ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216. http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    -ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ย่อม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุขแม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 985
    ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์
    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้
    และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ
    เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ
    และไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา
    และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ
    #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ สัทธรรมลำดับที่ : 985 ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 เนื้อความทั้งหมด :- --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ --ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​ http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59. http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความแตกต่างระหว่าง
    -ความแตกต่างระหว่าง คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนเขลาไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 123 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    สัทธรรมลำดับที่ : 147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น,
    ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม,
    หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป
    อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ
    อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม,
    หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน
    ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น.
    ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส).

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา
    อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้แล้ว
    เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์
    ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่
    อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ”
    ดังนี้.
    เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้
    ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย.
    ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส)
    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่
    คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก
    ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง.
    อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น
    ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน.

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้
    แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้
    อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล.
    --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147
    หรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ สัทธรรมลำดับที่ : 147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่ คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630. http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147 หรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    -เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้นเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขา ย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่าความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจาก เหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่าอุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 230 มุมมอง 0 รีวิว
  • #คนพาล
    อันคนพาลใช้หอกปากเป็นอาวุธ
    สัตบุรุษใช้ปัญญาเพื่อประหาร
    ตัวตัณหาผูกยึดไว้ด้วยบ่วงมาร
    คืออุปาทานภพชาติและมรณา

    ้คนพาลจมบ่วงมารอยู่เพราะไม่รู้
    ใช้หอกปากแทงกันอยู่เพราะตัณหา
    จึงไม่พ้นวนเวียนว่ายวัฏฐสังขารา
    น่าเสียดายที่เกิดมาเป็นได้แค่คนเลว

    #คนพาล อันคนพาลใช้หอกปากเป็นอาวุธ สัตบุรุษใช้ปัญญาเพื่อประหาร ตัวตัณหาผูกยึดไว้ด้วยบ่วงมาร คืออุปาทานภพชาติและมรณา ้คนพาลจมบ่วงมารอยู่เพราะไม่รู้ ใช้หอกปากแทงกันอยู่เพราะตัณหา จึงไม่พ้นวนเวียนว่ายวัฏฐสังขารา น่าเสียดายที่เกิดมาเป็นได้แค่คนเลว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 310 มุมมอง 0 รีวิว
  • ความดีของโทนี่เหลี่ยม ตั้งแต่ ก.ไก่ ถึง ฮ.นกฮูก

    ก - โกงกิน
    ข - ขายชาติ
    ค - คบคนพาล
    ฆ - ฆ่าตัดตอน ยาเสพติด
    ง - งก ไม่จ่ายภาษี
    จ - จาบจ้วงเบื้องสูง
    ฉ - ฉ้อฉล แปลงกฏหมายเพื่อประโยชน์ตน
    ช - ชั่วหาที่เปรียบมิได้
    ซ - ซับซ้อน ซ่อนกลเพียงเพื่อผลประโยชน์
    ญ - ญาติตูต้องมาก่อน
    ฐ - ฐานะดี แค่ไหน ก็โกงได้ไม่อายฟ้าดิน
    ฒ - เฒ่าหัวงู มักมากในกาม
    ด - แด๊ก ไม่รู้อิ่ม
    ต - ตบตาคนจน
    ถ - ถร่อย เถื่อนทางจริยธรรม
    ท - ทำลายเศรษฐกิจชาติ
    ธ - ธรรมชาติลงโทษ
    น - นำหางแดงเผาบ้าน เผาเมือง
    บ - บ้าอำนาจ หลงตัวเอง
    ป - ประจาน ประนามประเทศตัวเองออกสื่อนอก
    ผ - ผูกขาดตัตอน ยอกย้อนผลประโยชน์ชาติเข้าตน
    ฝ - ฝากความเลวร้ายไว้บนแผ่นดิน
    พ - พูดปด มดเท็จ
    ฟ - ฟันข้าราชการดี ๆ ออกนอกเส้นทางโกง
    ภ - ภูมิใจในความเลวของตัว
    ม - ไม่รู้จักที่ต่ำที่สูง
    ย - ยักยอกทรัพย์สมบัติชาติ
    ร - รกโลก จนต้องร่อนเร่
    ล - ลักลอบขนเงินออกนอก
    ว - วิดีโอลิ้งค์ ปลุกระดมให้เผาบ้าน เผาเมือง
    ศ - เศษคน กากเดนมนษย์
    ส - สนับสนุน คอร์รัปชั่น
    ห - หน้า (หมา) ตัวเมีย
    อ - อธรรม ตัวหัวหน้า
    ฮ - เฮี่ย ... ไม่มีที่สิ้นสุด
    ความดีของโทนี่เหลี่ยม ตั้งแต่ ก.ไก่ ถึง ฮ.นกฮูก ก - โกงกิน ข - ขายชาติ ค - คบคนพาล ฆ - ฆ่าตัดตอน ยาเสพติด ง - งก ไม่จ่ายภาษี จ - จาบจ้วงเบื้องสูง ฉ - ฉ้อฉล แปลงกฏหมายเพื่อประโยชน์ตน ช - ชั่วหาที่เปรียบมิได้ ซ - ซับซ้อน ซ่อนกลเพียงเพื่อผลประโยชน์ ญ - ญาติตูต้องมาก่อน ฐ - ฐานะดี แค่ไหน ก็โกงได้ไม่อายฟ้าดิน ฒ - เฒ่าหัวงู มักมากในกาม ด - แด๊ก ไม่รู้อิ่ม ต - ตบตาคนจน ถ - ถร่อย เถื่อนทางจริยธรรม ท - ทำลายเศรษฐกิจชาติ ธ - ธรรมชาติลงโทษ น - นำหางแดงเผาบ้าน เผาเมือง บ - บ้าอำนาจ หลงตัวเอง ป - ประจาน ประนามประเทศตัวเองออกสื่อนอก ผ - ผูกขาดตัตอน ยอกย้อนผลประโยชน์ชาติเข้าตน ฝ - ฝากความเลวร้ายไว้บนแผ่นดิน พ - พูดปด มดเท็จ ฟ - ฟันข้าราชการดี ๆ ออกนอกเส้นทางโกง ภ - ภูมิใจในความเลวของตัว ม - ไม่รู้จักที่ต่ำที่สูง ย - ยักยอกทรัพย์สมบัติชาติ ร - รกโลก จนต้องร่อนเร่ ล - ลักลอบขนเงินออกนอก ว - วิดีโอลิ้งค์ ปลุกระดมให้เผาบ้าน เผาเมือง ศ - เศษคน กากเดนมนษย์ ส - สนับสนุน คอร์รัปชั่น ห - หน้า (หมา) ตัวเมีย อ - อธรรม ตัวหัวหน้า ฮ - เฮี่ย ... ไม่มีที่สิ้นสุด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 497 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🚩อานิสงส์ผลบุญสร้างวิหารทานสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มีกินมีใช้ไม่ขาดมือ เป็นที่รักของเทวดา ครอบครัวสุขสันต์ จิตใจสงบ พบพานสิ่งดี มีแต่คนรักใคร่ เจ้านายเมตตา คำกล่าวเป็นสัจจ์ ฟ้าดินปราณี ทวยเทพยินดี มิตรสหายปรีดา คนพาลแพ้ภัย ฝากแชร์ฝากส่งให้ผู้อยากร่วมบุญถวายกระเบื้องตามแบบเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ผู้ร่วมทำบุญและครอบครัวและกระเบื้องเหล่านี้จะอยู่เทวาลัยภายในโดมขององค์พ่อตลอดไปเป็น ร้อยๆปี สาธุ สาธุ สาธุ #แลนมาร์คของสายมู อยู่ที่มหาสมบัติเทวาพิฆเนราชสีมา #ไทยไทม์ #หน้าฟีด #Sondhitalk #ลุงสนธิมาโคราชเมื่อไรมาเที่ยวเทวาลัยนะคะ #ตามรอยผู้หญิงสามสิบยังแจ๋วพามู
    🚩อานิสงส์ผลบุญสร้างวิหารทานสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มีกินมีใช้ไม่ขาดมือ เป็นที่รักของเทวดา ครอบครัวสุขสันต์ จิตใจสงบ พบพานสิ่งดี มีแต่คนรักใคร่ เจ้านายเมตตา คำกล่าวเป็นสัจจ์ ฟ้าดินปราณี ทวยเทพยินดี มิตรสหายปรีดา คนพาลแพ้ภัย ฝากแชร์ฝากส่งให้ผู้อยากร่วมบุญถวายกระเบื้องตามแบบเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ผู้ร่วมทำบุญและครอบครัวและกระเบื้องเหล่านี้จะอยู่เทวาลัยภายในโดมขององค์พ่อตลอดไปเป็น ร้อยๆปี สาธุ สาธุ สาธุ #แลนมาร์คของสายมู อยู่ที่มหาสมบัติเทวาพิฆเนราชสีมา #ไทยไทม์ #หน้าฟีด #Sondhitalk #ลุงสนธิมาโคราชเมื่อไรมาเที่ยวเทวาลัยนะคะ #ตามรอยผู้หญิงสามสิบยังแจ๋วพามู
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2117 มุมมอง 201 0 รีวิว
  • ลำดับ คำเขียน คำอ่าน คำแปล
    1 ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ ตันหักขะโย สับพะทุกขัง ชินาติ เมื่อหมดตัณหา ก็ไม่มีทุกข์
    2 นาสมฺเส กตปาปมฺหิ นาสัมเส กะตะปาปัมหิ ไม่ควรคบหา กับคนทำบาป
    3 น สงฺคโม ปาปชเนน เสยฺโย นะ สังคะโม ปาปะชะเนนะ เสยโย การคบคนพาล ไม่มีประโยชน์เลย
    4 ทุกฺโข พาเลหิ สงฺคโม ทุกโข พาเลหิ สังคะโม คบคนพาล นำมาซึ่งความเดือดร้อน
    5 กตญฺจ สุกตํ เสยฺโย กตัญจะ สุกะตัง เสยโย มาทำความดีกันดีกว่า
    6 หิตญฺจ สาธุญฺจ ปรมทุกฺกรํ หิตัญจะ สาธุญจะ ปะระมะทุกกะรัง กรรมดี มีประโยชน์ ทำได้ยากยิ่ง
    7 สุกรานิ อสาธูนิ จ สุกะรานิ อะสาธูนิ จะ กรรมไม่ดี ทำได้ง่าย
    8 สกมฺมุนา หญฺญติ ปาปธมฺโม สกัมมุนา หัญญะติ ปาปะธัมโม คนชั่ว ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมชั่วของตน
    9 นตฺถิ ปาปํ อกุพฺพโต นัตถิ ปาปัง อกุบพะโต บาป ไม่มีแก่ผู้ไม่กระทำ
    10 กมฺมุนา โหติ พฺราหฺมโณ กัมมุนา โหติ พราหมะโณ คนเราจะดี เพราะการกระทำ
    11 กมฺมุนา วสโล โหติ กัมมุนา วะสะโล โหติ คนเราจะเลวเพราะการกระทำ
    12 มนสา สํวโร สาธุ มะนะสา สังวะโร สาธุ ระมัดระวังใจ เป็นความดี
    13 วาจาย สํวโร สาธุ วาจายะ สังวะโร สาธุ ระมัดระวังวาจา เป็นความดี
    14 กาเยน สํวโร สาธุ กาเยนะ สังวะโร สาธุ ระมัดระวังกาย เป็นความดี
    15 นตฺถิ อตฺตสมํ เปมํ นัดถิ อัตตะสะมัง เปมัง ไม่มีความรักใด เสมอด้วยความรักตน
    16 มนสฺส อุสฺสนฺนตาย มนุสฺสา มนัสสะ อุสสันนะตายะ มนุสสา ชื่อว่าเป็นมนุษย์ เพราะมีใจสูง
    17 โกธาภิภูโต กุสลํ ชหาติ โกทาภิภูโต กุสะลัง ชะหาติ ผู้มีความโกรธครอบงำ ย่อมห่างไกลกุศล
    18 อิจฺฉา หิ อนนฺตโคจรา อิดฉา หิ อะนันตะโคจะรา ความอยาก ละได้ยาก
    19 อิจฺฉา โลกสฺมิ ทุชฺชหา อิดฉา โลกัดสะมิ ทุดชะหา ความอยาก ละได้ยาก
    20 อติโลโภ หิ ปาปโก อะติโลโภ หิ ปาปะโก ความละโมบโลภมาก เป็นบาป
    21 อรติ โลกนาสิกา อะระติ โลกะนาสิกา ความริษยา ทำให้โลกเสื่อม
    22 โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ โลโภ ธัมมานัง ปะริปันโถ ความโลภ เป็นอันตรายต่อทุกสิ่ง
    23 ททโต ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ ทะทะโต ปุนยัง ปะวัดทะติ เมื่อให้ บุญก็เพิ่มขึ้น
    24 น โหติ สุขํ ทุกฺกฏการินา นะ โหติ สุขัง ทุกกะตะการินา ผู้ทำชั่ว ย่อมไม่มีความสุข
    25 กตสฺส นตฺถิ ปฏิการํ กะตัดสะ นัดถิ ปะติการัง สิ่งที่ทำแล้ว ทำกลับคืนไม่ได้
    26 องฺคํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ สพฺพํ อังคัง ธะนัง ชีวิตัญจาปิ สัพพัง ผู้กล้า สละทรัพย์ อวัยวะและชีวิต เมื่อระลึกถึงธรรม
    27 องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน อังคัง จะเช ชีวิตัง รักขะมาโน ผู้กล้า สละอวัยวะ เพื่อรักษาชีวิต
    28 จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ จะเช ธะนัง อังคะวะรัสสะ เห-ตุ คนกล้า สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ
    ลำดับ คำเขียน คำอ่าน คำแปล 1 ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ ตันหักขะโย สับพะทุกขัง ชินาติ เมื่อหมดตัณหา ก็ไม่มีทุกข์ 2 นาสมฺเส กตปาปมฺหิ นาสัมเส กะตะปาปัมหิ ไม่ควรคบหา กับคนทำบาป 3 น สงฺคโม ปาปชเนน เสยฺโย นะ สังคะโม ปาปะชะเนนะ เสยโย การคบคนพาล ไม่มีประโยชน์เลย 4 ทุกฺโข พาเลหิ สงฺคโม ทุกโข พาเลหิ สังคะโม คบคนพาล นำมาซึ่งความเดือดร้อน 5 กตญฺจ สุกตํ เสยฺโย กตัญจะ สุกะตัง เสยโย มาทำความดีกันดีกว่า 6 หิตญฺจ สาธุญฺจ ปรมทุกฺกรํ หิตัญจะ สาธุญจะ ปะระมะทุกกะรัง กรรมดี มีประโยชน์ ทำได้ยากยิ่ง 7 สุกรานิ อสาธูนิ จ สุกะรานิ อะสาธูนิ จะ กรรมไม่ดี ทำได้ง่าย 8 สกมฺมุนา หญฺญติ ปาปธมฺโม สกัมมุนา หัญญะติ ปาปะธัมโม คนชั่ว ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมชั่วของตน 9 นตฺถิ ปาปํ อกุพฺพโต นัตถิ ปาปัง อกุบพะโต บาป ไม่มีแก่ผู้ไม่กระทำ 10 กมฺมุนา โหติ พฺราหฺมโณ กัมมุนา โหติ พราหมะโณ คนเราจะดี เพราะการกระทำ 11 กมฺมุนา วสโล โหติ กัมมุนา วะสะโล โหติ คนเราจะเลวเพราะการกระทำ 12 มนสา สํวโร สาธุ มะนะสา สังวะโร สาธุ ระมัดระวังใจ เป็นความดี 13 วาจาย สํวโร สาธุ วาจายะ สังวะโร สาธุ ระมัดระวังวาจา เป็นความดี 14 กาเยน สํวโร สาธุ กาเยนะ สังวะโร สาธุ ระมัดระวังกาย เป็นความดี 15 นตฺถิ อตฺตสมํ เปมํ นัดถิ อัตตะสะมัง เปมัง ไม่มีความรักใด เสมอด้วยความรักตน 16 มนสฺส อุสฺสนฺนตาย มนุสฺสา มนัสสะ อุสสันนะตายะ มนุสสา ชื่อว่าเป็นมนุษย์ เพราะมีใจสูง 17 โกธาภิภูโต กุสลํ ชหาติ โกทาภิภูโต กุสะลัง ชะหาติ ผู้มีความโกรธครอบงำ ย่อมห่างไกลกุศล 18 อิจฺฉา หิ อนนฺตโคจรา อิดฉา หิ อะนันตะโคจะรา ความอยาก ละได้ยาก 19 อิจฺฉา โลกสฺมิ ทุชฺชหา อิดฉา โลกัดสะมิ ทุดชะหา ความอยาก ละได้ยาก 20 อติโลโภ หิ ปาปโก อะติโลโภ หิ ปาปะโก ความละโมบโลภมาก เป็นบาป 21 อรติ โลกนาสิกา อะระติ โลกะนาสิกา ความริษยา ทำให้โลกเสื่อม 22 โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ โลโภ ธัมมานัง ปะริปันโถ ความโลภ เป็นอันตรายต่อทุกสิ่ง 23 ททโต ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ ทะทะโต ปุนยัง ปะวัดทะติ เมื่อให้ บุญก็เพิ่มขึ้น 24 น โหติ สุขํ ทุกฺกฏการินา นะ โหติ สุขัง ทุกกะตะการินา ผู้ทำชั่ว ย่อมไม่มีความสุข 25 กตสฺส นตฺถิ ปฏิการํ กะตัดสะ นัดถิ ปะติการัง สิ่งที่ทำแล้ว ทำกลับคืนไม่ได้ 26 องฺคํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ สพฺพํ อังคัง ธะนัง ชีวิตัญจาปิ สัพพัง ผู้กล้า สละทรัพย์ อวัยวะและชีวิต เมื่อระลึกถึงธรรม 27 องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน อังคัง จะเช ชีวิตัง รักขะมาโน ผู้กล้า สละอวัยวะ เพื่อรักษาชีวิต 28 จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ จะเช ธะนัง อังคะวะรัสสะ เห-ตุ คนกล้า สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 189 มุมมอง 0 รีวิว
  • คบ บัณฑิต บัณฑิต พาหาผล คบ คนพาล พาลหาผิด

    ฟังเพลงแบบไหน บอกอารมณ์เช่นนั้น
    คบ บัณฑิต บัณฑิต พาหาผล คบ คนพาล พาลหาผิด ฟังเพลงแบบไหน บอกอารมณ์เช่นนั้น
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 185 มุมมอง 0 รีวิว
  • เวลาที่มีอยู่อย่างจำกัด ขอจงอยู่ห่างคนพาล
    เวลาที่มีอยู่อย่างจำกัด ขอจงอยู่ห่างคนพาล
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 252 มุมมอง 32 0 รีวิว