• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 624
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ;
    ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ;
    เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ;
    ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย.
    --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ.
    +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ;
    นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป.
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาติ,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน
    ).
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.-

    (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้
    ในสูตรอื่น
    [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘
    http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​
    ได้ตรัสไว้ว่า
    +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า
    สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ
    ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ สัทธรรมลำดับที่ : 624 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. --ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. +--เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=นนฺทิ เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน ). --ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.- (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น [อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/12/470/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘ http://etipitaka.com/read/pali/23/90/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98 ]​ ได้ตรัสไว้ว่า +--ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี ). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/347/458. http://etipitaka.com/read/thai/12/347/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/494/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=624 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=624 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ
    -อาการดับแห่งตัณหาในนามแห่งนันทิ ภิกษุ ท. ! .... ภิกษุนั้น เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำหนัดยินดีในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูปอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง ; เป็นผู้อยู่ด้วยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตหาประมาณมิได้ด้วย ; ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันเป็นธรรมที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลทั้งหลาย ด้วย. ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้วซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใด ๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม ไม่เป็นทุกข์ไม่เป็นสุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้น ๆ ; นันทิ ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาติ, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งหมดนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง การได้ยินเสียงด้วยหู รู้สึกกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องสัมผัสทางผิวหนังด้วยผิวกาย และ รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะที่เป็นธรรมทำความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่งตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 155 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 983
    ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน.
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย
    --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว,
    สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้
    เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ
    ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา
    มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
    ย่อม เป็น #สกทาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน
    มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา
    มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา
    ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว
    เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 983 ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็น #สกทาคามี http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234. http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 221 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 606
    ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :-
    (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ;
    (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ;
    (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ;
    (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ;
    (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ;
    (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ;
    (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว.
    อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย
    และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน
    เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ
    เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก
    ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 606 ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 เนื้อความทั้งหมด :- --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :- (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15. http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    -(ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า เมื่อบุรุษนั้นกำลังปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์อยู่ วิราคะก็เกิดขึ้นได้ เมื่อเขาเพ่งดูเหตุแห่งความทุกข์ยิ่ง ๆ ขึ้นไป วิราคะก็ยิ่งเกิดขึ้น จนกระทั่งว่าเขาสามารถละราคะ ในหญิงคือทุกข์นั้นเสียได้. ผู้ที่ยังไม่มีความทุกข์ ก็อย่าไปปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์ขึ้นมาเลย มีความสุขโดยชอบธรรมอยู่แล้วเพียงใด ก็ไม่มัวเมาในความสุขนั้น ก็จะชื่อว่า ไม่เอาความทุกข์มาทับถมตนซึ่งไม่มีความทุกข์อยู่แล้ว และมีวิราคะในความทุกข์ได้ นี้ย่อมเป็นสิ่งที่กระทำได้). ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ : (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. แต่ว่าสัทธาเป็นต้นของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แลเรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย. และ สัทธาเป็นต้นของเขา ไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพ- พานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 328 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 603
    ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่
    ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค
    ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา.
    องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ
    ๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ
    ๒.ด้วยพละ
    ๓.ด้วยชวะ
    ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง).
    --ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย
    และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
    ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ?
    สี่ประการคือ สมบูรณ์
    ๑.ด้วยวรรณะ
    ๒.ด้วยพละ
    ๓.ด้วยชวะ
    ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน
    ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &​ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร
    เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล
    มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)​ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”,
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีการได้จีวร
    บิณฑบาต
    เสนาสนะ และ
    คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก
    อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า,
    ดังนี้แล.-

    [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90
    ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า
    ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
    ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม
    ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น.
    --และ
    ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97
    ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า
    ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 603 ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603 เนื้อความทั้งหมด :- --ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่ ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา. องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ ๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ๒.ด้วยพละ ๓.ด้วยชวะ ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง). --ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ สมบูรณ์ ๑.ด้วยวรรณะ ๒.ด้วยพละ ๓.ด้วยชวะ ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &​ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)​ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”, ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีการได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้แล.- [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐) http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90 ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น. --และ ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗) http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97 ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259. http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    -ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ ภิกษุ ท. !ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่ ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา. องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ด้วยพละ ด้วยชวะ ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง). ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ด้วยพละ ด้วยชวะ ด้วยอาโรหปริณาหะ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”, ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีการได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชช บริขารเป็นปกติ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 280 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    อ่อนในหมู่สมณะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 598
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว)​ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาล(ผู้ละเอียด)​ในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ
    กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่.
    เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก
    แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ
    อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล #บุคคลสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ;
    แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปุณฑรีกะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ;
    และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปทุมะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร
    ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน....

    (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง
    บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ 597 )

    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สมณสุขุมาโล
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/87/87.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/87/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๓/๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=598
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) อ่อนในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ : 598 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว)​ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาล(ผู้ละเอียด)​ในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล #บุคคลสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปุณฑรีกะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปทุมะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน.... (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ 597 ) +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สมณสุขุมาโล ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้ แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/87/87. http://etipitaka.com/read/thai/21/87/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๓/๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=598 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล บุคคลสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน....(ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความ ในกรณีแห่งบุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ แห่งหัวข้อที่แล้วมา) .... ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ .... ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 328 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 597
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก
    เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย.
    เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
    ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ;
    นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย.
    ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน
    การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม
    มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย.
    อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่
    อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย,
    และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 597 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็น ส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 379 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 596
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม
    และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง
    เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 596 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 281 มุมมอง 0 รีวิว