• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสังขารมีธรรมดาแปรปรวน เกิดของทุกข์ในอริยสัจสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 164
    ชื่อบทธรรม :- สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=รูปสญฺเจตนา
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้
    แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/249/475.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/249/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=164

    สัทธรรมลำดับที่ : 165
    ชื่อบทธรรม : -การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และความปรากฏ ของ
    สัญเจตนาในเรื่องรูป
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น
    สัญเจตนาในเรื่องรส
    สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ และ
    สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่น
    เท่ากับ #เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์,
    เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย,
    และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ชรามรณสฺส
    แล.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/255/491.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/255/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๙๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=165

    สัทธรรมลำดับที่ : 166
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=166
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร
    --ภิกษุ ท. !
    +--สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยสังขารทั้งหลาย แล้วเกิดขึ้น,
    +--สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของสังขารทั้งหลาย ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อสฺสาโท
    +--สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของสังขารทั้งหลาย ;
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อาทีนโว
    +--การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย
    การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสังขารทั้งหลาย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=นิสฺสรณ
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. 17/62/122.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/62/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. ๑๗/๗๙/๑๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=166

    สัทธรรมลำดับที่ : 167
    ชื่อบทธรรม : -สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่ง เจตนากายาหกประการ เหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=เจตนากายา
    คือ
    สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป,
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง,
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น,
    สัญเจตนาในเรื่องรส,
    สัญเจตนาในเรื่อง โผฏฐัพพะ,
    และสัญเจตนาในเรื่อง ธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
    ความเกิดขึ้นแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ;
    ความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สงฺขารนิโรธคามินีปฏิปทา
    ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/60/116.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
    %E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=167
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง ....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสังขารมีธรรมดาแปรปรวน เกิดของทุกข์ในอริยสัจสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 164 ชื่อบทธรรม :- สังขารมีธรรมดาแปรปรวน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164 เนื้อความทั้งหมด :- --สังขารมีธรรมดาแปรปรวน --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=รูปสญฺเจตนา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/249/475. http://etipitaka.com/read/thai/17/249/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=164 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=164 สัทธรรมลำดับที่ : 165 ชื่อบทธรรม : -การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165 เนื้อความทั้งหมด :- --การเกิดของสังขารเท่ากับการเกิดของทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และความปรากฏ ของ สัญเจตนาในเรื่องรูป สัญเจตนาในเรื่องเสียง สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น สัญเจตนาในเรื่องรส สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ และ สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่น เท่ากับ #เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=ชรามรณสฺส แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/255/491. http://etipitaka.com/read/thai/17/255/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๙๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/285/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=165 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=165 สัทธรรมลำดับที่ : 166 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=166 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ สังขาร --ภิกษุ ท. ! +--สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัยสังขารทั้งหลาย แล้วเกิดขึ้น, +--สุขโสมนัส นี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของสังขารทั้งหลาย ; http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อสฺสาโท +--สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของสังขารทั้งหลาย ; -http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=อาทีนโว +--การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ในสังขารทั้งหลาย ด้วยอุบายใด ๆ , อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากสังขารทั้งหลาย.- http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=นิสฺสรณ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. 17/62/122. http://etipitaka.com/read/thai/17/62/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนธ.สํ. ๑๗/๗๙/๑๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/17/79/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=166 สัทธรรมลำดับที่ : 167 ชื่อบทธรรม : -สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167 เนื้อความทั้งหมด :- --สังขารขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่ง เจตนากายาหกประการ เหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=เจตนากายา คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่อง โผฏฐัพพะ, และสัญเจตนาในเรื่อง ธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ความเกิดขึ้นแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งผัสสะ ; ความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็น ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย, http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สงฺขารนิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/60/116. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖. %E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=167 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=167 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง .... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังขารมีธรรมดาแปรปรวน
    -สังขารมีธรรมดาแปรปรวน ภิกษุ ท. ! สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวนมีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
    0 Comments 0 Shares 114 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสังขารขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 161
    ชื่อบทธรรม :- ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์-สังขารหก
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา-หก เหล่านี้ คือ
    สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป,
    สัญเจตนาในเรื่องเสียง,
    สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น,
    สัญเจตนาในเรื่องรส,
    สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และ
    สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=สงฺขารานํ

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/116.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=161

    สัทธรรมลำดับที่ : 162
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “สังขาร”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “สังขาร”
    --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า?
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่
    ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขาราติ
    สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ? สิ่งนั้น
    ย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป,
    ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา,
    ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา,
    ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร, และ
    ย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูปเพื่อความเป็นวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล)
    ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.-
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขารตฺตาย

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87​/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=162

    สัทธรรมลำดับที่ : 163
    ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งสังขาร
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=163
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งสังขาร
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษผู้หนึ่งมีความต้องการด้วยแก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้เที่ยวหาแก่นไม้อยู่,
    เขาจึงถือเอาขวานอันคมเข้าไปสู่ป่า.
    เขาเห็น ต้นกล้วยต้นใหญ่ ในป่านั้น ลำต้นตรง ยังอ่อนอยู่ ยังไม่เกิดแกนไส้.
    เขาตัดต้นกล้วยนั้นที่โคน แล้วตัดปลาย แล้วจึงปอกกาบออก.
    บุรุษนั้น เมื่อปอกกาบออกอยู่ ณ ที่นั้น
    ก็ไม่พบแม้แต่กระพี้ (ของมัน) จักพบแก่นได้อย่างไร.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นต้นกล้วยนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    ต้นกล้วยนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในต้นกล้วยนั้น จะพึงมีได้อย่างไร,
    อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุ สังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) สังขารทั้งหลายเหล่านั้น
    ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    สังขารทั้งหลาย ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    #ทุกข์#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/245.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=163
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสังขารขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 161 ชื่อบทธรรม :- ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 เนื้อความทั้งหมด :- --๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์-สังขารหก --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา-หก เหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และ สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=สงฺขารานํ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/116. http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=161 สัทธรรมลำดับที่ : 162 ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “สังขาร” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162 เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “สังขาร” --ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า? --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร. -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขาราติ สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ? สิ่งนั้น ย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป, ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา, ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา, ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร, และ ย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูปเพื่อความเป็นวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า #สังขารทั้งหลาย.- -http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=สงฺขารตฺตาย อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87​/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=162 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=162 สัทธรรมลำดับที่ : 163 ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งสังขาร https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=163 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งสังขาร --ภิกษุ ท. ! บุรุษผู้หนึ่งมีความต้องการด้วยแก่นไม้ เสาะหาแก่นไม้เที่ยวหาแก่นไม้อยู่, เขาจึงถือเอาขวานอันคมเข้าไปสู่ป่า. เขาเห็น ต้นกล้วยต้นใหญ่ ในป่านั้น ลำต้นตรง ยังอ่อนอยู่ ยังไม่เกิดแกนไส้. เขาตัดต้นกล้วยนั้นที่โคน แล้วตัดปลาย แล้วจึงปอกกาบออก. บุรุษนั้น เมื่อปอกกาบออกอยู่ ณ ที่นั้น ก็ไม่พบแม้แต่กระพี้ (ของมัน) จักพบแก่นได้อย่างไร. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นต้นกล้วยนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, ต้นกล้วยนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในต้นกล้วยนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ; ภิกษุ สังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) สังขารทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สังขารทั้งหลาย ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- #ทุกข์​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/245. http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=161 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=163 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์
    -๔. วิภาคแห่งสังขารขันธ์ สังขารหก ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเจตนา หกเหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนาในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนาในเรื่องโผฎฐัพพะ, และสัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
    0 Comments 0 Shares 118 Views 0 Reviews