• กกต.แจงพิจารณาสำนวนทุจริตเลือก สว.จาก 585 เหลือ 194 เรื่อง ดำเนินคดีอาญา-ร้องศาล 22 สำนวน ส่วนฮั้วเลือกตั้งอยู่ระหว่างให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง

    วันนี้(14 พ.ค.)สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.)สรุปความคืบหน้าการพิจารณาคำร้อง และ สำนวนเรื่องคัดค้านการเลือกสมาชิกวุฒิสภา ว่าข้อมูล ณ วันที่ 13 พฤษภาคม 2568 มีคำร้อง/ความปรากฏ สำนวนเรื่องคัดค้านการเลือกสมาชิกวุฒิสภา มีจำนวนทั้งสิ้น 585 เรื่อง แบ่งเป็น 1.ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 391 เรื่อง ประกอบด้วย พิจารณาคำร้องแล้ว จำนวน 240 เรื่อง แยกเป็นสั่งไม่รับ / รวบรวมเป็นข้อมูลจำนวน 109 เรื่อง สั่งยกคำร้อง / สั่งยุติเรื่อง 129 เรื่อง สั่งนับคะแนนใหม่ 2 เรื่อง

    ส่วนที่วินิจฉัยชี้ขาดสำนวนแล้วจำนวน 151 สำนวน แยกเป็น ยกคำร้อง 127 สำนวน ระงับสิทธิ 2 สำนวน ดำเนินคดีอาญา 10 สำนวน ยื่นคำร้องต่อศาล 12 สํานวน และที่อยู่ระหว่างดำเนินการ 194 เรื่อง แยกเป็น สืบสวน / ไต่สวน 3 สำนวน

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000044901

    #MGROnline #กกต. #สมาชิกวุฒิสภา
    กกต.แจงพิจารณาสำนวนทุจริตเลือก สว.จาก 585 เหลือ 194 เรื่อง ดำเนินคดีอาญา-ร้องศาล 22 สำนวน ส่วนฮั้วเลือกตั้งอยู่ระหว่างให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง • วันนี้(14 พ.ค.)สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.)สรุปความคืบหน้าการพิจารณาคำร้อง และ สำนวนเรื่องคัดค้านการเลือกสมาชิกวุฒิสภา ว่าข้อมูล ณ วันที่ 13 พฤษภาคม 2568 มีคำร้อง/ความปรากฏ สำนวนเรื่องคัดค้านการเลือกสมาชิกวุฒิสภา มีจำนวนทั้งสิ้น 585 เรื่อง แบ่งเป็น 1.ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน 391 เรื่อง ประกอบด้วย พิจารณาคำร้องแล้ว จำนวน 240 เรื่อง แยกเป็นสั่งไม่รับ / รวบรวมเป็นข้อมูลจำนวน 109 เรื่อง สั่งยกคำร้อง / สั่งยุติเรื่อง 129 เรื่อง สั่งนับคะแนนใหม่ 2 เรื่อง • ส่วนที่วินิจฉัยชี้ขาดสำนวนแล้วจำนวน 151 สำนวน แยกเป็น ยกคำร้อง 127 สำนวน ระงับสิทธิ 2 สำนวน ดำเนินคดีอาญา 10 สำนวน ยื่นคำร้องต่อศาล 12 สํานวน และที่อยู่ระหว่างดำเนินการ 194 เรื่อง แยกเป็น สืบสวน / ไต่สวน 3 สำนวน • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000044901 • #MGROnline #กกต. #สมาชิกวุฒิสภา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 47 มุมมอง 0 รีวิว
  • พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) เผยกรณีแพทยสภามีมติลงโทษว่ากล่าวตักเตือนและพักใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาตัวของ นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่รพ.ตำรวจ ชั้น 14 ทั้งหมด 3 ราย ซึ่งมีรายงานว่า 2 ใน 3 เป็นแพทย์รพ.ตำรวจ ได้สั่งให้กองวินัยเตรียมพร้อมตรวจสอบข้อเท็จจริง หากเป็นแพทย์ตำรวจที่ถูกพักใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องหยุดปฏิบัติงานด้านรักษาพยาบาลทันที และอาจระงับค่าตอบแทนพิเศษสำหรับตำแหน่งในวิชาชีพ ส่วนด้านวินัยตำรวจต้องพิจารณาว่ามีความผิดข้อใดบ้าง ส่วนการดำเนินคดีอาญาต้องมีการร้องทุกข์กล่าวโทษจึงจะดำเนินการได้ ยืนยัน สำนักงานตำรวจแห่งชาติไม่นิ่งเฉย

    -ตระกูลนี้ต้องรับกรรม
    -แปะหมายเรียกคดีฮั้ว สว.
    -ลุยชั้นใต้ดินหาผู้สูญหาย
    -วอนเปิดใจอย่าตั้งธง
    พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) เผยกรณีแพทยสภามีมติลงโทษว่ากล่าวตักเตือนและพักใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาตัวของ นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่รพ.ตำรวจ ชั้น 14 ทั้งหมด 3 ราย ซึ่งมีรายงานว่า 2 ใน 3 เป็นแพทย์รพ.ตำรวจ ได้สั่งให้กองวินัยเตรียมพร้อมตรวจสอบข้อเท็จจริง หากเป็นแพทย์ตำรวจที่ถูกพักใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องหยุดปฏิบัติงานด้านรักษาพยาบาลทันที และอาจระงับค่าตอบแทนพิเศษสำหรับตำแหน่งในวิชาชีพ ส่วนด้านวินัยตำรวจต้องพิจารณาว่ามีความผิดข้อใดบ้าง ส่วนการดำเนินคดีอาญาต้องมีการร้องทุกข์กล่าวโทษจึงจะดำเนินการได้ ยืนยัน สำนักงานตำรวจแห่งชาติไม่นิ่งเฉย -ตระกูลนี้ต้องรับกรรม -แปะหมายเรียกคดีฮั้ว สว. -ลุยชั้นใต้ดินหาผู้สูญหาย -วอนเปิดใจอย่าตั้งธง
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 613 มุมมอง 40 0 รีวิว
  • ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับคำร้อง วิโรจน์ นวลแข อดีตผู้บริหารธนาคารกรุงไทย ร้อง อัยการสูงสุด ฟ้องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คดีปล่อยกู้เครือกฤษฎามหานคร ระบุ คำพิพากษา-คำสั่งถึงที่สุดแล้ว ขณะที่ วิรุฬห์ แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถอนตัว เหตุ เกี่ยวข้องกับคดีที่ขอให้วินิจฉัยนั้นมาก่อนสำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) รายงานว่า วันที่ 30 เมษายน 2568 ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการประชุมปรึกษาคดีที่สำคัญและเป็นที่น่าสนใจ เรื่องพิจารณาที่ ต. 35/2568 กรณีนายวิโรจน์ นวลแข อดีตกรรมการผู้จัดการธนาคารกรุงไทย ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 ว่า สำนักงานอัยการสูงสุด (อสส.) ผู้ถูกร้อง ฟ้องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในคดีที่ธนาคารกรุงไทยปล่อยกู้ให้กับเครือกฤษฎามหานคร เป็นการถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ โดยศาลรัฐธรรมนูญได้พิจารณาก่อนที่จะมีมติเป็นเอกฉันท์มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย โดยสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ เผยแพร่รายละเอียดผ่านเอกสารข่าวสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ข่าวที่ 12/2568 ดังนี้นายวิโรจน์ นวลแข ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 ว่า สำนักงานอัยการสูงสุด ผู้ถูกร้อง ฟ้องผู้ร้องกับพวกรวม 27 คน เป็นจำเลยต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และศาลพิพากษาว่าผู้ร้องมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 4 และมาตรา 8 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 313 ประกอบมาตรา 307 และมาตรา 308 และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 353 ประกอบมาตรา 354แต่ภายหลังศาลพิพากษายกฟ้องจำเลยที่ 1 ผู้ร้องเห็นว่า เมื่อศาลยกฟ้องจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนักการเมืองเพียงคนเดียวในคดีแล้ว ผู้ร้องจึงไม่อาจถูกดำเนินคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การที่ผู้ถูกร้องทำให้ผู้ร้องต้องตกอยู่ในการพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ซึ่งเป็นกระบวนการพิจารณาค้นหาความจริงที่แตกต่างจากการพิจารณาแบบทั่วไปและถูกพิพากษาให้มีความผิด จึงเป็นกรณีที่ผู้ร้องละเมิดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 3 วรรคสอง มาตรา 5 วรรคหนึ่ง มาตรา 27 มาตรา 29 มาตรา 188 วรรคหนึ่ง และมาตรา 195 วรรคสอง ข้ดต่อกฎหมายและหลักนิติธรรม ทำให้ผู้ร้องได้รับความเสียหายนอกจากนี้ ผู้ร้องกล่าวอ้างด้วยว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 5 และมาตรา 27 ทำให้ผู้ร้องถูกละเมิดจากการกระทำของผู้ถูกร้องผลการพิจารณานายวิรุฬห์ แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ขอถอนตัวจากการพิจารณาคดีนี้ เนื่องจากเคยเป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการในศาลอื่นซึ่งเคยพิจารณาวินิจฉัยในคดีหรือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ขอให้วินิจฉัยนั้นมาก่อน และที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอนุญาตศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาโดยการอภิปรายแล้วเห็นว่า ข้อเท็จจริงตามคำร้องและเอกสารประกอบคำร้องเป็นเรื่องที่ศาลอื่นมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดแล้วตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561มาตรา 47 (4) ซึ่งมาตรา 46 วรรคสาม บัญญัติให้ศาลรัฐธธรรมนูญสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณา ดังนั้น ผู้ร้องไม่อาจยื่นคำร้องดังกล่าวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213ส่วนที่ผู้ร้องกล่าวอ้างว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 27 นั้น เป็นการยื่นคำร้องขอให้ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้สิทธิไว้เป็นการเฉพาะแล้วตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 212 และมาตรา 231 (1) กรณีไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 48 ประกอบมาตรา 47 (2) ซึ่งมาตรา 46 วรรคสาม บัญญัติให้ศาลรัฐธรรมนูสังไม่รับคำร้องไว้พิจารมา ดังนั้น ผู้ร้องไม่อาจอื่นคำร้องดังกล่าวตามรัฐรรมนูมาตรา
    ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับคำร้อง วิโรจน์ นวลแข อดีตผู้บริหารธนาคารกรุงไทย ร้อง อัยการสูงสุด ฟ้องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คดีปล่อยกู้เครือกฤษฎามหานคร ระบุ คำพิพากษา-คำสั่งถึงที่สุดแล้ว ขณะที่ วิรุฬห์ แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถอนตัว เหตุ เกี่ยวข้องกับคดีที่ขอให้วินิจฉัยนั้นมาก่อนสำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) รายงานว่า วันที่ 30 เมษายน 2568 ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการประชุมปรึกษาคดีที่สำคัญและเป็นที่น่าสนใจ เรื่องพิจารณาที่ ต. 35/2568 กรณีนายวิโรจน์ นวลแข อดีตกรรมการผู้จัดการธนาคารกรุงไทย ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 ว่า สำนักงานอัยการสูงสุด (อสส.) ผู้ถูกร้อง ฟ้องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในคดีที่ธนาคารกรุงไทยปล่อยกู้ให้กับเครือกฤษฎามหานคร เป็นการถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ โดยศาลรัฐธรรมนูญได้พิจารณาก่อนที่จะมีมติเป็นเอกฉันท์มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย โดยสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ เผยแพร่รายละเอียดผ่านเอกสารข่าวสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ข่าวที่ 12/2568 ดังนี้นายวิโรจน์ นวลแข ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 ว่า สำนักงานอัยการสูงสุด ผู้ถูกร้อง ฟ้องผู้ร้องกับพวกรวม 27 คน เป็นจำเลยต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และศาลพิพากษาว่าผู้ร้องมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 4 และมาตรา 8 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 313 ประกอบมาตรา 307 และมาตรา 308 และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 353 ประกอบมาตรา 354แต่ภายหลังศาลพิพากษายกฟ้องจำเลยที่ 1 ผู้ร้องเห็นว่า เมื่อศาลยกฟ้องจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนักการเมืองเพียงคนเดียวในคดีแล้ว ผู้ร้องจึงไม่อาจถูกดำเนินคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การที่ผู้ถูกร้องทำให้ผู้ร้องต้องตกอยู่ในการพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ซึ่งเป็นกระบวนการพิจารณาค้นหาความจริงที่แตกต่างจากการพิจารณาแบบทั่วไปและถูกพิพากษาให้มีความผิด จึงเป็นกรณีที่ผู้ร้องละเมิดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 3 วรรคสอง มาตรา 5 วรรคหนึ่ง มาตรา 27 มาตรา 29 มาตรา 188 วรรคหนึ่ง และมาตรา 195 วรรคสอง ข้ดต่อกฎหมายและหลักนิติธรรม ทำให้ผู้ร้องได้รับความเสียหายนอกจากนี้ ผู้ร้องกล่าวอ้างด้วยว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 5 และมาตรา 27 ทำให้ผู้ร้องถูกละเมิดจากการกระทำของผู้ถูกร้องผลการพิจารณานายวิรุฬห์ แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ขอถอนตัวจากการพิจารณาคดีนี้ เนื่องจากเคยเป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการในศาลอื่นซึ่งเคยพิจารณาวินิจฉัยในคดีหรือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ขอให้วินิจฉัยนั้นมาก่อน และที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอนุญาตศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาโดยการอภิปรายแล้วเห็นว่า ข้อเท็จจริงตามคำร้องและเอกสารประกอบคำร้องเป็นเรื่องที่ศาลอื่นมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดแล้วตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561มาตรา 47 (4) ซึ่งมาตรา 46 วรรคสาม บัญญัติให้ศาลรัฐธธรรมนูญสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณา ดังนั้น ผู้ร้องไม่อาจยื่นคำร้องดังกล่าวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213ส่วนที่ผู้ร้องกล่าวอ้างว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 27 นั้น เป็นการยื่นคำร้องขอให้ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้สิทธิไว้เป็นการเฉพาะแล้วตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 212 และมาตรา 231 (1) กรณีไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 48 ประกอบมาตรา 47 (2) ซึ่งมาตรา 46 วรรคสาม บัญญัติให้ศาลรัฐธรรมนูสังไม่รับคำร้องไว้พิจารมา ดังนั้น ผู้ร้องไม่อาจอื่นคำร้องดังกล่าวตามรัฐรรมนูมาตรา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 318 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปมร้อนข่าวลึก : ศาลสั่งไต่สวน'ทักษิณ' พลิกข้อกฎหมาย ศึกนี้ 'รอด' หรือ 'ร่วง'

    เวลานี้บ้านจันทร์ส่องหล้าน่าจะเกิดอาการสั่นคลอนพอสมควร ภายหลังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ได้หยิบยกเอากรณีคำร้องของนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในเรื่องที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งถูกตัดสินจำคุก 8 ปี แต่ได้รับการลดโทษเหลือ 1 ปี ออกจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ไปรับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลตำรวจ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล มาพิจารณาด้วยตัวเอง แม้จะมีความเห็นว่านายชาญชัย ผู้ร้องไม่ได้เป็นคู่ความในคดีของนายทักษิณมาก่อนก็ตาม

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000040615

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ปมร้อนข่าวลึก : ศาลสั่งไต่สวน'ทักษิณ' พลิกข้อกฎหมาย ศึกนี้ 'รอด' หรือ 'ร่วง' เวลานี้บ้านจันทร์ส่องหล้าน่าจะเกิดอาการสั่นคลอนพอสมควร ภายหลังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ได้หยิบยกเอากรณีคำร้องของนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในเรื่องที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งถูกตัดสินจำคุก 8 ปี แต่ได้รับการลดโทษเหลือ 1 ปี ออกจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ไปรับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลตำรวจ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล มาพิจารณาด้วยตัวเอง แม้จะมีความเห็นว่านายชาญชัย ผู้ร้องไม่ได้เป็นคู่ความในคดีของนายทักษิณมาก่อนก็ตาม อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000040615 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 810 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ยกคำร้อง “ชาญชัย” ให้ไต่สวนกรณีส่ง “ทักษิณ” ไปรักษาตัวชั้น 14 รพ.ตำรวจ ผิดขั้นตอนกฎหมายหรือไม่ ชี้ผู้ร้องไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อความปรากฏว่าการบังคับโทษอาจไม่ถูกต้อง ศาลฯ จึงแจ้งให้จำเลยและราชทัณฑ์ชี้แจงใน 30 วัน และนัดโจทก์-จำเลยไต่สวนวันที่ 13 มิ.ย.นี้

    วันนี้(30 เม.ย.) เวลา 13.00 น.ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ เพื่อฟังคำสั่งตามคำร้องที่นายชาญชัยได้ยื่นต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2568 เพื่อขอให้ไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งต้องคำพิพากษาจำคุก 8 ปีในคดีทุจริต ก่อนได้รับพระราชทานอภัยโทษลดโทษเหลือ 1 ปี ได้ออกจากเรือนจำไปเข้ารับการรักษาตัวที่ห้องวีไอพี ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ เมื่อกลางดึกของคืนวันที่ 22 สิงหาคม 2566 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล ซึ่งนายชาญชัยเห็นว่าการกระทำดังกล่าวอาจขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89, 89/2(1) (2) และมาตรา 246 และไม่อาจอ้างกฎกระทรวงเรื่องการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจำ พ.ศ.2563 ลงวันที่ 25 ก.ย.2563 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 55 วรรคสอง แห่ง พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

    ล่าสุดมีรายงานว่า ศาลฯ ได้ยกคำร้อง เนื่องจากเห็นว่านายชาญชัย ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง

    อย่างไรก็ตาม นายชาญชัย เปิดเผยหลังจากฟังคำสั่งศาลฯ ว่า ศาลฯ เห็นว่าตนไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง จึงไม่อาจรับไว้เป็นคดีได้ แต่ได้สั่งให้เรือนจำและเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ ให้ชี้แจงว่าการลงโทษจำคุกจำเลย เป็นไปโดยถูกต้องหรือไม่ โดยให้ชี้แจงภายใน 30 วัน นอกจากนี้ได้นัดพร้อมโจทก์และจำเลยคือนายทักษิณ ทำการไต่สวนในวันที่ 13 มิ.ย.นี้

    จึงเท่ากับว่าคดีนี้แม้ศาลฯ จะไม่รับคำร้องของนายชาญชัย แต่เมื่อมีความปรากฏต่อศาลว่า การบังคับโทษอาจไม่เป็นไปตามกฎหมาย ศาลฎีกาฯ จึงจะดำเนินการเรื่องนี้เอง

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040492

    #MGROnline #ทักษิณ
    ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ยกคำร้อง “ชาญชัย” ให้ไต่สวนกรณีส่ง “ทักษิณ” ไปรักษาตัวชั้น 14 รพ.ตำรวจ ผิดขั้นตอนกฎหมายหรือไม่ ชี้ผู้ร้องไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อความปรากฏว่าการบังคับโทษอาจไม่ถูกต้อง ศาลฯ จึงแจ้งให้จำเลยและราชทัณฑ์ชี้แจงใน 30 วัน และนัดโจทก์-จำเลยไต่สวนวันที่ 13 มิ.ย.นี้ • วันนี้(30 เม.ย.) เวลา 13.00 น.ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ เพื่อฟังคำสั่งตามคำร้องที่นายชาญชัยได้ยื่นต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2568 เพื่อขอให้ไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งต้องคำพิพากษาจำคุก 8 ปีในคดีทุจริต ก่อนได้รับพระราชทานอภัยโทษลดโทษเหลือ 1 ปี ได้ออกจากเรือนจำไปเข้ารับการรักษาตัวที่ห้องวีไอพี ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ เมื่อกลางดึกของคืนวันที่ 22 สิงหาคม 2566 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล ซึ่งนายชาญชัยเห็นว่าการกระทำดังกล่าวอาจขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89, 89/2(1) (2) และมาตรา 246 และไม่อาจอ้างกฎกระทรวงเรื่องการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจำ พ.ศ.2563 ลงวันที่ 25 ก.ย.2563 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 55 วรรคสอง แห่ง พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา • ล่าสุดมีรายงานว่า ศาลฯ ได้ยกคำร้อง เนื่องจากเห็นว่านายชาญชัย ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง • อย่างไรก็ตาม นายชาญชัย เปิดเผยหลังจากฟังคำสั่งศาลฯ ว่า ศาลฯ เห็นว่าตนไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง จึงไม่อาจรับไว้เป็นคดีได้ แต่ได้สั่งให้เรือนจำและเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ ให้ชี้แจงว่าการลงโทษจำคุกจำเลย เป็นไปโดยถูกต้องหรือไม่ โดยให้ชี้แจงภายใน 30 วัน นอกจากนี้ได้นัดพร้อมโจทก์และจำเลยคือนายทักษิณ ทำการไต่สวนในวันที่ 13 มิ.ย.นี้ • จึงเท่ากับว่าคดีนี้แม้ศาลฯ จะไม่รับคำร้องของนายชาญชัย แต่เมื่อมีความปรากฏต่อศาลว่า การบังคับโทษอาจไม่เป็นไปตามกฎหมาย ศาลฎีกาฯ จึงจะดำเนินการเรื่องนี้เอง • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040492 • #MGROnline #ทักษิณ
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 357 มุมมอง 0 รีวิว
  • สรุปเช็คเด้งในวงการพระ...หลัก พันล้าน บาท...อ่านจบ..เข้าใจทันที...
    ..คือการซื้อพระหลักล้าน..ไม่ว่าชิ้นเดียว หรือหล่ยชิ้นรวมกัน...ที่กระทำกันมาตลอด..คือ ซอยเช็คซื้อ...คือ เอาพระมาขายก่อน..สมมุติ ซื้อ 10 ล้าน..ซอยเช็ค 10 ใบๆ ละ ล้าน..ทุก 15 วัน...เจ้าของพระอยากขายได้ ก็ยอม...ทีนี้ เวลาไปขาย คนซื้อ..ก็ขอ ซอยเช็ค ล่วงหน้า เช่นกัน....ทีนี้ก็อยู่ที่ระบบริหารจัดการ "หลังบ้าน" แล้ว......ทีนี้เมื่อผู้จายรับเช็คมา...หลายคนก็ไม่รอ ดิวเช็ค..คือ ขายลดเช็คไปเลย..มีกันตั้งแต่ หัก3-10% ...ขึ้นอยู่ที่ว่าใครรับ...และข้อตกลงระหว่างกัน....ทีนี้ ขายมาก ก็ซื้อมาก..หมุนไปมา..ก็จะไม่มีปัญหา..ถ้าเช็คไม่เด้ง.....ทีนี้สภาวะเศรษฐกิจแบบที่เราเห็น...เช็คผู้ซื้อเด้ง....ก็ทำให้เช็คผู้ขายที่ตีให้คนอื่นไป..เด้งด้วย...เช็คที่ขายลดเช็คไปก็เด้ง.....บางคนถามทำไมยอดไปถึงพันล้าน...ต้องบอกว่า ..ก็เป็นการ "เอืัอสภาพคล่องกัน" เพื่อแลกกับผลประโยชน์ จากกำไรที่ขายของได้ ...กำไรจากรับขายลดเช็ค..ก็ปล่อยยอดไป...ทีนี้ ดินพอกหางหมู....ที่หวังว่าจะมียอดมาเติม..ก็ไม่มี...และก็เหมือนทุกธุรกิจ...คือถ้าหมดสภาพคล่องเมื่อไหร่...ก็ไปต่อไม่ได้....
    ...และถามว่าจะจบอย่างไร? ..ก็คงต้องประนอมยืดหยุ่นกันไป...เพราะปัจจุบัน พรบ.เช็ค ..ไม่เป็นคดีอาญาแล้ว (ถ้าไม่ใช่เช็คที่ชำระหนี้..ที่มีสัญญาชัดเจน) ...พอเป็นคดีแพ่ง..การบังคับคดี..ก็มีความเสี่ยงมากขึ้น...
    #ทั้งหมดมาจาก2 เหตุผลหลักคือ
    1. สภาวะเศรษฐกิจ
    2. ระบบบริหารจัดการ..หน้าบ้าน หลังบ้าน...ไม่ดีพอ ...
    สรุปเช็คเด้งในวงการพระ...หลัก พันล้าน บาท...อ่านจบ..เข้าใจทันที... ..คือการซื้อพระหลักล้าน..ไม่ว่าชิ้นเดียว หรือหล่ยชิ้นรวมกัน...ที่กระทำกันมาตลอด..คือ ซอยเช็คซื้อ...คือ เอาพระมาขายก่อน..สมมุติ ซื้อ 10 ล้าน..ซอยเช็ค 10 ใบๆ ละ ล้าน..ทุก 15 วัน...เจ้าของพระอยากขายได้ ก็ยอม...ทีนี้ เวลาไปขาย คนซื้อ..ก็ขอ ซอยเช็ค ล่วงหน้า เช่นกัน....ทีนี้ก็อยู่ที่ระบบริหารจัดการ "หลังบ้าน" แล้ว......ทีนี้เมื่อผู้จายรับเช็คมา...หลายคนก็ไม่รอ ดิวเช็ค..คือ ขายลดเช็คไปเลย..มีกันตั้งแต่ หัก3-10% ...ขึ้นอยู่ที่ว่าใครรับ...และข้อตกลงระหว่างกัน....ทีนี้ ขายมาก ก็ซื้อมาก..หมุนไปมา..ก็จะไม่มีปัญหา..ถ้าเช็คไม่เด้ง.....ทีนี้สภาวะเศรษฐกิจแบบที่เราเห็น...เช็คผู้ซื้อเด้ง....ก็ทำให้เช็คผู้ขายที่ตีให้คนอื่นไป..เด้งด้วย...เช็คที่ขายลดเช็คไปก็เด้ง.....บางคนถามทำไมยอดไปถึงพันล้าน...ต้องบอกว่า ..ก็เป็นการ "เอืัอสภาพคล่องกัน" เพื่อแลกกับผลประโยชน์ จากกำไรที่ขายของได้ ...กำไรจากรับขายลดเช็ค..ก็ปล่อยยอดไป...ทีนี้ ดินพอกหางหมู....ที่หวังว่าจะมียอดมาเติม..ก็ไม่มี...และก็เหมือนทุกธุรกิจ...คือถ้าหมดสภาพคล่องเมื่อไหร่...ก็ไปต่อไม่ได้.... ...และถามว่าจะจบอย่างไร? ..ก็คงต้องประนอมยืดหยุ่นกันไป...เพราะปัจจุบัน พรบ.เช็ค ..ไม่เป็นคดีอาญาแล้ว (ถ้าไม่ใช่เช็คที่ชำระหนี้..ที่มีสัญญาชัดเจน) ...พอเป็นคดีแพ่ง..การบังคับคดี..ก็มีความเสี่ยงมากขึ้น... #ทั้งหมดมาจาก2 เหตุผลหลักคือ 1. สภาวะเศรษฐกิจ 2. ระบบบริหารจัดการ..หน้าบ้าน หลังบ้าน...ไม่ดีพอ ...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 156 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ทักษิณ' ลุ้นระทึกศาลฎีกา ยิ้มสู้ปล่อยวางทุกอย่าง ให้กระบวนการทำงาน
    .
    วันที่ 30 เมษายน ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สนามหลวง นัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ ผู้ร้อง มาฟังคำสั่งในคำร้องที่ก่อนหน้านี้นายชาญชัยได้ยื่นคำร้องต่อศาลฎีกาฯ เมื่อวันที่ 10 มกราคม2568 เพื่อขอให้ศาลฎีกาฯไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งถูกศาลฎีกาฯพิพากษาจำคุก 8 ปี แต่ได้รับการลดโทษเหลือจำคุก 1 ปี ได้เข้ารับการรักษาตัวที่ รพ.ตำรวจ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาลฎีกาฯ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000039314

    #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    'ทักษิณ' ลุ้นระทึกศาลฎีกา ยิ้มสู้ปล่อยวางทุกอย่าง ให้กระบวนการทำงาน . วันที่ 30 เมษายน ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สนามหลวง นัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ ผู้ร้อง มาฟังคำสั่งในคำร้องที่ก่อนหน้านี้นายชาญชัยได้ยื่นคำร้องต่อศาลฎีกาฯ เมื่อวันที่ 10 มกราคม2568 เพื่อขอให้ศาลฎีกาฯไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งถูกศาลฎีกาฯพิพากษาจำคุก 8 ปี แต่ได้รับการลดโทษเหลือจำคุก 1 ปี ได้เข้ารับการรักษาตัวที่ รพ.ตำรวจ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาลฎีกาฯ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000039314 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    8
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 969 มุมมอง 0 รีวิว
  • ลุ้น ! 30 เม.ย.ศาลฎีกานักการเมืองนัดฟังคำสั่งรับคดีนำ “ทักษิณ” รับโทษ?ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง นัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ ฟังคำสั่งในคำร้องที่นายชาญชัยยื่นขอให้ไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ได้เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลตำรวจ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล เข้าข่ายขัดประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89, 89/2(1) (2) และมาตรา 246 และไม่อาจอ้างกฎกระทรวง เรื่องการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจำหรือไม่ หลังจาก 2 ครั้งแรกคือวันที่ 19 ธันวาคม 2566 และ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ศาลมีคำสั่งยกคำร้องโดยไม่ต้องไต่สวน โดยให้เหตุว่าศาลออกหมายจำคุก การบังคับโทษ อนุญาตส่งตัว เป็นอำนาจของกรมราชทัณฑ์ ไม่อยู่ในอำนาจศาล คำร้องครั้งที่ 3 นี้นายชาญชัยยื่นขอให้รับคำร้องไว้ไต่สวนและมีคำสั่งบังคับโทษจำคุกให้เป็นไปตามคำพิพากษาที่ถึงที่สุด เเละศาลนัดฟังคำสั่งวันที่ 30 เมษายนนี้ ซึ่งต้องรอดูว่าศาลจะยกคำร้องเป็นครั้งที่ 3 หรือไม่ หรือรับที่จะดำเนินการต่อไป#ThePublisherTH #สำนักข่าวออนไลน์เพื่อสังคม #แพทยสภา #ชั้น14 #นักโทษเทวดา #ทักษิณ #ทักษิณชินวัตร #กระบวนการยุติธรรม #ศาลปกครอง- - - - - - - - - - - - - - - - - -ติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่https://thepublisherth.com/
    ลุ้น ! 30 เม.ย.ศาลฎีกานักการเมืองนัดฟังคำสั่งรับคดีนำ “ทักษิณ” รับโทษ?ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง นัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ ฟังคำสั่งในคำร้องที่นายชาญชัยยื่นขอให้ไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ได้เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลตำรวจ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล เข้าข่ายขัดประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89, 89/2(1) (2) และมาตรา 246 และไม่อาจอ้างกฎกระทรวง เรื่องการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจำหรือไม่ หลังจาก 2 ครั้งแรกคือวันที่ 19 ธันวาคม 2566 และ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ศาลมีคำสั่งยกคำร้องโดยไม่ต้องไต่สวน โดยให้เหตุว่าศาลออกหมายจำคุก การบังคับโทษ อนุญาตส่งตัว เป็นอำนาจของกรมราชทัณฑ์ ไม่อยู่ในอำนาจศาล คำร้องครั้งที่ 3 นี้นายชาญชัยยื่นขอให้รับคำร้องไว้ไต่สวนและมีคำสั่งบังคับโทษจำคุกให้เป็นไปตามคำพิพากษาที่ถึงที่สุด เเละศาลนัดฟังคำสั่งวันที่ 30 เมษายนนี้ ซึ่งต้องรอดูว่าศาลจะยกคำร้องเป็นครั้งที่ 3 หรือไม่ หรือรับที่จะดำเนินการต่อไป#ThePublisherTH #สำนักข่าวออนไลน์เพื่อสังคม #แพทยสภา #ชั้น14 #นักโทษเทวดา #ทักษิณ #ทักษิณชินวัตร #กระบวนการยุติธรรม #ศาลปกครอง- - - - - - - - - - - - - - - - - -ติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่https://thepublisherth.com/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 386 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง นัด “ชาญชัย อิสระเสนารักษ์” 30 เม.ย.ฟังคำสั่ง ตามคำร้องให้ไต่สวนกรมราชทัณฑ์ ส่ง “ทักษิณ” ออกจากเรือนจำไปรักษาตัวชั้น 14 รพ.ตำรวจ ผิดขั้นตอนกฎหมายหรือไม่

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000038994

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง นัด “ชาญชัย อิสระเสนารักษ์” 30 เม.ย.ฟังคำสั่ง ตามคำร้องให้ไต่สวนกรมราชทัณฑ์ ส่ง “ทักษิณ” ออกจากเรือนจำไปรักษาตัวชั้น 14 รพ.ตำรวจ ผิดขั้นตอนกฎหมายหรือไม่ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000038994 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 733 มุมมอง 0 รีวิว
  • อธิบดีกรมสรรพากร ได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่สำนักงานสรรพากร ภาค 3 เข้าร้องทุกข์กล่าวโทษต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เพื่อดำเนินคดีอาญากับ บริษัท ซิน เค

    อ่านเรื่องนี้ต่อที่: https://www.kaohoon.com/news/745197?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR2VVvWl8GvxaLIZxvl6zPAgQYa5iB4UKQgrD7CSfgUgCH0UA5mdh_4YC8Q_aem_0szrY7xtO2tHjG1O6GucBA
    อธิบดีกรมสรรพากร ได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่สำนักงานสรรพากร ภาค 3 เข้าร้องทุกข์กล่าวโทษต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เพื่อดำเนินคดีอาญากับ บริษัท ซิน เค อ่านเรื่องนี้ต่อที่: https://www.kaohoon.com/news/745197?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR2VVvWl8GvxaLIZxvl6zPAgQYa5iB4UKQgrD7CSfgUgCH0UA5mdh_4YC8Q_aem_0szrY7xtO2tHjG1O6GucBA
    WWW.KAOHOON.COM
    “สรรพากร” ร้อง DSI ดำเนินคดี “ซิน เคอหยวน” ใช้ “ใบกำกับภาษีปลอม” เสียหาย 200 ล้านบาท
    “กรมสรรพากร” ร้องทุกข์ต่อ DSI หลังพบ ซิน เคอหยวนฯ ใช้ใบกำกับภาษีปลอมกว่า 7,000 รายการ มูลค่ากว่า 200 ล้านบาท ดีเอสไอรับขยายผลเป็นคดีพิเศษ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 189 มุมมอง 0 รีวิว
  • อธิบดีกรมสรรพากร มอบหมายเจ้าหน้าที่กล่าวโทษต่อดีเอสไอ ให้ดำเนินคดีอาญากับผู้ผลิตเหล็ก ซิน เคอ หยวน หลังพบนำใบกำกับภาษีปลอมไปใช้เครดิตภาษี กว่า 7 พันฉบับ เสียหายกว่า 200 ล้านบาท ขยายผลจากเหตุอาคาร สตง. ถล่ม
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000031966
    อธิบดีกรมสรรพากร มอบหมายเจ้าหน้าที่กล่าวโทษต่อดีเอสไอ ให้ดำเนินคดีอาญากับผู้ผลิตเหล็ก ซิน เคอ หยวน หลังพบนำใบกำกับภาษีปลอมไปใช้เครดิตภาษี กว่า 7 พันฉบับ เสียหายกว่า 200 ล้านบาท ขยายผลจากเหตุอาคาร สตง. ถล่ม . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000031966
    Like
    Haha
    Love
    13
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1763 มุมมอง 0 รีวิว
  • นโยบายบ่อนกาสิโนไม่มีพรรคใดหาเสียง จึงไม่มีสิทธิโหวตรับในสภา !!สมัยเกิดทุจริตจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ งบประมาณ 1,400 ล้านบาท เมื่อปีพ.ศ.2542 รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขถูกเครือข่าย 30 องค์กรภาคประชาชนยื่นกล่าวหาร่ำรวยผิดปกติ รัฐมนตรีอ้างว่าเงินที่ไม่สามารถระบุที่มาของเงินนั้นได้มาจากการเล่นการพนันจากบ่อนกาสิโนในต่างประเทศ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช) ไม่รับฟังข้อต่อสู้ดังกล่าวจึงมีการไต่สวนจนพบว่ามีเงินที่รับสินบนด้วยการทำนิติกรรมอำพรางที่เกี่ยวข้องกับการรับสินบนจากบริษัทยาเพื่อจัดซื้อยาราคาแพง และได้ส่งฟ้องไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และรัฐมนตรีถูกพิพากษาว่าร่ำรวยผิดปกติ และถูกยึดทรัพย์ให้ตกเป็นของแผ่นดิน 233.87 ล้านบาท และต่อมารัฐมนตรีถูกตัดสินจำคุก15ปีจากการรับสินบนหากร่างพ.ร.บ การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ …. ถูกรับรองผ่านเป็นกฎหมายโดยมีการสอดไส้บ่อนกาสิโนไว้ในพรบ.ฉบับนี้ตามที่รัฐบาลต้องการ ต่อจากนี้เป็นต้นไป การฟอกเงินจากสิ่งที่ผิดกฎหมายทั้งหลาย ทั้งการรับสินบน การค้ามนุษย์ การค้ายาเสพติด เงินจากการทำผิดกฎหมาย และการปล้นในรูปแบบต่างๆจะถูกอ้างว่าได้มาจากบ่อนกาสิโน เงินใต้ดินทั้งหลายจะถูกฟอกขาวโดยบ่อนกาสิโน สิ่งนี้คือสิ่งที่นักการเมืองต้องการ ใช่หรือไม่ ?! พรรคการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนมาเป็นผู้แทนในรัฐสภา ต้องรับผิดชอบต่อการหาเสียงซึ่งถือเป็นสัญญาประชาคม ว่าจะทำอะไรให้ประชาชนถ้าได้รับเลือกเป็นผู้แทนประชาชน หลักคำสอนทางการเมืองของจอห์น ล็อค ที่ให้แก่ผู้มีศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย มีอยู่สั้นๆ ว่า รัฐบาลที่ชอบธรรมทั้งปวงหรือ“รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง”เป็น“รัฐบาลที่มีอำนาจที่จำกัด”(Limited Government)และดำรงอยู่ได้ด้วยความยินยอม (consent) ของประชาชนที่เลือกรัฐบาลขึ้นมา กล่าวคือ รัฐบาลมีอำนาจความเป็นผู้แทนจำกัดอยู่เฉพาะการดำเนินนโยบายตามที่หาเสียงกับประชาชนไว้เท่านั้น ดังนั้นการคัดค้านบ่อนกาสิโนของประชาชน นักการเมืองต้องฟัง !!ในเมื่อพรรคการเมืองทั้งหลายที่อยู่ร่วมเป็นรัฐบาลผสม ไม่เคยหาเสียงเรื่องบ่อนกาสิโน จึงไม่มีสิทธิฮั้วกันโหวตรับร่างกฎหมายบ่อนกาสิโนหากพรรคแกนนำรัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาลโหวตรับร่างกฎหมายบ่อนกาสิโนที่ตนไม่ได้หาเสียงไว้ ก็เท่ากับท่านใช้อำนาจเกินขอบเขตที่ประชาชนมอบหมายให้ และเป็นการทำลายสัญญาประชาคมที่ให้ไว้กับประชาชนอย่างร้ายแรง อันอาจถึงขั้นที่รัฐบาลกลายเป็นกบฎต่อความไว้วางใจ และต่อสัญญาประชาคมที่ให้ไว้กับประชาชนเสียเอง และประชาชนสามารถใช้อำนาจประชาธิปไตยทางตรง(Direct Democrcy)ขับไล่รัฐบาลที่ใช้อำนาจเกินขอบเขตนั้นได้การที่ประชาชนแม้ไม่เห็นด้วยกับการนโยบายแจกเงิน 10,000 บาทของรัฐบาล แต่เพราะเป็นการหาเสียงของรัฐบาล ประชาชนจึงกล้ำกลืนความไม่พอใจ ความกังวลใจว่าประเทศจะเสียหายเพราะนโยบายแจกเงินเช่นนั้น แต่บ่อนกาสิโนไม่ใช่การหาเสียงของพรรคใด พวกท่านจึงไม่มีสิทธิลักไก่ผลักดันผ่านร่างกฎหมายบ่อนกาสิโนดังกล่าว โดยไม่ฟังเสียงคัดค้านต่อต้านที่ดังกึกก้องมาจากทุกภาคส่วนของสังคมไทยในขณะนี้จงอย่าคิดว่าเมื่อได้อำนาจที่ประชาชนมอบให้ผ่านการเลือกตั้งแล้ว รัฐบาลก็จะทำอะไรก็ได้ ที่นอกเหนือจากการหาเสียง ประชาชนเลือกผู้แทน ไม่ใช่เลือกโจรมาปล้นบ้านตัวเอง ใช่หรือไม่?รัฐบาลและรัฐสภามีเครื่องมือในการทำประชามติ ถ้ารัฐบาลทนรอถึงการเลือกตั้งสมัยหน้าไม่ได้ ก็จงใช้เครื่องมือประชามติถามประชาชนทั้งประเทศเรื่องบ่อนกาสิโนว่าประชาชนต้องการให้รัฐบาลทำหรือไม่ ?ประธานรัฐสภาเป็นเสาหลัก 1 ในอำนาจ 3 ที่ประชาชนมอบให้ และหวังให้เสาหลักเป็นหลักที่ปักมั่นไม่คลอนแคลน เป็นอิสระ และทำตามสัญญาประชาคมในการไม่เปิดประตูให้กับร่างกฎหมายบ่อนกาสิโนที่ประชาชนคัดค้าน ถ้าท่านยอมให้ร่างกฎหมายเข้าสู่สายพานการออกกฎหมายของรัฐสภา ก็ไม่ต่างกับการออกกฎหมายให้การปล้นอนาคตประเทศ ปล้นอนาคตลูกหลานไทยเป็นการปล้นที่ถูกกฎหมาย ใช่หรือไม่?ขอให้จดจำร่างพรบ.นิรโทษกรรมสุดซอย ว่ามีการลักหลับผ่านกฎหมายช่วงตี3-ตี4 ตรงตามฤกษ์โจรปล้น ว่ามีผลเป็นอย่างไร บ่อนกาสิโนก็อาจกลายเป็นน้ำผึ้งหยดหนึ่งซึ่งก่อให้เกิดความปั่นป่วนและอุบัติเหตุทางการเมืองขึ้นได้อีกจากการฉวยโอกาส ดังที่เคยเกิดขึ้นซ้ำๆจากการลุกขึ้นต่อต้านของประชาชน ใช่หรือไม่รสนา โตสิตระกูล3 เมษายน 2568#คัดค้านกาสิโน
    นโยบายบ่อนกาสิโนไม่มีพรรคใดหาเสียง จึงไม่มีสิทธิโหวตรับในสภา !!สมัยเกิดทุจริตจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ งบประมาณ 1,400 ล้านบาท เมื่อปีพ.ศ.2542 รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขถูกเครือข่าย 30 องค์กรภาคประชาชนยื่นกล่าวหาร่ำรวยผิดปกติ รัฐมนตรีอ้างว่าเงินที่ไม่สามารถระบุที่มาของเงินนั้นได้มาจากการเล่นการพนันจากบ่อนกาสิโนในต่างประเทศ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช) ไม่รับฟังข้อต่อสู้ดังกล่าวจึงมีการไต่สวนจนพบว่ามีเงินที่รับสินบนด้วยการทำนิติกรรมอำพรางที่เกี่ยวข้องกับการรับสินบนจากบริษัทยาเพื่อจัดซื้อยาราคาแพง และได้ส่งฟ้องไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และรัฐมนตรีถูกพิพากษาว่าร่ำรวยผิดปกติ และถูกยึดทรัพย์ให้ตกเป็นของแผ่นดิน 233.87 ล้านบาท และต่อมารัฐมนตรีถูกตัดสินจำคุก15ปีจากการรับสินบนหากร่างพ.ร.บ การประกอบธุรกิจสถานบันเทิงครบวงจร พ.ศ …. ถูกรับรองผ่านเป็นกฎหมายโดยมีการสอดไส้บ่อนกาสิโนไว้ในพรบ.ฉบับนี้ตามที่รัฐบาลต้องการ ต่อจากนี้เป็นต้นไป การฟอกเงินจากสิ่งที่ผิดกฎหมายทั้งหลาย ทั้งการรับสินบน การค้ามนุษย์ การค้ายาเสพติด เงินจากการทำผิดกฎหมาย และการปล้นในรูปแบบต่างๆจะถูกอ้างว่าได้มาจากบ่อนกาสิโน เงินใต้ดินทั้งหลายจะถูกฟอกขาวโดยบ่อนกาสิโน สิ่งนี้คือสิ่งที่นักการเมืองต้องการ ใช่หรือไม่ ?! พรรคการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนมาเป็นผู้แทนในรัฐสภา ต้องรับผิดชอบต่อการหาเสียงซึ่งถือเป็นสัญญาประชาคม ว่าจะทำอะไรให้ประชาชนถ้าได้รับเลือกเป็นผู้แทนประชาชน หลักคำสอนทางการเมืองของจอห์น ล็อค ที่ให้แก่ผู้มีศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย มีอยู่สั้นๆ ว่า รัฐบาลที่ชอบธรรมทั้งปวงหรือ“รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง”เป็น“รัฐบาลที่มีอำนาจที่จำกัด”(Limited Government)และดำรงอยู่ได้ด้วยความยินยอม (consent) ของประชาชนที่เลือกรัฐบาลขึ้นมา กล่าวคือ รัฐบาลมีอำนาจความเป็นผู้แทนจำกัดอยู่เฉพาะการดำเนินนโยบายตามที่หาเสียงกับประชาชนไว้เท่านั้น ดังนั้นการคัดค้านบ่อนกาสิโนของประชาชน นักการเมืองต้องฟัง !!ในเมื่อพรรคการเมืองทั้งหลายที่อยู่ร่วมเป็นรัฐบาลผสม ไม่เคยหาเสียงเรื่องบ่อนกาสิโน จึงไม่มีสิทธิฮั้วกันโหวตรับร่างกฎหมายบ่อนกาสิโนหากพรรคแกนนำรัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาลโหวตรับร่างกฎหมายบ่อนกาสิโนที่ตนไม่ได้หาเสียงไว้ ก็เท่ากับท่านใช้อำนาจเกินขอบเขตที่ประชาชนมอบหมายให้ และเป็นการทำลายสัญญาประชาคมที่ให้ไว้กับประชาชนอย่างร้ายแรง อันอาจถึงขั้นที่รัฐบาลกลายเป็นกบฎต่อความไว้วางใจ และต่อสัญญาประชาคมที่ให้ไว้กับประชาชนเสียเอง และประชาชนสามารถใช้อำนาจประชาธิปไตยทางตรง(Direct Democrcy)ขับไล่รัฐบาลที่ใช้อำนาจเกินขอบเขตนั้นได้การที่ประชาชนแม้ไม่เห็นด้วยกับการนโยบายแจกเงิน 10,000 บาทของรัฐบาล แต่เพราะเป็นการหาเสียงของรัฐบาล ประชาชนจึงกล้ำกลืนความไม่พอใจ ความกังวลใจว่าประเทศจะเสียหายเพราะนโยบายแจกเงินเช่นนั้น แต่บ่อนกาสิโนไม่ใช่การหาเสียงของพรรคใด พวกท่านจึงไม่มีสิทธิลักไก่ผลักดันผ่านร่างกฎหมายบ่อนกาสิโนดังกล่าว โดยไม่ฟังเสียงคัดค้านต่อต้านที่ดังกึกก้องมาจากทุกภาคส่วนของสังคมไทยในขณะนี้จงอย่าคิดว่าเมื่อได้อำนาจที่ประชาชนมอบให้ผ่านการเลือกตั้งแล้ว รัฐบาลก็จะทำอะไรก็ได้ ที่นอกเหนือจากการหาเสียง ประชาชนเลือกผู้แทน ไม่ใช่เลือกโจรมาปล้นบ้านตัวเอง ใช่หรือไม่?รัฐบาลและรัฐสภามีเครื่องมือในการทำประชามติ ถ้ารัฐบาลทนรอถึงการเลือกตั้งสมัยหน้าไม่ได้ ก็จงใช้เครื่องมือประชามติถามประชาชนทั้งประเทศเรื่องบ่อนกาสิโนว่าประชาชนต้องการให้รัฐบาลทำหรือไม่ ?ประธานรัฐสภาเป็นเสาหลัก 1 ในอำนาจ 3 ที่ประชาชนมอบให้ และหวังให้เสาหลักเป็นหลักที่ปักมั่นไม่คลอนแคลน เป็นอิสระ และทำตามสัญญาประชาคมในการไม่เปิดประตูให้กับร่างกฎหมายบ่อนกาสิโนที่ประชาชนคัดค้าน ถ้าท่านยอมให้ร่างกฎหมายเข้าสู่สายพานการออกกฎหมายของรัฐสภา ก็ไม่ต่างกับการออกกฎหมายให้การปล้นอนาคตประเทศ ปล้นอนาคตลูกหลานไทยเป็นการปล้นที่ถูกกฎหมาย ใช่หรือไม่?ขอให้จดจำร่างพรบ.นิรโทษกรรมสุดซอย ว่ามีการลักหลับผ่านกฎหมายช่วงตี3-ตี4 ตรงตามฤกษ์โจรปล้น ว่ามีผลเป็นอย่างไร บ่อนกาสิโนก็อาจกลายเป็นน้ำผึ้งหยดหนึ่งซึ่งก่อให้เกิดความปั่นป่วนและอุบัติเหตุทางการเมืองขึ้นได้อีกจากการฉวยโอกาส ดังที่เคยเกิดขึ้นซ้ำๆจากการลุกขึ้นต่อต้านของประชาชน ใช่หรือไม่รสนา โตสิตระกูล3 เมษายน 2568#คัดค้านกาสิโน
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 760 มุมมอง 0 รีวิว
  • 35 ปี ตึกร้างผีสิง “สาธร ยูนีค ทาวเวอร์” ร่องรอยวิกฤตต้มยำกุ้ง แต่… ไร้รอยฝุ่นฟุ้งแผ่นดินไหว 🏚️

    🏙️ เมื่อสถานที่กลายเป็น ร่องรอยของเหตุการณ์ในอดีต สถานที่บางแห่ง ถูกสร้างขึ้นเพื่อจดจำสิ่งยิ่งใหญ่ เช่น รูปปั้นเทพีเสรีภาพของอเมริกา หรืออนุสาวรีย์ประชาธิปไตยของไทย แต่บางครั้งสถานที่กลับกลายเป็น "ร่องรอยที่ไม่มีใครอยากจดจำ" อย่างเช่น ตึกสาธร ยูนีค ทาวเวอร์ (Sathorn Unique Tower) ที่ไม่ได้ตั้งอยู่เพื่อเป็นอนุสรณ์ แต่กลับกลายเป็นหนึ่งในหลักฐานชิ้นเอกของ วิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง ปี พ.ศ. 2540 🕰️

    🌉 Sathorn Unique Tower:ความหวังระดับลักซ์ชัวรี่ใจกลางกรุง ย้อนกลับไปในปี พ.ศ. 2533 ช่วงเวลาที่เศรษฐกิจไทย เฟื่องฟูแบบก้าวกระโดด โครงการอสังหาริมทรัพย์หรู ผุดขึ้นทั่วเมืองกรุง หนึ่งในนั้นคือ “สาธร ยูนีค ทาวเวอร์” ที่ออกแบบโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์รังสรรค์ ต่อสุวรรณ สถาปนิกชื่อดัง ผู้อยู่เบื้องหลังดีไซน์ของ State Tower ที่โด่งดังเช่นกัน

    ตึกสาธร ยูนีค ทาวเวอร์ เป็นคอนโดฯ สไตล์โรมันสูง 49 ชั้น รวมชั้นใต้ดิน 2 ชั้น บนความสูง 185 เมตร 🏢 รวมทั้งหมด 600 ยูนิต มูลค่าลงทุนมากถึง 1,800 ล้านบาท เป้าหมายคือการเป็นแลนด์มาร์กสุดหรู ริมแม่น้ำเจ้าพระยา

    🏗️ โครงการในฝัน กลายเป็นฝันร้าย? แม้จะมีเงินลงทุนจากพรีเซลล์ และบริษัทร่วมทุน แต่ก็ยังไม่พอ จึงต้องพึ่งพาเงินกู้จาก บริษัทหลักทรัพย์ไทยเม็กซ์ ซึ่งต่อมากลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ เพราะทันทีที่เจ้าของโครงการ ถูกกล่าวหาคดีอาญาเรื่องจ้างวานฆ่า ซึ่งภายหลังถูกยกฟ้อง ก็ส่งผลให้สถาบันการเงิน “เบรก” การปล่อยกู้ทันที 😨

    แม้จะฟื้นคืนการเงินได้ในภายหลัง แต่ “ความเชื่อมั่น” ก็ไม่กลับมาอีกเลย…

    📉 วิกฤตต้มยำกุ้ง จุดเปลี่ยนเศรษฐกิจที่ทำให้ตึกหยุดสร้าง

    🔍 พื้นหลังเศรษฐกิจไทยยุคทอง ก่อนปี 2540 เศรษฐกิจไทยโตเฉลี่ย 9% ต่อปี เงินทุนไหลเข้ามหาศาล ดอกเบี้ยในประเทศสูง ต่างชาติแห่ลงทุน ธนาคารไทยเองก็ขยายเครดิตอย่างหนัก 🏦

    มีการตั้ง BIBF เพื่อปล่อยกู้เงินต่างประเทศ เข้ามาภายในประเทศ แต่บริษัทส่วนใหญ่กลับกู้ระยะสั้น ทั้งที่อสังหาฯ ต้องใช้เงินระยะยาว ระบบเศรษฐกิจ "เติบโตเกินจริง" หรือ Overextended

    เมื่อค่าเงินบาทถูก "ลอยตัว" จาก 25 บาท/ดอลลาร์ ไปแตะ 50 บาท/ดอลลาร์ ทำให้ภาคเอกชนต้องใช้หนี้เพิ่มขึ้น “เท่าตัว” โดยไม่มีรายได้เพิ่มขึ้น

    🧨 เมื่อฟองสบู่แตก บริษัทเงินทุนล่มสลาย ปี 2540 รัฐบาลประกาศปิดบริษัทเงินทุนกว่า 50 แห่ง รวมถึง ไทยเม็กซ์
    โครงการสาธร ยูนีค ที่เดินหน้าไปแล้ว 80% ก็ต้องหยุดกะทันหัน ท่ามกลางวิกฤตความเชื่อมั่น และต้นทุนกู้ยืมที่สูงเกินรับไหว

    👻 จาก “สาธร ยูนีค” สู่ “Ghost Tower” ตำนานความหลอนใจกลางเมือง หลังจากการก่อสร้างถูกปล่อยทิ้งร้าง ตึกนี้ก็เริ่มเสื่อมโทรมตามกาลเวลา และเพราะเป็นตึกสูงใหญ่โดดเด่นที่ "ไม่เสร็จ" ผู้คนก็เริ่มแต่งเรื่องลี้ลับขึ้นมา…

    💀 ข่าวลือที่สร้างชื่อเสียงแบบไม่ตั้งใจ บางคนเชื่อว่า ตึกสร้างไม่เสร็จเพราะอาถรรพ์ บ้างลือว่าตึกนี้ ตั้งอยู่บนพื้นที่สุสานเก่า มีข่าวลือถึงการเสียชีวิตปริศนาในตึก

    🎥 ในปี 2557 มีเหตุสลดจริง เมื่อพบศพชายชาวสวีเดน แขวนคอในตึกดังกล่าว ทำให้ทางเจ้าของตึกแจ้งความ และมีการ “ปิดทางเข้า” ไม่ให้คนภายนอกเข้าไปอีก

    อย่างไรก็ตาม ภาพจากตึกนี้ยังคงปรากฏในหนังหลายเรื่อง เช่น “เพื่อน…ที่ระลึก” ที่ตีแผ่ความหลอนจากวิกฤตเศรษฐกิจและการพลัดพราก 🕯️

    💡 ทำไมถึงขายไม่ได้? ราคาพุ่งจาก 3,000 ล้าน สู่ 4,000 ล้าน

    📌 ต้นทุนที่ยังค้างคา เจ้าของคนปัจจุบันคือ นายพรรษิษฐ์ ต่อสุวรรณ บุตรชาย ผศ.รังสรรค์ ยืนยันว่า จะขายตึกในราคาที่สามารถคืนทุนทั้งหมด และคืนเงินให้กับผู้ที่ซื้อพรีเซลล์ไว้แล้วกว่า 90%

    ปัจจุบันราคาตึกตั้งไว้ที่ 3,000-4,000 ล้านบาท ซึ่งสูงเกินกว่าที่นักลงทุนรายใหม่จะรับได้ โดยเฉพาะเมื่อโครงสร้างห้องในอดีตเน้น “ขนาดใหญ่” ซึ่งสวนทางกับเทรนด์ห้องยุคปัจจุบัน ที่ต้องการห้องขนาดกะทัดรัด 😕

    🧱 แต่… “Ghost Tower” แข็งแรงกว่าที่คิด! 🌍 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2568 ผู้ใช้โซเชียลมีเดียรายหนึ่ง ออกมาโพสต์ขายตึกนี้ในราคา 4,000 ล้านบาท พร้อมข้อมูลว่า…

    ❗ "แม้จะเกิดแผ่นดินไหว แต่โครงสร้างตึก ไม่กระทบเลยแม้แต่น้อย"

    ทำให้มีคนเริ่มสนใจตึกนี้ในฐานะ “อสังหาริมทรัพย์ที่แข็งแรง และโดดเด่นทางสถาปัตยกรรม” อีกครั้ง ตึกนี้ไม่เพียงรอดจากวิกฤตเศรษฐกิจ แต่ยัง "ยืนหยัดท่ามกลางแรงสั่นสะเทือนจากธรรมชาติ" ได้อีกด้วย 💪🌎

    🧠 “สาธร” หรือ “สาทร” สรุปใช้คำไหนกันแน่? แม้ตึกจะใช้ชื่อว่า “สาธร ยูนีค ทาวเวอร์” ตามชื่อบริษัทที่จดทะเบียน แต่ในความเป็นจริง ชื่อเขตที่ตั้งควรสะกดว่า “สาทร” โดยมีที่มาทางประวัติศาสตร์ดังนี้

    “สาทร” มาจาก หลวงสาทรราชายุตก์ ผู้สร้างถนนและคลองในยุค ร.5 เอกสารราชการในยุค ร.6 ใช้คำว่า “สาทร” อย่างชัดเจน ปัจจุบันการสะกดผิดพลาด และใช้คำว่า “สาธร” แพร่หลาย

    ราชบัณฑิตยสถานจึงแนะนำให้ใช้คำว่า “สาทร” เพื่อความถูกต้องตามประวัติศาสตร์ 📜

    🎬 "Sathorn Unique Tower" แลนด์มาร์กของ “อดีต” ที่ยังยืนอยู่ใน “ปัจจุบัน” แม้จะผ่านเวลามาแล้ว 35 ปี ตึกแห่งนี้ยังคงตั้งตระหง่าน อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ไม่ได้เพียงเป็นตึกร้าง แต่กลายเป็น สัญลักษณ์ของบทเรียนเศรษฐกิจ กลายเป็น แลนด์มาร์กแห่งความทรงจำ และอาจเป็น “โอกาสใหม่” ที่รอเพียงการตีความใหม่อีกครั้ง ในอนาคต…

    🔚 "ตึกสาธร ยูนีค ทาวเวอร์" อดีตที่ยัง “ยืนอยู่” ตึกนี้คือบทเรียนทางเศรษฐกิจ สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรม
    ที่ยังไม่จบ… และอาจเป็น “จุดเริ่มต้นใหม่” หากมีใครกล้าคิด…ต่าง 💡

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 301305 มี.ค. 2568

    🏷️ #ตึกสาธรยูนีค #GhostTower #วิกฤตต้มยำกุ้ง #ตึกร้างกรุงเทพ #อสังหาริมทรัพย์ไทย #สถานที่หลอน #ตึกผีสิง #กรุงเทพมหานคร #SathornUniqueTower #ตำนานเมืองกรุง
    35 ปี ตึกร้างผีสิง “สาธร ยูนีค ทาวเวอร์” ร่องรอยวิกฤตต้มยำกุ้ง แต่… ไร้รอยฝุ่นฟุ้งแผ่นดินไหว 🏚️ 🏙️ เมื่อสถานที่กลายเป็น ร่องรอยของเหตุการณ์ในอดีต สถานที่บางแห่ง ถูกสร้างขึ้นเพื่อจดจำสิ่งยิ่งใหญ่ เช่น รูปปั้นเทพีเสรีภาพของอเมริกา หรืออนุสาวรีย์ประชาธิปไตยของไทย แต่บางครั้งสถานที่กลับกลายเป็น "ร่องรอยที่ไม่มีใครอยากจดจำ" อย่างเช่น ตึกสาธร ยูนีค ทาวเวอร์ (Sathorn Unique Tower) ที่ไม่ได้ตั้งอยู่เพื่อเป็นอนุสรณ์ แต่กลับกลายเป็นหนึ่งในหลักฐานชิ้นเอกของ วิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง ปี พ.ศ. 2540 🕰️ 🌉 Sathorn Unique Tower:ความหวังระดับลักซ์ชัวรี่ใจกลางกรุง ย้อนกลับไปในปี พ.ศ. 2533 ช่วงเวลาที่เศรษฐกิจไทย เฟื่องฟูแบบก้าวกระโดด โครงการอสังหาริมทรัพย์หรู ผุดขึ้นทั่วเมืองกรุง หนึ่งในนั้นคือ “สาธร ยูนีค ทาวเวอร์” ที่ออกแบบโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์รังสรรค์ ต่อสุวรรณ สถาปนิกชื่อดัง ผู้อยู่เบื้องหลังดีไซน์ของ State Tower ที่โด่งดังเช่นกัน ตึกสาธร ยูนีค ทาวเวอร์ เป็นคอนโดฯ สไตล์โรมันสูง 49 ชั้น รวมชั้นใต้ดิน 2 ชั้น บนความสูง 185 เมตร 🏢 รวมทั้งหมด 600 ยูนิต มูลค่าลงทุนมากถึง 1,800 ล้านบาท เป้าหมายคือการเป็นแลนด์มาร์กสุดหรู ริมแม่น้ำเจ้าพระยา 🏗️ โครงการในฝัน กลายเป็นฝันร้าย? แม้จะมีเงินลงทุนจากพรีเซลล์ และบริษัทร่วมทุน แต่ก็ยังไม่พอ จึงต้องพึ่งพาเงินกู้จาก บริษัทหลักทรัพย์ไทยเม็กซ์ ซึ่งต่อมากลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ เพราะทันทีที่เจ้าของโครงการ ถูกกล่าวหาคดีอาญาเรื่องจ้างวานฆ่า ซึ่งภายหลังถูกยกฟ้อง ก็ส่งผลให้สถาบันการเงิน “เบรก” การปล่อยกู้ทันที 😨 แม้จะฟื้นคืนการเงินได้ในภายหลัง แต่ “ความเชื่อมั่น” ก็ไม่กลับมาอีกเลย… 📉 วิกฤตต้มยำกุ้ง จุดเปลี่ยนเศรษฐกิจที่ทำให้ตึกหยุดสร้าง 🔍 พื้นหลังเศรษฐกิจไทยยุคทอง ก่อนปี 2540 เศรษฐกิจไทยโตเฉลี่ย 9% ต่อปี เงินทุนไหลเข้ามหาศาล ดอกเบี้ยในประเทศสูง ต่างชาติแห่ลงทุน ธนาคารไทยเองก็ขยายเครดิตอย่างหนัก 🏦 มีการตั้ง BIBF เพื่อปล่อยกู้เงินต่างประเทศ เข้ามาภายในประเทศ แต่บริษัทส่วนใหญ่กลับกู้ระยะสั้น ทั้งที่อสังหาฯ ต้องใช้เงินระยะยาว ระบบเศรษฐกิจ "เติบโตเกินจริง" หรือ Overextended เมื่อค่าเงินบาทถูก "ลอยตัว" จาก 25 บาท/ดอลลาร์ ไปแตะ 50 บาท/ดอลลาร์ ทำให้ภาคเอกชนต้องใช้หนี้เพิ่มขึ้น “เท่าตัว” โดยไม่มีรายได้เพิ่มขึ้น 🧨 เมื่อฟองสบู่แตก บริษัทเงินทุนล่มสลาย ปี 2540 รัฐบาลประกาศปิดบริษัทเงินทุนกว่า 50 แห่ง รวมถึง ไทยเม็กซ์ โครงการสาธร ยูนีค ที่เดินหน้าไปแล้ว 80% ก็ต้องหยุดกะทันหัน ท่ามกลางวิกฤตความเชื่อมั่น และต้นทุนกู้ยืมที่สูงเกินรับไหว 👻 จาก “สาธร ยูนีค” สู่ “Ghost Tower” ตำนานความหลอนใจกลางเมือง หลังจากการก่อสร้างถูกปล่อยทิ้งร้าง ตึกนี้ก็เริ่มเสื่อมโทรมตามกาลเวลา และเพราะเป็นตึกสูงใหญ่โดดเด่นที่ "ไม่เสร็จ" ผู้คนก็เริ่มแต่งเรื่องลี้ลับขึ้นมา… 💀 ข่าวลือที่สร้างชื่อเสียงแบบไม่ตั้งใจ บางคนเชื่อว่า ตึกสร้างไม่เสร็จเพราะอาถรรพ์ บ้างลือว่าตึกนี้ ตั้งอยู่บนพื้นที่สุสานเก่า มีข่าวลือถึงการเสียชีวิตปริศนาในตึก 🎥 ในปี 2557 มีเหตุสลดจริง เมื่อพบศพชายชาวสวีเดน แขวนคอในตึกดังกล่าว ทำให้ทางเจ้าของตึกแจ้งความ และมีการ “ปิดทางเข้า” ไม่ให้คนภายนอกเข้าไปอีก อย่างไรก็ตาม ภาพจากตึกนี้ยังคงปรากฏในหนังหลายเรื่อง เช่น “เพื่อน…ที่ระลึก” ที่ตีแผ่ความหลอนจากวิกฤตเศรษฐกิจและการพลัดพราก 🕯️ 💡 ทำไมถึงขายไม่ได้? ราคาพุ่งจาก 3,000 ล้าน สู่ 4,000 ล้าน 📌 ต้นทุนที่ยังค้างคา เจ้าของคนปัจจุบันคือ นายพรรษิษฐ์ ต่อสุวรรณ บุตรชาย ผศ.รังสรรค์ ยืนยันว่า จะขายตึกในราคาที่สามารถคืนทุนทั้งหมด และคืนเงินให้กับผู้ที่ซื้อพรีเซลล์ไว้แล้วกว่า 90% ปัจจุบันราคาตึกตั้งไว้ที่ 3,000-4,000 ล้านบาท ซึ่งสูงเกินกว่าที่นักลงทุนรายใหม่จะรับได้ โดยเฉพาะเมื่อโครงสร้างห้องในอดีตเน้น “ขนาดใหญ่” ซึ่งสวนทางกับเทรนด์ห้องยุคปัจจุบัน ที่ต้องการห้องขนาดกะทัดรัด 😕 🧱 แต่… “Ghost Tower” แข็งแรงกว่าที่คิด! 🌍 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2568 ผู้ใช้โซเชียลมีเดียรายหนึ่ง ออกมาโพสต์ขายตึกนี้ในราคา 4,000 ล้านบาท พร้อมข้อมูลว่า… ❗ "แม้จะเกิดแผ่นดินไหว แต่โครงสร้างตึก ไม่กระทบเลยแม้แต่น้อย" ทำให้มีคนเริ่มสนใจตึกนี้ในฐานะ “อสังหาริมทรัพย์ที่แข็งแรง และโดดเด่นทางสถาปัตยกรรม” อีกครั้ง ตึกนี้ไม่เพียงรอดจากวิกฤตเศรษฐกิจ แต่ยัง "ยืนหยัดท่ามกลางแรงสั่นสะเทือนจากธรรมชาติ" ได้อีกด้วย 💪🌎 🧠 “สาธร” หรือ “สาทร” สรุปใช้คำไหนกันแน่? แม้ตึกจะใช้ชื่อว่า “สาธร ยูนีค ทาวเวอร์” ตามชื่อบริษัทที่จดทะเบียน แต่ในความเป็นจริง ชื่อเขตที่ตั้งควรสะกดว่า “สาทร” โดยมีที่มาทางประวัติศาสตร์ดังนี้ “สาทร” มาจาก หลวงสาทรราชายุตก์ ผู้สร้างถนนและคลองในยุค ร.5 เอกสารราชการในยุค ร.6 ใช้คำว่า “สาทร” อย่างชัดเจน ปัจจุบันการสะกดผิดพลาด และใช้คำว่า “สาธร” แพร่หลาย ราชบัณฑิตยสถานจึงแนะนำให้ใช้คำว่า “สาทร” เพื่อความถูกต้องตามประวัติศาสตร์ 📜 🎬 "Sathorn Unique Tower" แลนด์มาร์กของ “อดีต” ที่ยังยืนอยู่ใน “ปัจจุบัน” แม้จะผ่านเวลามาแล้ว 35 ปี ตึกแห่งนี้ยังคงตั้งตระหง่าน อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ไม่ได้เพียงเป็นตึกร้าง แต่กลายเป็น สัญลักษณ์ของบทเรียนเศรษฐกิจ กลายเป็น แลนด์มาร์กแห่งความทรงจำ และอาจเป็น “โอกาสใหม่” ที่รอเพียงการตีความใหม่อีกครั้ง ในอนาคต… 🔚 "ตึกสาธร ยูนีค ทาวเวอร์" อดีตที่ยัง “ยืนอยู่” ตึกนี้คือบทเรียนทางเศรษฐกิจ สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรม ที่ยังไม่จบ… และอาจเป็น “จุดเริ่มต้นใหม่” หากมีใครกล้าคิด…ต่าง 💡 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 301305 มี.ค. 2568 🏷️ #ตึกสาธรยูนีค #GhostTower #วิกฤตต้มยำกุ้ง #ตึกร้างกรุงเทพ #อสังหาริมทรัพย์ไทย #สถานที่หลอน #ตึกผีสิง #กรุงเทพมหานคร #SathornUniqueTower #ตำนานเมืองกรุง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1099 มุมมอง 0 รีวิว
  • 27 มีนาคม 2568 - รศ.ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ โพสต์เฟซบุ๊ก เรื่อง “นายกสืบสันดาน นิติกรรมอำพราง หลบภาษี?” โดยมีเนื้อหาดังนี้

    ตามที่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า นายกรัฐมนตรีนางสาวแพทองธาร ได้รับการโอนหุ้นจากแม่ พี่ชาย พี่สาว ลุง และป้า จำนวนรวมกันประมาณ 4,434 ล้านบาท ในปีพ.ศ. 2559 โดยได้ทำหนังสือสัญญาใช้เงิน (PN) ที่ไม่มีดอกเบี้ยและไม่กำหนดวันครบชำระเงิน เพื่อให้เป็นหลักฐานเสมือนการซื้อหุ้นโดยยังไม่จ่ายเงิน (เป็นหนี้ที่ไม่มีดอกเบี้ย ไม่กำหนดวันชำระคืน)

    มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าทำไม นางสาวแพทองธาร ในปี 2559 ขณะที่อายุเพียงประมาณ 30 ปีจึงอยากซื้อหุ้นจำนวนมากจากบุคคลในครอบครัวและผู้เกี่ยวดอง
    โดยที่ตนไม่มีเงินที่จะจ่าย แต่ไปออกหนังสือสัญญาใช้เงินเป็นการกู้ยืมเงินที่จะจ่ายค่าหุ้นจำนวน 4,434 ล้านบาท

    เรื่องนี้ต้องเข้าใจ พฤติกรรมของคนในตระกูลชินวัตร รู้ที่มาที่ไปของหุ้น จึงพอจะวิเคราะห์และตั้งเป็นสมมุติฐานได้ว่า

    ในปี 2544 เมื่อนายทักษิณจะขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ประสงค์จะไม่แจ้งบัญชีทรัพย์สินให้ครบถ้วนกับสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในบางรายการ จึงได้โอนหุ้นจำนวนหนึ่งซุกไว้ในชื่อของ คนสวน คนรับใช้ คนขับรถ และคนเฝ้ายาม จนเกิดคดีซุกหุ้น ดังที่ปรากฎคดีกับนายทักษิณมาแล้ว

    เวลาต่อมา ได้โอนหุ้นจากชื่อของ “ลูกจ้าง”ในบ้านทั้งสามคน ไปให้กับ “ลูกจริง” ทั้ง 3คน แต่เนื่องจากลูกสาวคนเล็กคือแพทองธาร ขณะนั้นยังไม่บรรลุนิติภาวะยังไม่สามารถบริหารจัดการหุ้นในบริษัทต่างๆได้ จึงอาจจะโอนฝากไว้ที่ แม่ พี่ชาย พี่สาว ลุงและป้า

    ต่อมาในปี 2559 เมื่อแพทองธาร บรรลุนิติภาวะแล้ว ประสงค์ให้ญาติที่ถือหุ้นไว้โอนหุ้นมากลับมาให้ แต่ขณะนั้นมีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรในต้นปี 2559 เพื่อให้สอดคล้องกับการเก็บภาษีมรดก ซึ่งระบุให้

    การให้สินทรัพย์ ในระหว่างพ่อ แม่ ลูก ถือเป็นรายได้ของผู้รับ หากมีมูลค่าเกิน 20ล้านบาทส่วนที่เกิน20ล้านจะต้องเสียภาษีเงินได้ 5%
    แต่ หากเป็นพี่ น้อง ลุง ป้า หากมีมูลค่าเกิน 10 ล้านบาท ส่วนที่เกิน 10ล้าน บาท จะต้องเสียภาษีเงินได้ 5%

    วิธีการหลีกเลี่ยงหลบภาษี หรือบริหารภาษี ให้จ่ายน้อยหรือไม่ต้องจ่าย คือทำนิติกรรมอำพรางโดยให้ดูเสมือนเป็นการซื้อขาย

    ผู้รับโอนจึงออกตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งก็คือทำสัญญากู้ยืม แต่ที่น่าสังเกตคือไม่มีดอกเบี้ยและไม่มีการกำหนดวันชำระเงิน
    จึงถูกตั้งข้อสังเกตว่า เหตุใด นางสาวแพทองธาร จึงออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (ที่ไม่กำหนดเวลาชำระเงินและไม่มีดอกเบี้ย) เพื่อให้ดูเป็นเรื่องการซื้อขายไม่ใช่การให้ จะได้ไม่ต้องจ่ายภาษีเงินได้ให้กับรัฐจำนวนมากกว่า 200 ล้านบาท หรือไม่

    น.ส.แพทองธาร ชี้แจงว่า การโอนหุ้นดังกล่าวเป็นการซื้อขายจริงไม่ได้มีพฤติกรรมอำพรางใดๆ ยอดหนี้ (ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน) ก็แสดงว่าชัดเจนในบัญชีทรัพย์สินที่ยื่นต่อ ป.ป.ช. อยู่แล้ว
    “ เรื่องตั๋วพีเอ็นไม่ใช่เรื่องใหม่เป็นเรื่องที่ทำกันมาเป็นเรื่องปกติ.. การออกตั๋วสัญญาใช้เงินจะทำกับธุรกรรมที่ถูกกฎหมาย ดำเนินการเปิดเผย ฝ่ายผู้ซื้อผู้ขายรับภาระหนี้สินระหว่างกัน ไม่มีการกระทำนอกกฎหมายใดๆ เพราะการกระทำนอกกฎหมายที่ไหนออกหลักฐานเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่ระบุที่มาของเงินไม่ได้ ก็ไม่สามารถทำได้..”

    คำอธิบายของนายกรัฐมนตรีที่ว่า ได้แสดงชัดเจนในบัญชีทรัพย์สินที่ยื่นต่อป.ป.ช. แล้วก็ไม่ได้ช่วยอะไร

    อีกทั้งคำอธิบายว่า ตั๋วสัญญาใช้เงิน (PN) เป็นเรื่องที่ทำกันเป็นปกติ (ใครใครเขาก็ทำกัน ) ก็ไม่ได้ช่วยอะไร เพราะขึ้นอยู่กับว่าเขาใช้ตั๋วสัญญาใช้เงินโดยสุจริตหรือไม่

    หลายสิ่งที่คนทั่วไปทำได้ แต่การเป็นนายกรัฐมนตรีทำไม่ได้เพราะจะต้องมีมาตรฐานของความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีมาตรฐานจริยธรรมสูงกว่าบุคคลทั่วไป ทั้งนี้เพราะจะต้องรับผิดชอบต่อสังคมและคนจำนวนมาก ใช่หรือไม่?

    ประชาชนส่วนหนึ่งตั้งคำถามว่าครอบครัวรักกันมาก ทำไมจึงใช้วิธีซื้อขายหุ้นระหว่างกันไปมา โดยเฉพาะในช่วงที่นางสาวแพทองธาร จะเข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้โอนหุ้นสนามกอล์ฟอัลไพน์ จำนวน 22,410,000 หุ้น ไปให้ผู้เป็นแม่ ด้วยวิธีการซื้อขายโดยออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (PN) เพื่อให้เข้าหลักเกณฑ์การซื้อขายแทนการให้ เช่นเดียวกันใช่หรือไม่

    ถ้าจะพิจารณาจากอดีต คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองคดี หมายเลขแดงที่ อม.1/2553 เรื่อง ขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน หรือคดียึดทรัพย์นายทักษิณ ชินวัตร 46,737 ล้านบาท เห็นว่า การออกตั๋วสัญญาใช้เงินชำระค่าหุ้นมีพิรุธ เป็นการอำพรางการโอนหุ้นชินคอร์ป เพราะสุดท้ายแล้ว หุ้นชินคอร์ป ที่นายทักษิณโอนให้กับบุคคลต่างๆ ดังกล่าวยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของนายทักษิณ

    ยิ่งไปกว่านั้นข้าราชการระดับสูงของกรมสรรพากรเคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกสองปีโดยไม่รอลงอาญาในการปฎิบัติหน้าที่โดยไม่ชอบ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ชอบตามมาตรา157 แห่งประมวลกฎหมายอาญา กรณี ช่วยบุตรชายและบุตรสาว ของนายทักษิณ ชินวัตร หลบเลี่ยงภาษีกรณีหุ้นชินคอร์ปมาแล้ว

    หากกรมสรรพากรและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มองว่าเรื่องนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ ถูกต้องตามกฏหมายและเหมาะสมตามจริยธรรม ต่อไปการที่จะมีผู้โอนทรัพย์สินให้บุคคลในครอบครัว ก็ทำทีเป็นซื้อขายแล้วทำหนังสือสัญญาใช้เงิน ที่ไม่มีดอกเบี้ยและไม่ต้องระบุวันจ่ายเงิน (หนังสือสัญญาไม่ต้องจ่ายเงิน) ทำให้เกิดช่องโหว่ทางกฎหมายส่งผลให้ ภาษีมรดกที่กำหนดให้ผู้รับมรดกจะต้องจ่ายเป็นอันยกเลิกไปโดยปริยาย
    เท่ากับว่าฝ่ายบริหารโดยกรมสรรพากรได้ตีความให้กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติบังคับใช้ไม่ได้อีกต่อไป.
    27 มีนาคม 2568 - รศ.ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ โพสต์เฟซบุ๊ก เรื่อง “นายกสืบสันดาน นิติกรรมอำพราง หลบภาษี?” โดยมีเนื้อหาดังนี้ ตามที่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า นายกรัฐมนตรีนางสาวแพทองธาร ได้รับการโอนหุ้นจากแม่ พี่ชาย พี่สาว ลุง และป้า จำนวนรวมกันประมาณ 4,434 ล้านบาท ในปีพ.ศ. 2559 โดยได้ทำหนังสือสัญญาใช้เงิน (PN) ที่ไม่มีดอกเบี้ยและไม่กำหนดวันครบชำระเงิน เพื่อให้เป็นหลักฐานเสมือนการซื้อหุ้นโดยยังไม่จ่ายเงิน (เป็นหนี้ที่ไม่มีดอกเบี้ย ไม่กำหนดวันชำระคืน) มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าทำไม นางสาวแพทองธาร ในปี 2559 ขณะที่อายุเพียงประมาณ 30 ปีจึงอยากซื้อหุ้นจำนวนมากจากบุคคลในครอบครัวและผู้เกี่ยวดอง โดยที่ตนไม่มีเงินที่จะจ่าย แต่ไปออกหนังสือสัญญาใช้เงินเป็นการกู้ยืมเงินที่จะจ่ายค่าหุ้นจำนวน 4,434 ล้านบาท เรื่องนี้ต้องเข้าใจ พฤติกรรมของคนในตระกูลชินวัตร รู้ที่มาที่ไปของหุ้น จึงพอจะวิเคราะห์และตั้งเป็นสมมุติฐานได้ว่า ในปี 2544 เมื่อนายทักษิณจะขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ประสงค์จะไม่แจ้งบัญชีทรัพย์สินให้ครบถ้วนกับสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในบางรายการ จึงได้โอนหุ้นจำนวนหนึ่งซุกไว้ในชื่อของ คนสวน คนรับใช้ คนขับรถ และคนเฝ้ายาม จนเกิดคดีซุกหุ้น ดังที่ปรากฎคดีกับนายทักษิณมาแล้ว เวลาต่อมา ได้โอนหุ้นจากชื่อของ “ลูกจ้าง”ในบ้านทั้งสามคน ไปให้กับ “ลูกจริง” ทั้ง 3คน แต่เนื่องจากลูกสาวคนเล็กคือแพทองธาร ขณะนั้นยังไม่บรรลุนิติภาวะยังไม่สามารถบริหารจัดการหุ้นในบริษัทต่างๆได้ จึงอาจจะโอนฝากไว้ที่ แม่ พี่ชาย พี่สาว ลุงและป้า ต่อมาในปี 2559 เมื่อแพทองธาร บรรลุนิติภาวะแล้ว ประสงค์ให้ญาติที่ถือหุ้นไว้โอนหุ้นมากลับมาให้ แต่ขณะนั้นมีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรในต้นปี 2559 เพื่อให้สอดคล้องกับการเก็บภาษีมรดก ซึ่งระบุให้ การให้สินทรัพย์ ในระหว่างพ่อ แม่ ลูก ถือเป็นรายได้ของผู้รับ หากมีมูลค่าเกิน 20ล้านบาทส่วนที่เกิน20ล้านจะต้องเสียภาษีเงินได้ 5% แต่ หากเป็นพี่ น้อง ลุง ป้า หากมีมูลค่าเกิน 10 ล้านบาท ส่วนที่เกิน 10ล้าน บาท จะต้องเสียภาษีเงินได้ 5% วิธีการหลีกเลี่ยงหลบภาษี หรือบริหารภาษี ให้จ่ายน้อยหรือไม่ต้องจ่าย คือทำนิติกรรมอำพรางโดยให้ดูเสมือนเป็นการซื้อขาย ผู้รับโอนจึงออกตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งก็คือทำสัญญากู้ยืม แต่ที่น่าสังเกตคือไม่มีดอกเบี้ยและไม่มีการกำหนดวันชำระเงิน จึงถูกตั้งข้อสังเกตว่า เหตุใด นางสาวแพทองธาร จึงออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (ที่ไม่กำหนดเวลาชำระเงินและไม่มีดอกเบี้ย) เพื่อให้ดูเป็นเรื่องการซื้อขายไม่ใช่การให้ จะได้ไม่ต้องจ่ายภาษีเงินได้ให้กับรัฐจำนวนมากกว่า 200 ล้านบาท หรือไม่ น.ส.แพทองธาร ชี้แจงว่า การโอนหุ้นดังกล่าวเป็นการซื้อขายจริงไม่ได้มีพฤติกรรมอำพรางใดๆ ยอดหนี้ (ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน) ก็แสดงว่าชัดเจนในบัญชีทรัพย์สินที่ยื่นต่อ ป.ป.ช. อยู่แล้ว “ เรื่องตั๋วพีเอ็นไม่ใช่เรื่องใหม่เป็นเรื่องที่ทำกันมาเป็นเรื่องปกติ.. การออกตั๋วสัญญาใช้เงินจะทำกับธุรกรรมที่ถูกกฎหมาย ดำเนินการเปิดเผย ฝ่ายผู้ซื้อผู้ขายรับภาระหนี้สินระหว่างกัน ไม่มีการกระทำนอกกฎหมายใดๆ เพราะการกระทำนอกกฎหมายที่ไหนออกหลักฐานเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่ระบุที่มาของเงินไม่ได้ ก็ไม่สามารถทำได้..” คำอธิบายของนายกรัฐมนตรีที่ว่า ได้แสดงชัดเจนในบัญชีทรัพย์สินที่ยื่นต่อป.ป.ช. แล้วก็ไม่ได้ช่วยอะไร อีกทั้งคำอธิบายว่า ตั๋วสัญญาใช้เงิน (PN) เป็นเรื่องที่ทำกันเป็นปกติ (ใครใครเขาก็ทำกัน ) ก็ไม่ได้ช่วยอะไร เพราะขึ้นอยู่กับว่าเขาใช้ตั๋วสัญญาใช้เงินโดยสุจริตหรือไม่ หลายสิ่งที่คนทั่วไปทำได้ แต่การเป็นนายกรัฐมนตรีทำไม่ได้เพราะจะต้องมีมาตรฐานของความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีมาตรฐานจริยธรรมสูงกว่าบุคคลทั่วไป ทั้งนี้เพราะจะต้องรับผิดชอบต่อสังคมและคนจำนวนมาก ใช่หรือไม่? ประชาชนส่วนหนึ่งตั้งคำถามว่าครอบครัวรักกันมาก ทำไมจึงใช้วิธีซื้อขายหุ้นระหว่างกันไปมา โดยเฉพาะในช่วงที่นางสาวแพทองธาร จะเข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้โอนหุ้นสนามกอล์ฟอัลไพน์ จำนวน 22,410,000 หุ้น ไปให้ผู้เป็นแม่ ด้วยวิธีการซื้อขายโดยออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (PN) เพื่อให้เข้าหลักเกณฑ์การซื้อขายแทนการให้ เช่นเดียวกันใช่หรือไม่ ถ้าจะพิจารณาจากอดีต คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองคดี หมายเลขแดงที่ อม.1/2553 เรื่อง ขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน หรือคดียึดทรัพย์นายทักษิณ ชินวัตร 46,737 ล้านบาท เห็นว่า การออกตั๋วสัญญาใช้เงินชำระค่าหุ้นมีพิรุธ เป็นการอำพรางการโอนหุ้นชินคอร์ป เพราะสุดท้ายแล้ว หุ้นชินคอร์ป ที่นายทักษิณโอนให้กับบุคคลต่างๆ ดังกล่าวยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของนายทักษิณ ยิ่งไปกว่านั้นข้าราชการระดับสูงของกรมสรรพากรเคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกสองปีโดยไม่รอลงอาญาในการปฎิบัติหน้าที่โดยไม่ชอบ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ชอบตามมาตรา157 แห่งประมวลกฎหมายอาญา กรณี ช่วยบุตรชายและบุตรสาว ของนายทักษิณ ชินวัตร หลบเลี่ยงภาษีกรณีหุ้นชินคอร์ปมาแล้ว หากกรมสรรพากรและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มองว่าเรื่องนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ ถูกต้องตามกฏหมายและเหมาะสมตามจริยธรรม ต่อไปการที่จะมีผู้โอนทรัพย์สินให้บุคคลในครอบครัว ก็ทำทีเป็นซื้อขายแล้วทำหนังสือสัญญาใช้เงิน ที่ไม่มีดอกเบี้ยและไม่ต้องระบุวันจ่ายเงิน (หนังสือสัญญาไม่ต้องจ่ายเงิน) ทำให้เกิดช่องโหว่ทางกฎหมายส่งผลให้ ภาษีมรดกที่กำหนดให้ผู้รับมรดกจะต้องจ่ายเป็นอันยกเลิกไปโดยปริยาย เท่ากับว่าฝ่ายบริหารโดยกรมสรรพากรได้ตีความให้กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติบังคับใช้ไม่ได้อีกต่อไป.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 757 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาทนายกฤษฎา ประเสริฐสุโข กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GGC เปิดเผยว่าตามที่บริษัทฯ ได้แจ้งความร้องทุกข์อดีตผู้บริหารและคู่ค้าที่เกี่ยวข้องกับพวก ต่อพนักงานสอบสวนกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) ในไตรมาส 3/2561 รวมทั้งสิ้น 8คดี ปัจจุบันคดีอยู่ในขั้นพนักงานสอบสวน 4 คดี อยู่ในชั้นพนักงานอัยการ 1 คดี และอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอีก 3 คดี นั้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2568 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาในคดีหมายเลขดำที่ อ.1926/2565 ว่า จำเลยบางคนมีความผิดฐานฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา และ/หรือ ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยมีคำพิพากษาให้ลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯจำนวน 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และให้นับโทษต่อจากคคีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565 อีกทั้งพิพากษาลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯ อีก 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และจำคุกกรรมการบริษัทคู่ค้า 1 คน เป็นระยะเวลา 1 ปี 4 เดือน พร้อมให้นับโทษต่อจากคดีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565
    “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาทนายกฤษฎา ประเสริฐสุโข กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GGC เปิดเผยว่าตามที่บริษัทฯ ได้แจ้งความร้องทุกข์อดีตผู้บริหารและคู่ค้าที่เกี่ยวข้องกับพวก ต่อพนักงานสอบสวนกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) ในไตรมาส 3/2561 รวมทั้งสิ้น 8คดี ปัจจุบันคดีอยู่ในขั้นพนักงานสอบสวน 4 คดี อยู่ในชั้นพนักงานอัยการ 1 คดี และอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอีก 3 คดี นั้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2568 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาในคดีหมายเลขดำที่ อ.1926/2565 ว่า จำเลยบางคนมีความผิดฐานฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา และ/หรือ ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยมีคำพิพากษาให้ลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯจำนวน 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และให้นับโทษต่อจากคคีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565 อีกทั้งพิพากษาลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯ อีก 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และจำคุกกรรมการบริษัทคู่ค้า 1 คน เป็นระยะเวลา 1 ปี 4 เดือน พร้อมให้นับโทษต่อจากคดีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 340 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตัวแทนบริษัทแบรนด์เนม มันนี่ จำกัด พร้อมทนายความแจ้งความตำรวจ สน.ปทุมวัน แจ้งความเอาผิด “ดิว อริสรา” ข้อหาฉ้อโกง กรณีนำเอาสร้อย “Bvlgari” ของ "เมย์ วาสนา" มาจำนำ โดยอ้างเป็นของตัวเอง ทนายเผยแจ้งเป็นคดีอาญาไว้ก่อนแต่ยอมความได้ถ้ามาพูดคุยให้จบและเยียวยา

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000027655
    ตัวแทนบริษัทแบรนด์เนม มันนี่ จำกัด พร้อมทนายความแจ้งความตำรวจ สน.ปทุมวัน แจ้งความเอาผิด “ดิว อริสรา” ข้อหาฉ้อโกง กรณีนำเอาสร้อย “Bvlgari” ของ "เมย์ วาสนา" มาจำนำ โดยอ้างเป็นของตัวเอง ทนายเผยแจ้งเป็นคดีอาญาไว้ก่อนแต่ยอมความได้ถ้ามาพูดคุยให้จบและเยียวยา อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000027655
    Like
    Love
    Haha
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 854 มุมมอง 0 รีวิว
  • 58 ปี "คดีตุ๊กตา" ขืนใจสาวรับใช้ บันทึกแห่งประวัติศาสตร์ “หญิงข่มขืนหญิง” ได้หรือไม่? 📚⚖️

    ✨ย้อนรอย “คดีตุ๊กตา” ในประวัติศาสตร์กฎหมายไทย กับคำพิพากษาศาลฎีกา ที่เปิดประเด็นการข่มขืนโดย “ผู้หญิงต่อผู้หญิง” ครั้งแรกของไทย ศึกษาเหตุการณ์รายละเอียดคดี บทสรุปทางกฎหมาย ที่ยังสะเทือนวงการกฎหมายถึงปัจจุบัน ✨

    เมื่อ “หญิงข่มขืนหญิง” ไม่ใช่แค่จินตนาการอีกต่อไป หากเอ่ยถึงคดีข่มขืน หลายคนอาจนึกถึงภาพของชายกระทำต่อหญิง แต่ในประวัติศาสตร์กฎหมายไทย กลับมีคำพิพากษาหนึ่ง ที่เปิดโลกความเข้าใจในมุมมองใหม่ ⚖️

    โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2510 กับ “คดีตุ๊กตา” ที่ศาลฎีกามีคำพิพากษาอันลือลั่นว่า “หญิงก็เป็นตัวการร่วม ในการข่มขืนหญิงได้” คำวินิจฉัยครั้งนั้น ไม่เพียงเขย่าระบบยุติธรรมไทย แต่ยังเปิดมุมมองใหม่ ให้สังคมไทยในเวลานั้น

    “คดีตุ๊กตา” เป็นชื่อที่สื่อมวลชนในยุคนั้นตั้งขึ้น เนื่องจากจำเลยที่ 1 คือ "พิมล กาฬสีห์" นักเขียนการ์ตูนชื่อดังในนามปากกา “ตุ๊กตา” ถูกอัยการยื่นฟ้อง ในข้อหาข่มขืนกระทำชำเราร่วมกับภรรยา "นภาพันธ์ กาฬสีห์" ต่อ "เพ็ชร ทัวิพัฒน์" หญิงสาวคนรับใช้ในบ้าน ซึ่งเรื่องนี้เกิดขึ้นเมื่อคืนวันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 ที่บ้านพักในตำบลปากคลอง อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี ปัจจุบันคือ กรุงเทพมหานคร

    แม้จะผ่านมาแล้วกว่า 58 ปี แต่คำพิพากษาในคดีนี้ยั งคงได้รับการกล่าวขานในวงการกฎหมาย และสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นกรณีแรกที่ “ศาลฎีกา” ของไทยยืนยันว่า หญิงสามารถร่วมเป็นตัวการข่มขืนหญิงได้

    📌 ทำไมคดีนี้จึงสำคัญ? ประเด็นที่สั่นคลอนสังคม คดีนี้แสดงให้เห็นถึงอำนาจและอิทธิพล ที่บุคคลมีชื่อเสียงอาจมีต่อผู้ด้อยโอกาส เปิดประเด็นว่า “ข่มขืน” ไม่จำเป็นต้องเกิดจากเพศชายเท่านั้น

    ศาลยืนยันว่า ผู้หญิงสามารถมีส่วนร่วม ในการกระทำผิดฐานข่มขืนได้ แม้จะไม่ได้ลงมือข่มขืนเองก็ตาม

    📌 จุดเปลี่ยนด้านกฎหมาย คำพิพากษานี้ทำให้เกิดการตีความ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 ว่า “ผู้ใด” หมายรวมถึงบุคคลทุกเพศ ไม่ใช่จำกัดแค่เพศชาย

    ลำดับเหตุการณ์สำคัญในคดีตุ๊กตา
    🗓️ คืนวันอาทิตย์ที่่28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 "เพ็ชร์ ทิวาพัฒน์" หญิงสาวผู้เสียหายวัย 23 ปี ซึ่งทำงานเป็นสาวรับใช้ ในคืนนั้น เพ็ชรถูกนภาพันธ์เรียกขึ้นไปนวดให้พิมล บนชั้นสองของบ้าน

    นภาพันธ์ช่วยจับมือของเพ็ชร ไปจับอวัยวะเพศของพิมล และร่วมกดร่างเพ็ชรไว้ให้สามีข่มขืน เหตุการณ์ล่วงละเมิดทางเพศ เกิดขึ้นซ้ำถึง 5 ครั้ง ในคืนนั้น

    🗓️ เช้ามืดวันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 เพ็ชรหนีออกจากบ้าน และไปแจ้งความที่โรงพัก เจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุมสองสามีภรรยา และส่งเพ็ชรตรวจร่างกายที่โรงพยาบาล ผลตรวจพิสูจน์พบร่องรอยการข่มขืนอย่างชัดเจน อัยการจึงเป็นโจทก์ยื่นฟ้องจำเลยทั้งสอง

    ศาลชั้นต้นเห็นว่า คำให้การของผู้เสียหายมีน้ำหนักเพียงพอ ประกอบกับพยานหลักฐาน และผลตรวจทางการแพทย์ จำเลยที่ 1 ถูกตัดสินจำคุก 5 ปี 1 เดือน จำเลยที่ 2 ถูกตัดสินจำคุก 3 ปี

    ➡️ แต่... จำเลยทั้งสองยื่นอุทธรณ์

    ศาลอุทธรณ์:ยกฟ้องเพราะเชื่อว่า “ยินยอม” กลับคำพิพากษาศาลชั้นต้น ด้วยเหตุผลว่า เชื่อว่าผู้เสียหาย สมัครใจร่วมประเวณีเอง เห็นว่า จำเลยที่ 2 เป็นผู้หญิง ไม่ควรถูกลงโทษในฐานะตัวการร่วมข่มขืน

    ➡️ อัยการในฐานะโจทก์ ฎีกาต่อ...

    ศาลฎีกา:พลิกคำพิพากษา ตอกย้ำ “หญิงก็เป็นตัวการข่มขืนได้” ในการพิจารณาครั้งสำคัญ ของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา
    ✅ พิพากษาว่า ผู้เสียหายไม่ได้สมัครใจ
    ✅ การมีส่วนร่วมของจำเลยที่ 2 ในการจับผู้เสียหาย และบังคับให้สามีข่มขืน ถือเป็นการ “ร่วมกันข่มขืน”
    ✅ ศาลฎีกายืนยันว่า ตามกฎหมายไทย หญิงก็เป็นตัวการข่มขืนหญิงได้

    ➡️ จำเลยที่ 1 ถูกลงโทษจำคุก 3 ปี 1 เดือน
    ➡️ จำเลยที่ 2 ถูกลงโทษจำคุก 2 ปี

    การตีความทางกฎหมายที่สำคัญ มาตรา 276 แห่งประมวลกฎหมายอาญา “ผู้ใด” ข่มขืนกระทำชำเราผู้อื่น...
    🔹 คำว่า “ผู้ใด” ไม่ได้ระบุเพศ ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง หากมีพฤติการณ์ร่วมกันในการข่มขืน ก็ถือว่ามีความผิดฐาน “ตัวการ” ได้
    🔹 แม้ไม่ได้เป็นผู้ลงมือข่มขืนเอง แต่หากช่วยเหลือ อำนวยความสะดวก หรือบังคับเหยื่อ ก็ถือว่า “ร่วมกันกระทำผิด”

    ทำไมศาลฎีกาจึงพิพากษาเช่นนั้น?
    ✅ พฤติกรรมของจำเลยที่ 2 แสดงชัดว่า ร่วมกดขาและจับผู้เสียหาย เพื่อให้จำเลยที่ 1 ข่มขืน
    ✅ ข่มขู่ผู้เสียหายไม่ให้ร้อง หรือบอกว่าจะ “เพิ่มเงินเดือน” หากไม่ต่อต้าน
    ✅ บังคับผู้เสียหายให้อมอวัยวะเพศ และสั่งให้กลืนน้ำอสุจิของสามี

    ✨ ผลกระทบต่อสังคม และวงการกฎหมาย เปลี่ยนแปลงความเข้าใจ ก่อนหน้านั้น สังคมมองว่า “ข่มขืน” เป็นอาชญากรรมที่มีแต่เพศชาย เป็นผู้กระทำ

    ✨ คดีตุ๊กตาสร้างการตระหนักใหม่ว่า อาชญากรรมทางเพศ เกิดจากผู้กระทำได้ทุกเพศ อิทธิพลต่อการตีความกฎหมาย ศาลไทยขยายขอบเขตความผิดของมาตรา 276 ให้ครอบคลุมบุคคลทุกเพศ สร้างบรรทัดฐานใหม่ ในคดีอาญาเกี่ยวกับเพศที่ซับซ้อนมากขึ้น

    “คดีตุ๊กตา” กับมรดกทางกฎหมายที่ยั่งยืน ผ่านมา 58 ปี คดีตุ๊กตายังเป็นกรณีศึกษา ในวงการกฎหมายและสังคม ที่สอนให้เข้าใจถึง ความซับซ้อนของความรุนแรงทางเพศ และบทบาทของกฎหมาย ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน คดีนี้จึงไม่ใช่แค่เรื่องราวในอดีต แต่เป็นบทเรียนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำรอย ในสังคมไทยอีกต่อไป

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 221140 มี.ค. 2568

    🏷️ #คดีตุ๊กตา #ข่มขืนในไทย #หญิงข่มขืนหญิงได้ #พิมลกาฬสีห์ #ศาลฎีกาไทย #กฎหมายอาญา #สิทธิมนุษยชน #ข่มขืนกระทำชำเรา #ข่าวดังในอดีต #คดีอาชญากรรมไทย
    58 ปี "คดีตุ๊กตา" ขืนใจสาวรับใช้ บันทึกแห่งประวัติศาสตร์ “หญิงข่มขืนหญิง” ได้หรือไม่? 📚⚖️ ✨ย้อนรอย “คดีตุ๊กตา” ในประวัติศาสตร์กฎหมายไทย กับคำพิพากษาศาลฎีกา ที่เปิดประเด็นการข่มขืนโดย “ผู้หญิงต่อผู้หญิง” ครั้งแรกของไทย ศึกษาเหตุการณ์รายละเอียดคดี บทสรุปทางกฎหมาย ที่ยังสะเทือนวงการกฎหมายถึงปัจจุบัน ✨ เมื่อ “หญิงข่มขืนหญิง” ไม่ใช่แค่จินตนาการอีกต่อไป หากเอ่ยถึงคดีข่มขืน หลายคนอาจนึกถึงภาพของชายกระทำต่อหญิง แต่ในประวัติศาสตร์กฎหมายไทย กลับมีคำพิพากษาหนึ่ง ที่เปิดโลกความเข้าใจในมุมมองใหม่ ⚖️ โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2510 กับ “คดีตุ๊กตา” ที่ศาลฎีกามีคำพิพากษาอันลือลั่นว่า “หญิงก็เป็นตัวการร่วม ในการข่มขืนหญิงได้” คำวินิจฉัยครั้งนั้น ไม่เพียงเขย่าระบบยุติธรรมไทย แต่ยังเปิดมุมมองใหม่ ให้สังคมไทยในเวลานั้น “คดีตุ๊กตา” เป็นชื่อที่สื่อมวลชนในยุคนั้นตั้งขึ้น เนื่องจากจำเลยที่ 1 คือ "พิมล กาฬสีห์" นักเขียนการ์ตูนชื่อดังในนามปากกา “ตุ๊กตา” ถูกอัยการยื่นฟ้อง ในข้อหาข่มขืนกระทำชำเราร่วมกับภรรยา "นภาพันธ์ กาฬสีห์" ต่อ "เพ็ชร ทัวิพัฒน์" หญิงสาวคนรับใช้ในบ้าน ซึ่งเรื่องนี้เกิดขึ้นเมื่อคืนวันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 ที่บ้านพักในตำบลปากคลอง อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี ปัจจุบันคือ กรุงเทพมหานคร แม้จะผ่านมาแล้วกว่า 58 ปี แต่คำพิพากษาในคดีนี้ยั งคงได้รับการกล่าวขานในวงการกฎหมาย และสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นกรณีแรกที่ “ศาลฎีกา” ของไทยยืนยันว่า หญิงสามารถร่วมเป็นตัวการข่มขืนหญิงได้ 📌 ทำไมคดีนี้จึงสำคัญ? ประเด็นที่สั่นคลอนสังคม คดีนี้แสดงให้เห็นถึงอำนาจและอิทธิพล ที่บุคคลมีชื่อเสียงอาจมีต่อผู้ด้อยโอกาส เปิดประเด็นว่า “ข่มขืน” ไม่จำเป็นต้องเกิดจากเพศชายเท่านั้น ศาลยืนยันว่า ผู้หญิงสามารถมีส่วนร่วม ในการกระทำผิดฐานข่มขืนได้ แม้จะไม่ได้ลงมือข่มขืนเองก็ตาม 📌 จุดเปลี่ยนด้านกฎหมาย คำพิพากษานี้ทำให้เกิดการตีความ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 ว่า “ผู้ใด” หมายรวมถึงบุคคลทุกเพศ ไม่ใช่จำกัดแค่เพศชาย ลำดับเหตุการณ์สำคัญในคดีตุ๊กตา 🗓️ คืนวันอาทิตย์ที่่28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 "เพ็ชร์ ทิวาพัฒน์" หญิงสาวผู้เสียหายวัย 23 ปี ซึ่งทำงานเป็นสาวรับใช้ ในคืนนั้น เพ็ชรถูกนภาพันธ์เรียกขึ้นไปนวดให้พิมล บนชั้นสองของบ้าน นภาพันธ์ช่วยจับมือของเพ็ชร ไปจับอวัยวะเพศของพิมล และร่วมกดร่างเพ็ชรไว้ให้สามีข่มขืน เหตุการณ์ล่วงละเมิดทางเพศ เกิดขึ้นซ้ำถึง 5 ครั้ง ในคืนนั้น 🗓️ เช้ามืดวันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 เพ็ชรหนีออกจากบ้าน และไปแจ้งความที่โรงพัก เจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุมสองสามีภรรยา และส่งเพ็ชรตรวจร่างกายที่โรงพยาบาล ผลตรวจพิสูจน์พบร่องรอยการข่มขืนอย่างชัดเจน อัยการจึงเป็นโจทก์ยื่นฟ้องจำเลยทั้งสอง ศาลชั้นต้นเห็นว่า คำให้การของผู้เสียหายมีน้ำหนักเพียงพอ ประกอบกับพยานหลักฐาน และผลตรวจทางการแพทย์ จำเลยที่ 1 ถูกตัดสินจำคุก 5 ปี 1 เดือน จำเลยที่ 2 ถูกตัดสินจำคุก 3 ปี ➡️ แต่... จำเลยทั้งสองยื่นอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์:ยกฟ้องเพราะเชื่อว่า “ยินยอม” กลับคำพิพากษาศาลชั้นต้น ด้วยเหตุผลว่า เชื่อว่าผู้เสียหาย สมัครใจร่วมประเวณีเอง เห็นว่า จำเลยที่ 2 เป็นผู้หญิง ไม่ควรถูกลงโทษในฐานะตัวการร่วมข่มขืน ➡️ อัยการในฐานะโจทก์ ฎีกาต่อ... ศาลฎีกา:พลิกคำพิพากษา ตอกย้ำ “หญิงก็เป็นตัวการข่มขืนได้” ในการพิจารณาครั้งสำคัญ ของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา ✅ พิพากษาว่า ผู้เสียหายไม่ได้สมัครใจ ✅ การมีส่วนร่วมของจำเลยที่ 2 ในการจับผู้เสียหาย และบังคับให้สามีข่มขืน ถือเป็นการ “ร่วมกันข่มขืน” ✅ ศาลฎีกายืนยันว่า ตามกฎหมายไทย หญิงก็เป็นตัวการข่มขืนหญิงได้ ➡️ จำเลยที่ 1 ถูกลงโทษจำคุก 3 ปี 1 เดือน ➡️ จำเลยที่ 2 ถูกลงโทษจำคุก 2 ปี การตีความทางกฎหมายที่สำคัญ มาตรา 276 แห่งประมวลกฎหมายอาญา “ผู้ใด” ข่มขืนกระทำชำเราผู้อื่น... 🔹 คำว่า “ผู้ใด” ไม่ได้ระบุเพศ ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง หากมีพฤติการณ์ร่วมกันในการข่มขืน ก็ถือว่ามีความผิดฐาน “ตัวการ” ได้ 🔹 แม้ไม่ได้เป็นผู้ลงมือข่มขืนเอง แต่หากช่วยเหลือ อำนวยความสะดวก หรือบังคับเหยื่อ ก็ถือว่า “ร่วมกันกระทำผิด” ทำไมศาลฎีกาจึงพิพากษาเช่นนั้น? ✅ พฤติกรรมของจำเลยที่ 2 แสดงชัดว่า ร่วมกดขาและจับผู้เสียหาย เพื่อให้จำเลยที่ 1 ข่มขืน ✅ ข่มขู่ผู้เสียหายไม่ให้ร้อง หรือบอกว่าจะ “เพิ่มเงินเดือน” หากไม่ต่อต้าน ✅ บังคับผู้เสียหายให้อมอวัยวะเพศ และสั่งให้กลืนน้ำอสุจิของสามี ✨ ผลกระทบต่อสังคม และวงการกฎหมาย เปลี่ยนแปลงความเข้าใจ ก่อนหน้านั้น สังคมมองว่า “ข่มขืน” เป็นอาชญากรรมที่มีแต่เพศชาย เป็นผู้กระทำ ✨ คดีตุ๊กตาสร้างการตระหนักใหม่ว่า อาชญากรรมทางเพศ เกิดจากผู้กระทำได้ทุกเพศ อิทธิพลต่อการตีความกฎหมาย ศาลไทยขยายขอบเขตความผิดของมาตรา 276 ให้ครอบคลุมบุคคลทุกเพศ สร้างบรรทัดฐานใหม่ ในคดีอาญาเกี่ยวกับเพศที่ซับซ้อนมากขึ้น “คดีตุ๊กตา” กับมรดกทางกฎหมายที่ยั่งยืน ผ่านมา 58 ปี คดีตุ๊กตายังเป็นกรณีศึกษา ในวงการกฎหมายและสังคม ที่สอนให้เข้าใจถึง ความซับซ้อนของความรุนแรงทางเพศ และบทบาทของกฎหมาย ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน คดีนี้จึงไม่ใช่แค่เรื่องราวในอดีต แต่เป็นบทเรียนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำรอย ในสังคมไทยอีกต่อไป ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 221140 มี.ค. 2568 🏷️ #คดีตุ๊กตา #ข่มขืนในไทย #หญิงข่มขืนหญิงได้ #พิมลกาฬสีห์ #ศาลฎีกาไทย #กฎหมายอาญา #สิทธิมนุษยชน #ข่มขืนกระทำชำเรา #ข่าวดังในอดีต #คดีอาชญากรรมไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1061 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประธาน ICC โทโมโกะ อากาเนะ คือใคร?📌 และทำไมรัสเซียถึงต้องการตัวเธอ? เปิดตัวตน "โทโมโกะ อากาเนะ" ประธาน ICC คนล่าสุด และเหตุผลที่รัสเซียต้องการตัวเธอ! หมายจับปูตินสั่นสะเทือนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จนเกิดคดีย้อนกลับและมาตรการคว่ำบาตรจากมหาอำนาจ👉โทโมโกะ อากาเนะ ผู้พิพากษาชาวญี่ปุ่นวัย 68 ปี ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) เมื่อมีนาคม 2024 หลังจากเข้าเป็นผู้พิพากษา ICC ตั้งแต่ปี 2018 เธอมีประวัติการทำงานอันโดดเด่น เคยเป็นหัวหน้าสถาบันสหประชาชาติเพื่อการป้องกันอาชญากรรม (UNAFEI) ระหว่างปี 2009-2011 และสั่งสมประสบการณ์ส่วนใหญ่ในฐานะอัยการในประเทศญี่ปุ่น สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญาจากสหรัฐอเมริกา อากาเนะเป็นที่รู้จักจากการเป็นส่วนหนึ่งในการออกหมายจับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน และมาเรีย ลวอวา-เบลโลวา ในข้อหา "เคลื่อนย้ายเด็กอย่างผิดกฎหมาย" จากพื้นที่ดอนบาสในปี 2023 ส่งผลให้รัสเซียตอบโต้ด้วยการฟ้องคดีอาญาต่อเธอในข้อหาพยายามกักขังบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมายและเตรียมการโจมตีเจ้าหน้าที่ต่างประเทศที่ได้รับการคุ้มครอง รัสเซียอ้างว่าประมุขของรัฐย่อมได้รับเอกสิทธิ์คุ้มกันภายใต้อนุสัญญาปี 1973 แม้ว่าจะถอนตัวจาก ICC ไปแล้วตั้งแต่ปี 2016 ปัจจุบันแม้แต่ประเทศสมาชิก ICC หลายแห่งก็ยังปฏิเสธที่จะจับกุมปูติน ขณะที่สหรัฐฯ ได้ออกมาตรการคว่ำบาตร ICC เมื่อเดือนที่ผ่านมา สอดคล้องกับคำเตือนของอากาเนะเกี่ยวกับภัยคุกคามต่อการดำรงอยู่ของศาล#imctnews รายงาน
    ประธาน ICC โทโมโกะ อากาเนะ คือใคร?📌 และทำไมรัสเซียถึงต้องการตัวเธอ? เปิดตัวตน "โทโมโกะ อากาเนะ" ประธาน ICC คนล่าสุด และเหตุผลที่รัสเซียต้องการตัวเธอ! หมายจับปูตินสั่นสะเทือนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จนเกิดคดีย้อนกลับและมาตรการคว่ำบาตรจากมหาอำนาจ👉โทโมโกะ อากาเนะ ผู้พิพากษาชาวญี่ปุ่นวัย 68 ปี ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) เมื่อมีนาคม 2024 หลังจากเข้าเป็นผู้พิพากษา ICC ตั้งแต่ปี 2018 เธอมีประวัติการทำงานอันโดดเด่น เคยเป็นหัวหน้าสถาบันสหประชาชาติเพื่อการป้องกันอาชญากรรม (UNAFEI) ระหว่างปี 2009-2011 และสั่งสมประสบการณ์ส่วนใหญ่ในฐานะอัยการในประเทศญี่ปุ่น สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญาจากสหรัฐอเมริกา อากาเนะเป็นที่รู้จักจากการเป็นส่วนหนึ่งในการออกหมายจับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน และมาเรีย ลวอวา-เบลโลวา ในข้อหา "เคลื่อนย้ายเด็กอย่างผิดกฎหมาย" จากพื้นที่ดอนบาสในปี 2023 ส่งผลให้รัสเซียตอบโต้ด้วยการฟ้องคดีอาญาต่อเธอในข้อหาพยายามกักขังบุคคลโดยมิชอบด้วยกฎหมายและเตรียมการโจมตีเจ้าหน้าที่ต่างประเทศที่ได้รับการคุ้มครอง รัสเซียอ้างว่าประมุขของรัฐย่อมได้รับเอกสิทธิ์คุ้มกันภายใต้อนุสัญญาปี 1973 แม้ว่าจะถอนตัวจาก ICC ไปแล้วตั้งแต่ปี 2016 ปัจจุบันแม้แต่ประเทศสมาชิก ICC หลายแห่งก็ยังปฏิเสธที่จะจับกุมปูติน ขณะที่สหรัฐฯ ได้ออกมาตรการคว่ำบาตร ICC เมื่อเดือนที่ผ่านมา สอดคล้องกับคำเตือนของอากาเนะเกี่ยวกับภัยคุกคามต่อการดำรงอยู่ของศาล#imctnews รายงาน
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 712 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปรับ 2.5 แสนริงกิตคลื่น ERA ปมคลิปดีเจล้อเลียนฮินดู

    ความคืบหน้ากรณีที่ ปาก อาซาด (Pak Azad) หรือ อาซาด จัสมิน จอห์น หลุยส์ เจฟฟรี่ (Azad Jazmin John Louis Jeffri) ดีเจสถานีวิทยุอีรา (ERA) คลื่นเพลงชื่อดังในมาเลเซีย ไปล้อเลียนการเต้นรำกาวาดี (Kavadi) ของศาสนาฮินดู แล้วมีคลิปในบัญชีโซเชียลมีเดียทางการของสถานี ทำให้ชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย และผู้ที่นับถือศาสนาฮินดูไม่พอใจ กระทั่งบริษัทแอสโตรสั่งให้พักงานดีเจสามคนที่จัดรายการร่วมกัน และพนักงานสถานีอีก 2 คนอย่างไม่มีกำหนด ขณะที่ดีเจทั้งสามคนขอโทษทั้งผ่านคลิปวีดีโอ รวมทั้งไปขอโทษต่อชุมชนชาวอินเดียที่วัดถ้ำบาตู (Batu Caves) ก่อนหน้านี้

    ปรากฎว่าเมื่อวันที่ 11 มี.ค. คณะกรรมการสื่อสารและมัลติมีเดียแห่งมาเลเซีย (MCMC) สั่งปรับ 250,000 ริงกิต (1,925,000 บาท) แก่บริษัทเมสตร้า บอร์ดคาสต์ (Maestra Broadcast) บริษัทย่อยของ แอสโตร มาเลเซีย โฮลดิ้งส์ (Astro Malaysia Holdings) ผู้ผลิตสื่อบันเทิงในมาเลเซีย โดยพิจารณาจากวีดีโอคลิปอัปโหลดลงในติ๊กต็อกที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของ แต่ไม่ระงับใบอนุญาตสถานีวิทยุ เนื่องจากบริษัทฯ ได้แก้ไขปัญหาพร้อมกับขอโทษ อีกทั้งเกรงถึงผลกระทบกับคลื่นเพลงภาษาจีน Melody และคลื่นเพลงสากล Mix FM ภายใต้ใบอนุญาตเดียวกันด้วย

    อย่างไรก็ตาม มีการเปรียบเทียบและโจมตี MCMC โดยเทียบกับกรณีละเมิดกฎ "3R" ได้แก่ เชื้อชาติ ศาสนา และราชวงศ์ (Race, Religion and Royalty) ทำนองว่าลำเอียงเมื่อเทียบกับคดีอื่นๆ ทำให้นายฟาห์มี ฟาดซิล รมว.การสื่อสาร และโฆษกรัฐบาลอันวาร์ อิบราฮิม อธิบายว่าแตกต่างกัน เพราะกรณีถุงเท้าในร้าน KK Mart เป็นคดีอาญา ศาลกำหนดค่าปรับ 60,000 ริงกิต (462,000 บาท) ส่วนกรณีนักแสดง ฮาริธ อิสกันเดอร์ (Harith Iskander) และผู้ใช้โซเชียลมีเดีย Cecelia Yap ที่อัปโหลดเนื้อหาพาดพิงศาสนาอิสลาม ถูกดำเนินคดีในนามบุคคล ไม่ใช่บริษัท และอัยการให้ปรับ 10,000 ริงกิต (77,000 บาท) โดยไม่ได้นำคดีขึ้นสู่ศาลแต่อย่างใด

    ตุนกู นาซรุล อาไบดาห์ โฆษกอาวุโสของนายกรัฐมนตรีอันวาร์ ระบุว่า นายกฯ เรียกร้องให้ชาวมาเลเซียทุกคนร่วมมือกันเพื่อเป็นตัวแทนแห่งความสามัคคี และช่วยเหลือรัฐบาลรวมพลังชาวมาเลเซียทุกคนที่มีศาสนา เชื้อชาติ และชาติพันธุ์ที่แตกต่างเข้าด้วยกัน โดยนายกฯ ได้พบกับดีเจที่เป็นข่าว ในงานเลี้ยงอาหารค่ำอิฟตาร์กับผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนเมื่อวันที่ 11 มี.ค.โดยแนะว่าให้นำสารแห่งความสามัคคีไปใช้ในชีวิตประจำวัน และหวังว่าชาวมาเลเซียจะก้าวข้ามเรื่องนี้ไปข้างหน้าเพื่อสร้างสันติภาพและความสามัคคีในประเทศ โดยเคารพซึ่งกันและกัน

    #Newskit
    ปรับ 2.5 แสนริงกิตคลื่น ERA ปมคลิปดีเจล้อเลียนฮินดู ความคืบหน้ากรณีที่ ปาก อาซาด (Pak Azad) หรือ อาซาด จัสมิน จอห์น หลุยส์ เจฟฟรี่ (Azad Jazmin John Louis Jeffri) ดีเจสถานีวิทยุอีรา (ERA) คลื่นเพลงชื่อดังในมาเลเซีย ไปล้อเลียนการเต้นรำกาวาดี (Kavadi) ของศาสนาฮินดู แล้วมีคลิปในบัญชีโซเชียลมีเดียทางการของสถานี ทำให้ชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย และผู้ที่นับถือศาสนาฮินดูไม่พอใจ กระทั่งบริษัทแอสโตรสั่งให้พักงานดีเจสามคนที่จัดรายการร่วมกัน และพนักงานสถานีอีก 2 คนอย่างไม่มีกำหนด ขณะที่ดีเจทั้งสามคนขอโทษทั้งผ่านคลิปวีดีโอ รวมทั้งไปขอโทษต่อชุมชนชาวอินเดียที่วัดถ้ำบาตู (Batu Caves) ก่อนหน้านี้ ปรากฎว่าเมื่อวันที่ 11 มี.ค. คณะกรรมการสื่อสารและมัลติมีเดียแห่งมาเลเซีย (MCMC) สั่งปรับ 250,000 ริงกิต (1,925,000 บาท) แก่บริษัทเมสตร้า บอร์ดคาสต์ (Maestra Broadcast) บริษัทย่อยของ แอสโตร มาเลเซีย โฮลดิ้งส์ (Astro Malaysia Holdings) ผู้ผลิตสื่อบันเทิงในมาเลเซีย โดยพิจารณาจากวีดีโอคลิปอัปโหลดลงในติ๊กต็อกที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของ แต่ไม่ระงับใบอนุญาตสถานีวิทยุ เนื่องจากบริษัทฯ ได้แก้ไขปัญหาพร้อมกับขอโทษ อีกทั้งเกรงถึงผลกระทบกับคลื่นเพลงภาษาจีน Melody และคลื่นเพลงสากล Mix FM ภายใต้ใบอนุญาตเดียวกันด้วย อย่างไรก็ตาม มีการเปรียบเทียบและโจมตี MCMC โดยเทียบกับกรณีละเมิดกฎ "3R" ได้แก่ เชื้อชาติ ศาสนา และราชวงศ์ (Race, Religion and Royalty) ทำนองว่าลำเอียงเมื่อเทียบกับคดีอื่นๆ ทำให้นายฟาห์มี ฟาดซิล รมว.การสื่อสาร และโฆษกรัฐบาลอันวาร์ อิบราฮิม อธิบายว่าแตกต่างกัน เพราะกรณีถุงเท้าในร้าน KK Mart เป็นคดีอาญา ศาลกำหนดค่าปรับ 60,000 ริงกิต (462,000 บาท) ส่วนกรณีนักแสดง ฮาริธ อิสกันเดอร์ (Harith Iskander) และผู้ใช้โซเชียลมีเดีย Cecelia Yap ที่อัปโหลดเนื้อหาพาดพิงศาสนาอิสลาม ถูกดำเนินคดีในนามบุคคล ไม่ใช่บริษัท และอัยการให้ปรับ 10,000 ริงกิต (77,000 บาท) โดยไม่ได้นำคดีขึ้นสู่ศาลแต่อย่างใด ตุนกู นาซรุล อาไบดาห์ โฆษกอาวุโสของนายกรัฐมนตรีอันวาร์ ระบุว่า นายกฯ เรียกร้องให้ชาวมาเลเซียทุกคนร่วมมือกันเพื่อเป็นตัวแทนแห่งความสามัคคี และช่วยเหลือรัฐบาลรวมพลังชาวมาเลเซียทุกคนที่มีศาสนา เชื้อชาติ และชาติพันธุ์ที่แตกต่างเข้าด้วยกัน โดยนายกฯ ได้พบกับดีเจที่เป็นข่าว ในงานเลี้ยงอาหารค่ำอิฟตาร์กับผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนเมื่อวันที่ 11 มี.ค.โดยแนะว่าให้นำสารแห่งความสามัคคีไปใช้ในชีวิตประจำวัน และหวังว่าชาวมาเลเซียจะก้าวข้ามเรื่องนี้ไปข้างหน้าเพื่อสร้างสันติภาพและความสามัคคีในประเทศ โดยเคารพซึ่งกันและกัน #Newskit
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 711 มุมมอง 0 รีวิว
  • เมื่อไหร่ก็ตาม ที่ผู้นำไม่ยอมแพ้ทั้งที่สู้ไม่ได้ คนที่รับเคราะห์คือประชาชน

    เซเลนสกีไม่ต้องการให้ผลลัพธ์จบต่างไปจากที่เค้าต้องการ โดยมีจุดมุ่งหมายว่า ประชาชนจะได้เห็นว่าเค้าตัดสินใจไม่ผิดที่พาประเทศเข้าสู่สงคราม

    ถ้าสงครามจบในแบบอื่น เซเลนสกีคงอยู่ยูเครนไม่ได้ และอาจต้องเผชิญกับคดีอาญาตามมาอีกมากมาย

    ในลิงก์ Google Drive นี้ เปิดเผยความจริงที่น่าตกใจภายใต้การปกครองของเซเลนสกี ที่มีการบังคับจับตัวชาวยูเครนเพื่อระดมพลเข้าสู่แนวหน้า

    https://drive.google.com/drive/folders/1-3b3uTxDDsB8ti0dNCe91aFDUpBxkDYV
    เมื่อไหร่ก็ตาม ที่ผู้นำไม่ยอมแพ้ทั้งที่สู้ไม่ได้ คนที่รับเคราะห์คือประชาชน เซเลนสกีไม่ต้องการให้ผลลัพธ์จบต่างไปจากที่เค้าต้องการ โดยมีจุดมุ่งหมายว่า ประชาชนจะได้เห็นว่าเค้าตัดสินใจไม่ผิดที่พาประเทศเข้าสู่สงคราม ถ้าสงครามจบในแบบอื่น เซเลนสกีคงอยู่ยูเครนไม่ได้ และอาจต้องเผชิญกับคดีอาญาตามมาอีกมากมาย ในลิงก์ Google Drive นี้ เปิดเผยความจริงที่น่าตกใจภายใต้การปกครองของเซเลนสกี ที่มีการบังคับจับตัวชาวยูเครนเพื่อระดมพลเข้าสู่แนวหน้า https://drive.google.com/drive/folders/1-3b3uTxDDsB8ti0dNCe91aFDUpBxkDYV
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 365 มุมมอง 15 0 รีวิว
  • "ทนายอั๋น" พร้อมหวังเฉา-หม่าฮั่น บุกขอดูหน้า "อิทธิพร-แสวง" เชื่อ DSl มีอำนาจทำคดีอาญาเอาผิดฮั้วเลือกสว. 100% บุกทำกิจกรรม เหน็บกกต.ไม่ให้ข้อมูลระวังโดนข้อหาร่วมขบวนการอั้งยี่ซ่องโจร

    วันนี้ (26 ก.พ.) นายภัทรพงศ์ ศุภักษร หรือ ทนายอั๋น บุรีรัมย์ พากลุ่มอดีตผู้สมัครสมาชิกวุฒิสภา หรือ สว. มาแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ โดยมีคนที่แต่งกายเลียนแบบเป็น"หวังเฉา" กับ "หม่าฮั่น" นำตัวนักโทษอั้งยี่ซ่องโจรมาประหารตามคำสั่งท่านเปาบุ้นจิ้น

    โดยนายภัทรพงศ์ กล่าวว่า วันนี้ไม่ได้มายื่นหนังสือใดๆกับกกต. อีกแล้ว เพราะถือว่าการสื่อสารระหว่างตัวเองกับ กกต. สิ้นสุดลงแล้วนับแต่กรมสอบสวนคดีพิเศษพิจารณาว่าจะรับกรณีฮั้วเลือก สว. เป็นคดีพิเศษหรือไม่

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000019023

    #MGROnline #ทนายอั๋น
    "ทนายอั๋น" พร้อมหวังเฉา-หม่าฮั่น บุกขอดูหน้า "อิทธิพร-แสวง" เชื่อ DSl มีอำนาจทำคดีอาญาเอาผิดฮั้วเลือกสว. 100% บุกทำกิจกรรม เหน็บกกต.ไม่ให้ข้อมูลระวังโดนข้อหาร่วมขบวนการอั้งยี่ซ่องโจร • วันนี้ (26 ก.พ.) นายภัทรพงศ์ ศุภักษร หรือ ทนายอั๋น บุรีรัมย์ พากลุ่มอดีตผู้สมัครสมาชิกวุฒิสภา หรือ สว. มาแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ โดยมีคนที่แต่งกายเลียนแบบเป็น"หวังเฉา" กับ "หม่าฮั่น" นำตัวนักโทษอั้งยี่ซ่องโจรมาประหารตามคำสั่งท่านเปาบุ้นจิ้น • โดยนายภัทรพงศ์ กล่าวว่า วันนี้ไม่ได้มายื่นหนังสือใดๆกับกกต. อีกแล้ว เพราะถือว่าการสื่อสารระหว่างตัวเองกับ กกต. สิ้นสุดลงแล้วนับแต่กรมสอบสวนคดีพิเศษพิจารณาว่าจะรับกรณีฮั้วเลือก สว. เป็นคดีพิเศษหรือไม่ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000019023 • #MGROnline #ทนายอั๋น
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 648 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไมโรสลาฟ โอเลชโก (Myroslav Oleshko) บล็อกเกอร์ชาวยูเครนโพสต์วิดีพร้อมคำบรรยายเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ยูเครนที่บังคับจับชายชาวยูเครนเข้าสู่แนวหน้า หรือบางครั้งรีดไถเงินเพื่อไม่ต้องถูกส่งตัวเข้าแนวหน้า:

    ชาวอเมริกันและยุโรป จงดูวิดีโอนี้!
    นี่คือยูเครนของผม ประเทศที่ผู้คนถูกลักพาตัวบนท้องถนน ถูกจับขังไว้ในห้องใต้ดิน แล้วปล่อยให้อดอาหารและน้ำ เพื่อบังคับให้พวกเขาเข้าสู่แนวหน้า

    บางรายจะถูกข่มขู่รีดไถเงินระหว่าง 5,000 ถึง 20,000 ดอลลาร์ เพื่อแลกกับการไปเสี่ยงชีวิตที่แนวหน้า และถ้าหากไม่ยอมจ่ายเงิน แน่นอนว่าจุดหมายปลายทางของพวกเขาคือแนวหน้าของสงคราม

    หลายคนถูกต้องจบชีวิตลงที่แนวหน้าจากการปลิดชีวิตตัวเอง เนื่องจากความยากจน ไม่มีเงินจ่ายในการหลบเลี่ยงสู่แนวหน้า

    สื่อของพวกคุณคงไม่มีใครรายงานข่าวเกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้หรอก เพราะพวกเขากำลังโกหกคุณ นักการเมืองของพวกคุณก็โกหกเช่นกัน เพื่อช่วยกันปกป้องเผด็จการเซเลนสกี ซึ่งตอนนี้ได้แซงหน้ารัสเซียไปแล้ว

    ขณะนี้ผู้ชายยูเครนจำนวนมากกลัวการออกไปนอกบ้าน ส่วนผู้หญิงที่มีลูกชายในวัย 17 ปี กำลังหาทางหนีออกนอกประเทศอย่างสิ้นหวัง เพราะพรมแดนของเราถูกปิดสำหรับทุกคน ยกเว้นเพื่อนและหุ้นส่วนทางธุรกิจของเซเลนสกี

    ส่วนชาวยูเครนคนไหนที่ยอมเสี่ยงหลบหนีข้ามพรมแดนผ่านภูเขาและทุ่งนาจะถูกสังหารทันที

    ผู้ที่ต้อต้านเซเลนสกี รวมทั้งตัวผมเอง ต้องเผชิญกับคดีอาญาที่ถูกจัดฉากขึ้น บางรายถูกจับกุม และถูกทรมานในเรือนจำเพื่อบังคับให้รับสารภาพจากข้อหาที่พวกเขาไม่ได้ทำ

    และหากผู้ต่อต้านเหล่านั้น หลบหนีออกนอกประเทศไปได้ เซเลนสกีจะจับกุมญาติของพวกเขาและตั้งขอหา เช่น แม่ เพียงแค่แชร์วิดีโอบน Facebook ที่วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล

    เราต้องการการเลือกตั้ง ความจริงที่ว่าผู้นำสหภาพยุโรปประกาศในวันนี้ว่าพวกเขาสนับสนุนการตัดสินใจของเซเลนสกีที่จะไม่จัดการเลือกตั้งนั้นเป็นเรื่องที่น่ากลัวมาก พวกเขากำลังสนับสนุนการสังหาร การจับกุม และการทรมานผู้คนเพิ่มเติม ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนโยนความผิดไปให้ทางรัสเซีย”



    ไมโรสลาฟ โอเลชโก (Myroslav Oleshko) บล็อกเกอร์ชาวยูเครนโพสต์วิดีพร้อมคำบรรยายเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ยูเครนที่บังคับจับชายชาวยูเครนเข้าสู่แนวหน้า หรือบางครั้งรีดไถเงินเพื่อไม่ต้องถูกส่งตัวเข้าแนวหน้า: ชาวอเมริกันและยุโรป จงดูวิดีโอนี้! นี่คือยูเครนของผม ประเทศที่ผู้คนถูกลักพาตัวบนท้องถนน ถูกจับขังไว้ในห้องใต้ดิน แล้วปล่อยให้อดอาหารและน้ำ เพื่อบังคับให้พวกเขาเข้าสู่แนวหน้า บางรายจะถูกข่มขู่รีดไถเงินระหว่าง 5,000 ถึง 20,000 ดอลลาร์ เพื่อแลกกับการไปเสี่ยงชีวิตที่แนวหน้า และถ้าหากไม่ยอมจ่ายเงิน แน่นอนว่าจุดหมายปลายทางของพวกเขาคือแนวหน้าของสงคราม หลายคนถูกต้องจบชีวิตลงที่แนวหน้าจากการปลิดชีวิตตัวเอง เนื่องจากความยากจน ไม่มีเงินจ่ายในการหลบเลี่ยงสู่แนวหน้า สื่อของพวกคุณคงไม่มีใครรายงานข่าวเกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้หรอก เพราะพวกเขากำลังโกหกคุณ นักการเมืองของพวกคุณก็โกหกเช่นกัน เพื่อช่วยกันปกป้องเผด็จการเซเลนสกี ซึ่งตอนนี้ได้แซงหน้ารัสเซียไปแล้ว ขณะนี้ผู้ชายยูเครนจำนวนมากกลัวการออกไปนอกบ้าน ส่วนผู้หญิงที่มีลูกชายในวัย 17 ปี กำลังหาทางหนีออกนอกประเทศอย่างสิ้นหวัง เพราะพรมแดนของเราถูกปิดสำหรับทุกคน ยกเว้นเพื่อนและหุ้นส่วนทางธุรกิจของเซเลนสกี ส่วนชาวยูเครนคนไหนที่ยอมเสี่ยงหลบหนีข้ามพรมแดนผ่านภูเขาและทุ่งนาจะถูกสังหารทันที ผู้ที่ต้อต้านเซเลนสกี รวมทั้งตัวผมเอง ต้องเผชิญกับคดีอาญาที่ถูกจัดฉากขึ้น บางรายถูกจับกุม และถูกทรมานในเรือนจำเพื่อบังคับให้รับสารภาพจากข้อหาที่พวกเขาไม่ได้ทำ และหากผู้ต่อต้านเหล่านั้น หลบหนีออกนอกประเทศไปได้ เซเลนสกีจะจับกุมญาติของพวกเขาและตั้งขอหา เช่น แม่ เพียงแค่แชร์วิดีโอบน Facebook ที่วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล เราต้องการการเลือกตั้ง ความจริงที่ว่าผู้นำสหภาพยุโรปประกาศในวันนี้ว่าพวกเขาสนับสนุนการตัดสินใจของเซเลนสกีที่จะไม่จัดการเลือกตั้งนั้นเป็นเรื่องที่น่ากลัวมาก พวกเขากำลังสนับสนุนการสังหาร การจับกุม และการทรมานผู้คนเพิ่มเติม ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนโยนความผิดไปให้ทางรัสเซีย”
    Angry
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 376 มุมมอง 0 รีวิว
  • อัยการสูงสุดนำตัว “ภิรพล ลาภาโรจน์กิจ” อดีต สส.สงขลา ปชป.ฟ้องศาลฎีกาฯ ดอดนั่งเครื่องกลับบ้าน แต่ให้ สส.คนอื่นเสียบบัตรประชุมแทน ระหว่างพิจารณาร่าง พ.ร.บ.ให้กระทรวงการคลังกู้เงินพัฒนาโครงสร้างคมนาคมทั่วประเทศ เมื่อปี 2556

    เมื่อเวลา 10.00 น.วันนี้ (24 ก.พ.) ที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (อม.) อัยการสูงสุด เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง นายภิรพล ลาภาโรจน์กิจ อดีต สส.เขตเลือกตั้งที่ 2 จ.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ เป็นจำเลย คดีหมายเลขดำที่อม.5/2568

    อัยการสูงสุดฟ้องสรุปว่า เมื่อวันที่ 20 ก.ย.2556 ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24 ปี ที่ 3 ครั้งที่ 11 (สมัยสามัญทั่วไป) เป็นพิเศษ เพื่อพิจารณาร่างพ ร.บ.ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศพ.ศ..จำเลยได้เดินทางไปอ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยเครื่องบินของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) เที่ยวบินที่ TG237 จากท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ไปยังท่าอากาศยานหาดใหญ่ เวลา 18.05 -19.35 น. และไม่ปรากฏหลักฐานว่าจำเลยได้ เดินทางกลับมายังกรุงเทพมหานครในวันดังกล่าว แต่จำเลยได้ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่ง หรือหน้าที่ หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต โดยจำเลยได้ฝากบัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ของจำเลยให้กับ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายอื่น หรือยินยอมให้บัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ของจำเลยไปอยู่ในความครอบครอง ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายอื่น เพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายนั้นใช้บัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ของ จำเลยกดปุ่มแสดงตน และออกเสียงลงคะแนนแทนจำเลยในการพิจารณาและลงมติร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว ตามมาตรา 5,7,10,11,14,16,17,18 และ 20 บัญชีท้าย วาระที่ 3 และข้อสังเกต ต่อเนื่องกันตามลำดับ ตั้งแต่เวลา 18.05 น. จนถึงเวลา 23.27 น. โดยที่ตนเองไม่อยู่ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นการปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยมิชอบ เพื่อให้เกิด ความเสียหายแก่ปวงชนชาวไทยโดยส่วนรวม ฝ่ายนิติบัญญัติ สมาชิกรัฐสภาอื่น และเป็นการกระทำโดยทุจริต

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/crime/detail/9680000018176

    #MGROnline #สงขลา #พรรคประชาธิปัตย์ #เสียบบัตรประชุมแทน
    อัยการสูงสุดนำตัว “ภิรพล ลาภาโรจน์กิจ” อดีต สส.สงขลา ปชป.ฟ้องศาลฎีกาฯ ดอดนั่งเครื่องกลับบ้าน แต่ให้ สส.คนอื่นเสียบบัตรประชุมแทน ระหว่างพิจารณาร่าง พ.ร.บ.ให้กระทรวงการคลังกู้เงินพัฒนาโครงสร้างคมนาคมทั่วประเทศ เมื่อปี 2556 • เมื่อเวลา 10.00 น.วันนี้ (24 ก.พ.) ที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (อม.) อัยการสูงสุด เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง นายภิรพล ลาภาโรจน์กิจ อดีต สส.เขตเลือกตั้งที่ 2 จ.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ เป็นจำเลย คดีหมายเลขดำที่อม.5/2568 • อัยการสูงสุดฟ้องสรุปว่า เมื่อวันที่ 20 ก.ย.2556 ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24 ปี ที่ 3 ครั้งที่ 11 (สมัยสามัญทั่วไป) เป็นพิเศษ เพื่อพิจารณาร่างพ ร.บ.ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศพ.ศ..จำเลยได้เดินทางไปอ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยเครื่องบินของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) เที่ยวบินที่ TG237 จากท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ไปยังท่าอากาศยานหาดใหญ่ เวลา 18.05 -19.35 น. และไม่ปรากฏหลักฐานว่าจำเลยได้ เดินทางกลับมายังกรุงเทพมหานครในวันดังกล่าว แต่จำเลยได้ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่ง หรือหน้าที่ หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต โดยจำเลยได้ฝากบัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ของจำเลยให้กับ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายอื่น หรือยินยอมให้บัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ของจำเลยไปอยู่ในความครอบครอง ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายอื่น เพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรายนั้นใช้บัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ของ จำเลยกดปุ่มแสดงตน และออกเสียงลงคะแนนแทนจำเลยในการพิจารณาและลงมติร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว ตามมาตรา 5,7,10,11,14,16,17,18 และ 20 บัญชีท้าย วาระที่ 3 และข้อสังเกต ต่อเนื่องกันตามลำดับ ตั้งแต่เวลา 18.05 น. จนถึงเวลา 23.27 น. โดยที่ตนเองไม่อยู่ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร อันเป็นการปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยมิชอบ เพื่อให้เกิด ความเสียหายแก่ปวงชนชาวไทยโดยส่วนรวม ฝ่ายนิติบัญญัติ สมาชิกรัฐสภาอื่น และเป็นการกระทำโดยทุจริต • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/crime/detail/9680000018176 • #MGROnline #สงขลา #พรรคประชาธิปัตย์ #เสียบบัตรประชุมแทน
    Angry
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 781 มุมมอง 0 รีวิว
  • จับผิดฮั้วเลือก ส.ว.สายสีน้ำเงินขยับ "นันทนา" เชียร์ดีเอสไอ
    .
    ท่ามกลางเสียงวิจารณ์ของส.ว.บางกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับการดำเนินของกรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ ดีเอสไอ ที่เข้ามาตรวจสอบกระบวนการเลือกส.ว. ปรากฎว่ายังมีส.ว.อีกส่วนหนึ่งที่สนับสนุนการทำงานของดีเอสไอ นำโดย น.ส.นันทนา นันทวโรภาส ส.ว.ในกลุ่มอิสระ ซึ่งระบุว่า เดิมทีทำหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ในการสืบสวน สอบสวนการทุจริตเลือกตั้งต่างๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไป 7 เดือนแล้ว กกต.ยังเงียบอยู่ ทำให้มีประชาชนเริ่มกังขาการทำหน้าที่ของ กกต. และการที่ดีเอสไอแสดงท่าทีว่าจะเข้ามารับทำคดีนี้ก็น่าจะเป็นประโยชน์กับประชาชนที่เขามีข้อสงสัยเกี่ยวกับการได้มาซึ่ง ส.ว.ชุดนี้
    .
    "ส่วนกระบวนการที่ดีเอสไอจะดำเนินการสืบสวนนั้น เข้าใจว่าเป็นเรื่องทางคดีอาญาเกี่ยวกับการอั้งยี่ที่แยกออกจากเรื่องคดีเลือกตั้ง ซึ่งหากทางดีเอสไอเข้ามาดำเนินการและสามารถทำให้คลายข้อสงสัยของประชาชนจำนวนมากได้ ก็เห็นด้วย"
    .
    "ส่วนตัวเห็นว่ากระบวนการได้มาซึ่ง ส.ว.ตรงนี้มันวิปริตบิดเบี้ยวไปตามข้อกำหนดของรัฐธรรมนูญ นั่นคือเป็นกระบวนการที่ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วม เพราะเป็นคนที่สมัคร จ่ายเงิน และเข้ามาเลือกกันเอง ฉะนั้น หากกระบวนการไปถึงขั้นตอนที่พบว่ามีความผิดปกติ ไม่ชอบมาพากล และต้องมีการล้มกระดาน คิดว่าก่อนที่จะมีการล้มกระดานควรจะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการได้มาซึ่ง ส.ว. เพื่อเปลี่ยนกติกาก่อน เพราะหากมีการล้มกระดานจริง แต่ยังใช้กติกาเดิม มันก็เหมือนเดิม ไม่ได้เกิดประโยชน์อะไร" ส.ว.นันทนา ระบุ
    .
    ขณะเดียวกัน มีรายงานจากวุฒิสภาว่า นายวุฒิชาติ กัลยาณมิตร ประธานคณะกรรมาธิการคมนาคม วุฒิสภา ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการประสานงานวุฒิสภาหรือ วิปวุฒิสภา ได้นัดหารือวิปวุฒิสภา เป็นกรณีพิเศษ ในวันจันทร์ที่ 24 ก.พ.นี้ ที่ห้องประชุม 406-407 ตึกวุฒิสภา เวลา 08.00 น. ที่เป็นช่วงก่อนเข้าประชุมวุฒิสภา โดยได้มีการส่งข้อความถึงสว.ที่อยู่ในวิปวุฒิสภาให้แจ้งการเข้าประชุม โดยหากใครลาการประชุมขอให้แจ้งล่วงหน้า ซึ่งเดิมที วิปวุฒิสภา จะนัดประชุมวันที่ 26 ก.พ.แต่ได้เลื่อนมาเป็น 24 ก.พ. หลังคณะกรรมการคดีพิเศษ หรือบอร์ดดีเอสไอ นัดประชุมวันที่ 25 ก.พ. เพื่อลงมติว่าจะรับเรื่องการให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ เข้าสอบสวนการเลือกสว.ชุดปัจจุบันเป็นคดีพิเศษหรือไม่ ซึ่งการจะรับเป็นคดีพิเศษ ต้องใช้เสียงของกรรมการอย่างน้อย 2 ใน 3 จากกรรมการที่มีอยู่ 22 คนหรือประมาณ 15 เสียง ดีเอสไอถึงเข้าสอบสวนได้ แต่ต้องจับตาว่าจะมีกรรมการเข้าประชุมครบหรือไม่
    .
    นอกจากนี้ ยังมีการรายงานอีกว่า ได้มีการขอความร่วมมือจากกลุ่มส.ว.ให้งดการให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชนไว้ก่อน เพื่อรอฟังมติที่ประชุมบอร์ดดีเอสไอในวันอังคารที่ 25 ก.พ.
    .............
    Sondhi X
    จับผิดฮั้วเลือก ส.ว.สายสีน้ำเงินขยับ "นันทนา" เชียร์ดีเอสไอ . ท่ามกลางเสียงวิจารณ์ของส.ว.บางกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับการดำเนินของกรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ ดีเอสไอ ที่เข้ามาตรวจสอบกระบวนการเลือกส.ว. ปรากฎว่ายังมีส.ว.อีกส่วนหนึ่งที่สนับสนุนการทำงานของดีเอสไอ นำโดย น.ส.นันทนา นันทวโรภาส ส.ว.ในกลุ่มอิสระ ซึ่งระบุว่า เดิมทีทำหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ในการสืบสวน สอบสวนการทุจริตเลือกตั้งต่างๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไป 7 เดือนแล้ว กกต.ยังเงียบอยู่ ทำให้มีประชาชนเริ่มกังขาการทำหน้าที่ของ กกต. และการที่ดีเอสไอแสดงท่าทีว่าจะเข้ามารับทำคดีนี้ก็น่าจะเป็นประโยชน์กับประชาชนที่เขามีข้อสงสัยเกี่ยวกับการได้มาซึ่ง ส.ว.ชุดนี้ . "ส่วนกระบวนการที่ดีเอสไอจะดำเนินการสืบสวนนั้น เข้าใจว่าเป็นเรื่องทางคดีอาญาเกี่ยวกับการอั้งยี่ที่แยกออกจากเรื่องคดีเลือกตั้ง ซึ่งหากทางดีเอสไอเข้ามาดำเนินการและสามารถทำให้คลายข้อสงสัยของประชาชนจำนวนมากได้ ก็เห็นด้วย" . "ส่วนตัวเห็นว่ากระบวนการได้มาซึ่ง ส.ว.ตรงนี้มันวิปริตบิดเบี้ยวไปตามข้อกำหนดของรัฐธรรมนูญ นั่นคือเป็นกระบวนการที่ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วม เพราะเป็นคนที่สมัคร จ่ายเงิน และเข้ามาเลือกกันเอง ฉะนั้น หากกระบวนการไปถึงขั้นตอนที่พบว่ามีความผิดปกติ ไม่ชอบมาพากล และต้องมีการล้มกระดาน คิดว่าก่อนที่จะมีการล้มกระดานควรจะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการได้มาซึ่ง ส.ว. เพื่อเปลี่ยนกติกาก่อน เพราะหากมีการล้มกระดานจริง แต่ยังใช้กติกาเดิม มันก็เหมือนเดิม ไม่ได้เกิดประโยชน์อะไร" ส.ว.นันทนา ระบุ . ขณะเดียวกัน มีรายงานจากวุฒิสภาว่า นายวุฒิชาติ กัลยาณมิตร ประธานคณะกรรมาธิการคมนาคม วุฒิสภา ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการประสานงานวุฒิสภาหรือ วิปวุฒิสภา ได้นัดหารือวิปวุฒิสภา เป็นกรณีพิเศษ ในวันจันทร์ที่ 24 ก.พ.นี้ ที่ห้องประชุม 406-407 ตึกวุฒิสภา เวลา 08.00 น. ที่เป็นช่วงก่อนเข้าประชุมวุฒิสภา โดยได้มีการส่งข้อความถึงสว.ที่อยู่ในวิปวุฒิสภาให้แจ้งการเข้าประชุม โดยหากใครลาการประชุมขอให้แจ้งล่วงหน้า ซึ่งเดิมที วิปวุฒิสภา จะนัดประชุมวันที่ 26 ก.พ.แต่ได้เลื่อนมาเป็น 24 ก.พ. หลังคณะกรรมการคดีพิเศษ หรือบอร์ดดีเอสไอ นัดประชุมวันที่ 25 ก.พ. เพื่อลงมติว่าจะรับเรื่องการให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ เข้าสอบสวนการเลือกสว.ชุดปัจจุบันเป็นคดีพิเศษหรือไม่ ซึ่งการจะรับเป็นคดีพิเศษ ต้องใช้เสียงของกรรมการอย่างน้อย 2 ใน 3 จากกรรมการที่มีอยู่ 22 คนหรือประมาณ 15 เสียง ดีเอสไอถึงเข้าสอบสวนได้ แต่ต้องจับตาว่าจะมีกรรมการเข้าประชุมครบหรือไม่ . นอกจากนี้ ยังมีการรายงานอีกว่า ได้มีการขอความร่วมมือจากกลุ่มส.ว.ให้งดการให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชนไว้ก่อน เพื่อรอฟังมติที่ประชุมบอร์ดดีเอสไอในวันอังคารที่ 25 ก.พ. ............. Sondhi X
    Like
    Haha
    11
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2353 มุมมอง 0 รีวิว
  • นโยบายการปราบปรามคอร์รัปชันในประเทศไทยเป็นแนวทางสำคัญของรัฐบาลไทยในการลดปัญหาทุจริตและสร้างความโปร่งใสในภาครัฐและเอกชน โดยมีแนวทางหลักดังนี้

    1. ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

    รัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะยาว ซึ่งล่าสุดคือ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2565) และขยายต่อเนื่องในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมีเป้าหมายเพิ่มดัชนีชี้วัดความโปร่งใสของไทย (Corruption Perceptions Index - CPI)

    2. กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561

    กำหนดอำนาจของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

    บังคับให้เจ้าหน้าที่รัฐต้องยื่นบัญชีทรัพย์สิน


    สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.)

    เน้นการตรวจสอบและปราบปรามการทุจริตในหน่วยงานของรัฐ


    ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

    พิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่รัฐระดับสูง



    3. มาตรการเชิงรุก

    โครงการ "ไทยโปร่งใส" และ E-Government

    ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่รัฐ

    ส่งเสริมระบบ e-Procurement (การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์)


    การคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส (Whistleblower Protection)

    มีกฎหมายคุ้มครองบุคคลที่เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการทุจริต



    4. การเข้าร่วมองค์กรสากลและมาตรการนานาชาติ

    ประเทศไทยเป็นภาคีของ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต (UNCAC)

    มีความร่วมมือกับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เช่น Transparency International


    5. บทลงโทษและมาตรการป้องกัน

    โทษจำคุกและปรับสำหรับเจ้าหน้าที่รัฐที่รับสินบนหรือใช้อำนาจโดยมิชอบ

    การริบทรัพย์สินที่ได้จากการทุจริต

    การแบนบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตออกจากโครงการของรัฐ


    ผลลัพธ์และความท้าทาย

    แม้ว่าจะมีมาตรการที่เข้มงวด แต่ประเทศไทยยังคงเผชิญกับปัญหาคอร์รัปชันในหลายระดับ โดยดัชนี CPI ของไทยในช่วงปีหลังยังคงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านบางประเทศ

    หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ์ล่าสุดของนโยบายปราบปรามคอร์รัปชันในไทย
    นโยบายการปราบปรามคอร์รัปชันในประเทศไทยเป็นแนวทางสำคัญของรัฐบาลไทยในการลดปัญหาทุจริตและสร้างความโปร่งใสในภาครัฐและเอกชน โดยมีแนวทางหลักดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต รัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะยาว ซึ่งล่าสุดคือ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2565) และขยายต่อเนื่องในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมีเป้าหมายเพิ่มดัชนีชี้วัดความโปร่งใสของไทย (Corruption Perceptions Index - CPI) 2. กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 กำหนดอำนาจของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) บังคับให้เจ้าหน้าที่รัฐต้องยื่นบัญชีทรัพย์สิน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) เน้นการตรวจสอบและปราบปรามการทุจริตในหน่วยงานของรัฐ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่รัฐระดับสูง 3. มาตรการเชิงรุก โครงการ "ไทยโปร่งใส" และ E-Government ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่รัฐ ส่งเสริมระบบ e-Procurement (การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์) การคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส (Whistleblower Protection) มีกฎหมายคุ้มครองบุคคลที่เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการทุจริต 4. การเข้าร่วมองค์กรสากลและมาตรการนานาชาติ ประเทศไทยเป็นภาคีของ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต (UNCAC) มีความร่วมมือกับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เช่น Transparency International 5. บทลงโทษและมาตรการป้องกัน โทษจำคุกและปรับสำหรับเจ้าหน้าที่รัฐที่รับสินบนหรือใช้อำนาจโดยมิชอบ การริบทรัพย์สินที่ได้จากการทุจริต การแบนบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตออกจากโครงการของรัฐ ผลลัพธ์และความท้าทาย แม้ว่าจะมีมาตรการที่เข้มงวด แต่ประเทศไทยยังคงเผชิญกับปัญหาคอร์รัปชันในหลายระดับ โดยดัชนี CPI ของไทยในช่วงปีหลังยังคงต่ำเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านบางประเทศ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ์ล่าสุดของนโยบายปราบปรามคอร์รัปชันในไทย
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 751 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts