• Microsoft เปิดตัวฟีเจอร์ Copilot Podcasts ที่ช่วยสร้างพอดแคสต์เฉพาะตัวและมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก พร้อมด้วยฟีเจอร์ Deep Research ที่ช่วยค้นหาข้อมูลออนไลน์ในหลายขั้นตอน รวมถึง Actions ที่ให้ Copilot จองตั๋วและจัดแผนการเดินทางแทนผู้ใช้ นับว่าเป็นการพัฒนาที่น่าสนใจเพื่อแข่งขันกับ AI ของ Google เช่น NotebookLM และ Gemini

    ✅ พอดแคสต์ที่ปรับแต่งได้
    - Copilot Podcasts ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหาพอดแคสต์แบบเฉพาะตัว เช่น การวางแผนวันหยุด การเปรียบเทียบตัวเลือกการซื้อสินค้า หรือแม้กระทั่งศึกษาเรื่องราวเชิงลึก
    - ผู้ใช้ยังสามารถโต้ตอบกับ Copilot เพื่อสอบถามเพิ่มเติมขณะฟังพอดแคสต์

    ✅ ฟีเจอร์ Deep Research ช่วยให้การค้นหาออนไลน์ลึกซึ้งมากขึ้น
    - Copilot มีฟีเจอร์ Deep Research ที่ช่วยทำงานวิจัยหลายขั้นตอน และสร้างรายงานที่เข้าใจง่าย
    - ฟีเจอร์นี้มีลักษณะการทำงานคล้ายกับของ OpenAI ChatGPT และ Google Gemini

    ✅ Actions—Copilot ทำงานแทนผู้ใช้ผ่านคำสั่งภาษา
    - Microsoft เปิดตัวฟีเจอร์ Actions ซึ่งช่วยให้ Copilot ทำงานแทนผู้ใช้ เช่น การจองตั๋ว, จองโต๊ะอาหาร และการจัดแผนการเดินทาง
    - Copilot Actions รองรับเว็บไซต์ยอดนิยม เช่น Booking.com, Expedia, Kayak, TripAdvisor และ OpenTable

    https://www.neowin.net/news/microsoft-takes-on-google-notebooklm-with-copilot-podcasts/
    Microsoft เปิดตัวฟีเจอร์ Copilot Podcasts ที่ช่วยสร้างพอดแคสต์เฉพาะตัวและมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก พร้อมด้วยฟีเจอร์ Deep Research ที่ช่วยค้นหาข้อมูลออนไลน์ในหลายขั้นตอน รวมถึง Actions ที่ให้ Copilot จองตั๋วและจัดแผนการเดินทางแทนผู้ใช้ นับว่าเป็นการพัฒนาที่น่าสนใจเพื่อแข่งขันกับ AI ของ Google เช่น NotebookLM และ Gemini ✅ พอดแคสต์ที่ปรับแต่งได้ - Copilot Podcasts ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหาพอดแคสต์แบบเฉพาะตัว เช่น การวางแผนวันหยุด การเปรียบเทียบตัวเลือกการซื้อสินค้า หรือแม้กระทั่งศึกษาเรื่องราวเชิงลึก - ผู้ใช้ยังสามารถโต้ตอบกับ Copilot เพื่อสอบถามเพิ่มเติมขณะฟังพอดแคสต์ ✅ ฟีเจอร์ Deep Research ช่วยให้การค้นหาออนไลน์ลึกซึ้งมากขึ้น - Copilot มีฟีเจอร์ Deep Research ที่ช่วยทำงานวิจัยหลายขั้นตอน และสร้างรายงานที่เข้าใจง่าย - ฟีเจอร์นี้มีลักษณะการทำงานคล้ายกับของ OpenAI ChatGPT และ Google Gemini ✅ Actions—Copilot ทำงานแทนผู้ใช้ผ่านคำสั่งภาษา - Microsoft เปิดตัวฟีเจอร์ Actions ซึ่งช่วยให้ Copilot ทำงานแทนผู้ใช้ เช่น การจองตั๋ว, จองโต๊ะอาหาร และการจัดแผนการเดินทาง - Copilot Actions รองรับเว็บไซต์ยอดนิยม เช่น Booking.com, Expedia, Kayak, TripAdvisor และ OpenTable https://www.neowin.net/news/microsoft-takes-on-google-notebooklm-with-copilot-podcasts/
    WWW.NEOWIN.NET
    Microsoft takes on Google NotebookLM with Copilot Podcasts
    Microsoft launched several new Copilot features, including AI-powered podcasts, deep research, and agentic actions, to celebrate its 50th anniversary.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 123 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายงานวิเคราะห์จากเพจลงทุนแมน เกี่ยวกับสรุปวิกฤติค่าเงิน อินโดนีเซีย อ่อนสุดตั้งแต่ต้มยำกุ้ง ในโพสต์เดียว /โดย ลงทุนแมน
    ถ้าบอกว่า อินโดนีเซียยังเป็นประเทศดาวรุ่งพุ่งแรง ที่ทุกอย่างกำลังดูดี โพสต์นี้อาจทำให้หลายคนมองภาพประเทศนี้เปลี่ยนไป

    เพราะตอนนี้ อินโดนีเซียกำลังเจอวิกฤติเงินรูเปียอ่อนค่าอย่างหนัก ซึ่งเป็นการอ่อนค่ามากที่สุด นับตั้งแต่วิกฤติต้มยำกุ้งในปี 2540 เลยทีเดียว

    จนธนาคารกลางอินโดนีเซีย ต้องนำเงินทุนสำรองมาพยุงค่าเงินรูเปียไม่ให้อ่อนค่าไปมากกว่านี้

    วิกฤติค่าเงินของอินโดนีเซียรุนแรงแค่ไหน ?
    แล้วเกิดขึ้นเพราะอะไร ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง

    ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซีย ร่วงไปแตะระดับ 16,600 รูเปียต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่ามากที่สุด ระดับเดียวกับช่วงวิกฤติต้มยำกุ้ง เมื่อปี 2540

    สถานการณ์ของอินโดนีเซียในครั้งนี้ อาจไม่ได้ซ้ำรอยกับวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่เริ่มต้นจากการถล่มค่าเงินในภูมิภาค แต่เกิดขึ้นจากรากฐานเศรษฐกิจของอินโดนีเซียที่อ่อนแอลง และถูกซ้ำเติมด้วยนโยบายภาครัฐ

    ก่อนหน้านี้ อินโดนีเซีย คือหนึ่งในประเทศที่ได้รับเงินสนับสนุนและการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติมาอย่างต่อเนื่อง

    โดยในปี 2566 มีเม็ดเงินลงทุนจากต่างชาติมากถึง 1.88 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 21% จากปีก่อนหน้า และมี GDP เติบโตเฉลี่ย 5% ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา

    เมื่อมีเม็ดเงินลงทุนเข้ามาอย่างต่อเนื่อง บวกกับเศรษฐกิจที่เติบโตดี มีฐานประชากรกว่า 281 ล้านคน คอยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

    อีกทั้งรัฐบาลอินโดนีเซีย ดำเนินนโยบายแบบขาดดุลตลอด 10 ปีที่ผ่านมา ซึ่งอินโดนีเซียมีกรอบนโยบายขาดดุลงบประมาณราว -3% ต่อ GDP อย่างยาวนาน

    จนมาถึงยุคของ ประธานาธิบดีปราโบโว ซูเบียนโต
    ที่เพิ่งเข้ารับตำแหน่งในช่วงปลายปี 2567 ก็ยังคงเดินตามแบบแผนเดิม ๆ คือ การตั้งงบประมาณแบบขาดดุล

    พร้อมกับนโยบายประชานิยมหลากหลายอย่าง ที่เขาได้ประกาศใช้ ไม่ว่าจะเป็น

    - ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 6.5% สูงกว่าข้อเสนอของกระทรวงแรงงานที่เสนอไว้ 6%

    - อาหารกลางวันฟรี ให้กับประชาชนกว่า 83 ล้านคน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ เด็ก และสตรีมีครรภ์ ซึ่งคาดว่าจะใช้งบประมาณกว่า 950,000 ล้านบาทต่อปี

    - สั่งเบรกอัตราภาษี VAT ที่จะต้องปรับขึ้นเป็น 12% ในสินค้าทุกรายการ เป็นบังคับใช้เพียงสินค้าฟุ่มเฟือยเท่านั้น

    แน่นอนว่า การทำนโยบายประชานิยม ก็ยิ่งกดดันให้อินโดนีเซียต้องขาดดุลมากขึ้น และมีความเสี่ยงที่จะเลยกรอบ 3% ต่อ GDP ที่วางไว้

    ซึ่งในปี 2568 รัฐบาลอินโดนีเซีย ตั้งเป้างบประมาณขาดดุลไว้ที่ 2.53% เพิ่มขึ้นจาก 2.29% ในปี 2567

    แล้วภาพเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย เป็นอย่างไร ?

    สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP อินโดนีเซีย ในปี 2567 อยู่ที่ 39% ซึ่งถือว่าค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับชาติอื่น ๆ ในภูมิภาค เช่น ไทย ฟิลิปปินส์ หรือ มาเลเซีย

    แต่หากดูในภาพรวม จะพบว่า GDP ของอินโดนีเซีย กำลังเติบโตลดลงทีละน้อย จาก 5.31% ในปี 2565 เหลือ 5.03% ในปี 2567

    ในขณะที่รายได้ของรัฐ เริ่มส่งสัญญาณโตไม่ทันรายจ่าย ทำให้ภาครัฐขาดดุลมากขึ้น

    ปี 2565 ขาดดุล 943,236 ล้านบาท
    ปี 2566 ขาดดุล 994,387 ล้านบาท
    ปี 2567 ขาดดุล 1,070,091 ล้านบาท

    เมื่อมีแนวโน้มขาดดุลงบประมาณมากขึ้น แต่การเติบโตของเศรษฐกิจกลับเริ่มอ่อนแรง การกู้เงินมาใช้จ่ายจึงเพิ่มขึ้น

    ซึ่งแม้แต่ประธานาธิบดีปราโบโวเอง ก็เคยบอกไว้ว่ามีแผนจะปรับระดับเพดานหนี้สาธารณะต่อ GDP อินโดนีเซีย ไปอยู่ในระดับ 50% ภายในเวลา 5 ปี

    นอกจากเรื่องการขาดดุลอย่างต่อเนื่องแล้ว ประธานาธิบดีคนนี้ ยังต้องการตั้งกองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติที่ชื่อว่า Danantara ที่คาดว่าจะมีมูลค่าทรัพย์สินภายใต้การจัดการกว่า 30 ล้านล้านบาท

    Danantara มีโมเดลคล้าย Temasek กองทุน
    ความมั่งคั่งแห่งชาติสิงคโปร์ ที่เน้นนำเงินของประเทศ
    ไปลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ ทั่วโลก

    รวมถึง รัฐวิสาหกิจของอินโดนีเซีย กว่า 40 แห่ง ที่จะถูกรวมเข้ามาเป็นสินทรัพย์ภายใต้กองทุน เช่น
    - Pertamina บริษัทน้ำมันและก๊าซ
    - PLN บริษัทไฟฟ้า
    - Telkom Indonesia บริษัทโทรคมนาคม

    แต่ปัญหาคือ กองทุนนี้ต้องใช้เงินมหาศาลในการจัดตั้งกองทุน ซึ่งสิ่งที่รัฐบาลอินโดนีเซียทำ เป็นความเสี่ยงที่หลายคนกังวล

    เพราะรัฐบาลหาเงินมาทำกองทุนนี้ ด้วยการตัดงบประมาณบริการสาธารณะที่จำเป็น รวมถึงการลดเงินทุนสำหรับการศึกษาระดับประถมลง 24% และลดงบประมาณการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยลง 39% ลดค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพลง 19% และที่สำคัญคือ การลดโครงการสาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐานลง 73%

    เรียกได้ว่า กองทุนนี้มีเงินตั้งต้นจากการลดค่าใช้จ่าย
    ในเศรษฐกิจ ที่เป็นอนาคตสำคัญของประเทศ

    จากปัญหาหลักทั้ง 2 เรื่องนี้ นั่นก็คือ การขาดดุลงบประมาณ และการลดค่าใช้จ่ายที่สำคัญทางเศรษฐกิจ ก็ทำให้นักลงทุนต่างชาติเริ่มกังวลกับความอ่อนแอของเศรษฐกิจ และศักยภาพการเติบโตที่ยั่งยืนในระยะยาวของอินโดนีเซีย

    ส่งผลให้นักลงทุนเริ่มเทขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย จนดัชนีตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย (IDX Composite) ปรับตัวลงไปแล้ว -10% นับจากต้นปี (ยังดีกว่าดัชนี SET ของไทยที่ -14%)

    ซึ่งวันที่ 18 มีนาคมที่ผ่านมา ตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซียได้มีการประกาศหยุดซื้อขายหุ้นชั่วคราว หลังจากดัชนีหลักทรัพย์ร่วงไป -5%

    โดยแรงขายหุ้นจากนักลงทุนต่างชาติ ยังเป็นแรงกดดันให้ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซียอ่อนค่าลงอีกทาง

    ในที่สุด ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซียก็อ่อนค่าลงต่อเนื่อง จนตอนนี้อยู่ในระดับที่ต่ำสุด นับตั้งแต่วิกฤติต้มยำกุ้งในช่วงปี 2540 ไปแล้ว (ในขณะที่ค่าเงินบาทไทยยังห่างไกลจากช่วงวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่อ่อนค่าลงไปแตะ 55 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ)

    อย่างไรก็ตาม ก็ต้องบอกว่า เรื่องนี้ก็อาจเกิดขึ้นในระยะสั้นเท่านั้น หากความเชื่อมั่นของนักลงทุนกลับมา และความท้าทายทางเศรษฐกิจเริ่มคลี่คลาย

    แต่ถ้ารัฐบาลอินโดนีเซียภายใต้ผู้นำที่ชื่อว่า ปราโบโว
    ซูเบียนโต ยังทำแบบเดิม ๆ และความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติ ยังไม่ฟื้นคืน

    สุดท้าย ก็อาจทำให้ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซีย ร่วงหนักไปมากกว่านี้ก็ได้..

    ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ

    รู้ไหมว่า กองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ Danantara
    ของอินโดนีเซีย มีคุณทักษิณ ชินวัตร เป็นที่ปรึกษาอีกด้วย
    ╔═══════════╗
    ติดตามข่าวเศรษฐกิจแบบเน้น ๆ จากหลายเพจได้ใน Blockdit - คอนเทนต์แพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานเป็นประจำ 2 ล้านคน ลองใช้ฟรี blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    TikTok - tiktok.com/@longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงทุนแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References
    -https://www.reuters.com/markets/currencies/indonesia-cbank-says-rupiah-weakness-reflects-global-domestic-factors-2025-03-25/?utm_source=chatgpt.com
    -https://www.bloomberg.com/news/articles/2025-03-26/indonesia-stock-market-why-are-investors-fleeing-what-role-has-prabowo-played
    -https://tradingeconomics.com/indonesia/indicators
    -https://www.bps.go.id/en/statistics-table/2/MTA4NSMy/actual-government-expenditures--finance-.html
    -https://asiatimes.com/2025/03/danantara-indonesias-ticking-financial-time-bomb
    รายงานวิเคราะห์จากเพจลงทุนแมน เกี่ยวกับสรุปวิกฤติค่าเงิน อินโดนีเซีย อ่อนสุดตั้งแต่ต้มยำกุ้ง ในโพสต์เดียว /โดย ลงทุนแมน ถ้าบอกว่า อินโดนีเซียยังเป็นประเทศดาวรุ่งพุ่งแรง ที่ทุกอย่างกำลังดูดี โพสต์นี้อาจทำให้หลายคนมองภาพประเทศนี้เปลี่ยนไป เพราะตอนนี้ อินโดนีเซียกำลังเจอวิกฤติเงินรูเปียอ่อนค่าอย่างหนัก ซึ่งเป็นการอ่อนค่ามากที่สุด นับตั้งแต่วิกฤติต้มยำกุ้งในปี 2540 เลยทีเดียว จนธนาคารกลางอินโดนีเซีย ต้องนำเงินทุนสำรองมาพยุงค่าเงินรูเปียไม่ให้อ่อนค่าไปมากกว่านี้ วิกฤติค่าเงินของอินโดนีเซียรุนแรงแค่ไหน ? แล้วเกิดขึ้นเพราะอะไร ? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซีย ร่วงไปแตะระดับ 16,600 รูเปียต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่ามากที่สุด ระดับเดียวกับช่วงวิกฤติต้มยำกุ้ง เมื่อปี 2540 สถานการณ์ของอินโดนีเซียในครั้งนี้ อาจไม่ได้ซ้ำรอยกับวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่เริ่มต้นจากการถล่มค่าเงินในภูมิภาค แต่เกิดขึ้นจากรากฐานเศรษฐกิจของอินโดนีเซียที่อ่อนแอลง และถูกซ้ำเติมด้วยนโยบายภาครัฐ ก่อนหน้านี้ อินโดนีเซีย คือหนึ่งในประเทศที่ได้รับเงินสนับสนุนและการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติมาอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2566 มีเม็ดเงินลงทุนจากต่างชาติมากถึง 1.88 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 21% จากปีก่อนหน้า และมี GDP เติบโตเฉลี่ย 5% ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา เมื่อมีเม็ดเงินลงทุนเข้ามาอย่างต่อเนื่อง บวกกับเศรษฐกิจที่เติบโตดี มีฐานประชากรกว่า 281 ล้านคน คอยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ อีกทั้งรัฐบาลอินโดนีเซีย ดำเนินนโยบายแบบขาดดุลตลอด 10 ปีที่ผ่านมา ซึ่งอินโดนีเซียมีกรอบนโยบายขาดดุลงบประมาณราว -3% ต่อ GDP อย่างยาวนาน จนมาถึงยุคของ ประธานาธิบดีปราโบโว ซูเบียนโต ที่เพิ่งเข้ารับตำแหน่งในช่วงปลายปี 2567 ก็ยังคงเดินตามแบบแผนเดิม ๆ คือ การตั้งงบประมาณแบบขาดดุล พร้อมกับนโยบายประชานิยมหลากหลายอย่าง ที่เขาได้ประกาศใช้ ไม่ว่าจะเป็น - ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 6.5% สูงกว่าข้อเสนอของกระทรวงแรงงานที่เสนอไว้ 6% - อาหารกลางวันฟรี ให้กับประชาชนกว่า 83 ล้านคน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ เด็ก และสตรีมีครรภ์ ซึ่งคาดว่าจะใช้งบประมาณกว่า 950,000 ล้านบาทต่อปี - สั่งเบรกอัตราภาษี VAT ที่จะต้องปรับขึ้นเป็น 12% ในสินค้าทุกรายการ เป็นบังคับใช้เพียงสินค้าฟุ่มเฟือยเท่านั้น แน่นอนว่า การทำนโยบายประชานิยม ก็ยิ่งกดดันให้อินโดนีเซียต้องขาดดุลมากขึ้น และมีความเสี่ยงที่จะเลยกรอบ 3% ต่อ GDP ที่วางไว้ ซึ่งในปี 2568 รัฐบาลอินโดนีเซีย ตั้งเป้างบประมาณขาดดุลไว้ที่ 2.53% เพิ่มขึ้นจาก 2.29% ในปี 2567 แล้วภาพเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย เป็นอย่างไร ? สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP อินโดนีเซีย ในปี 2567 อยู่ที่ 39% ซึ่งถือว่าค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับชาติอื่น ๆ ในภูมิภาค เช่น ไทย ฟิลิปปินส์ หรือ มาเลเซีย แต่หากดูในภาพรวม จะพบว่า GDP ของอินโดนีเซีย กำลังเติบโตลดลงทีละน้อย จาก 5.31% ในปี 2565 เหลือ 5.03% ในปี 2567 ในขณะที่รายได้ของรัฐ เริ่มส่งสัญญาณโตไม่ทันรายจ่าย ทำให้ภาครัฐขาดดุลมากขึ้น ปี 2565 ขาดดุล 943,236 ล้านบาท ปี 2566 ขาดดุล 994,387 ล้านบาท ปี 2567 ขาดดุล 1,070,091 ล้านบาท เมื่อมีแนวโน้มขาดดุลงบประมาณมากขึ้น แต่การเติบโตของเศรษฐกิจกลับเริ่มอ่อนแรง การกู้เงินมาใช้จ่ายจึงเพิ่มขึ้น ซึ่งแม้แต่ประธานาธิบดีปราโบโวเอง ก็เคยบอกไว้ว่ามีแผนจะปรับระดับเพดานหนี้สาธารณะต่อ GDP อินโดนีเซีย ไปอยู่ในระดับ 50% ภายในเวลา 5 ปี นอกจากเรื่องการขาดดุลอย่างต่อเนื่องแล้ว ประธานาธิบดีคนนี้ ยังต้องการตั้งกองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติที่ชื่อว่า Danantara ที่คาดว่าจะมีมูลค่าทรัพย์สินภายใต้การจัดการกว่า 30 ล้านล้านบาท Danantara มีโมเดลคล้าย Temasek กองทุน ความมั่งคั่งแห่งชาติสิงคโปร์ ที่เน้นนำเงินของประเทศ ไปลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมถึง รัฐวิสาหกิจของอินโดนีเซีย กว่า 40 แห่ง ที่จะถูกรวมเข้ามาเป็นสินทรัพย์ภายใต้กองทุน เช่น - Pertamina บริษัทน้ำมันและก๊าซ - PLN บริษัทไฟฟ้า - Telkom Indonesia บริษัทโทรคมนาคม แต่ปัญหาคือ กองทุนนี้ต้องใช้เงินมหาศาลในการจัดตั้งกองทุน ซึ่งสิ่งที่รัฐบาลอินโดนีเซียทำ เป็นความเสี่ยงที่หลายคนกังวล เพราะรัฐบาลหาเงินมาทำกองทุนนี้ ด้วยการตัดงบประมาณบริการสาธารณะที่จำเป็น รวมถึงการลดเงินทุนสำหรับการศึกษาระดับประถมลง 24% และลดงบประมาณการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยลง 39% ลดค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพลง 19% และที่สำคัญคือ การลดโครงการสาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐานลง 73% เรียกได้ว่า กองทุนนี้มีเงินตั้งต้นจากการลดค่าใช้จ่าย ในเศรษฐกิจ ที่เป็นอนาคตสำคัญของประเทศ จากปัญหาหลักทั้ง 2 เรื่องนี้ นั่นก็คือ การขาดดุลงบประมาณ และการลดค่าใช้จ่ายที่สำคัญทางเศรษฐกิจ ก็ทำให้นักลงทุนต่างชาติเริ่มกังวลกับความอ่อนแอของเศรษฐกิจ และศักยภาพการเติบโตที่ยั่งยืนในระยะยาวของอินโดนีเซีย ส่งผลให้นักลงทุนเริ่มเทขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย จนดัชนีตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย (IDX Composite) ปรับตัวลงไปแล้ว -10% นับจากต้นปี (ยังดีกว่าดัชนี SET ของไทยที่ -14%) ซึ่งวันที่ 18 มีนาคมที่ผ่านมา ตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซียได้มีการประกาศหยุดซื้อขายหุ้นชั่วคราว หลังจากดัชนีหลักทรัพย์ร่วงไป -5% โดยแรงขายหุ้นจากนักลงทุนต่างชาติ ยังเป็นแรงกดดันให้ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซียอ่อนค่าลงอีกทาง ในที่สุด ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซียก็อ่อนค่าลงต่อเนื่อง จนตอนนี้อยู่ในระดับที่ต่ำสุด นับตั้งแต่วิกฤติต้มยำกุ้งในช่วงปี 2540 ไปแล้ว (ในขณะที่ค่าเงินบาทไทยยังห่างไกลจากช่วงวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่อ่อนค่าลงไปแตะ 55 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องบอกว่า เรื่องนี้ก็อาจเกิดขึ้นในระยะสั้นเท่านั้น หากความเชื่อมั่นของนักลงทุนกลับมา และความท้าทายทางเศรษฐกิจเริ่มคลี่คลาย แต่ถ้ารัฐบาลอินโดนีเซียภายใต้ผู้นำที่ชื่อว่า ปราโบโว ซูเบียนโต ยังทำแบบเดิม ๆ และความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติ ยังไม่ฟื้นคืน สุดท้าย ก็อาจทำให้ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซีย ร่วงหนักไปมากกว่านี้ก็ได้.. ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ รู้ไหมว่า กองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ Danantara ของอินโดนีเซีย มีคุณทักษิณ ชินวัตร เป็นที่ปรึกษาอีกด้วย ╔═══════════╗ ติดตามข่าวเศรษฐกิจแบบเน้น ๆ จากหลายเพจได้ใน Blockdit - คอนเทนต์แพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานเป็นประจำ 2 ล้านคน ลองใช้ฟรี blockdit.com/download ╚═══════════╝ ติดตามลงทุนแมนได้ที่ Website - longtunman.com Blockdit - blockdit.com/longtunman Facebook - facebook.com/longtunman Twitter - twitter.com/longtunman Instagram - instagram.com/longtunman YouTube - youtube.com/longtunman TikTok - tiktok.com/@longtunman Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงทุนแมน/id1543162829 Soundcloud - soundcloud.com/longtunman References -https://www.reuters.com/markets/currencies/indonesia-cbank-says-rupiah-weakness-reflects-global-domestic-factors-2025-03-25/?utm_source=chatgpt.com -https://www.bloomberg.com/news/articles/2025-03-26/indonesia-stock-market-why-are-investors-fleeing-what-role-has-prabowo-played -https://tradingeconomics.com/indonesia/indicators -https://www.bps.go.id/en/statistics-table/2/MTA4NSMy/actual-government-expenditures--finance-.html -https://asiatimes.com/2025/03/danantara-indonesias-ticking-financial-time-bomb
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 733 มุมมอง 0 รีวิว
  • เทคโนโลยีกับพระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและน่าสนใจ ทั้งในด้านการเสริมสร้างการปฏิบัติธรรมและการท้าทายต่อหลักคำสอนพื้นฐาน ต่อไปนี้เป็นแนวคิดหลักที่เชื่อมโยงทั้งสองประเด็น:

    ### 1. **เทคโนโลยีสนับสนุนการปฏิบัติธรรม**
    - **แอปพลิเคชันสมาธิและธรรมะ**: แอปเช่น *Insight Timer* หรือ *Headspace* ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงการนั่งสมาธิแบบมีคำแนะนำ บทสวดมนต์ และคำสอนทางพุทธศาสนาได้ง่ายขึ้น
    - **การเรียนรู้ทางไกล**: พุทธศาสนิกชนสามารถฟังธรรมจากพระอาจารย์ทั่วโลกผ่าน YouTube, Podcasts หรือเว็บไซต์ เช่น [DharmaSeed](https://www.dharmaseed.org)
    - **วัดเสมือนจริง**: ในยุคโควิด-19 หลายวัดจัดกิจกรรมทางศาสนาออนไลน์ เช่น การถ่ายทอดสดการบวชพระ หรือการปฏิบัติธรรมร่วมกันผ่าน Zoom

    ### 2. **การเผยแผ่ธรรมะในยุคดิจิทัล**
    - **โซเชียลมีเดีย**: พระสงฆ์หลายรูปใช้ Facebook หรือ TikTok แบ่งปันคำสอนสั้นๆ ที่เข้าถึงคนรุ่นใหม่
    - **ปัญญาประดิษฐ์ (AI)**: มีการพัฒนา AI ที่สามารถตอบคำถามธรรมะเบื้องต้น หรือแปลพระสูตรโบราณได้ แต่ยังเป็นที่ถกเถียงเรื่องความลึกซึ้งทางจิตวิญญาณ

    ### 3. **ความท้าทายต่อหลักพุทธธรรม**
    - **การเสพติดเทคโนโลยี**: การใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปขัดกับหลัก "สติ" และ "ความพอดี" ในทางพุทธ
    - **โลกเสมือนกับความจริง**: การใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลอาจทำให้หลงลืมการอยู่กับปัจจุบัน (หลักอริยสัจ 4)
    - **จริยธรรมทางเทคโนโลยี**: การพัฒนา AI หรือชีวเทคโนโลยีตั้งคำถามเชิงพุทธเกี่ยวกับ "กรรม" และ "เจตนา"

    ### 4. **พุทธธรรมกับการออกแบบเทคโนโลยี**
    - **เทคโนโลยีเชิงเมตตา**: หลัก "กรุณา" และ "มุทิตา" อาจ inspire การออกแบบเทคโนโลยีที่ลดการแบ่งแยกหรือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส
    - **Digital Detox**: แนวคิด "ความไม่ยึดมั่น" ส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีสติ ไม่ตกเป็นทาสของอุปกรณ์

    ### 5. **กรณีศึกษา**
    - **หุ่นยนต์สอนธรรมะ**: ในญี่ปุ่น มีการทดลองใช้หุ่นยนต์ Pepper อ่านพระสูตร แต่หลายคนเห็นว่าขาด "จิตวิญญาณแห่งการสั่งสอน"
    - **Blockchain กับวัด**: บางวัดใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพื่อความโปร่งใสในการบริจาค

    ### 6. **ทางสายกลางในยุคดิจิทัล**
    พระพุทธศาสนาเน้น "มัชฌิมาปฏิปทา" การใช้เทคโนโลยีจึงควรอยู่บนพื้นฐาน:
    - **สติ**: รู้ตัวว่ากำลังใช้เทคโนโลยีเพื่ออะไร
    - **วัตถุประสงค์เชิงกุศล**: นำไปสู่การลดทุกข์ ไม่ใช่เพิ่มตัณหา
    - **ความสัมพันธ์มนุษย์**: ไม่ให้เทคโนโลยีทำลายการสื่อสารแบบเห็นหน้า

    ### สรุป
    เทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่องมือ ไม่ใช่จุดหมายสุดท้าย การใช้อย่างชาญฉลาดภายใต้กรอบศีลธรรมทางพุทธศาสนาจะช่วยให้มนุษย์พัฒนาจิตใจควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางวัตถุ โดยไม่หลงลืมแก่นแท้แห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ ☸️💻
    เทคโนโลยีกับพระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและน่าสนใจ ทั้งในด้านการเสริมสร้างการปฏิบัติธรรมและการท้าทายต่อหลักคำสอนพื้นฐาน ต่อไปนี้เป็นแนวคิดหลักที่เชื่อมโยงทั้งสองประเด็น: ### 1. **เทคโนโลยีสนับสนุนการปฏิบัติธรรม** - **แอปพลิเคชันสมาธิและธรรมะ**: แอปเช่น *Insight Timer* หรือ *Headspace* ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงการนั่งสมาธิแบบมีคำแนะนำ บทสวดมนต์ และคำสอนทางพุทธศาสนาได้ง่ายขึ้น - **การเรียนรู้ทางไกล**: พุทธศาสนิกชนสามารถฟังธรรมจากพระอาจารย์ทั่วโลกผ่าน YouTube, Podcasts หรือเว็บไซต์ เช่น [DharmaSeed](https://www.dharmaseed.org) - **วัดเสมือนจริง**: ในยุคโควิด-19 หลายวัดจัดกิจกรรมทางศาสนาออนไลน์ เช่น การถ่ายทอดสดการบวชพระ หรือการปฏิบัติธรรมร่วมกันผ่าน Zoom ### 2. **การเผยแผ่ธรรมะในยุคดิจิทัล** - **โซเชียลมีเดีย**: พระสงฆ์หลายรูปใช้ Facebook หรือ TikTok แบ่งปันคำสอนสั้นๆ ที่เข้าถึงคนรุ่นใหม่ - **ปัญญาประดิษฐ์ (AI)**: มีการพัฒนา AI ที่สามารถตอบคำถามธรรมะเบื้องต้น หรือแปลพระสูตรโบราณได้ แต่ยังเป็นที่ถกเถียงเรื่องความลึกซึ้งทางจิตวิญญาณ ### 3. **ความท้าทายต่อหลักพุทธธรรม** - **การเสพติดเทคโนโลยี**: การใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปขัดกับหลัก "สติ" และ "ความพอดี" ในทางพุทธ - **โลกเสมือนกับความจริง**: การใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลอาจทำให้หลงลืมการอยู่กับปัจจุบัน (หลักอริยสัจ 4) - **จริยธรรมทางเทคโนโลยี**: การพัฒนา AI หรือชีวเทคโนโลยีตั้งคำถามเชิงพุทธเกี่ยวกับ "กรรม" และ "เจตนา" ### 4. **พุทธธรรมกับการออกแบบเทคโนโลยี** - **เทคโนโลยีเชิงเมตตา**: หลัก "กรุณา" และ "มุทิตา" อาจ inspire การออกแบบเทคโนโลยีที่ลดการแบ่งแยกหรือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส - **Digital Detox**: แนวคิด "ความไม่ยึดมั่น" ส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีสติ ไม่ตกเป็นทาสของอุปกรณ์ ### 5. **กรณีศึกษา** - **หุ่นยนต์สอนธรรมะ**: ในญี่ปุ่น มีการทดลองใช้หุ่นยนต์ Pepper อ่านพระสูตร แต่หลายคนเห็นว่าขาด "จิตวิญญาณแห่งการสั่งสอน" - **Blockchain กับวัด**: บางวัดใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพื่อความโปร่งใสในการบริจาค ### 6. **ทางสายกลางในยุคดิจิทัล** พระพุทธศาสนาเน้น "มัชฌิมาปฏิปทา" การใช้เทคโนโลยีจึงควรอยู่บนพื้นฐาน: - **สติ**: รู้ตัวว่ากำลังใช้เทคโนโลยีเพื่ออะไร - **วัตถุประสงค์เชิงกุศล**: นำไปสู่การลดทุกข์ ไม่ใช่เพิ่มตัณหา - **ความสัมพันธ์มนุษย์**: ไม่ให้เทคโนโลยีทำลายการสื่อสารแบบเห็นหน้า ### สรุป เทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่องมือ ไม่ใช่จุดหมายสุดท้าย การใช้อย่างชาญฉลาดภายใต้กรอบศีลธรรมทางพุทธศาสนาจะช่วยให้มนุษย์พัฒนาจิตใจควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางวัตถุ โดยไม่หลงลืมแก่นแท้แห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ ☸️💻
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 766 มุมมอง 0 รีวิว
  • ดร ซาบีน ฮาซาน เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อและเขียนแผนรูปแบบในการศึกษาวิจัยยาให้บริษัทยาหลาย 100 ชิ้น ในช่วง30 ปีโดยได้ศึกษาเป็นพิเศษในเรื่องของไมโครไบโอม หรือจุลชีพ ในลำไส้ ในช่วงโควิด ได้พบไวรัสโควิดในอุจจาระและผลกระทบต่างๆ รวมทั้งได้เสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ ยา ไฮดร็อกซี่คลอโรควิน (hydroxychloroquine) และ Ivermectin ยาฆ่าพยาธิ สังกะสีและวิตามิน ซี และดี ในการรักษาโควิด แต่ได้ถูกตีตก ถูกเซ็นเซอร์และถูกต่อต้านอย่างรุนแรง ทั้งๆ ที่ผลการศึกษาและการใช้ในแพทย์ ที่ดูคนไข้จริงได้ผล
    และเมื่อไม่นานมานี้ได้ให้การต่อสภาคองเกรสของสหรัฐ ในเรื่องการแทรกแซงทางวิทยาศาสตร์ เสรีภาพในการแสดงความเห็น และการเปิดเผยข้อมูล โดยเฉพาะที่เกิดจากบริษัทยา
    ประการ สำคัญที่นักวิทยาศาสตร์ท่านนี้ต้องการคือความเป็นจริงรอบด้านไม่ใช่เป็นการให้ข้อมูลส่วนเดียวเพื่อประโยชน์ของทางธุรกิจ
    และความจริงของทางด้านวิทยาศาสตร์นั้นเป็นความจริงหนึ่งเดียวเท่านั้น และต้องไม่มีการเซ็นเซอร์ข่าวสารข้อมูลบิดเบือนและป้ายร้าย



    "Keeping it Real with Jillian Michaels" https://podcasts.apple...

    https://youtu.be/jwqLlwXl-RQ?si=6PmFUkd6ioWXXUjr
    ดร ซาบีน ฮาซาน เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อและเขียนแผนรูปแบบในการศึกษาวิจัยยาให้บริษัทยาหลาย 100 ชิ้น ในช่วง30 ปีโดยได้ศึกษาเป็นพิเศษในเรื่องของไมโครไบโอม หรือจุลชีพ ในลำไส้ ในช่วงโควิด ได้พบไวรัสโควิดในอุจจาระและผลกระทบต่างๆ รวมทั้งได้เสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ ยา ไฮดร็อกซี่คลอโรควิน (hydroxychloroquine) และ Ivermectin ยาฆ่าพยาธิ สังกะสีและวิตามิน ซี และดี ในการรักษาโควิด แต่ได้ถูกตีตก ถูกเซ็นเซอร์และถูกต่อต้านอย่างรุนแรง ทั้งๆ ที่ผลการศึกษาและการใช้ในแพทย์ ที่ดูคนไข้จริงได้ผล และเมื่อไม่นานมานี้ได้ให้การต่อสภาคองเกรสของสหรัฐ ในเรื่องการแทรกแซงทางวิทยาศาสตร์ เสรีภาพในการแสดงความเห็น และการเปิดเผยข้อมูล โดยเฉพาะที่เกิดจากบริษัทยา ประการ สำคัญที่นักวิทยาศาสตร์ท่านนี้ต้องการคือความเป็นจริงรอบด้านไม่ใช่เป็นการให้ข้อมูลส่วนเดียวเพื่อประโยชน์ของทางธุรกิจ และความจริงของทางด้านวิทยาศาสตร์นั้นเป็นความจริงหนึ่งเดียวเท่านั้น และต้องไม่มีการเซ็นเซอร์ข่าวสารข้อมูลบิดเบือนและป้ายร้าย "Keeping it Real with Jillian Michaels" https://podcasts.apple... https://youtu.be/jwqLlwXl-RQ?si=6PmFUkd6ioWXXUjr
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1071 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันอาทิตย์ > ย้อนหลัง #SondhiTalk #GPodcasts 😁
    วันอาทิตย์ > ย้อนหลัง #SondhiTalk #GPodcasts 😁
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 480 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฟัง #Podcasts ไปด้วย ไถฟีด #Thaitimes ไปด้วย ป๋า #Sondhi ฟินๆ ไป
    ฟัง #Podcasts ไปด้วย ไถฟีด #Thaitimes ไปด้วย ป๋า #Sondhi ฟินๆ ไป
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 499 มุมมอง 0 รีวิว