• ภูมิใจไทย เฮสองต่อ
    ศาลรธน.สั่งนายกฯ หยุดปฏิบัติหน้าที่
    ศาลฯไม่รับคำร้องยุบพรรคภูมิใจไทยจากฮั้วสว.
    #7ดอกจิก
    ภูมิใจไทย เฮสองต่อ ศาลรธน.สั่งนายกฯ หยุดปฏิบัติหน้าที่ ศาลฯไม่รับคำร้องยุบพรรคภูมิใจไทยจากฮั้วสว. #7ดอกจิก
    0 Comments 0 Shares 127 Views 0 Reviews
  • ศาลรธน.ตีตกคำร้องสว.สำรอง ขอสอบปม 92 สว.ยื่น ป.ป.ช.สอบ "ทวี-ภูมิธรรม" เหตุไม่เข้าหลักเกณฑ์ พร้อมไม่รับคำร้องอดีตผู้สมัคร สว.ขอสั่งให้การเลือกเป็นโมฆะ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000044970

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ศาลรธน.ตีตกคำร้องสว.สำรอง ขอสอบปม 92 สว.ยื่น ป.ป.ช.สอบ "ทวี-ภูมิธรรม" เหตุไม่เข้าหลักเกณฑ์ พร้อมไม่รับคำร้องอดีตผู้สมัคร สว.ขอสั่งให้การเลือกเป็นโมฆะ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000044970 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    2
    0 Comments 0 Shares 445 Views 0 Reviews
  • ศาลรธน.ตีตกคำร้องสว.สำรอง ขอสอบปม 92 สว.ยื่น ป.ป.ช.สอบ "ทวี-ภูมิธรรม" เหตุไม่เข้าหลักเกณฑ์ พร้อมไม่รับคำร้องอดีตผู้สมัคร สว.ขอสั่งให้การเลือกเป็นโมฆะ

    วันนี้ (14พ.ค.) ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเป็นเอกฉันท์สั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาใน 2 คดีที่เกี่ยวกับการร้องเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา (สว.)คือคดีที่ พล.ต.ท คำรบ ปัญญาแก้ว และคณะสว.สำรอง ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 82 ว่า พล.ต.ต.ฉัตรวรรษ แสงเพชร และสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 92 คน ผู้ถูกร้อง ได้ร่วมกันลงลายมือชื่อ และยื่นหนังสือต่อประธานรัฐสภาขอให้ส่งคำร้องไปยังคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เพื่อขอให้พิจารณาไต่สวนและดำเนินการกับพ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และพ.ต.ต.ยุทธนา แพรดำ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) จากเหตุเสนอเรื่องการขออนุมัติให้การดำเนินคดีความผิดฐานอั้งยี่ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเลือกสมาชิกวุฒิสภาเป็นสิทธิพิเศษ อีกทั้งการเสนอเรื่องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของนายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี และรมว.กลาโหม และพ.ต.อ.ทวี สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญมาตรา 170 วรรคหนึ่ง (4) ประกอบมาตรา 160 (4) และ (5) หรือไม่ เนื่องจากเป็นการใช้สถานะหรือตำแหน่งของการเป็นสมาชิกวุฒิสภากระทำการอันมีลักษณะต้องห้ามเป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อประโยชน์ของตนเองในการปฏิบัติราชการหรือดำเนินการในหน้าที่ประจำของข้าราชการหรือของหน่วยงานราชการ ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 185 (1)

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000044970

    #MGROnline #ทวี #ภูมิธรรม #สมาชิกวุฒิสภา
    ศาลรธน.ตีตกคำร้องสว.สำรอง ขอสอบปม 92 สว.ยื่น ป.ป.ช.สอบ "ทวี-ภูมิธรรม" เหตุไม่เข้าหลักเกณฑ์ พร้อมไม่รับคำร้องอดีตผู้สมัคร สว.ขอสั่งให้การเลือกเป็นโมฆะ • วันนี้ (14พ.ค.) ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเป็นเอกฉันท์สั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาใน 2 คดีที่เกี่ยวกับการร้องเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา (สว.)คือคดีที่ พล.ต.ท คำรบ ปัญญาแก้ว และคณะสว.สำรอง ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญมาตรา 82 ว่า พล.ต.ต.ฉัตรวรรษ แสงเพชร และสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 92 คน ผู้ถูกร้อง ได้ร่วมกันลงลายมือชื่อ และยื่นหนังสือต่อประธานรัฐสภาขอให้ส่งคำร้องไปยังคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เพื่อขอให้พิจารณาไต่สวนและดำเนินการกับพ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และพ.ต.ต.ยุทธนา แพรดำ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) จากเหตุเสนอเรื่องการขออนุมัติให้การดำเนินคดีความผิดฐานอั้งยี่ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเลือกสมาชิกวุฒิสภาเป็นสิทธิพิเศษ อีกทั้งการเสนอเรื่องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรีของนายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี และรมว.กลาโหม และพ.ต.อ.ทวี สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญมาตรา 170 วรรคหนึ่ง (4) ประกอบมาตรา 160 (4) และ (5) หรือไม่ เนื่องจากเป็นการใช้สถานะหรือตำแหน่งของการเป็นสมาชิกวุฒิสภากระทำการอันมีลักษณะต้องห้ามเป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อประโยชน์ของตนเองในการปฏิบัติราชการหรือดำเนินการในหน้าที่ประจำของข้าราชการหรือของหน่วยงานราชการ ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 185 (1) • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/politics/detail/9680000044970 • #MGROnline #ทวี #ภูมิธรรม #สมาชิกวุฒิสภา
    0 Comments 0 Shares 464 Views 0 Reviews
  • ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับคำร้อง วิโรจน์ นวลแข อดีตผู้บริหารธนาคารกรุงไทย ร้อง อัยการสูงสุด ฟ้องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คดีปล่อยกู้เครือกฤษฎามหานคร ระบุ คำพิพากษา-คำสั่งถึงที่สุดแล้ว ขณะที่ วิรุฬห์ แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถอนตัว เหตุ เกี่ยวข้องกับคดีที่ขอให้วินิจฉัยนั้นมาก่อนสำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) รายงานว่า วันที่ 30 เมษายน 2568 ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการประชุมปรึกษาคดีที่สำคัญและเป็นที่น่าสนใจ เรื่องพิจารณาที่ ต. 35/2568 กรณีนายวิโรจน์ นวลแข อดีตกรรมการผู้จัดการธนาคารกรุงไทย ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 ว่า สำนักงานอัยการสูงสุด (อสส.) ผู้ถูกร้อง ฟ้องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในคดีที่ธนาคารกรุงไทยปล่อยกู้ให้กับเครือกฤษฎามหานคร เป็นการถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ โดยศาลรัฐธรรมนูญได้พิจารณาก่อนที่จะมีมติเป็นเอกฉันท์มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย โดยสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ เผยแพร่รายละเอียดผ่านเอกสารข่าวสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ข่าวที่ 12/2568 ดังนี้นายวิโรจน์ นวลแข ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 ว่า สำนักงานอัยการสูงสุด ผู้ถูกร้อง ฟ้องผู้ร้องกับพวกรวม 27 คน เป็นจำเลยต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และศาลพิพากษาว่าผู้ร้องมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 4 และมาตรา 8 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 313 ประกอบมาตรา 307 และมาตรา 308 และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 353 ประกอบมาตรา 354แต่ภายหลังศาลพิพากษายกฟ้องจำเลยที่ 1 ผู้ร้องเห็นว่า เมื่อศาลยกฟ้องจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนักการเมืองเพียงคนเดียวในคดีแล้ว ผู้ร้องจึงไม่อาจถูกดำเนินคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การที่ผู้ถูกร้องทำให้ผู้ร้องต้องตกอยู่ในการพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ซึ่งเป็นกระบวนการพิจารณาค้นหาความจริงที่แตกต่างจากการพิจารณาแบบทั่วไปและถูกพิพากษาให้มีความผิด จึงเป็นกรณีที่ผู้ร้องละเมิดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 3 วรรคสอง มาตรา 5 วรรคหนึ่ง มาตรา 27 มาตรา 29 มาตรา 188 วรรคหนึ่ง และมาตรา 195 วรรคสอง ข้ดต่อกฎหมายและหลักนิติธรรม ทำให้ผู้ร้องได้รับความเสียหายนอกจากนี้ ผู้ร้องกล่าวอ้างด้วยว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 5 และมาตรา 27 ทำให้ผู้ร้องถูกละเมิดจากการกระทำของผู้ถูกร้องผลการพิจารณานายวิรุฬห์ แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ขอถอนตัวจากการพิจารณาคดีนี้ เนื่องจากเคยเป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการในศาลอื่นซึ่งเคยพิจารณาวินิจฉัยในคดีหรือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ขอให้วินิจฉัยนั้นมาก่อน และที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอนุญาตศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาโดยการอภิปรายแล้วเห็นว่า ข้อเท็จจริงตามคำร้องและเอกสารประกอบคำร้องเป็นเรื่องที่ศาลอื่นมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดแล้วตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561มาตรา 47 (4) ซึ่งมาตรา 46 วรรคสาม บัญญัติให้ศาลรัฐธธรรมนูญสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณา ดังนั้น ผู้ร้องไม่อาจยื่นคำร้องดังกล่าวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213ส่วนที่ผู้ร้องกล่าวอ้างว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 27 นั้น เป็นการยื่นคำร้องขอให้ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้สิทธิไว้เป็นการเฉพาะแล้วตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 212 และมาตรา 231 (1) กรณีไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 48 ประกอบมาตรา 47 (2) ซึ่งมาตรา 46 วรรคสาม บัญญัติให้ศาลรัฐธรรมนูสังไม่รับคำร้องไว้พิจารมา ดังนั้น ผู้ร้องไม่อาจอื่นคำร้องดังกล่าวตามรัฐรรมนูมาตรา
    ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับคำร้อง วิโรจน์ นวลแข อดีตผู้บริหารธนาคารกรุงไทย ร้อง อัยการสูงสุด ฟ้องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คดีปล่อยกู้เครือกฤษฎามหานคร ระบุ คำพิพากษา-คำสั่งถึงที่สุดแล้ว ขณะที่ วิรุฬห์ แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถอนตัว เหตุ เกี่ยวข้องกับคดีที่ขอให้วินิจฉัยนั้นมาก่อนสำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) รายงานว่า วันที่ 30 เมษายน 2568 ศาลรัฐธรรมนูญได้มีการประชุมปรึกษาคดีที่สำคัญและเป็นที่น่าสนใจ เรื่องพิจารณาที่ ต. 35/2568 กรณีนายวิโรจน์ นวลแข อดีตกรรมการผู้จัดการธนาคารกรุงไทย ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 ว่า สำนักงานอัยการสูงสุด (อสส.) ผู้ถูกร้อง ฟ้องศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในคดีที่ธนาคารกรุงไทยปล่อยกู้ให้กับเครือกฤษฎามหานคร เป็นการถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ โดยศาลรัฐธรรมนูญได้พิจารณาก่อนที่จะมีมติเป็นเอกฉันท์มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย โดยสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ เผยแพร่รายละเอียดผ่านเอกสารข่าวสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ข่าวที่ 12/2568 ดังนี้นายวิโรจน์ นวลแข ผู้ร้อง ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213 ว่า สำนักงานอัยการสูงสุด ผู้ถูกร้อง ฟ้องผู้ร้องกับพวกรวม 27 คน เป็นจำเลยต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และศาลพิพากษาว่าผู้ร้องมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 4 และมาตรา 8 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 313 ประกอบมาตรา 307 และมาตรา 308 และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 353 ประกอบมาตรา 354แต่ภายหลังศาลพิพากษายกฟ้องจำเลยที่ 1 ผู้ร้องเห็นว่า เมื่อศาลยกฟ้องจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนักการเมืองเพียงคนเดียวในคดีแล้ว ผู้ร้องจึงไม่อาจถูกดำเนินคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การที่ผู้ถูกร้องทำให้ผู้ร้องต้องตกอยู่ในการพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ซึ่งเป็นกระบวนการพิจารณาค้นหาความจริงที่แตกต่างจากการพิจารณาแบบทั่วไปและถูกพิพากษาให้มีความผิด จึงเป็นกรณีที่ผู้ร้องละเมิดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 3 วรรคสอง มาตรา 5 วรรคหนึ่ง มาตรา 27 มาตรา 29 มาตรา 188 วรรคหนึ่ง และมาตรา 195 วรรคสอง ข้ดต่อกฎหมายและหลักนิติธรรม ทำให้ผู้ร้องได้รับความเสียหายนอกจากนี้ ผู้ร้องกล่าวอ้างด้วยว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 5 และมาตรา 27 ทำให้ผู้ร้องถูกละเมิดจากการกระทำของผู้ถูกร้องผลการพิจารณานายวิรุฬห์ แสงเทียน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ขอถอนตัวจากการพิจารณาคดีนี้ เนื่องจากเคยเป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการในศาลอื่นซึ่งเคยพิจารณาวินิจฉัยในคดีหรือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ขอให้วินิจฉัยนั้นมาก่อน และที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอนุญาตศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาโดยการอภิปรายแล้วเห็นว่า ข้อเท็จจริงตามคำร้องและเอกสารประกอบคำร้องเป็นเรื่องที่ศาลอื่นมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดแล้วตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561มาตรา 47 (4) ซึ่งมาตรา 46 วรรคสาม บัญญัติให้ศาลรัฐธธรรมนูญสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณา ดังนั้น ผู้ร้องไม่อาจยื่นคำร้องดังกล่าวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 213ส่วนที่ผู้ร้องกล่าวอ้างว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 27 นั้น เป็นการยื่นคำร้องขอให้ตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้สิทธิไว้เป็นการเฉพาะแล้วตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 212 และมาตรา 231 (1) กรณีไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 มาตรา 48 ประกอบมาตรา 47 (2) ซึ่งมาตรา 46 วรรคสาม บัญญัติให้ศาลรัฐธรรมนูสังไม่รับคำร้องไว้พิจารมา ดังนั้น ผู้ร้องไม่อาจอื่นคำร้องดังกล่าวตามรัฐรรมนูมาตรา
    0 Comments 0 Shares 520 Views 0 Reviews
  • ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ยกคำร้อง “ชาญชัย” ให้ไต่สวนกรณีส่ง “ทักษิณ” ไปรักษาตัวชั้น 14 รพ.ตำรวจ ผิดขั้นตอนกฎหมายหรือไม่ ชี้ผู้ร้องไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อความปรากฏว่าการบังคับโทษอาจไม่ถูกต้อง ศาลฯ จึงแจ้งให้จำเลยและราชทัณฑ์ชี้แจงใน 30 วัน และนัดโจทก์-จำเลยไต่สวนวันที่ 13 มิ.ย.นี้

    วันนี้(30 เม.ย.) เวลา 13.00 น.ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ เพื่อฟังคำสั่งตามคำร้องที่นายชาญชัยได้ยื่นต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2568 เพื่อขอให้ไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งต้องคำพิพากษาจำคุก 8 ปีในคดีทุจริต ก่อนได้รับพระราชทานอภัยโทษลดโทษเหลือ 1 ปี ได้ออกจากเรือนจำไปเข้ารับการรักษาตัวที่ห้องวีไอพี ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ เมื่อกลางดึกของคืนวันที่ 22 สิงหาคม 2566 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล ซึ่งนายชาญชัยเห็นว่าการกระทำดังกล่าวอาจขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89, 89/2(1) (2) และมาตรา 246 และไม่อาจอ้างกฎกระทรวงเรื่องการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจำ พ.ศ.2563 ลงวันที่ 25 ก.ย.2563 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 55 วรรคสอง แห่ง พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

    ล่าสุดมีรายงานว่า ศาลฯ ได้ยกคำร้อง เนื่องจากเห็นว่านายชาญชัย ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง

    อย่างไรก็ตาม นายชาญชัย เปิดเผยหลังจากฟังคำสั่งศาลฯ ว่า ศาลฯ เห็นว่าตนไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง จึงไม่อาจรับไว้เป็นคดีได้ แต่ได้สั่งให้เรือนจำและเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ ให้ชี้แจงว่าการลงโทษจำคุกจำเลย เป็นไปโดยถูกต้องหรือไม่ โดยให้ชี้แจงภายใน 30 วัน นอกจากนี้ได้นัดพร้อมโจทก์และจำเลยคือนายทักษิณ ทำการไต่สวนในวันที่ 13 มิ.ย.นี้

    จึงเท่ากับว่าคดีนี้แม้ศาลฯ จะไม่รับคำร้องของนายชาญชัย แต่เมื่อมีความปรากฏต่อศาลว่า การบังคับโทษอาจไม่เป็นไปตามกฎหมาย ศาลฎีกาฯ จึงจะดำเนินการเรื่องนี้เอง

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040492

    #MGROnline #ทักษิณ
    ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ยกคำร้อง “ชาญชัย” ให้ไต่สวนกรณีส่ง “ทักษิณ” ไปรักษาตัวชั้น 14 รพ.ตำรวจ ผิดขั้นตอนกฎหมายหรือไม่ ชี้ผู้ร้องไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อความปรากฏว่าการบังคับโทษอาจไม่ถูกต้อง ศาลฯ จึงแจ้งให้จำเลยและราชทัณฑ์ชี้แจงใน 30 วัน และนัดโจทก์-จำเลยไต่สวนวันที่ 13 มิ.ย.นี้ • วันนี้(30 เม.ย.) เวลา 13.00 น.ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนัดนายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ อดีต สส.พรรคประชาธิปัตย์ เพื่อฟังคำสั่งตามคำร้องที่นายชาญชัยได้ยื่นต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2568 เพื่อขอให้ไต่สวนกรณีที่กรมราชทัณฑ์อนุญาตให้นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งต้องคำพิพากษาจำคุก 8 ปีในคดีทุจริต ก่อนได้รับพระราชทานอภัยโทษลดโทษเหลือ 1 ปี ได้ออกจากเรือนจำไปเข้ารับการรักษาตัวที่ห้องวีไอพี ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ เมื่อกลางดึกของคืนวันที่ 22 สิงหาคม 2566 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาล ซึ่งนายชาญชัยเห็นว่าการกระทำดังกล่าวอาจขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89, 89/2(1) (2) และมาตรา 246 และไม่อาจอ้างกฎกระทรวงเรื่องการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจำ พ.ศ.2563 ลงวันที่ 25 ก.ย.2563 ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 55 วรรคสอง แห่ง พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 เพราะขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา • ล่าสุดมีรายงานว่า ศาลฯ ได้ยกคำร้อง เนื่องจากเห็นว่านายชาญชัย ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง • อย่างไรก็ตาม นายชาญชัย เปิดเผยหลังจากฟังคำสั่งศาลฯ ว่า ศาลฯ เห็นว่าตนไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง จึงไม่อาจรับไว้เป็นคดีได้ แต่ได้สั่งให้เรือนจำและเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ นายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลตำรวจ ให้ชี้แจงว่าการลงโทษจำคุกจำเลย เป็นไปโดยถูกต้องหรือไม่ โดยให้ชี้แจงภายใน 30 วัน นอกจากนี้ได้นัดพร้อมโจทก์และจำเลยคือนายทักษิณ ทำการไต่สวนในวันที่ 13 มิ.ย.นี้ • จึงเท่ากับว่าคดีนี้แม้ศาลฯ จะไม่รับคำร้องของนายชาญชัย แต่เมื่อมีความปรากฏต่อศาลว่า การบังคับโทษอาจไม่เป็นไปตามกฎหมาย ศาลฎีกาฯ จึงจะดำเนินการเรื่องนี้เอง • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/politics/detail/9680000040492 • #MGROnline #ทักษิณ
    Like
    2
    0 Comments 1 Shares 602 Views 0 Reviews
  • มติศาลรัฐธรรมนูญ8:1ไม่รับคำร้องยื่นตีความ"ซื่อสัตย์สุจริต" ในการเสนอชื่อบุคคลเป็นรัฐมนตรี ชี้เป็นอำนาจตรงนายกฯ
    https://www.thai-tai.tv/news/17614/
    มติศาลรัฐธรรมนูญ8:1ไม่รับคำร้องยื่นตีความ"ซื่อสัตย์สุจริต" ในการเสนอชื่อบุคคลเป็นรัฐมนตรี ชี้เป็นอำนาจตรงนายกฯ https://www.thai-tai.tv/news/17614/
    0 Comments 0 Shares 210 Views 0 Reviews
  • สัญญาณบวก คำร้องยุบ 'เพื่อไทย' เหลือ 6 เรื่องจากครึ่งร้อย
    .
    พรรคเพื่อไทยเวลานี้อาจจะไม่ได้อยู่ช่วงขาขึ้นในทางการเมืองอย่างสุดขีดแต่มุมหนึ่งก็มีแอบมีข่าวดีอยู่บ้างในเรื่องคดีความ โดยก่อนหน้านี้ศาลรัฐธรรมนูญยกคำร้องกรณีถูกกล่าวหาล้มล้างการปกครอง มาจนถึงล่าสุดสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. ได้ออกมาเปิดเผยว่าพรรคเพื่อไทยเหลือคำร้องยุบพรรคในระหว่างการพิจารณาของกกต. จำนวน 6 เรื่องเท่านั้น
    .
    นายแสวง บุญมี เลขาธิการกกต. เปิดเผยว่า ที่ผ่านมามีผู้ยื่นคำร้องยุบพรรคการเมืองทั้งหมด 160 คำร้อง พรรคเพื่อไทยมีคำร้องมากที่สุด จำนวน 53 คำร้อง พรรคประชาชน 3 คำร้อง โดยพรรคเพื่อไทยขณะนี้ตนได้พิจารณาจนเหลือ 6 คำร้อง ในส่วนที่เหลือ 47 คำร้อง สั่งให้ยุติการสอบสวน เพราะบางรายมีอะไรก็ยื่นร้อง บางคนก็ยื่นมาถาม อีกทั้งเรื่องของการล้มล้างการปกครอง ที่ก่อนหน้านี้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งไม่รับคำร้องนั้น ทำให้ไม่มีผลผูกพันถึง กกต.
    .
    นายแสวง ระบุว่า คำร้องครอบงำพรรคการเมือง ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมพยานหลักฐาน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ร้องและผู้ร้องได้แสดงพยานหลักฐาน. อย่างไรก็ตามคณะกรรมการสอบสวนคำร้องยุบพรรค ได้ขอขยายเวลาออกไป เนื่องด้วยมีคำร้องที่เกี่ยวโยงถึง 6 พรรคการเมือง
    .
    "ยืนยันไม่ได้มีการเข้าไปแทรกแซงในเรื่องระยะเวลาการหาพยานหลักฐาน แต่ก็กำชับให้เร่งมือ บางครั้งช้าเกินไปก็ไม่ดี โดยมั่นใจว่าในสำนวน คณะกรรมการสอบสวนจะทราบขอบเขต และโอกาสที่จะให้กับฝ่ายไหน เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่าย" เลขากกต. ระบุ
    ..............
    Sondhi X
    สัญญาณบวก คำร้องยุบ 'เพื่อไทย' เหลือ 6 เรื่องจากครึ่งร้อย . พรรคเพื่อไทยเวลานี้อาจจะไม่ได้อยู่ช่วงขาขึ้นในทางการเมืองอย่างสุดขีดแต่มุมหนึ่งก็มีแอบมีข่าวดีอยู่บ้างในเรื่องคดีความ โดยก่อนหน้านี้ศาลรัฐธรรมนูญยกคำร้องกรณีถูกกล่าวหาล้มล้างการปกครอง มาจนถึงล่าสุดสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. ได้ออกมาเปิดเผยว่าพรรคเพื่อไทยเหลือคำร้องยุบพรรคในระหว่างการพิจารณาของกกต. จำนวน 6 เรื่องเท่านั้น . นายแสวง บุญมี เลขาธิการกกต. เปิดเผยว่า ที่ผ่านมามีผู้ยื่นคำร้องยุบพรรคการเมืองทั้งหมด 160 คำร้อง พรรคเพื่อไทยมีคำร้องมากที่สุด จำนวน 53 คำร้อง พรรคประชาชน 3 คำร้อง โดยพรรคเพื่อไทยขณะนี้ตนได้พิจารณาจนเหลือ 6 คำร้อง ในส่วนที่เหลือ 47 คำร้อง สั่งให้ยุติการสอบสวน เพราะบางรายมีอะไรก็ยื่นร้อง บางคนก็ยื่นมาถาม อีกทั้งเรื่องของการล้มล้างการปกครอง ที่ก่อนหน้านี้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งไม่รับคำร้องนั้น ทำให้ไม่มีผลผูกพันถึง กกต. . นายแสวง ระบุว่า คำร้องครอบงำพรรคการเมือง ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมพยานหลักฐาน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ร้องและผู้ร้องได้แสดงพยานหลักฐาน. อย่างไรก็ตามคณะกรรมการสอบสวนคำร้องยุบพรรค ได้ขอขยายเวลาออกไป เนื่องด้วยมีคำร้องที่เกี่ยวโยงถึง 6 พรรคการเมือง . "ยืนยันไม่ได้มีการเข้าไปแทรกแซงในเรื่องระยะเวลาการหาพยานหลักฐาน แต่ก็กำชับให้เร่งมือ บางครั้งช้าเกินไปก็ไม่ดี โดยมั่นใจว่าในสำนวน คณะกรรมการสอบสวนจะทราบขอบเขต และโอกาสที่จะให้กับฝ่ายไหน เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่าย" เลขากกต. ระบุ .............. Sondhi X
    Like
    2
    1 Comments 0 Shares 1057 Views 0 Reviews
  • “เลขาฯ แสวง” ยันคดี “ทักษิณ-เพื่อไทย” ล้มล้างการปกครองฯ ที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้องไม่เกี่ยวกับ กกต. ที่ยังเดินหน้าตรวจสอบต่อ ชี้พิจารณาตามกฎหมายคนละฉบับ แม้มูลเหตุและข้อเท็จจริงเดียวกัน ศาลฯ ว่าตาม รธน.มาตรา 49 แต่ กกต.ดูว่าผิดกฎหมายพรรคการเมืองหรือไม่

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000112703

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “เลขาฯ แสวง” ยันคดี “ทักษิณ-เพื่อไทย” ล้มล้างการปกครองฯ ที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้องไม่เกี่ยวกับ กกต. ที่ยังเดินหน้าตรวจสอบต่อ ชี้พิจารณาตามกฎหมายคนละฉบับ แม้มูลเหตุและข้อเท็จจริงเดียวกัน ศาลฯ ว่าตาม รธน.มาตรา 49 แต่ กกต.ดูว่าผิดกฎหมายพรรคการเมืองหรือไม่ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000112703 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Sad
    14
    0 Comments 0 Shares 2812 Views 0 Reviews
  • "ชูศักดิ์" แย้ม ฝ่ายกฎหมายเพื่อไทยถกเตรียมเช็คนักร้องหลังศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้อง ปม "ทักษิณ-พท." เข้าข่ายล้มล้างการปกครอง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000112414

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    "ชูศักดิ์" แย้ม ฝ่ายกฎหมายเพื่อไทยถกเตรียมเช็คนักร้องหลังศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้อง ปม "ทักษิณ-พท." เข้าข่ายล้มล้างการปกครอง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000112414 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    4
    0 Comments 0 Shares 1741 Views 0 Reviews
  • ศาลไม่รับคดีล้มล้าง ขาดหลักฐานชัดเจน จับตาคดีในมือ กกต.-ปปช.
    .
    ที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีมติยกคำร้องของนายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 กล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 1) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อพิจารณารับหรือไม่รับคำร้องนี้ไว้วินิจฉัย
    .
    สำหรับคำร้องที่นายธีรยุทธยื่นมี 6 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่นายทักษิณ ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษจำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต
    .
    ประเด็นที่ 2 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตยทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา
    .
    ประเด็นที่ 3 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิม ที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
    .
    ประเด็นที่ 4 นายทักษิณสั่งการแทนพรรคเพื่อไทย โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของนายทักษิณ
    .
    ประเด็นที่ 5 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยมีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล
    .
    ประเด็นที่ 6 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยนำนโยบายของนายทักษิณที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา
    .
    ทั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเห็นว่า คดีนี้แม้ผู้ร้องจะใช้สิทธิยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดแล้วและอัยการสูงสุดไม่ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ อันทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ก็ตาม แต่การพิจารณาว่า บุคคลใดจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงชัดเจนเพียงพอที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งหมาย และความประสงค์ระดับที่วิญญูชนคาดเห็นได้ว่าน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยการกระทำนั้นจะต้องกำลังดำเนินอยู่และไม่ห่างไกลเกินกว่าเหตุ
    .
    ข้อกล่าวอ้างในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ดังนั้น กรณีไม่ต้องด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัยในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6
    .
    สำหรับประเด็นที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติโดยเสียงข้างมาก (7 ต่อ 2) มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย
    .
    ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างมาก จำนวน 7 คน คือ นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ นายปัญญา อุดชาชน นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม นายวิรุฬห์ แสงเทียน นายบรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ นายอุดม รัฐอมฤต และนายสุเมธ รอยกุลเจริญ เห็นว่า ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง
    .
    ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างน้อย จำนวน 2 คน คือ นายจิรนิติ หะวานนท์ และนายนภดล เทพพิทักษ์ เห็นว่า มีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผล เป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ที่ศาลรัฐธรรมนูญจะรับไว้พิจารณาวินิจฉัยได้
    .
    ด้านดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม ประธานสถาบันสุจริตไทย อดีตส.ว. แสดงความคิดเห็นว่าแม้ศาลรัฐธรรมนูญจะสั่งไม่รับคำร้องของนายธีรยุทธ์ สุวรรณเกษรที่ขอให้สั่งหยุดการกระทำของคุณทักษิณและ พท.ทั้ง 6 ประเด็น เพราะข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองฯแต่ข้อเท็จจริงทั้ง 6 ประเด็นก็ยังมีผู้ยื่นคำร้องต่อ ปปช.และ กกต.กล่าวหานายทักษิณ พรรคเพื่อไทยและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องร่วมทำผิดตามกฎหมายอื่นที่มีโทษรุนแรงทั้งต่อบุคคลและพรรคการเมือง ที่อยู่ระหว่างการเสนอเรื่องไปสิ้นสุดการพิจารณาที่ศาลยุติธรรมหรือ ศาลรัฐธรรมนูญได้อีกเป็นหลายกรณี ประชาชนพลเมืองดีของไทยจึงยังมีเรื่องสำคัญที่ต้องติดตามกันต่อไป
    ..............
    Sondhi X
    ศาลไม่รับคดีล้มล้าง ขาดหลักฐานชัดเจน จับตาคดีในมือ กกต.-ปปช. . ที่ประชุมคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีมติยกคำร้องของนายธีรยุทธ สุวรรณเกษร (ผู้ร้อง) ยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 กล่าวอ้างว่า นายทักษิณ ชินวัตร (ผู้ถูกร้องที่ 1) และพรรคเพื่อไทย (ผู้ถูกร้องที่ 2) ร่วมกันกระทำการอันเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อพิจารณารับหรือไม่รับคำร้องนี้ไว้วินิจฉัย . สำหรับคำร้องที่นายธีรยุทธยื่นมี 6 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลผ่านกระทรวงยุติธรรม กรมราชทัณฑ์ และโรงพยาบาลตำรวจ ให้เอื้อประโยชน์แก่นายทักษิณ ให้พักอาศัยอยู่ห้องพัก ชั้น 14 โรงพยาบาลตำรวจ ในระหว่างรับโทษจำคุก เพื่อให้ไม่ต้องรับโทษในเรือนจำทั้งที่ไม่พบว่ามีอาการป่วยขั้นวิกฤต . ประเด็นที่ 2 นายทักษิณสั่งการรัฐบาลให้เอื้อประโยชน์แก่อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศกัมพูชา ให้มีการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลเพื่อแบ่งผลประโยชน์ก๊าซธรรมชาติและทรัพยากรใต้ทะเลในเขตอธิปไตยทางทะเลของประเทศไทยให้แก่ประเทศกัมพูชา . ประเด็นที่ 3 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยร่วมมือเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญกับพรรคประชาชน ซึ่งเป็นพรรคที่ก่อตั้งโดยกลุ่มการเมืองของพรรคก้าวไกลเดิม ที่ต้องคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญว่ามีพฤติการณ์ล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข . ประเด็นที่ 4 นายทักษิณสั่งการแทนพรรคเพื่อไทย โดยเจรจากับแกนนำของพรรคการเมืองอื่นที่ร่วมรัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมตรี เพื่อหารือการเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ที่บ้านพักส่วนตัวของนายทักษิณ . ประเด็นที่ 5 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยมีมติขับพรรคพลังประชารัฐออกจากพรรคร่วมรัฐบาล . ประเด็นที่ 6 นายทักษิณสั่งการให้พรรคเพื่อไทยนำนโยบายของนายทักษิณที่แสดงวิสัยทัศน์ไว้ไปดำเนินการให้เป็นนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา . ทั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเห็นว่า คดีนี้แม้ผู้ร้องจะใช้สิทธิยื่นคำร้องต่ออัยการสูงสุดแล้วและอัยการสูงสุดไม่ดำเนินการภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอ อันทำให้ผู้ร้องมีสิทธิยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ก็ตาม แต่การพิจารณาว่า บุคคลใดจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงชัดเจนเพียงพอที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งหมาย และความประสงค์ระดับที่วิญญูชนคาดเห็นได้ว่าน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยการกระทำนั้นจะต้องกำลังดำเนินอยู่และไม่ห่างไกลเกินกว่าเหตุ . ข้อกล่าวอ้างในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ดังนั้น กรณีไม่ต้องด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติเอกฉันท์ ไม่รับไว้พิจารณาวินิจฉัยในประเด็นที่ 1 และประเด็นที่ 3 ถึงประเด็นที่ 6 . สำหรับประเด็นที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติโดยเสียงข้างมาก (7 ต่อ 2) มีคำสั่งไม่รับคำร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย . ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างมาก จำนวน 7 คน คือ นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ นายปัญญา อุดชาชน นายอุดม สิทธิวิรัชธรรม นายวิรุฬห์ แสงเทียน นายบรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ นายอุดม รัฐอมฤต และนายสุเมธ รอยกุลเจริญ เห็นว่า ยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผลเป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง . ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเสียงข้างน้อย จำนวน 2 คน คือ นายจิรนิติ หะวานนท์ และนายนภดล เทพพิทักษ์ เห็นว่า มีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะแสดงให้เห็นว่าการกระทำของผู้ถูกร้องทั้งสองน่าจะทำให้เกิดผล เป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่ง ที่ศาลรัฐธรรมนูญจะรับไว้พิจารณาวินิจฉัยได้ . ด้านดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม ประธานสถาบันสุจริตไทย อดีตส.ว. แสดงความคิดเห็นว่าแม้ศาลรัฐธรรมนูญจะสั่งไม่รับคำร้องของนายธีรยุทธ์ สุวรรณเกษรที่ขอให้สั่งหยุดการกระทำของคุณทักษิณและ พท.ทั้ง 6 ประเด็น เพราะข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอที่จะชี้ว่าเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองฯแต่ข้อเท็จจริงทั้ง 6 ประเด็นก็ยังมีผู้ยื่นคำร้องต่อ ปปช.และ กกต.กล่าวหานายทักษิณ พรรคเพื่อไทยและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องร่วมทำผิดตามกฎหมายอื่นที่มีโทษรุนแรงทั้งต่อบุคคลและพรรคการเมือง ที่อยู่ระหว่างการเสนอเรื่องไปสิ้นสุดการพิจารณาที่ศาลยุติธรรมหรือ ศาลรัฐธรรมนูญได้อีกเป็นหลายกรณี ประชาชนพลเมืองดีของไทยจึงยังมีเรื่องสำคัญที่ต้องติดตามกันต่อไป .............. Sondhi X
    Sad
    Like
    4
    1 Comments 0 Shares 2912 Views 0 Reviews
  • ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติไม่รับคำร้อง “ธีรยุทธ สุวรรณเกษร” ร้องให้วินิจฉัย “ทักษิณ-พรรคเพื่อไทย” มีพฤติกรรมล้มล้างการปกครอง ชี้ ทั้ง 6 ข้อยังไม่มีพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอ การกระทำที่เกิดยังไกลเกินเหตุ

    อ่านต่อ >> https://news1live.com/detail/9670000112301

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติไม่รับคำร้อง “ธีรยุทธ สุวรรณเกษร” ร้องให้วินิจฉัย “ทักษิณ-พรรคเพื่อไทย” มีพฤติกรรมล้มล้างการปกครอง ชี้ ทั้ง 6 ข้อยังไม่มีพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอ การกระทำที่เกิดยังไกลเกินเหตุ อ่านต่อ >> https://news1live.com/detail/9670000112301 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Angry
    Like
    Haha
    4
    0 Comments 0 Shares 1691 Views 0 Reviews
  • ยกทุกประเด็น! ศาล รธน. มีมติ7:2 ไม่รับคำร้อง ทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครองฯ (22/11/67) #news1 #ทักษิณ #ล้มล้างการปกครอง
    ยกทุกประเด็น! ศาล รธน. มีมติ7:2 ไม่รับคำร้อง ทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครองฯ (22/11/67) #news1 #ทักษิณ #ล้มล้างการปกครอง
    Like
    4
    0 Comments 0 Shares 1559 Views 33 0 Reviews
  • ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติไม่รับคำร้อง “ธีรยุทธ สุวรรณเกษร” ร้องให้วินิจฉัย “ทักษิณ-พรรคเพื่อไทย” มีพฤติกรรมล้มล้างการปกครอง ชี้ ทั้ง 6 ข้อยังไม่มีพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอ การกระทำที่เกิดยังไกลเกินเหตุ

    วันนี้ (22 พ.ย.) คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้ประชุมพิจารณาคำร้อง กรณีที่ นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร ทนายความอิสระ ยื่นต่อศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้วินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 48 สั่งการให้นายทักษิณ ชินวัตร ผู้ถูกร้องที่ 1 และพรรคเพื่อไทย ผู้ถูกร้องที่ 2 เลิกการกระทำที่เป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพอันจะนำไปสู่การล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 49 โดยมีพฤติการณ์ 6 ประเด็น ที่เห็นว่า เป็นการเซาะกร่อนบ่อนทำลายสถาบัน

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/politics/detail/9670000112301

    #MGROnline #ศาลรัฐธรรมนูญ #ไม่รับคำร้อง #ธีรยุทธสุวรรณเกษร #ทักษิณ #พรรคเพื่อไทย #ล้มล้างการปกครอง
    ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติไม่รับคำร้อง “ธีรยุทธ สุวรรณเกษร” ร้องให้วินิจฉัย “ทักษิณ-พรรคเพื่อไทย” มีพฤติกรรมล้มล้างการปกครอง ชี้ ทั้ง 6 ข้อยังไม่มีพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอ การกระทำที่เกิดยังไกลเกินเหตุ • วันนี้ (22 พ.ย.) คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้ประชุมพิจารณาคำร้อง กรณีที่ นายธีรยุทธ สุวรรณเกษร ทนายความอิสระ ยื่นต่อศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้วินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 48 สั่งการให้นายทักษิณ ชินวัตร ผู้ถูกร้องที่ 1 และพรรคเพื่อไทย ผู้ถูกร้องที่ 2 เลิกการกระทำที่เป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพอันจะนำไปสู่การล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 49 โดยมีพฤติการณ์ 6 ประเด็น ที่เห็นว่า เป็นการเซาะกร่อนบ่อนทำลายสถาบัน • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9670000112301 • #MGROnline #ศาลรัฐธรรมนูญ #ไม่รับคำร้อง #ธีรยุทธสุวรรณเกษร #ทักษิณ #พรรคเพื่อไทย #ล้มล้างการปกครอง
    0 Comments 0 Shares 857 Views 0 Reviews
  • เส้นทาง‘สุรเชชษฐ์’หลังศาลยกคำร้องอุทธรณ์.เผอิญมันก็มีข่าวกระฉ่อนเลย ทุกวงการ ว่ามีคนทำเงินตก 100 ล้านบ้าง 200 ล้านบ้าง 250 ล้านบ้าง ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าข่าวนี้มาจากไหน แต่มีผลทำให้ท่านประธานศาลปกครองสูงสุดเรียกประชุมองค์คณะใหญ่ทันที และเอาเรื่องที่องค์คณะเล็กพิจารณาแล้ว เข้าเลย ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุดมีมติไม่รับคำร้องของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล แล้วมิหนำซ้ำ คำสั่งให้ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ออกจากตำรวจนั้น เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายทุกอย่าง ก็ค่อนข้างจะแน่ชัดแล้ว รอเพียงการแถลงของเจ้าของคดีอย่างเป็นทางการเท่านั้นเอง.วัตถุประสงค์ของสุรเชชษฐ์ หักพาล ที่ต้องการกลับไป มีอยู่ข้อเดียว ต้องการไปใช้สิทธิ์ของตัวเองในฐานะเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอาวุโสอันดับหนึ่งที่เขาภูมิใจมาก เขาน่าจะรู้ดีว่าในช่วง 2 ปีจากนี้ไป พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ นั้น อย่างไรก็ยังเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอยู่ โดยที่ไม่มีใครสามารถจะโค่นล้มได้ เพราะถูกต้องตามกฎหมาย .จะเริ่มมีปัญหาก็ตอนที่ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ จะเกษียณอายุ แล้วต้องเสนอรายชื่อคนที่จะเข้าไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนต่อไป ซึ่งผมคิดว่า พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ มองประเด็นนี้มากกว่า เพราะความเป็นคนช่างฟ้อง และภูมิใจมากกับการเป็นผู้อาวุโสอันดับหนึ่ง แต่ พล.ต.อ.สุรเชษษฐ์ เอง ก็ลืมนึกไปว่า ในพระราชบัญญัติตำรวจชุดใหม่นี้ เขาไม่ได้ห้ามให้คณะกรรมการสามารถคัดเลือกคนอื่นที่ไม่ใช่อาวุโสอันดับหนึ่งได้ เปิดช่องเอาไว้.ในกรณีนี้ผมคิดว่าไม่สำเร็จ เพราะว่า พ.ร.บ.ตำรวจ ชัดเจนว่า นอกจากอาวุโสแล้ว ต้องคำนึงถึงความเหมาะสม คุณเอาตำรวจซึ่งถูกคดีอาญา ถูกหมายจับจากศาล แล้วมีคดีที่อยู่ใน ป.ป.ช. ถึงแม้จะยังไม่มีการชี้มูลว่าผิดหรือไม่ผิด แต่มีการกล่าวหาไปแล้ว ส่งเข้าไปให้ ป.ป.ช. พิจารณา แค่นี้ก็เป็นตำหนิที่สำคัญมากแล้ว คณะกรรมการตำรวจแห่งชาติ (ก.ตร.) ก็ต้องคำนึงถึง "ความเหมาะสม" ตรงนี้ด้วย.ณ วันนี้ สุรเชชษฐ์ หักพาล ไม่ได้กลับเข้าตำรวจ และไม่ได้มีอำนาจเหมือนแต่ก่อน ตำรวจซึ่งเป็นลูกน้อง สุรเชชษฐ์ หักพาล รวมไปถึงสื่อมวลชนที่ยืนข้างสุรเชชษฐ์ มาตลอด ก็คือคุณดนัย เอกมหาสวัสดิ์ ตีปี๊บขยับปีกดีอกดีใจจังว่านายกูจะกลับมาแล้ว แต่พวกนี้ลืมไปอยู่ 2 อย่าง อย่างแรกเขาจะต้องแช่แข็งเด็กสาย พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ลูกน้องคุณสุรเชชษฐ์ หักพาล และผมยังเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจว่า หน่วยงานที่จะต้องรื้อถึงรากถึงโคนเลยก็คือ สตม. สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพราะนั่นเป็นฐานอำนาจของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล.แล้วพอคนใหม่ขึ้นมาอีก หลังจากที่สุรเชชษฐ์ ฟ้องแล้ว ผมเชื่อว่าศาลปกครองเมื่อดูข้อมูล ดู พ.ร.บ.แล้ว ดูคำว่า "เหมาะสม" ว่าอาวุโสอันดับหนึ่งไม่เหมาะสม เพราะโดนหมายจับ โดนคดีอาญา โดนร้องไปที่ ป.ป.ช. ตั้ง 3-4 คดี เขาก็บอกว่าคนนี้ไม่เหมาะสม ให้ไปที่คนที่สอง ถ้าคนที่สองขึ้นมา เขาก็อยู่อีก 2 ปี ก็เช่นกัน สองปีนี้ตำรวจสายสุรเชชษฐ์ หักพาล ก็จะถูกแช่แข็งต่อไปอีก 2 ปี สรุปแล้วแช่แข็งไป 4 ปี นี่ผมเตือนด้วยความหวังดี
    เส้นทาง‘สุรเชชษฐ์’หลังศาลยกคำร้องอุทธรณ์.เผอิญมันก็มีข่าวกระฉ่อนเลย ทุกวงการ ว่ามีคนทำเงินตก 100 ล้านบ้าง 200 ล้านบ้าง 250 ล้านบ้าง ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าข่าวนี้มาจากไหน แต่มีผลทำให้ท่านประธานศาลปกครองสูงสุดเรียกประชุมองค์คณะใหญ่ทันที และเอาเรื่องที่องค์คณะเล็กพิจารณาแล้ว เข้าเลย ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุดมีมติไม่รับคำร้องของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล แล้วมิหนำซ้ำ คำสั่งให้ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ออกจากตำรวจนั้น เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายทุกอย่าง ก็ค่อนข้างจะแน่ชัดแล้ว รอเพียงการแถลงของเจ้าของคดีอย่างเป็นทางการเท่านั้นเอง.วัตถุประสงค์ของสุรเชชษฐ์ หักพาล ที่ต้องการกลับไป มีอยู่ข้อเดียว ต้องการไปใช้สิทธิ์ของตัวเองในฐานะเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอาวุโสอันดับหนึ่งที่เขาภูมิใจมาก เขาน่าจะรู้ดีว่าในช่วง 2 ปีจากนี้ไป พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ นั้น อย่างไรก็ยังเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอยู่ โดยที่ไม่มีใครสามารถจะโค่นล้มได้ เพราะถูกต้องตามกฎหมาย .จะเริ่มมีปัญหาก็ตอนที่ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ จะเกษียณอายุ แล้วต้องเสนอรายชื่อคนที่จะเข้าไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนต่อไป ซึ่งผมคิดว่า พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ มองประเด็นนี้มากกว่า เพราะความเป็นคนช่างฟ้อง และภูมิใจมากกับการเป็นผู้อาวุโสอันดับหนึ่ง แต่ พล.ต.อ.สุรเชษษฐ์ เอง ก็ลืมนึกไปว่า ในพระราชบัญญัติตำรวจชุดใหม่นี้ เขาไม่ได้ห้ามให้คณะกรรมการสามารถคัดเลือกคนอื่นที่ไม่ใช่อาวุโสอันดับหนึ่งได้ เปิดช่องเอาไว้.ในกรณีนี้ผมคิดว่าไม่สำเร็จ เพราะว่า พ.ร.บ.ตำรวจ ชัดเจนว่า นอกจากอาวุโสแล้ว ต้องคำนึงถึงความเหมาะสม คุณเอาตำรวจซึ่งถูกคดีอาญา ถูกหมายจับจากศาล แล้วมีคดีที่อยู่ใน ป.ป.ช. ถึงแม้จะยังไม่มีการชี้มูลว่าผิดหรือไม่ผิด แต่มีการกล่าวหาไปแล้ว ส่งเข้าไปให้ ป.ป.ช. พิจารณา แค่นี้ก็เป็นตำหนิที่สำคัญมากแล้ว คณะกรรมการตำรวจแห่งชาติ (ก.ตร.) ก็ต้องคำนึงถึง "ความเหมาะสม" ตรงนี้ด้วย.ณ วันนี้ สุรเชชษฐ์ หักพาล ไม่ได้กลับเข้าตำรวจ และไม่ได้มีอำนาจเหมือนแต่ก่อน ตำรวจซึ่งเป็นลูกน้อง สุรเชชษฐ์ หักพาล รวมไปถึงสื่อมวลชนที่ยืนข้างสุรเชชษฐ์ มาตลอด ก็คือคุณดนัย เอกมหาสวัสดิ์ ตีปี๊บขยับปีกดีอกดีใจจังว่านายกูจะกลับมาแล้ว แต่พวกนี้ลืมไปอยู่ 2 อย่าง อย่างแรกเขาจะต้องแช่แข็งเด็กสาย พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ลูกน้องคุณสุรเชชษฐ์ หักพาล และผมยังเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจว่า หน่วยงานที่จะต้องรื้อถึงรากถึงโคนเลยก็คือ สตม. สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพราะนั่นเป็นฐานอำนาจของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล.แล้วพอคนใหม่ขึ้นมาอีก หลังจากที่สุรเชชษฐ์ ฟ้องแล้ว ผมเชื่อว่าศาลปกครองเมื่อดูข้อมูล ดู พ.ร.บ.แล้ว ดูคำว่า "เหมาะสม" ว่าอาวุโสอันดับหนึ่งไม่เหมาะสม เพราะโดนหมายจับ โดนคดีอาญา โดนร้องไปที่ ป.ป.ช. ตั้ง 3-4 คดี เขาก็บอกว่าคนนี้ไม่เหมาะสม ให้ไปที่คนที่สอง ถ้าคนที่สองขึ้นมา เขาก็อยู่อีก 2 ปี ก็เช่นกัน สองปีนี้ตำรวจสายสุรเชชษฐ์ หักพาล ก็จะถูกแช่แข็งต่อไปอีก 2 ปี สรุปแล้วแช่แข็งไป 4 ปี นี่ผมเตือนด้วยความหวังดี
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 716 Views 0 Reviews
  • เส้นทาง‘สุรเชชษฐ์’หลังศาลยกคำร้องอุทธรณ์
    .
    เผอิญมันก็มีข่าวกระฉ่อนเลย ทุกวงการ ว่ามีคนทำเงินตก 100 ล้านบ้าง 200 ล้านบ้าง 250 ล้านบ้าง ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าข่าวนี้มาจากไหน แต่มีผลทำให้ท่านประธานศาลปกครองสูงสุดเรียกประชุมองค์คณะใหญ่ทันที และเอาเรื่องที่องค์คณะเล็กพิจารณาแล้ว เข้าเลย ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุดมีมติไม่รับคำร้องของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล แล้วมิหนำซ้ำ คำสั่งให้ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ออกจากตำรวจนั้น เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายทุกอย่าง ก็ค่อนข้างจะแน่ชัดแล้ว รอเพียงการแถลงของเจ้าของคดีอย่างเป็นทางการเท่านั้นเอง
    .
    วัตถุประสงค์ของสุรเชชษฐ์ หักพาล ที่ต้องการกลับไป มีอยู่ข้อเดียว ต้องการไปใช้สิทธิ์ของตัวเองในฐานะเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอาวุโสอันดับหนึ่งที่เขาภูมิใจมาก เขาน่าจะรู้ดีว่าในช่วง 2 ปีจากนี้ไป พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ นั้น อย่างไรก็ยังเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอยู่ โดยที่ไม่มีใครสามารถจะโค่นล้มได้ เพราะถูกต้องตามกฎหมาย
    .
    จะเริ่มมีปัญหาก็ตอนที่ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ จะเกษียณอายุ แล้วต้องเสนอรายชื่อคนที่จะเข้าไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนต่อไป ซึ่งผมคิดว่า พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ มองประเด็นนี้มากกว่า เพราะความเป็นคนช่างฟ้อง และภูมิใจมากกับการเป็นผู้อาวุโสอันดับหนึ่ง แต่ พล.ต.อ.สุรเชษษฐ์ เอง ก็ลืมนึกไปว่า ในพระราชบัญญัติตำรวจชุดใหม่นี้ เขาไม่ได้ห้ามให้คณะกรรมการสามารถคัดเลือกคนอื่นที่ไม่ใช่อาวุโสอันดับหนึ่งได้ เปิดช่องเอาไว้
    .
    ในกรณีนี้ผมคิดว่าไม่สำเร็จ เพราะว่า พ.ร.บ.ตำรวจ ชัดเจนว่า นอกจากอาวุโสแล้ว ต้องคำนึงถึงความเหมาะสม คุณเอาตำรวจซึ่งถูกคดีอาญา ถูกหมายจับจากศาล แล้วมีคดีที่อยู่ใน ป.ป.ช. ถึงแม้จะยังไม่มีการชี้มูลว่าผิดหรือไม่ผิด แต่มีการกล่าวหาไปแล้ว ส่งเข้าไปให้ ป.ป.ช. พิจารณา แค่นี้ก็เป็นตำหนิที่สำคัญมากแล้ว คณะกรรมการตำรวจแห่งชาติ (ก.ตร.) ก็ต้องคำนึงถึง "ความเหมาะสม" ตรงนี้ด้วย
    .
    ณ วันนี้ สุรเชชษฐ์ หักพาล ไม่ได้กลับเข้าตำรวจ และไม่ได้มีอำนาจเหมือนแต่ก่อน ตำรวจซึ่งเป็นลูกน้อง สุรเชชษฐ์ หักพาล รวมไปถึงสื่อมวลชนที่ยืนข้างสุรเชชษฐ์ มาตลอด ก็คือคุณดนัย เอกมหาสวัสดิ์ ตีปี๊บขยับปีกดีอกดีใจจังว่านายกูจะกลับมาแล้ว แต่พวกนี้ลืมไปอยู่ 2 อย่าง อย่างแรกเขาจะต้องแช่แข็งเด็กสาย พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ลูกน้องคุณสุรเชชษฐ์ หักพาล และผมยังเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจว่า หน่วยงานที่จะต้องรื้อถึงรากถึงโคนเลยก็คือ สตม. สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพราะนั่นเป็นฐานอำนาจของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล
    .
    แล้วพอคนใหม่ขึ้นมาอีก หลังจากที่สุรเชชษฐ์ ฟ้องแล้ว ผมเชื่อว่าศาลปกครองเมื่อดูข้อมูล ดู พ.ร.บ.แล้ว ดูคำว่า "เหมาะสม" ว่าอาวุโสอันดับหนึ่งไม่เหมาะสม เพราะโดนหมายจับ โดนคดีอาญา โดนร้องไปที่ ป.ป.ช. ตั้ง 3-4 คดี เขาก็บอกว่าคนนี้ไม่เหมาะสม ให้ไปที่คนที่สอง ถ้าคนที่สองขึ้นมา เขาก็อยู่อีก 2 ปี ก็เช่นกัน สองปีนี้ตำรวจสายสุรเชชษฐ์ หักพาล ก็จะถูกแช่แข็งต่อไปอีก 2 ปี สรุปแล้วแช่แข็งไป 4 ปี นี่ผมเตือนด้วยความหวังดี
    เส้นทาง‘สุรเชชษฐ์’หลังศาลยกคำร้องอุทธรณ์ . เผอิญมันก็มีข่าวกระฉ่อนเลย ทุกวงการ ว่ามีคนทำเงินตก 100 ล้านบ้าง 200 ล้านบ้าง 250 ล้านบ้าง ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าข่าวนี้มาจากไหน แต่มีผลทำให้ท่านประธานศาลปกครองสูงสุดเรียกประชุมองค์คณะใหญ่ทันที และเอาเรื่องที่องค์คณะเล็กพิจารณาแล้ว เข้าเลย ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุดมีมติไม่รับคำร้องของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล แล้วมิหนำซ้ำ คำสั่งให้ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ออกจากตำรวจนั้น เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายทุกอย่าง ก็ค่อนข้างจะแน่ชัดแล้ว รอเพียงการแถลงของเจ้าของคดีอย่างเป็นทางการเท่านั้นเอง . วัตถุประสงค์ของสุรเชชษฐ์ หักพาล ที่ต้องการกลับไป มีอยู่ข้อเดียว ต้องการไปใช้สิทธิ์ของตัวเองในฐานะเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอาวุโสอันดับหนึ่งที่เขาภูมิใจมาก เขาน่าจะรู้ดีว่าในช่วง 2 ปีจากนี้ไป พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ นั้น อย่างไรก็ยังเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติอยู่ โดยที่ไม่มีใครสามารถจะโค่นล้มได้ เพราะถูกต้องตามกฎหมาย . จะเริ่มมีปัญหาก็ตอนที่ พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ จะเกษียณอายุ แล้วต้องเสนอรายชื่อคนที่จะเข้าไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนต่อไป ซึ่งผมคิดว่า พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ มองประเด็นนี้มากกว่า เพราะความเป็นคนช่างฟ้อง และภูมิใจมากกับการเป็นผู้อาวุโสอันดับหนึ่ง แต่ พล.ต.อ.สุรเชษษฐ์ เอง ก็ลืมนึกไปว่า ในพระราชบัญญัติตำรวจชุดใหม่นี้ เขาไม่ได้ห้ามให้คณะกรรมการสามารถคัดเลือกคนอื่นที่ไม่ใช่อาวุโสอันดับหนึ่งได้ เปิดช่องเอาไว้ . ในกรณีนี้ผมคิดว่าไม่สำเร็จ เพราะว่า พ.ร.บ.ตำรวจ ชัดเจนว่า นอกจากอาวุโสแล้ว ต้องคำนึงถึงความเหมาะสม คุณเอาตำรวจซึ่งถูกคดีอาญา ถูกหมายจับจากศาล แล้วมีคดีที่อยู่ใน ป.ป.ช. ถึงแม้จะยังไม่มีการชี้มูลว่าผิดหรือไม่ผิด แต่มีการกล่าวหาไปแล้ว ส่งเข้าไปให้ ป.ป.ช. พิจารณา แค่นี้ก็เป็นตำหนิที่สำคัญมากแล้ว คณะกรรมการตำรวจแห่งชาติ (ก.ตร.) ก็ต้องคำนึงถึง "ความเหมาะสม" ตรงนี้ด้วย . ณ วันนี้ สุรเชชษฐ์ หักพาล ไม่ได้กลับเข้าตำรวจ และไม่ได้มีอำนาจเหมือนแต่ก่อน ตำรวจซึ่งเป็นลูกน้อง สุรเชชษฐ์ หักพาล รวมไปถึงสื่อมวลชนที่ยืนข้างสุรเชชษฐ์ มาตลอด ก็คือคุณดนัย เอกมหาสวัสดิ์ ตีปี๊บขยับปีกดีอกดีใจจังว่านายกูจะกลับมาแล้ว แต่พวกนี้ลืมไปอยู่ 2 อย่าง อย่างแรกเขาจะต้องแช่แข็งเด็กสาย พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล ลูกน้องคุณสุรเชชษฐ์ หักพาล และผมยังเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจว่า หน่วยงานที่จะต้องรื้อถึงรากถึงโคนเลยก็คือ สตม. สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพราะนั่นเป็นฐานอำนาจของ พล.ต.อ.สุรเชชษฐ์ หักพาล . แล้วพอคนใหม่ขึ้นมาอีก หลังจากที่สุรเชชษฐ์ ฟ้องแล้ว ผมเชื่อว่าศาลปกครองเมื่อดูข้อมูล ดู พ.ร.บ.แล้ว ดูคำว่า "เหมาะสม" ว่าอาวุโสอันดับหนึ่งไม่เหมาะสม เพราะโดนหมายจับ โดนคดีอาญา โดนร้องไปที่ ป.ป.ช. ตั้ง 3-4 คดี เขาก็บอกว่าคนนี้ไม่เหมาะสม ให้ไปที่คนที่สอง ถ้าคนที่สองขึ้นมา เขาก็อยู่อีก 2 ปี ก็เช่นกัน สองปีนี้ตำรวจสายสุรเชชษฐ์ หักพาล ก็จะถูกแช่แข็งต่อไปอีก 2 ปี สรุปแล้วแช่แข็งไป 4 ปี นี่ผมเตือนด้วยความหวังดี
    Like
    5
    1 Comments 0 Shares 1292 Views 0 Reviews
  • ศาล รธน.เลื่อนถกรับ-ไม่รับคำร้อง “ทักษิณ” ล้มล้างการปกครองฯ เป็นวันศุกร์ที่ 22 พ.ย. เหตุตุลาการติดภารกิจต่างประเทศ ด้าน อสส. ส่งคำชี้แจงถึงมือศาลแล้ว

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000108585

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ศาล รธน.เลื่อนถกรับ-ไม่รับคำร้อง “ทักษิณ” ล้มล้างการปกครองฯ เป็นวันศุกร์ที่ 22 พ.ย. เหตุตุลาการติดภารกิจต่างประเทศ ด้าน อสส. ส่งคำชี้แจงถึงมือศาลแล้ว อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000108585 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Wow
    Sad
    12
    0 Comments 0 Shares 1479 Views 0 Reviews