• "ภูมิธรรม" ป้อง "ทักษิณ" ชี้เก่งล็อบบี้ยิสต์เป็นประโยชน์ชาติ ไม่เกี่ยวปม "นายกฯ หยุดปฏิบัติหน้าที่" ยันรู้จัก "ทรัมป์" ดี!
    https://www.thai-tai.tv/news/20259/
    .
    #ภูมิธรรม #ทักษิณ #นายกฯหยุดปฏิบัติหน้าที่ #บ้านพิษณุโลก #เจรจาภาษี #สหรัฐอเมริกา #โดนัลด์ทรัมป์ #ล็อบบี้ยิสต์ #การเมืองไทย #ข่าวการเมือง #ผลประโยชน์ชาติ
    "ภูมิธรรม" ป้อง "ทักษิณ" ชี้เก่งล็อบบี้ยิสต์เป็นประโยชน์ชาติ ไม่เกี่ยวปม "นายกฯ หยุดปฏิบัติหน้าที่" ยันรู้จัก "ทรัมป์" ดี! https://www.thai-tai.tv/news/20259/ . #ภูมิธรรม #ทักษิณ #นายกฯหยุดปฏิบัติหน้าที่ #บ้านพิษณุโลก #เจรจาภาษี #สหรัฐอเมริกา #โดนัลด์ทรัมป์ #ล็อบบี้ยิสต์ #การเมืองไทย #ข่าวการเมือง #ผลประโยชน์ชาติ
    0 Comments 0 Shares 40 Views 0 Reviews
  • ใช้จ่ายเงินแผ่นดินแบบนี้เหรอ นอกจากได้ไม่คุ้มเสียแล้ว ยังเอาอนาคตประเทศไปฝากไว้ในมือล็อบบี้ยิสต์ ส่วนคณะเจรจาไอ้พิชัยก็นั่งกระดิกตีนรอผลงาน สุดท้ายเสียภาษีเพิ่ม เสียเงินฟรีอีก 200 ล้าน
    #คิงส์โพธิ์แดง
    ใช้จ่ายเงินแผ่นดินแบบนี้เหรอ นอกจากได้ไม่คุ้มเสียแล้ว ยังเอาอนาคตประเทศไปฝากไว้ในมือล็อบบี้ยิสต์ ส่วนคณะเจรจาไอ้พิชัยก็นั่งกระดิกตีนรอผลงาน สุดท้ายเสียภาษีเพิ่ม เสียเงินฟรีอีก 200 ล้าน #คิงส์โพธิ์แดง
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 119 Views 0 Reviews
  • ภาษีทรัมป์ 36% ภาษีกูบินอเมริกา-จ้างล็อบบี้ยิสต์

    รัฐบาลพรรคเพื่อไทยภายใต้การนำของ อุ๊งอิ๊ง-แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไทยล้มเหลวโดยสิ้นเชิง นอกจากโครงการแจกเงิน 10,000 บาทที่ไม่เกิดพายุหมุนทางเศรษฐกิจแล้ว สงครามการค้าของสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ประกาศว่าจะขึ้นภาษีนำเข้าสินค้าจากไทย 36% มาตั้งแต่เดือน เม.ย. แต่รัฐบาลกลับสนใจช่วยเหลือ ทักษิณ ชินวัตร บิดานายกรัฐมนตรี ให้นอนในห้องวีไอพีของโรงพยาบาลโดยไม่ต้องติดคุกแม้แต่วันเดียว และการเปิดบ่อนกาสิโนภายใต้โครงการเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์

    ล่าสุดเมื่อวันที่ 8 ก.ค. ตามเวลาในประเทศไทย ประธานาธิบดีทรัมป์ ทำหนังสือถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และรักษาราชการนายกรัฐมนตรี (ระบุชื่อ สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ) ว่า สหรัฐฯ จะตั้งกำแพงภาษีต่อสินค้านำเข้าจากไทยในอัตรา 36% ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค. เป็นต้นไป ส่วนจะแก้ไขให้ภาษีขึ้นหรือลง ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม หลายประเทศในอาเซียนเจออัตราแตกต่างกันไป เช่น ลาวและเมียนมา 40% กัมพูชา 36% เท่ากับไทย อินโดนีเซีย 32% มาเลเซีย 25% ส่วนเวียดนามก่อนหน้านี้ตกลงกันที่ 20-40% แลกกับยอมเปิดทางให้สหรัฐฯ ส่งสินค้าเข้าเวียดนามโดยไม่ต้องเสียภาษีศุลกากร

    สังคมตั้งคำถามไปยังนายพิชัย ชุณหวชิร รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.คลัง หัวหน้าทีมไทยแลนด์ ที่ยกโขยงไปเจรจาเรื่องภาษีทรัมป์ที่สหรัฐอเมริกา แล้วปรากฎว่าได้พบเพียงแค่ระดับผู้แทนการค้าสหรัฐฯ เท่านั้น ต่างจากเวียดนามที่นอกจากโต เลิม ผู้นำระดับสูงของเวียดนามโทร.คุยกับทรัมป์โดยตรงแล้ว การเจรจายังคุยกันถึงระดับรัฐมนตรีพาณิชย์สหรัฐฯ พอประธานาธิบดีทรัมป์ยืนกรานอัตราภาษี 36% นายพิชัยถึงกับช็อก บอกว่ามีตกใจบ้างแต่เลยจุดนี้มาแล้ว อ้างว่ายังไม่ได้พิจารณาข้อเสนอใหม่ที่ส่งไปเมื่อวันที่ 6 ก.ค.ซึ่งจะใช้ระยะเวลาที่เหลือจากนี้เจรจาให้ทันก่อนเดดไลน์

    แม้นายพิชัยอ้างว่าไทยยื่นข้อเสนอให้สหรัฐฯ ไม่น้อย ลดภาษีนำเข้าให้กับสินค้าสหรัฐฯ กว่า 90% ของสินค้าที่นำเข้ามาไทย แถมบางรายการภาษี 0% แต่มีประมาณ 10% ที่ไทยให้ไม่ได้ เพราะต้องดูแลผู้ประกอบการในประเทศ และไม่ให้กระทบกับสินค้าประเทศอื่นที่ไทยทำ FTA เอาไว้ แต่ไม่ได้บอกสังคมแน่ชัดว่ามีอะไรบ้าง อีกสิ่งหนึ่งที่สังคมตั้งคำถาม ก่อนหน้านี้นายพิชัยและคณะทีมไทยแลนด์เดินทางไปสหรัฐอเมริกา ใช้งบประมาณมหาศาล อย่างน้อยเครื่องบินชั้นบิสซิเนสคลาส พักที่โรงแรมหรู แถมยังจ้างล็อบบี้ยิสต์ 87.4 ล้านบาท แต่ผลที่ได้กลับบ้านมือเปล่า ถือว่าทำงานคุ้มกับภาษีประชาชนที่จ่ายไปหรือไม่?

    #Newskit
    ภาษีทรัมป์ 36% ภาษีกูบินอเมริกา-จ้างล็อบบี้ยิสต์ รัฐบาลพรรคเพื่อไทยภายใต้การนำของ อุ๊งอิ๊ง-แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไทยล้มเหลวโดยสิ้นเชิง นอกจากโครงการแจกเงิน 10,000 บาทที่ไม่เกิดพายุหมุนทางเศรษฐกิจแล้ว สงครามการค้าของสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ประกาศว่าจะขึ้นภาษีนำเข้าสินค้าจากไทย 36% มาตั้งแต่เดือน เม.ย. แต่รัฐบาลกลับสนใจช่วยเหลือ ทักษิณ ชินวัตร บิดานายกรัฐมนตรี ให้นอนในห้องวีไอพีของโรงพยาบาลโดยไม่ต้องติดคุกแม้แต่วันเดียว และการเปิดบ่อนกาสิโนภายใต้โครงการเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ล่าสุดเมื่อวันที่ 8 ก.ค. ตามเวลาในประเทศไทย ประธานาธิบดีทรัมป์ ทำหนังสือถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และรักษาราชการนายกรัฐมนตรี (ระบุชื่อ สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ) ว่า สหรัฐฯ จะตั้งกำแพงภาษีต่อสินค้านำเข้าจากไทยในอัตรา 36% ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค. เป็นต้นไป ส่วนจะแก้ไขให้ภาษีขึ้นหรือลง ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม หลายประเทศในอาเซียนเจออัตราแตกต่างกันไป เช่น ลาวและเมียนมา 40% กัมพูชา 36% เท่ากับไทย อินโดนีเซีย 32% มาเลเซีย 25% ส่วนเวียดนามก่อนหน้านี้ตกลงกันที่ 20-40% แลกกับยอมเปิดทางให้สหรัฐฯ ส่งสินค้าเข้าเวียดนามโดยไม่ต้องเสียภาษีศุลกากร สังคมตั้งคำถามไปยังนายพิชัย ชุณหวชิร รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.คลัง หัวหน้าทีมไทยแลนด์ ที่ยกโขยงไปเจรจาเรื่องภาษีทรัมป์ที่สหรัฐอเมริกา แล้วปรากฎว่าได้พบเพียงแค่ระดับผู้แทนการค้าสหรัฐฯ เท่านั้น ต่างจากเวียดนามที่นอกจากโต เลิม ผู้นำระดับสูงของเวียดนามโทร.คุยกับทรัมป์โดยตรงแล้ว การเจรจายังคุยกันถึงระดับรัฐมนตรีพาณิชย์สหรัฐฯ พอประธานาธิบดีทรัมป์ยืนกรานอัตราภาษี 36% นายพิชัยถึงกับช็อก บอกว่ามีตกใจบ้างแต่เลยจุดนี้มาแล้ว อ้างว่ายังไม่ได้พิจารณาข้อเสนอใหม่ที่ส่งไปเมื่อวันที่ 6 ก.ค.ซึ่งจะใช้ระยะเวลาที่เหลือจากนี้เจรจาให้ทันก่อนเดดไลน์ แม้นายพิชัยอ้างว่าไทยยื่นข้อเสนอให้สหรัฐฯ ไม่น้อย ลดภาษีนำเข้าให้กับสินค้าสหรัฐฯ กว่า 90% ของสินค้าที่นำเข้ามาไทย แถมบางรายการภาษี 0% แต่มีประมาณ 10% ที่ไทยให้ไม่ได้ เพราะต้องดูแลผู้ประกอบการในประเทศ และไม่ให้กระทบกับสินค้าประเทศอื่นที่ไทยทำ FTA เอาไว้ แต่ไม่ได้บอกสังคมแน่ชัดว่ามีอะไรบ้าง อีกสิ่งหนึ่งที่สังคมตั้งคำถาม ก่อนหน้านี้นายพิชัยและคณะทีมไทยแลนด์เดินทางไปสหรัฐอเมริกา ใช้งบประมาณมหาศาล อย่างน้อยเครื่องบินชั้นบิสซิเนสคลาส พักที่โรงแรมหรู แถมยังจ้างล็อบบี้ยิสต์ 87.4 ล้านบาท แต่ผลที่ได้กลับบ้านมือเปล่า ถือว่าทำงานคุ้มกับภาษีประชาชนที่จ่ายไปหรือไม่? #Newskit
    Like
    1
    0 Comments 1 Shares 244 Views 0 Reviews
  • แหม...
    .
    เป็นติ่งก็ต้องแบกสิจะรออะไร...???
    .

    .
    คุณภาพของติ่ง คุณภาพประชาธิปไตย คุณภาพประเทศไทย...
    .
    น้องเขาไม่ได้อยู่ดีๆออกมาขอโทษครับ...
    .
    น้องเจ้าของช่องเขาถูก ลุงสนธิ ฟ้อง เพราะเอาเรื่องเท็จ มาเล่า...!!!
    .
    ติ่งของช่องเนี่ยแหล่ะ กระดี๊กระด๊า ด่ากันมันส์ปากเลย...
    .
    ทำให้ ลุงสนธิ เขาเสื่อมเสียชื่อเสียง...
    .
    พอถูกฟ้อง ดันมาฟ้องกลับ หวังใช้ แท็กติก เจรจาให้ต่างฝ่ายต่างถอนฟ้อง...
    .
    เล่นกับใครไม่เล่น แพ้จ๊ะศาลยกฟ้อง...
    .
    สิ่งที่ น้องเขาเอามาเล่า มันไม่มีหลักฐาน ขาดบริบท เป็นสิ่งที่ คนเกลียด ลุงสนธิ หยิบขึ้นมาโจมตี เมื่อนานมาแล้ว
    .
    มีแต่คนพูดกันปากต่อปาก แต่ไม่มีใครกล้าเข้าไปยืนยันในศาล เพราะมันไม่ใช่เรื่องจริง ไม่มีพยานหลักฐาน บริบทแวดล้อมก็ไม่มี...
    .
    หลายคนโดยฟ้อง จนต้องออกมาขอโทษแบบนี้ก็หลายเคสแล้ว...
    .
    นักธุรกิจใหญ่ ล๊อบบี้ยิสต์ ผู้กว้างขวาง สนิทสนมกับนักการเมือง ยังไม่รอดเลย...
    .
    ตอนพูด พูดเป็นตุเป็นตะเชียว พอขึ้นศาลหลักฐานไม่มีจ๊า...
    .
    แหม... . เป็นติ่งก็ต้องแบกสิจะรออะไร...??? . 🤣🤣🤣🤣🤣🤣 . คุณภาพของติ่ง คุณภาพประชาธิปไตย คุณภาพประเทศไทย... . น้องเขาไม่ได้อยู่ดีๆออกมาขอโทษครับ... . น้องเจ้าของช่องเขาถูก ลุงสนธิ ฟ้อง เพราะเอาเรื่องเท็จ มาเล่า...!!! . ติ่งของช่องเนี่ยแหล่ะ กระดี๊กระด๊า ด่ากันมันส์ปากเลย... . ทำให้ ลุงสนธิ เขาเสื่อมเสียชื่อเสียง... . พอถูกฟ้อง ดันมาฟ้องกลับ หวังใช้ แท็กติก เจรจาให้ต่างฝ่ายต่างถอนฟ้อง... . เล่นกับใครไม่เล่น แพ้จ๊ะศาลยกฟ้อง... . สิ่งที่ น้องเขาเอามาเล่า มันไม่มีหลักฐาน ขาดบริบท เป็นสิ่งที่ คนเกลียด ลุงสนธิ หยิบขึ้นมาโจมตี เมื่อนานมาแล้ว . มีแต่คนพูดกันปากต่อปาก แต่ไม่มีใครกล้าเข้าไปยืนยันในศาล เพราะมันไม่ใช่เรื่องจริง ไม่มีพยานหลักฐาน บริบทแวดล้อมก็ไม่มี... . หลายคนโดยฟ้อง จนต้องออกมาขอโทษแบบนี้ก็หลายเคสแล้ว... . นักธุรกิจใหญ่ ล๊อบบี้ยิสต์ ผู้กว้างขวาง สนิทสนมกับนักการเมือง ยังไม่รอดเลย... . ตอนพูด พูดเป็นตุเป็นตะเชียว พอขึ้นศาลหลักฐานไม่มีจ๊า... . 🤣🤣🤣🤣🤣🤣🤣🤣
    0 Comments 1 Shares 338 Views 0 Reviews
  • 13 พฤษภาคม 2568 -ศาสตราจารย์ นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ได้โพสต์ประเด็นเรื่อง

    “ราคายาที่เป็นธรรม หลุดจาก อิทธิพลของบริษัทยา” 

    คำสั่งบริหารฉบับใหม่ของประธานาธิบดีทรัมป์มุ่งเป้าไปที่ราคาขายยาตามใบสั่งแพทย์ที่สูงมาก และเรียกร้องให้เมดิแคร์จ่ายในราคาที่ต่ำที่สุดที่ประเทศอื่นจ่าย

    สุนทรพจน์แบบนี้ ของ RFK Jr. ชนิดคำต่อคำ 
    (เพราะคุณจะไม่มีวันได้ยินคำพูดแบบนี้ จากนักการเมืองที่ไหน)

    _________________

    วันนี้เป็นวันที่พิเศษมาก เป็นประเด็นที่ผมเติบโตมาในพรรคเดโมแครต และผู้นำพรรคเดโมแครตทุกคน ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา ต่างก็ให้คำมั่นสัญญาต่อชาวอเมริกัน นี่คือจุดยืนของ เบอร์นี แซนเดอร์ส ที่ลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ว่าเขาตั้งใจจะขจัดความแตกต่าง ระหว่างยุโรปกับสหรัฐอเมริกา 
    แต่กลับปรากฏว่า ไม่มีใครทำเรื่องนี้เลย 
    นี่คือคำมั่นสัญญาอย่างหนึ่ง ที่นักการเมืองให้กับผู้แทนราษฎรของตน โดยรู้ดีว่า พวกเขาจะไม่มีวันได้ทำ 
    และสาเหตุที่พวกเขาไม่ต้องทำ ก็เพราะว่าพวกเขารู้ดีว่า ในหลายๆ ด้าน รัฐสภาถูกควบคุมโดยอุตสาหกรรมยา 

    มีนักล็อบบี้ยิสต์ขายยา อย่างน้อยหนึ่งคน ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละคน ต่อวุฒิสมาชิกแต่ละคนในแคปิตอลฮิลล์ และต่อสมาชิกศาลฎีกาแต่ละคน 
    ผมประมาณว่าน่าจะมีบริษัทยาสามแห่ง โดยอุตสาหกรรมนี้ใช้จ่ายเงินเพื่อการล็อบบี้ มากกว่านักล็อบบี้ยิสต์รายใหญ่ ถึงสามเท่า 

    ดังนั้น นี่จึงเป็นปัญหาที่ผู้คนพูดถึง แต่ไม่มีใครอยากทำอะไรเลย เพราะมันเป็นรังสีอันตราย 

    พวกเขารู้ว่าคุณไม่สามารถได้รับมันจากรัฐสภา 

    แต่ตอนนี้เรามีประธานาธิบดีที่พูดจริงทำจริง มีความกล้าหาญ ประธานาธิบดีทรัมป์ ก็รับเงินจากอุตสาหกรรมยาเช่นกัน (หันหน้าไปคุยกับทรั้มป์) ผมคิดว่าพวกเขาให้เงินคุณ 100 ล้านเหรียญ ... 
    แต่เขาไม่อาจถูกซื้อไปได้ ไม่เหมือนกับนักการเมืองส่วนใหญ่ในประเทศนี้ และเขายืนอยู่ที่นี่ เพื่อประชาชนชาวอเมริกัน 

    ผมไม่รู้ว่าทำไมมีนักเขียนอย่าง เอลิซาเบธ วาร์เรน หรือโรเบิร์ต ไรท์ ถึงพูดว่าประธานาธิบดีทรัมป์ อยู่ฝั่งเดียวกับพวกคณาธิปไตย ไม่เคยมีประธานาธิบดีคนใด ที่เต็มใจยืนหยัดต่อสู้กับพวกคณาธิปไตย มากไปกว่าประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ และผมภูมิใจในตัวคุณมาก คุณประธานาธิบดี สำหรับความกล้าหาญของคุณ ผมจะพูด เพราะผมไม่อยากพูดหยาบๆ ถึงความอดทนของคุณ ความแข็งแกร่งของคุณ และความเต็มใจของคุณ ที่จะยืนหยัดเพื่อประชาชนชาวอเมริกัน เรามีประชากรเพียง 4.2% ของทั้งโลก แต่ประเทศของเราคือรายได้ 75% ของบริษัทผลิตยา เราใช้เงิน 1,126 ดอลลาร์ต่อคน ในประเทศของเราสำหรับซื้อยา 
    ในอังกฤษ พวกเขาใช้เงินประมาณ 240 ดอลลาร์ พวกเขาใช้เงินเพียงหนึ่งในห้าของที่เราใช้ และนี่เป็นเรื่องจริงทั่วทั้งยุโรป และบริษัทผลิตยาในยุโรป 

    ถ้าคุณถามพวกเขา สิ่งที่พวกเขาพูดนั้น ไม่สมเหตุสมผลเลย 

    อเมริกาต้องจ่ายเงินสำหรับนวัตกรรมนี้ มันจะไม่เกิดขึ้น

    ประธานาธิบดีทรัมป์ กำลังพูดกับพันธมิตรในยุโรปของเราว่า คุณต้องเพิ่มจำนวนเงิน ที่คุณจ่ายสำหรับยาเหล่านั้น และจ่ายส่วนแบ่งของคุณสำหรับนวัตกรรม สหรัฐอเมริกาจะไม่อุดหนุนเรื่องนี้อีกต่อไปแล้ว 
    หากยุโรปขึ้นราคายาเพียง 20% นั่นเท่ากับ 10 ล้านล้านดอลลาร์ ซึ่งสามารถใช้ไปกับนวัตกรรมได้ และสุขภาพของผู้คนทั่วโลกจะดีขึ้น เนื่องจากเราจะมีผลิตภัณฑ์ที่ดีขึ้น ผมรู้สึกขอบคุณมากที่ได้อยู่ที่นี่ในวันนี้ ผมไม่เคยคิดว่าสิ่งนี้จะเกิดขึ้นในชีวิตของผม 
    ผมมีลูกสองคนที่เป็นเดโมแครต และเป็นแฟนตัวยงของ เบอร์นี แซนเดอร์ส เมื่อผมบอกพวกเขาว่าสิ่งนี้จะเกิดขึ้น พวกเขาก็ถึงกับน้ำตาซึม เพราะคิดว่าสิ่งนี้ จะไม่มีวันเกิดขึ้นได้ในชีวิตของเรา ในที่สุดเราก็มีประธานาธิบดี ที่เต็มใจจะยืนหยัดเพื่อชาวอเมริกัน

    https://youtu.be/Nq5uAJ2DLLY?si=QY-yDR9oHIwqRflb
    13 พฤษภาคม 2568 -ศาสตราจารย์ นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ได้โพสต์ประเด็นเรื่อง “ราคายาที่เป็นธรรม หลุดจาก อิทธิพลของบริษัทยา”  คำสั่งบริหารฉบับใหม่ของประธานาธิบดีทรัมป์มุ่งเป้าไปที่ราคาขายยาตามใบสั่งแพทย์ที่สูงมาก และเรียกร้องให้เมดิแคร์จ่ายในราคาที่ต่ำที่สุดที่ประเทศอื่นจ่าย สุนทรพจน์แบบนี้ ของ RFK Jr. ชนิดคำต่อคำ  (เพราะคุณจะไม่มีวันได้ยินคำพูดแบบนี้ จากนักการเมืองที่ไหน) _________________ วันนี้เป็นวันที่พิเศษมาก เป็นประเด็นที่ผมเติบโตมาในพรรคเดโมแครต และผู้นำพรรคเดโมแครตทุกคน ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา ต่างก็ให้คำมั่นสัญญาต่อชาวอเมริกัน นี่คือจุดยืนของ เบอร์นี แซนเดอร์ส ที่ลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ว่าเขาตั้งใจจะขจัดความแตกต่าง ระหว่างยุโรปกับสหรัฐอเมริกา  แต่กลับปรากฏว่า ไม่มีใครทำเรื่องนี้เลย  นี่คือคำมั่นสัญญาอย่างหนึ่ง ที่นักการเมืองให้กับผู้แทนราษฎรของตน โดยรู้ดีว่า พวกเขาจะไม่มีวันได้ทำ  และสาเหตุที่พวกเขาไม่ต้องทำ ก็เพราะว่าพวกเขารู้ดีว่า ในหลายๆ ด้าน รัฐสภาถูกควบคุมโดยอุตสาหกรรมยา  มีนักล็อบบี้ยิสต์ขายยา อย่างน้อยหนึ่งคน ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละคน ต่อวุฒิสมาชิกแต่ละคนในแคปิตอลฮิลล์ และต่อสมาชิกศาลฎีกาแต่ละคน  ผมประมาณว่าน่าจะมีบริษัทยาสามแห่ง โดยอุตสาหกรรมนี้ใช้จ่ายเงินเพื่อการล็อบบี้ มากกว่านักล็อบบี้ยิสต์รายใหญ่ ถึงสามเท่า  ดังนั้น นี่จึงเป็นปัญหาที่ผู้คนพูดถึง แต่ไม่มีใครอยากทำอะไรเลย เพราะมันเป็นรังสีอันตราย  พวกเขารู้ว่าคุณไม่สามารถได้รับมันจากรัฐสภา  แต่ตอนนี้เรามีประธานาธิบดีที่พูดจริงทำจริง มีความกล้าหาญ ประธานาธิบดีทรัมป์ ก็รับเงินจากอุตสาหกรรมยาเช่นกัน (หันหน้าไปคุยกับทรั้มป์) ผมคิดว่าพวกเขาให้เงินคุณ 100 ล้านเหรียญ ...  แต่เขาไม่อาจถูกซื้อไปได้ ไม่เหมือนกับนักการเมืองส่วนใหญ่ในประเทศนี้ และเขายืนอยู่ที่นี่ เพื่อประชาชนชาวอเมริกัน  ผมไม่รู้ว่าทำไมมีนักเขียนอย่าง เอลิซาเบธ วาร์เรน หรือโรเบิร์ต ไรท์ ถึงพูดว่าประธานาธิบดีทรัมป์ อยู่ฝั่งเดียวกับพวกคณาธิปไตย ไม่เคยมีประธานาธิบดีคนใด ที่เต็มใจยืนหยัดต่อสู้กับพวกคณาธิปไตย มากไปกว่าประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ และผมภูมิใจในตัวคุณมาก คุณประธานาธิบดี สำหรับความกล้าหาญของคุณ ผมจะพูด เพราะผมไม่อยากพูดหยาบๆ ถึงความอดทนของคุณ ความแข็งแกร่งของคุณ และความเต็มใจของคุณ ที่จะยืนหยัดเพื่อประชาชนชาวอเมริกัน เรามีประชากรเพียง 4.2% ของทั้งโลก แต่ประเทศของเราคือรายได้ 75% ของบริษัทผลิตยา เราใช้เงิน 1,126 ดอลลาร์ต่อคน ในประเทศของเราสำหรับซื้อยา  ในอังกฤษ พวกเขาใช้เงินประมาณ 240 ดอลลาร์ พวกเขาใช้เงินเพียงหนึ่งในห้าของที่เราใช้ และนี่เป็นเรื่องจริงทั่วทั้งยุโรป และบริษัทผลิตยาในยุโรป  ถ้าคุณถามพวกเขา สิ่งที่พวกเขาพูดนั้น ไม่สมเหตุสมผลเลย  อเมริกาต้องจ่ายเงินสำหรับนวัตกรรมนี้ มันจะไม่เกิดขึ้น ประธานาธิบดีทรัมป์ กำลังพูดกับพันธมิตรในยุโรปของเราว่า คุณต้องเพิ่มจำนวนเงิน ที่คุณจ่ายสำหรับยาเหล่านั้น และจ่ายส่วนแบ่งของคุณสำหรับนวัตกรรม สหรัฐอเมริกาจะไม่อุดหนุนเรื่องนี้อีกต่อไปแล้ว  หากยุโรปขึ้นราคายาเพียง 20% นั่นเท่ากับ 10 ล้านล้านดอลลาร์ ซึ่งสามารถใช้ไปกับนวัตกรรมได้ และสุขภาพของผู้คนทั่วโลกจะดีขึ้น เนื่องจากเราจะมีผลิตภัณฑ์ที่ดีขึ้น ผมรู้สึกขอบคุณมากที่ได้อยู่ที่นี่ในวันนี้ ผมไม่เคยคิดว่าสิ่งนี้จะเกิดขึ้นในชีวิตของผม  ผมมีลูกสองคนที่เป็นเดโมแครต และเป็นแฟนตัวยงของ เบอร์นี แซนเดอร์ส เมื่อผมบอกพวกเขาว่าสิ่งนี้จะเกิดขึ้น พวกเขาก็ถึงกับน้ำตาซึม เพราะคิดว่าสิ่งนี้ จะไม่มีวันเกิดขึ้นได้ในชีวิตของเรา ในที่สุดเราก็มีประธานาธิบดี ที่เต็มใจจะยืนหยัดเพื่อชาวอเมริกัน https://youtu.be/Nq5uAJ2DLLY?si=QY-yDR9oHIwqRflb
    0 Comments 0 Shares 374 Views 0 Reviews
  • Elephant in the Room
    The Crimes of the Pharmaceutical Industry
    เรื่องของบิ้กฟาร์ม่า

    Roddriver Aug 25, 2021

    อุตสาหกรรมยา เป็นการผลิตยาเพื่อผลทางการแพทย์ อุตสาหกรรมนี้เน้นการรณรงค์เรื่องของสิทธิบัตรทั่วโลกเป็นส่วนใหญ่ ...ถึงแม้ว่านักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักจะวิจารณ์หนักมากในเรื่องของสิทธิบัตรยา ...ยาที่มีสิทธิบัตรมักจะขายได้ราคาสูงกว่ายาที่ไม่มีสิทธิบัตรนับพัน ๆ เท่า

    อุตสาหกรรมนี้แสดงให้เห็นได้ชัดเจนถึงประเด็นที่ได้โพสท์ไว้ก่อนหน้านี้ (แปลแล้ว) เกี่ยวกับอำนาจและอาชญากรรมจากสิทธิบัตรของบริษัทยักษ์ทั้งหลาย

    Researching The Wrong Problems
    วืจัยเฉพาะเรื่องที่มีกำไร

    การทำวิจัยส่วนใหญ่มักจะโฟกัสไปที่ปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศที่ร่ำรวยที่มีกำลังซื้อ ...มียาเพียง 21 ตัวจาก 1,556 ตัวซึ่งออกสู่ตลาดโลกตั้งแต่ปี 1975 ถึงปี 2004 ที่เล็งเป้าไปต่อสู้กับโรคที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับชาวตะวันตกนัก ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศยากจน

    บริษัทเหล่านี้ใช้เวลาส่วนใหญ่ทำการวิจัยยาที่เกี่ยวกับไลฟ์สไตล์ เช่นไวอากร้ามากกว่ายารักษาวัณโรค เพราะกำไรมันอยู่ตรงนั้น ทั้ง ๆ ที่เราสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพของประเทศยากจนได้โดยใช้ทุนต่ำกว่ามาก ...ตั้งแต่ปี 2006 มาแล้วที่ World Health Organization (WHO) เริ่มพูดถึงปัญหานี้ แต่การหาทุนก็ยังคงมีไม่พอ

    Social Costs, Private Profits
    เงินวิจัยจากสาธารณชน แต่กำไรเป็นของเอกชน

    ในช่วงต้น ๆ ของการวิจัยและพัฒนามักจะได้รับทุนสาธารณะ ทั้งจากมหาวิทยาลัยและรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก ...บริษัทยักษ์จะเข้ามาร่วมด้วยหลังจากรู้ชัดว่าการทดลองขั้นต้นแสดงให้เห็นแล้วว่า..ยาตัวนี้น่าจะต้องมีอนาคตแน่

    อย่างไรก็ตาม ถ้าบริษัทไหนได้ถือสิทธิบัตรเอาไว้ ก็จะได้กำไรส่วนใหญ่ไป เพราะเมื่อมีสิทธิบัตรอยู่ในมือ พวกเขาก็จะชาร์จราคาสูงสุดได้ตามใจ พูดอีกอย่างก็คือ ราคาที่คนร่ำรวยจะจ่ายให้ได้

    ถ้าเป็นไปตามนี้ การปล่อยให้บริษัทเอกชนเก็บกำไรทั้งหมดจากยาที่ได้รับสิทธิบัตร..ก็ไม่น่าจะถูกต้องนัก มันคืออีกช่องทางหนึ่งของระบบเศรษฐกิจที่ถูกวางแผนครอบไว้ ในการดูดเอาความมั่งคั่งเข้ากระเป๋าพวกนักบริหารและผู้ถือหุ้นของบริษัทยักษ์ใหญ่ทั้งหลาย ...แค่นั้นเอง

    Depriving Poor Countries of Medicines
    คนจนไม่มีสิทธิ์ได้ใช้ยา

    ยาที่จะทำประโยชน์ให้คนนับล้านได้ในประเทศยากจน จำเป็นต้องมีราคาที่คนจนจะจับต้องได้ แต่พวกบิ้กฟาร์ม่าที่ถือสิทธิบัตรยาเหล่านั้น..ต้องการควบคุมการเข้าถึง และชาร์จที่ราคาสูงสุดเท่าที่จะทำได้

    World Trade organization (WTO) มีการบังคับใช้สิทธิบัตรผ่านข้อตกลง ที่เรียกว่า TRIPS (Trade Related Aspects of Intellectual Property) ...แต่ TRIPS ก็ยังมีข้อดีอยู่นิดหน่อยที่อนุญาตให้ประเทศยากจนหลายประเทศสามารถก้อปปี้การผลิตยาเฉพาะตัวที่สำคัญ ๆ และมีข้อบังคับทางกฏหมายให้บางประเทศเช่นอินเดียสามารถทำได้ ...แต่ถึงอย่างนั้น บิ้กฟาร์ม่าก็ยังคงบล็อกการเข้าถึงยาได้ทั่วโลกอยู่ ประเทศยากจนส่วนใหญ่ยังคงต้องซื้อยาในราคาแพงอยู่ เพราะยังคงมีการขู่จากทั้งสหรัฐ อังกฤษ และประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ

    Nelson Mandela ผู้นำประเทศอัฟริกาใต้ เคยพยายามที่จะได้ยา HIV ราคาถูกเพื่อรักษาผู้ป่วยเอดส์ในประเทศ ...บริษัทยาตะวันตกชาร์จที่ราคา $15,000 ต่อคนต่อปี ในขณะที่บริษัทอินเดียผลิตได้แค่ $300 ต่อคนต่อปี ...แต่แมนเดล่าถูกขู่ที่จะแซงค์ชั่น..หลังจากบริษัทยายักษ์ใหญ่ล้อบบี้ฐบาลสหรัฐ ทำให้ผู้คนหลายล้านในอัฟริกาใต้ต้องตาย เพราะไม่สามารถเข้าถึงยาจากอินเดียที่ก้อปปี้จากยาราคาแพงตัวนี้ได้

    More Spent on Marketing Than on Research
    ใช้เงินไปกับการตลาดมากกว่าใช้กับการวิจัยซะอีก

    ถ้ายาได้ผลดีจริง มันก็ไม่ต้องการการตลาดเลย ถ้ามันให้ผลดีจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์จริงแล้ว แพทย์และเครือข่ายการแพทย์ทั่วโลกย่อมจะต้องนำมาใช้อยู่แล้ว ...แต่จริง ๆ แล้ว ยาส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ผลนัก บริษัทจึงจำเป็นต้องใช้เงินมหาศาลในการ "ชักชวน" ให้แพทย์ทั้งหลายให้มาสั่งใช้ยานั้น ...ทั้งหมดนี้หมายความรวมถึง ของขวัญ การจัดท่องเที่ยววันหยุด หรือการสร้างสิ่งจูงใจ (ฟังดูไพเราะกว่า "สินบน" เยอะเลย) แพทย์จำนวนมากก็แฮ้ปปี้ที่จะร่วมเล่นด้วย ...ค่าใช้จ่ายการตลาดเหล่านี้น่ะ มันรวมอยู่ในราคายาแล้วแหละ

    Fraud and Deception are Widespread
    การฉ้อฉลมันกระจายวงไปกว้างไกลมาก

    อุตสาหกรรมยาเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีการคอรัปชั่นมากที่สุด บิ้กฟาร์ม่าหลายแห่งถูกกล่าวหาว่าขายยาที่เป็นอันตราย หรืออาจถึงชีวิตได้ ...อุตสาหกรรมนี้เคยถูกสั่งปรับมาแล้วถึงมากกว่า $5 หมื่นล้านในรอบยี่สิบปีที่ผ่านมา ...เมื่อปี 2012 Glaxo Smith Kline (GSK) ก็ถูกปรับไป $3 พันล้านในสหรัฐที่ขายยาผิดประเภท และจ่ายสินบนแก่แพทย์ และปิดบังผลวิจัย นอกจากนี้ GSK ยังถูกปรับที่อินเดีย อัฟริกาใต้และอังกฤษ

    แต่บริษัทนี้ขายยาแค่รายการเดียวก็อาจเป็นจำนวนเงินที่มากกว่าค่าปรับหลายเท่าตัวก็ได้สบาย ๆ

    อุตสาหกรรมยามีประวัติการโฆษณายาเกินจริง..ไม่บอกถึงผลด้อยของคุณภาพ..และปิดบังผลร้ายของยามานานแล้ว ...จากการศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ แสดงให้เห็นว่า เวชภัณท์มีผลร้ายมากกว่าที่ผู้ผลิตแจ้งไว้ถึง 4 เท่าส่งผลให้มีผู้ป่วยต้องเข้าโรงพยาบาลถึงสองแสนกว่าคนในอังกฤษ และอีกสองล้านคนในสหรัฐในแต่ละปี

    นอกจากนี้ยังมีกรณีเสียชีวิตอีกถึง 55,000 รายจากยาแก้ปวด แต่ข้อมูลเหล่านี้ถูกปิดบังโดย Merck ผู้ผลิตยา ....ยังมีผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจ จากผลของยารักษาเบาหวาน

    ตอนนี้มีหลักฐานว่าบริษัทยาเหล่านี้มีการจัดการยักย้ายงานวิจัยของตน พวกนี้ทดสอบยาของตนเอง และออกผลทดสอบที่แสดงแต่ส่วนดีและซ่อนส่วนที่เป็นโทษ

    อุตสาหกรรมยาใช้เงินล้อบบี้รัฐบาลสหรัฐมากกว่าอุตสาหกรรมอื่น ๆ ..ปี 2018 มีการใช้เงินถึง $2.8 แสนล้าน นี่แสดงให้เห็นถึงการไร้กฏระเบียบของอุตสาหกรรมนี้ ถึงแม้สหรัฐจะมี Food and Drug Administration (FDA) แต่หน่วยงานนี้ก็มีงบประมาณไม่พอ ทำให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน ...เจ้าหน้าที่ในสต้าฟมีสัมพันธภาพกับอุตสาหกรรมนี้ อดีตผอ. FDA ก็ออกไปทำงานกับ Pfizer ...ส่วนอดีตสมาชิกสภาคองเกรสจำนวนไม่น้อยก็ไปรับจ้อบเป็นล้อบบี้ยิสต์ให้กับอุตสาหกรรมยา

    สถานการณ์ของการรักษากฏของเรื่องนี้ในอังกฤษยิ่งร้ายหนักกว่าอีก อังกฤษไม่เคยมีการลงโทษบริษัทยาซักแห่งเลย มีการปรับเล็กน้อยรวมกันแค่ £73,300 แต่ไม่เคยมีการบังคับใช้กฏหมายอย่างจริงจังเลย

    Not Fit For Purpose

    แทบทุกประเทศที่มีหน่วยงานเกี่ยวกับอาหารและยามักจะตายใจไม่นึกว่าอุตสาหกรรมยาน่ะมันเชี่..แค่ไหน พวกสื่อเองก็เงียบไม่พูดถึงกำ ไรมหาศาลของบริษัทยาเพราะรับทรัพย์ไปเยอะ ...อุตสาหกรรมนี้เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของอุตสาหกรรมที่ไม่ได้เกิดขึ้นเพื่อสนองจุดประสงค์แท้จริงของสาธารณชน (not fit for purpose) มันทำความล้มเหลวทั้งในประเทศร่ำรวยและยากจนถ้วนหน้า

    ถ้าอุตสาหกรรมนี้เป็นเรื่องที่ดำเนินงานไปโดยหน่วยงานของชาติ ยาทุกชนิดจะมีราคาเป็นแค่เศษเสี้ยวของราคาปัจจุบัน ไม่ต้องมีปัญหายาปลอม ไม่ต้องมีการล็อบบี้ ไม่ต้องมีการแย่งชิงสิทธิบัตร ประเทศยากจนเข้าถึงยาได้ง่าย ๆ ที่ราคาต่ำมาก ๆ จนอาจให้เปล่าได้เลย

    ถ้าเราพูดถึงการต่อสู้ความยากจนของโลกจริง ๆ แล้ว นี่เป็นเรื่องแรก ๆ ที่ต้องทำ ....แต่ความเป็นไปได้ที่อุตสาหกรรมยาควรจะเป็นเรื่องที่รัฐบาลดำเนินงานเอง เป็นเรื่องที่ไม่เคยมีใครพูดถึงเลย......

    ***ผมไม่ได้แปลส่วนเชิงอรรถในบทความนะครับ แต่เพื่อน ๆ ดูได้ในบทความต้นฉบับนะครับ***

    https://medium.com/elephantsintheroom/42-the-crimes-of-the-pharmaceutical-industry-5fee08225cbb
    Elephant in the Room The Crimes of the Pharmaceutical Industry เรื่องของบิ้กฟาร์ม่า Roddriver Aug 25, 2021 อุตสาหกรรมยา เป็นการผลิตยาเพื่อผลทางการแพทย์ อุตสาหกรรมนี้เน้นการรณรงค์เรื่องของสิทธิบัตรทั่วโลกเป็นส่วนใหญ่ ...ถึงแม้ว่านักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักจะวิจารณ์หนักมากในเรื่องของสิทธิบัตรยา ...ยาที่มีสิทธิบัตรมักจะขายได้ราคาสูงกว่ายาที่ไม่มีสิทธิบัตรนับพัน ๆ เท่า อุตสาหกรรมนี้แสดงให้เห็นได้ชัดเจนถึงประเด็นที่ได้โพสท์ไว้ก่อนหน้านี้ (แปลแล้ว) เกี่ยวกับอำนาจและอาชญากรรมจากสิทธิบัตรของบริษัทยักษ์ทั้งหลาย Researching The Wrong Problems วืจัยเฉพาะเรื่องที่มีกำไร การทำวิจัยส่วนใหญ่มักจะโฟกัสไปที่ปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศที่ร่ำรวยที่มีกำลังซื้อ ...มียาเพียง 21 ตัวจาก 1,556 ตัวซึ่งออกสู่ตลาดโลกตั้งแต่ปี 1975 ถึงปี 2004 ที่เล็งเป้าไปต่อสู้กับโรคที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับชาวตะวันตกนัก ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศยากจน บริษัทเหล่านี้ใช้เวลาส่วนใหญ่ทำการวิจัยยาที่เกี่ยวกับไลฟ์สไตล์ เช่นไวอากร้ามากกว่ายารักษาวัณโรค เพราะกำไรมันอยู่ตรงนั้น ทั้ง ๆ ที่เราสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพของประเทศยากจนได้โดยใช้ทุนต่ำกว่ามาก ...ตั้งแต่ปี 2006 มาแล้วที่ World Health Organization (WHO) เริ่มพูดถึงปัญหานี้ แต่การหาทุนก็ยังคงมีไม่พอ Social Costs, Private Profits เงินวิจัยจากสาธารณชน แต่กำไรเป็นของเอกชน ในช่วงต้น ๆ ของการวิจัยและพัฒนามักจะได้รับทุนสาธารณะ ทั้งจากมหาวิทยาลัยและรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก ...บริษัทยักษ์จะเข้ามาร่วมด้วยหลังจากรู้ชัดว่าการทดลองขั้นต้นแสดงให้เห็นแล้วว่า..ยาตัวนี้น่าจะต้องมีอนาคตแน่ อย่างไรก็ตาม ถ้าบริษัทไหนได้ถือสิทธิบัตรเอาไว้ ก็จะได้กำไรส่วนใหญ่ไป เพราะเมื่อมีสิทธิบัตรอยู่ในมือ พวกเขาก็จะชาร์จราคาสูงสุดได้ตามใจ พูดอีกอย่างก็คือ ราคาที่คนร่ำรวยจะจ่ายให้ได้ ถ้าเป็นไปตามนี้ การปล่อยให้บริษัทเอกชนเก็บกำไรทั้งหมดจากยาที่ได้รับสิทธิบัตร..ก็ไม่น่าจะถูกต้องนัก มันคืออีกช่องทางหนึ่งของระบบเศรษฐกิจที่ถูกวางแผนครอบไว้ ในการดูดเอาความมั่งคั่งเข้ากระเป๋าพวกนักบริหารและผู้ถือหุ้นของบริษัทยักษ์ใหญ่ทั้งหลาย ...แค่นั้นเอง Depriving Poor Countries of Medicines คนจนไม่มีสิทธิ์ได้ใช้ยา ยาที่จะทำประโยชน์ให้คนนับล้านได้ในประเทศยากจน จำเป็นต้องมีราคาที่คนจนจะจับต้องได้ แต่พวกบิ้กฟาร์ม่าที่ถือสิทธิบัตรยาเหล่านั้น..ต้องการควบคุมการเข้าถึง และชาร์จที่ราคาสูงสุดเท่าที่จะทำได้ World Trade organization (WTO) มีการบังคับใช้สิทธิบัตรผ่านข้อตกลง ที่เรียกว่า TRIPS (Trade Related Aspects of Intellectual Property) ...แต่ TRIPS ก็ยังมีข้อดีอยู่นิดหน่อยที่อนุญาตให้ประเทศยากจนหลายประเทศสามารถก้อปปี้การผลิตยาเฉพาะตัวที่สำคัญ ๆ และมีข้อบังคับทางกฏหมายให้บางประเทศเช่นอินเดียสามารถทำได้ ...แต่ถึงอย่างนั้น บิ้กฟาร์ม่าก็ยังคงบล็อกการเข้าถึงยาได้ทั่วโลกอยู่ ประเทศยากจนส่วนใหญ่ยังคงต้องซื้อยาในราคาแพงอยู่ เพราะยังคงมีการขู่จากทั้งสหรัฐ อังกฤษ และประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ Nelson Mandela ผู้นำประเทศอัฟริกาใต้ เคยพยายามที่จะได้ยา HIV ราคาถูกเพื่อรักษาผู้ป่วยเอดส์ในประเทศ ...บริษัทยาตะวันตกชาร์จที่ราคา $15,000 ต่อคนต่อปี ในขณะที่บริษัทอินเดียผลิตได้แค่ $300 ต่อคนต่อปี ...แต่แมนเดล่าถูกขู่ที่จะแซงค์ชั่น..หลังจากบริษัทยายักษ์ใหญ่ล้อบบี้ฐบาลสหรัฐ ทำให้ผู้คนหลายล้านในอัฟริกาใต้ต้องตาย เพราะไม่สามารถเข้าถึงยาจากอินเดียที่ก้อปปี้จากยาราคาแพงตัวนี้ได้ More Spent on Marketing Than on Research ใช้เงินไปกับการตลาดมากกว่าใช้กับการวิจัยซะอีก ถ้ายาได้ผลดีจริง มันก็ไม่ต้องการการตลาดเลย ถ้ามันให้ผลดีจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์จริงแล้ว แพทย์และเครือข่ายการแพทย์ทั่วโลกย่อมจะต้องนำมาใช้อยู่แล้ว ...แต่จริง ๆ แล้ว ยาส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ผลนัก บริษัทจึงจำเป็นต้องใช้เงินมหาศาลในการ "ชักชวน" ให้แพทย์ทั้งหลายให้มาสั่งใช้ยานั้น ...ทั้งหมดนี้หมายความรวมถึง ของขวัญ การจัดท่องเที่ยววันหยุด หรือการสร้างสิ่งจูงใจ (ฟังดูไพเราะกว่า "สินบน" เยอะเลย) แพทย์จำนวนมากก็แฮ้ปปี้ที่จะร่วมเล่นด้วย ...ค่าใช้จ่ายการตลาดเหล่านี้น่ะ มันรวมอยู่ในราคายาแล้วแหละ Fraud and Deception are Widespread การฉ้อฉลมันกระจายวงไปกว้างไกลมาก อุตสาหกรรมยาเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีการคอรัปชั่นมากที่สุด บิ้กฟาร์ม่าหลายแห่งถูกกล่าวหาว่าขายยาที่เป็นอันตราย หรืออาจถึงชีวิตได้ ...อุตสาหกรรมนี้เคยถูกสั่งปรับมาแล้วถึงมากกว่า $5 หมื่นล้านในรอบยี่สิบปีที่ผ่านมา ...เมื่อปี 2012 Glaxo Smith Kline (GSK) ก็ถูกปรับไป $3 พันล้านในสหรัฐที่ขายยาผิดประเภท และจ่ายสินบนแก่แพทย์ และปิดบังผลวิจัย นอกจากนี้ GSK ยังถูกปรับที่อินเดีย อัฟริกาใต้และอังกฤษ แต่บริษัทนี้ขายยาแค่รายการเดียวก็อาจเป็นจำนวนเงินที่มากกว่าค่าปรับหลายเท่าตัวก็ได้สบาย ๆ อุตสาหกรรมยามีประวัติการโฆษณายาเกินจริง..ไม่บอกถึงผลด้อยของคุณภาพ..และปิดบังผลร้ายของยามานานแล้ว ...จากการศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ แสดงให้เห็นว่า เวชภัณท์มีผลร้ายมากกว่าที่ผู้ผลิตแจ้งไว้ถึง 4 เท่าส่งผลให้มีผู้ป่วยต้องเข้าโรงพยาบาลถึงสองแสนกว่าคนในอังกฤษ และอีกสองล้านคนในสหรัฐในแต่ละปี นอกจากนี้ยังมีกรณีเสียชีวิตอีกถึง 55,000 รายจากยาแก้ปวด แต่ข้อมูลเหล่านี้ถูกปิดบังโดย Merck ผู้ผลิตยา ....ยังมีผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจ จากผลของยารักษาเบาหวาน ตอนนี้มีหลักฐานว่าบริษัทยาเหล่านี้มีการจัดการยักย้ายงานวิจัยของตน พวกนี้ทดสอบยาของตนเอง และออกผลทดสอบที่แสดงแต่ส่วนดีและซ่อนส่วนที่เป็นโทษ อุตสาหกรรมยาใช้เงินล้อบบี้รัฐบาลสหรัฐมากกว่าอุตสาหกรรมอื่น ๆ ..ปี 2018 มีการใช้เงินถึง $2.8 แสนล้าน นี่แสดงให้เห็นถึงการไร้กฏระเบียบของอุตสาหกรรมนี้ ถึงแม้สหรัฐจะมี Food and Drug Administration (FDA) แต่หน่วยงานนี้ก็มีงบประมาณไม่พอ ทำให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน ...เจ้าหน้าที่ในสต้าฟมีสัมพันธภาพกับอุตสาหกรรมนี้ อดีตผอ. FDA ก็ออกไปทำงานกับ Pfizer ...ส่วนอดีตสมาชิกสภาคองเกรสจำนวนไม่น้อยก็ไปรับจ้อบเป็นล้อบบี้ยิสต์ให้กับอุตสาหกรรมยา สถานการณ์ของการรักษากฏของเรื่องนี้ในอังกฤษยิ่งร้ายหนักกว่าอีก อังกฤษไม่เคยมีการลงโทษบริษัทยาซักแห่งเลย มีการปรับเล็กน้อยรวมกันแค่ £73,300 แต่ไม่เคยมีการบังคับใช้กฏหมายอย่างจริงจังเลย Not Fit For Purpose แทบทุกประเทศที่มีหน่วยงานเกี่ยวกับอาหารและยามักจะตายใจไม่นึกว่าอุตสาหกรรมยาน่ะมันเชี่..แค่ไหน พวกสื่อเองก็เงียบไม่พูดถึงกำ ไรมหาศาลของบริษัทยาเพราะรับทรัพย์ไปเยอะ ...อุตสาหกรรมนี้เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของอุตสาหกรรมที่ไม่ได้เกิดขึ้นเพื่อสนองจุดประสงค์แท้จริงของสาธารณชน (not fit for purpose) มันทำความล้มเหลวทั้งในประเทศร่ำรวยและยากจนถ้วนหน้า ถ้าอุตสาหกรรมนี้เป็นเรื่องที่ดำเนินงานไปโดยหน่วยงานของชาติ ยาทุกชนิดจะมีราคาเป็นแค่เศษเสี้ยวของราคาปัจจุบัน ไม่ต้องมีปัญหายาปลอม ไม่ต้องมีการล็อบบี้ ไม่ต้องมีการแย่งชิงสิทธิบัตร ประเทศยากจนเข้าถึงยาได้ง่าย ๆ ที่ราคาต่ำมาก ๆ จนอาจให้เปล่าได้เลย ถ้าเราพูดถึงการต่อสู้ความยากจนของโลกจริง ๆ แล้ว นี่เป็นเรื่องแรก ๆ ที่ต้องทำ ....แต่ความเป็นไปได้ที่อุตสาหกรรมยาควรจะเป็นเรื่องที่รัฐบาลดำเนินงานเอง เป็นเรื่องที่ไม่เคยมีใครพูดถึงเลย...... ***ผมไม่ได้แปลส่วนเชิงอรรถในบทความนะครับ แต่เพื่อน ๆ ดูได้ในบทความต้นฉบับนะครับ*** https://medium.com/elephantsintheroom/42-the-crimes-of-the-pharmaceutical-industry-5fee08225cbb
    MEDIUM.COM
    42) The Crimes of the Pharmaceutical Industry
    “The history of medicine is littered with wonderful early results which over a period of time turn out to be not so wonderful…
    0 Comments 0 Shares 1142 Views 0 Reviews
  • Elephant in the Room
    The Crimes of the Pharmaceutical Industry
    เรื่องของบิ้กฟาร์ม่า

    Roddriver Aug 25, 2021

    อุตสาหกรรมยา เป็นการผลิตยาเพื่อผลทางการแพทย์ อุตสาหกรรมนี้เน้นการรณรงค์เรื่องของสิทธิบัตรทั่วโลกเป็นส่วนใหญ่ ...ถึงแม้ว่านักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักจะวิจารณ์หนักมากในเรื่องของสิทธิบัตรยา ...ยาที่มีสิทธิบัตรมักจะขายได้ราคาสูงกว่ายาที่ไม่มีสิทธิบัตรนับพัน ๆ เท่า

    อุตสาหกรรมนี้แสดงให้เห็นได้ชัดเจนถึงประเด็นที่ได้โพสท์ไว้ก่อนหน้านี้ (แปลแล้ว) เกี่ยวกับอำนาจและอาชญากรรมจากสิทธิบัตรของบริษัทยักษ์ทั้งหลาย

    Researching The Wrong Problems
    วืจัยเฉพาะเรื่องที่มีกำไร

    การทำวิจัยส่วนใหญ่มักจะโฟกัสไปที่ปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศที่ร่ำรวยที่มีกำลังซื้อ ...มียาเพียง 21 ตัวจาก 1,556 ตัวซึ่งออกสู่ตลาดโลกตั้งแต่ปี 1975 ถึงปี 2004 ที่เล็งเป้าไปต่อสู้กับโรคที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับชาวตะวันตกนัก ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศยากจน

    บริษัทเหล่านี้ใช้เวลาส่วนใหญ่ทำการวิจัยยาที่เกี่ยวกับไลฟ์สไตล์ เช่นไวอากร้ามากกว่ายารักษาวัณโรค เพราะกำไรมันอยู่ตรงนั้น ทั้ง ๆ ที่เราสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพของประเทศยากจนได้โดยใช้ทุนต่ำกว่ามาก ...ตั้งแต่ปี 2006 มาแล้วที่ World Health Organization (WHO) เริ่มพูดถึงปัญหานี้ แต่การหาทุนก็ยังคงมีไม่พอ

    Social Costs, Private Profits
    เงินวิจัยจากสาธารณชน แต่กำไรเป็นของเอกชน

    ในช่วงต้น ๆ ของการวิจัยและพัฒนามักจะได้รับทุนสาธารณะ ทั้งจากมหาวิทยาลัยและรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก ...บริษัทยักษ์จะเข้ามาร่วมด้วยหลังจากรู้ชัดว่าการทดลองขั้นต้นแสดงให้เห็นแล้วว่า..ยาตัวนี้น่าจะต้องมีอนาคตแน่

    อย่างไรก็ตาม ถ้าบริษัทไหนได้ถือสิทธิบัตรเอาไว้ ก็จะได้กำไรส่วนใหญ่ไป เพราะเมื่อมีสิทธิบัตรอยู่ในมือ พวกเขาก็จะชาร์จราคาสูงสุดได้ตามใจ พูดอีกอย่างก็คือ ราคาที่คนร่ำรวยจะจ่ายให้ได้

    ถ้าเป็นไปตามนี้ การปล่อยให้บริษัทเอกชนเก็บกำไรทั้งหมดจากยาที่ได้รับสิทธิบัตร..ก็ไม่น่าจะถูกต้องนัก มันคืออีกช่องทางหนึ่งของระบบเศรษฐกิจที่ถูกวางแผนครอบไว้ ในการดูดเอาความมั่งคั่งเข้ากระเป๋าพวกนักบริหารและผู้ถือหุ้นของบริษัทยักษ์ใหญ่ทั้งหลาย ...แค่นั้นเอง

    Depriving Poor Countries of Medicines
    คนจนไม่มีสิทธิ์ได้ใช้ยา

    ยาที่จะทำประโยชน์ให้คนนับล้านได้ในประเทศยากจน จำเป็นต้องมีราคาที่คนจนจะจับต้องได้ แต่พวกบิ้กฟาร์ม่าที่ถือสิทธิบัตรยาเหล่านั้น..ต้องการควบคุมการเข้าถึง และชาร์จที่ราคาสูงสุดเท่าที่จะทำได้

    World Trade organization (WTO) มีการบังคับใช้สิทธิบัตรผ่านข้อตกลง ที่เรียกว่า TRIPS (Trade Related Aspects of Intellectual Property) ...แต่ TRIPS ก็ยังมีข้อดีอยู่นิดหน่อยที่อนุญาตให้ประเทศยากจนหลายประเทศสามารถก้อปปี้การผลิตยาเฉพาะตัวที่สำคัญ ๆ และมีข้อบังคับทางกฏหมายให้บางประเทศเช่นอินเดียสามารถทำได้ ...แต่ถึงอย่างนั้น บิ้กฟาร์ม่าก็ยังคงบล็อกการเข้าถึงยาได้ทั่วโลกอยู่ ประเทศยากจนส่วนใหญ่ยังคงต้องซื้อยาในราคาแพงอยู่ เพราะยังคงมีการขู่จากทั้งสหรัฐ อังกฤษ และประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ

    Nelson Mandela ผู้นำประเทศอัฟริกาใต้ เคยพยายามที่จะได้ยา HIV ราคาถูกเพื่อรักษาผู้ป่วยเอดส์ในประเทศ ...บริษัทยาตะวันตกชาร์จที่ราคา $15,000 ต่อคนต่อปี ในขณะที่บริษัทอินเดียผลิตได้แค่ $300 ต่อคนต่อปี ...แต่แมนเดล่าถูกขู่ที่จะแซงค์ชั่น..หลังจากบริษัทยายักษ์ใหญ่ล้อบบี้ฐบาลสหรัฐ ทำให้ผู้คนหลายล้านในอัฟริกาใต้ต้องตาย เพราะไม่สามารถเข้าถึงยาจากอินเดียที่ก้อปปี้จากยาราคาแพงตัวนี้ได้

    More Spent on Marketing Than on Research
    ใช้เงินไปกับการตลาดมากกว่าใช้กับการวิจัยซะอีก

    ถ้ายาได้ผลดีจริง มันก็ไม่ต้องการการตลาดเลย ถ้ามันให้ผลดีจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์จริงแล้ว แพทย์และเครือข่ายการแพทย์ทั่วโลกย่อมจะต้องนำมาใช้อยู่แล้ว ...แต่จริง ๆ แล้ว ยาส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ผลนัก บริษัทจึงจำเป็นต้องใช้เงินมหาศาลในการ "ชักชวน" ให้แพทย์ทั้งหลายให้มาสั่งใช้ยานั้น ...ทั้งหมดนี้หมายความรวมถึง ของขวัญ การจัดท่องเที่ยววันหยุด หรือการสร้างสิ่งจูงใจ (ฟังดูไพเราะกว่า "สินบน" เยอะเลย) แพทย์จำนวนมากก็แฮ้ปปี้ที่จะร่วมเล่นด้วย ...ค่าใช้จ่ายการตลาดเหล่านี้น่ะ มันรวมอยู่ในราคายาแล้วแหละ

    Fraud and Deception are Widespread
    การฉ้อฉลมันกระจายวงไปกว้างไกลมาก

    อุตสาหกรรมยาเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีการคอรัปชั่นมากที่สุด บิ้กฟาร์ม่าหลายแห่งถูกกล่าวหาว่าขายยาที่เป็นอันตราย หรืออาจถึงชีวิตได้ ...อุตสาหกรรมนี้เคยถูกสั่งปรับมาแล้วถึงมากกว่า $5 หมื่นล้านในรอบยี่สิบปีที่ผ่านมา ...เมื่อปี 2012 Glaxo Smith Kline (GSK) ก็ถูกปรับไป $3 พันล้านในสหรัฐที่ขายยาผิดประเภท และจ่ายสินบนแก่แพทย์ และปิดบังผลวิจัย นอกจากนี้ GSK ยังถูกปรับที่อินเดีย อัฟริกาใต้และอังกฤษ

    แต่บริษัทนี้ขายยาแค่รายการเดียวก็อาจเป็นจำนวนเงินที่มากกว่าค่าปรับหลายเท่าตัวก็ได้สบาย ๆ

    อุตสาหกรรมยามีประวัติการโฆษณายาเกินจริง..ไม่บอกถึงผลด้อยของคุณภาพ..และปิดบังผลร้ายของยามานานแล้ว ...จากการศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ แสดงให้เห็นว่า เวชภัณท์มีผลร้ายมากกว่าที่ผู้ผลิตแจ้งไว้ถึง 4 เท่าส่งผลให้มีผู้ป่วยต้องเข้าโรงพยาบาลถึงสองแสนกว่าคนในอังกฤษ และอีกสองล้านคนในสหรัฐในแต่ละปี

    นอกจากนี้ยังมีกรณีเสียชีวิตอีกถึง 55,000 รายจากยาแก้ปวด แต่ข้อมูลเหล่านี้ถูกปิดบังโดย Merck ผู้ผลิตยา ....ยังมีผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจ จากผลของยารักษาเบาหวาน

    ตอนนี้มีหลักฐานว่าบริษัทยาเหล่านี้มีการจัดการยักย้ายงานวิจัยของตน พวกนี้ทดสอบยาของตนเอง และออกผลทดสอบที่แสดงแต่ส่วนดีและซ่อนส่วนที่เป็นโทษ

    อุตสาหกรรมยาใช้เงินล้อบบี้รัฐบาลสหรัฐมากกว่าอุตสาหกรรมอื่น ๆ ..ปี 2018 มีการใช้เงินถึง $2.8 แสนล้าน นี่แสดงให้เห็นถึงการไร้กฏระเบียบของอุตสาหกรรมนี้ ถึงแม้สหรัฐจะมี Food and Drug Administration (FDA) แต่หน่วยงานนี้ก็มีงบประมาณไม่พอ ทำให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน ...เจ้าหน้าที่ในสต้าฟมีสัมพันธภาพกับอุตสาหกรรมนี้ อดีตผอ. FDA ก็ออกไปทำงานกับ Pfizer ...ส่วนอดีตสมาชิกสภาคองเกรสจำนวนไม่น้อยก็ไปรับจ้อบเป็นล้อบบี้ยิสต์ให้กับอุตสาหกรรมยา

    สถานการณ์ของการรักษากฏของเรื่องนี้ในอังกฤษยิ่งร้ายหนักกว่าอีก อังกฤษไม่เคยมีการลงโทษบริษัทยาซักแห่งเลย มีการปรับเล็กน้อยรวมกันแค่ £73,300 แต่ไม่เคยมีการบังคับใช้กฏหมายอย่างจริงจังเลย

    Not Fit For Purpose

    แทบทุกประเทศที่มีหน่วยงานเกี่ยวกับอาหารและยามักจะตายใจไม่นึกว่าอุตสาหกรรมยาน่ะมันเชี่..แค่ไหน พวกสื่อเองก็เงียบไม่พูดถึงกำ ไรมหาศาลของบริษัทยาเพราะรับทรัพย์ไปเยอะ ...อุตสาหกรรมนี้เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของอุตสาหกรรมที่ไม่ได้เกิดขึ้นเพื่อสนองจุดประสงค์แท้จริงของสาธารณชน (not fit for purpose) มันทำความล้มเหลวทั้งในประเทศร่ำรวยและยากจนถ้วนหน้า

    ถ้าอุตสาหกรรมนี้เป็นเรื่องที่ดำเนินงานไปโดยหน่วยงานของชาติ ยาทุกชนิดจะมีราคาเป็นแค่เศษเสี้ยวของราคาปัจจุบัน ไม่ต้องมีปัญหายาปลอม ไม่ต้องมีการล็อบบี้ ไม่ต้องมีการแย่งชิงสิทธิบัตร ประเทศยากจนเข้าถึงยาได้ง่าย ๆ ที่ราคาต่ำมาก ๆ จนอาจให้เปล่าได้เลย

    ถ้าเราพูดถึงการต่อสู้ความยากจนของโลกจริง ๆ แล้ว นี่เป็นเรื่องแรก ๆ ที่ต้องทำ ....แต่ความเป็นไปได้ที่อุตสาหกรรมยาควรจะเป็นเรื่องที่รัฐบาลดำเนินงานเอง เป็นเรื่องที่ไม่เคยมีใครพูดถึงเลย......

    ***ผมไม่ได้แปลส่วนเชิงอรรถในบทความนะครับ แต่เพื่อน ๆ ดูได้ในบทความต้นฉบับนะครับ***

    https://medium.com/elephantsintheroom/42-the-crimes-of-the-pharmaceutical-industry-5fee08225cbb
    Elephant in the Room The Crimes of the Pharmaceutical Industry เรื่องของบิ้กฟาร์ม่า Roddriver Aug 25, 2021 อุตสาหกรรมยา เป็นการผลิตยาเพื่อผลทางการแพทย์ อุตสาหกรรมนี้เน้นการรณรงค์เรื่องของสิทธิบัตรทั่วโลกเป็นส่วนใหญ่ ...ถึงแม้ว่านักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักจะวิจารณ์หนักมากในเรื่องของสิทธิบัตรยา ...ยาที่มีสิทธิบัตรมักจะขายได้ราคาสูงกว่ายาที่ไม่มีสิทธิบัตรนับพัน ๆ เท่า อุตสาหกรรมนี้แสดงให้เห็นได้ชัดเจนถึงประเด็นที่ได้โพสท์ไว้ก่อนหน้านี้ (แปลแล้ว) เกี่ยวกับอำนาจและอาชญากรรมจากสิทธิบัตรของบริษัทยักษ์ทั้งหลาย Researching The Wrong Problems วืจัยเฉพาะเรื่องที่มีกำไร การทำวิจัยส่วนใหญ่มักจะโฟกัสไปที่ปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศที่ร่ำรวยที่มีกำลังซื้อ ...มียาเพียง 21 ตัวจาก 1,556 ตัวซึ่งออกสู่ตลาดโลกตั้งแต่ปี 1975 ถึงปี 2004 ที่เล็งเป้าไปต่อสู้กับโรคที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับชาวตะวันตกนัก ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศยากจน บริษัทเหล่านี้ใช้เวลาส่วนใหญ่ทำการวิจัยยาที่เกี่ยวกับไลฟ์สไตล์ เช่นไวอากร้ามากกว่ายารักษาวัณโรค เพราะกำไรมันอยู่ตรงนั้น ทั้ง ๆ ที่เราสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพของประเทศยากจนได้โดยใช้ทุนต่ำกว่ามาก ...ตั้งแต่ปี 2006 มาแล้วที่ World Health Organization (WHO) เริ่มพูดถึงปัญหานี้ แต่การหาทุนก็ยังคงมีไม่พอ Social Costs, Private Profits เงินวิจัยจากสาธารณชน แต่กำไรเป็นของเอกชน ในช่วงต้น ๆ ของการวิจัยและพัฒนามักจะได้รับทุนสาธารณะ ทั้งจากมหาวิทยาลัยและรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก ...บริษัทยักษ์จะเข้ามาร่วมด้วยหลังจากรู้ชัดว่าการทดลองขั้นต้นแสดงให้เห็นแล้วว่า..ยาตัวนี้น่าจะต้องมีอนาคตแน่ อย่างไรก็ตาม ถ้าบริษัทไหนได้ถือสิทธิบัตรเอาไว้ ก็จะได้กำไรส่วนใหญ่ไป เพราะเมื่อมีสิทธิบัตรอยู่ในมือ พวกเขาก็จะชาร์จราคาสูงสุดได้ตามใจ พูดอีกอย่างก็คือ ราคาที่คนร่ำรวยจะจ่ายให้ได้ ถ้าเป็นไปตามนี้ การปล่อยให้บริษัทเอกชนเก็บกำไรทั้งหมดจากยาที่ได้รับสิทธิบัตร..ก็ไม่น่าจะถูกต้องนัก มันคืออีกช่องทางหนึ่งของระบบเศรษฐกิจที่ถูกวางแผนครอบไว้ ในการดูดเอาความมั่งคั่งเข้ากระเป๋าพวกนักบริหารและผู้ถือหุ้นของบริษัทยักษ์ใหญ่ทั้งหลาย ...แค่นั้นเอง Depriving Poor Countries of Medicines คนจนไม่มีสิทธิ์ได้ใช้ยา ยาที่จะทำประโยชน์ให้คนนับล้านได้ในประเทศยากจน จำเป็นต้องมีราคาที่คนจนจะจับต้องได้ แต่พวกบิ้กฟาร์ม่าที่ถือสิทธิบัตรยาเหล่านั้น..ต้องการควบคุมการเข้าถึง และชาร์จที่ราคาสูงสุดเท่าที่จะทำได้ World Trade organization (WTO) มีการบังคับใช้สิทธิบัตรผ่านข้อตกลง ที่เรียกว่า TRIPS (Trade Related Aspects of Intellectual Property) ...แต่ TRIPS ก็ยังมีข้อดีอยู่นิดหน่อยที่อนุญาตให้ประเทศยากจนหลายประเทศสามารถก้อปปี้การผลิตยาเฉพาะตัวที่สำคัญ ๆ และมีข้อบังคับทางกฏหมายให้บางประเทศเช่นอินเดียสามารถทำได้ ...แต่ถึงอย่างนั้น บิ้กฟาร์ม่าก็ยังคงบล็อกการเข้าถึงยาได้ทั่วโลกอยู่ ประเทศยากจนส่วนใหญ่ยังคงต้องซื้อยาในราคาแพงอยู่ เพราะยังคงมีการขู่จากทั้งสหรัฐ อังกฤษ และประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ Nelson Mandela ผู้นำประเทศอัฟริกาใต้ เคยพยายามที่จะได้ยา HIV ราคาถูกเพื่อรักษาผู้ป่วยเอดส์ในประเทศ ...บริษัทยาตะวันตกชาร์จที่ราคา $15,000 ต่อคนต่อปี ในขณะที่บริษัทอินเดียผลิตได้แค่ $300 ต่อคนต่อปี ...แต่แมนเดล่าถูกขู่ที่จะแซงค์ชั่น..หลังจากบริษัทยายักษ์ใหญ่ล้อบบี้ฐบาลสหรัฐ ทำให้ผู้คนหลายล้านในอัฟริกาใต้ต้องตาย เพราะไม่สามารถเข้าถึงยาจากอินเดียที่ก้อปปี้จากยาราคาแพงตัวนี้ได้ More Spent on Marketing Than on Research ใช้เงินไปกับการตลาดมากกว่าใช้กับการวิจัยซะอีก ถ้ายาได้ผลดีจริง มันก็ไม่ต้องการการตลาดเลย ถ้ามันให้ผลดีจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์จริงแล้ว แพทย์และเครือข่ายการแพทย์ทั่วโลกย่อมจะต้องนำมาใช้อยู่แล้ว ...แต่จริง ๆ แล้ว ยาส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ผลนัก บริษัทจึงจำเป็นต้องใช้เงินมหาศาลในการ "ชักชวน" ให้แพทย์ทั้งหลายให้มาสั่งใช้ยานั้น ...ทั้งหมดนี้หมายความรวมถึง ของขวัญ การจัดท่องเที่ยววันหยุด หรือการสร้างสิ่งจูงใจ (ฟังดูไพเราะกว่า "สินบน" เยอะเลย) แพทย์จำนวนมากก็แฮ้ปปี้ที่จะร่วมเล่นด้วย ...ค่าใช้จ่ายการตลาดเหล่านี้น่ะ มันรวมอยู่ในราคายาแล้วแหละ Fraud and Deception are Widespread การฉ้อฉลมันกระจายวงไปกว้างไกลมาก อุตสาหกรรมยาเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีการคอรัปชั่นมากที่สุด บิ้กฟาร์ม่าหลายแห่งถูกกล่าวหาว่าขายยาที่เป็นอันตราย หรืออาจถึงชีวิตได้ ...อุตสาหกรรมนี้เคยถูกสั่งปรับมาแล้วถึงมากกว่า $5 หมื่นล้านในรอบยี่สิบปีที่ผ่านมา ...เมื่อปี 2012 Glaxo Smith Kline (GSK) ก็ถูกปรับไป $3 พันล้านในสหรัฐที่ขายยาผิดประเภท และจ่ายสินบนแก่แพทย์ และปิดบังผลวิจัย นอกจากนี้ GSK ยังถูกปรับที่อินเดีย อัฟริกาใต้และอังกฤษ แต่บริษัทนี้ขายยาแค่รายการเดียวก็อาจเป็นจำนวนเงินที่มากกว่าค่าปรับหลายเท่าตัวก็ได้สบาย ๆ อุตสาหกรรมยามีประวัติการโฆษณายาเกินจริง..ไม่บอกถึงผลด้อยของคุณภาพ..และปิดบังผลร้ายของยามานานแล้ว ...จากการศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ แสดงให้เห็นว่า เวชภัณท์มีผลร้ายมากกว่าที่ผู้ผลิตแจ้งไว้ถึง 4 เท่าส่งผลให้มีผู้ป่วยต้องเข้าโรงพยาบาลถึงสองแสนกว่าคนในอังกฤษ และอีกสองล้านคนในสหรัฐในแต่ละปี นอกจากนี้ยังมีกรณีเสียชีวิตอีกถึง 55,000 รายจากยาแก้ปวด แต่ข้อมูลเหล่านี้ถูกปิดบังโดย Merck ผู้ผลิตยา ....ยังมีผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจ จากผลของยารักษาเบาหวาน ตอนนี้มีหลักฐานว่าบริษัทยาเหล่านี้มีการจัดการยักย้ายงานวิจัยของตน พวกนี้ทดสอบยาของตนเอง และออกผลทดสอบที่แสดงแต่ส่วนดีและซ่อนส่วนที่เป็นโทษ อุตสาหกรรมยาใช้เงินล้อบบี้รัฐบาลสหรัฐมากกว่าอุตสาหกรรมอื่น ๆ ..ปี 2018 มีการใช้เงินถึง $2.8 แสนล้าน นี่แสดงให้เห็นถึงการไร้กฏระเบียบของอุตสาหกรรมนี้ ถึงแม้สหรัฐจะมี Food and Drug Administration (FDA) แต่หน่วยงานนี้ก็มีงบประมาณไม่พอ ทำให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน ...เจ้าหน้าที่ในสต้าฟมีสัมพันธภาพกับอุตสาหกรรมนี้ อดีตผอ. FDA ก็ออกไปทำงานกับ Pfizer ...ส่วนอดีตสมาชิกสภาคองเกรสจำนวนไม่น้อยก็ไปรับจ้อบเป็นล้อบบี้ยิสต์ให้กับอุตสาหกรรมยา สถานการณ์ของการรักษากฏของเรื่องนี้ในอังกฤษยิ่งร้ายหนักกว่าอีก อังกฤษไม่เคยมีการลงโทษบริษัทยาซักแห่งเลย มีการปรับเล็กน้อยรวมกันแค่ £73,300 แต่ไม่เคยมีการบังคับใช้กฏหมายอย่างจริงจังเลย Not Fit For Purpose แทบทุกประเทศที่มีหน่วยงานเกี่ยวกับอาหารและยามักจะตายใจไม่นึกว่าอุตสาหกรรมยาน่ะมันเชี่..แค่ไหน พวกสื่อเองก็เงียบไม่พูดถึงกำ ไรมหาศาลของบริษัทยาเพราะรับทรัพย์ไปเยอะ ...อุตสาหกรรมนี้เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของอุตสาหกรรมที่ไม่ได้เกิดขึ้นเพื่อสนองจุดประสงค์แท้จริงของสาธารณชน (not fit for purpose) มันทำความล้มเหลวทั้งในประเทศร่ำรวยและยากจนถ้วนหน้า ถ้าอุตสาหกรรมนี้เป็นเรื่องที่ดำเนินงานไปโดยหน่วยงานของชาติ ยาทุกชนิดจะมีราคาเป็นแค่เศษเสี้ยวของราคาปัจจุบัน ไม่ต้องมีปัญหายาปลอม ไม่ต้องมีการล็อบบี้ ไม่ต้องมีการแย่งชิงสิทธิบัตร ประเทศยากจนเข้าถึงยาได้ง่าย ๆ ที่ราคาต่ำมาก ๆ จนอาจให้เปล่าได้เลย ถ้าเราพูดถึงการต่อสู้ความยากจนของโลกจริง ๆ แล้ว นี่เป็นเรื่องแรก ๆ ที่ต้องทำ ....แต่ความเป็นไปได้ที่อุตสาหกรรมยาควรจะเป็นเรื่องที่รัฐบาลดำเนินงานเอง เป็นเรื่องที่ไม่เคยมีใครพูดถึงเลย...... ***ผมไม่ได้แปลส่วนเชิงอรรถในบทความนะครับ แต่เพื่อน ๆ ดูได้ในบทความต้นฉบับนะครับ*** https://medium.com/elephantsintheroom/42-the-crimes-of-the-pharmaceutical-industry-5fee08225cbb
    MEDIUM.COM
    42) The Crimes of the Pharmaceutical Industry
    “The history of medicine is littered with wonderful early results which over a period of time turn out to be not so wonderful…
    0 Comments 0 Shares 1127 Views 0 Reviews
  • “ทรัมป์ vs.กมลา” ละครปาหี่เลือกตั้งอเมริกา
    .
    วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน 2567 จะมีการเลือกตั้งที่สหรัฐอเมริกา การต่อสู้ระหว่างนายโดนัลด์ ทรัมป์ และ นางกมลา แฮร์ริส กำลังเข้าสู่โค้งสุดท้าย ทั่วโลกกำลังจับตาดูอยู่มาก เพราะว่าการเปลี่ยนแปลงผู้นำของประเทศๆ หนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งของอเมริกานั้น สำคัญที่สุด จะส่งผลต่อโลกทั้งใบได้
    .
    ไม่ว่าใครจะชนะ นโยบายอเมริกาไม่เปลี่ยนแปลง เพราะการขับเคลื่อนประเทศสหรัฐฯ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับประธานาธิบดี แต่ถูกบงการโดยรัฐพันลึกที่เขาเรียกว่า Deep State คือกลุ่มทุน กลุ่มผลประโยชน์อุตสาหกรรมอาวุธ อุตสาหกรรมพลังงาน ล็อบบี้ยิสต์ ไปจนถึงเครือข่ายในองค์กรอย่าง CIA, FBI รวมทั้งสื่อมวลชนกระแสหลัก ไม่ว่าจะเป็น CNBC, CBS, CNN, New York Times ซึ่งล้วนแล้วแต่ถือหางเลือกสองข้างพรรคการเมืองใหญ่เท่านั้นเอง
    .
    ทั้งพรรคเดโมแครต หรือรีพับลิกัน ล้วนยึดนโยบายอเมริกาต้องมาก่อนทั้งนั้น และนโยบายหลายเรื่องไม่มีการเปลี่ยนแปลง สนับสนุนอิสราเอลให้ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ต่อไป ต่อต้านจีน บ่อนเซาะรัสเซีย และรักษาสถานภาพมหาอำนาจเบอร์หนึ่งของโลกเอาไว้ด้วยวิธีการต่างๆ สร้างข่าวปลอม การคว่ำบาตร การทำสงคราม ทั้งสงครามอาวุธและสงครามข้อมูลข่าวสาร
    .
    อำนาจของสหรัฐฯ เสื่อมโทรม ทรุดถอยลง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะสหรัฐฯ มีปัญหาในประเทศอย่างหนักหนาสาหัส เพราะเกิดจากระบบทุนนิยมสามัญของตัวเองที่รังแกประชาชนของตัวเอง และใช้วิธีโยนปัญหาให้ประเทศอื่น เหมือนที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ ลดดอกเบี้ยหลายครั้งจนทำให้เศรษฐกิจของประเทศอื่นปั่นป่วนไปด้วย แต่พอแข่งขันไม่ได้ สู้ไม่ได้ ก็ตั้งกำแพงภาษีกีดกันสินค้านำเข้าจากจีน ก่อสงครามเทคโนโลยี ส่งผลให้หคนอเมริกาเองต้องใช้สินค้าราคาแพงด้วย
    .
    นักวิเคราะห์การเมืองทั่วโลกจึงเห็นตรงกันว่า ไม่ว่าใครชนะการเลือกตั้ง นโยบายหลายๆ อย่างไม่เปลี่ยนแปลง โดยเปลี่ยนแต่รูปแบบเท่านั้น โดยเปรียบเทียบให้เห็นว่า นางกมลา แฮร์ริส จะใช้มีดผ่าตัด จัดการแบบเชือดนิ่มๆ กับประเทศที่ทำให้สหรัฐฯ เสียผลประโยชน์ ส่วนนายทรัมป์จะใช้ค้อนทุบประเทศคู่แข่งที่เขาบอกว่าเอาเปรียบสหรัฐฯ
    .
    ในการประชุม BRICS ที่ประเทศรัสเซีย นายอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชงโก ประธานาธิบดีเบลารุส ได้กล่าวถึงการเลือกตั้งสหรัฐฯ ไว้อย่างน่าสนใจ เขาบอกว่า การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ เป็นละครปาหี่ทางการเมืองที่ห่วยแตกและงี่เง่าที่สุด พรรคเดโมแครต และพรรครีพับลิกัน ทุ่มเงินหลายร้อยล้านดอลลาร์ในการหาเสียงเลือกตั้ง แต่กลับไม่มีนโยบายอะไรที่เป็นรูปธรรมเลย
    “ทรัมป์ vs.กมลา” ละครปาหี่เลือกตั้งอเมริกา . วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน 2567 จะมีการเลือกตั้งที่สหรัฐอเมริกา การต่อสู้ระหว่างนายโดนัลด์ ทรัมป์ และ นางกมลา แฮร์ริส กำลังเข้าสู่โค้งสุดท้าย ทั่วโลกกำลังจับตาดูอยู่มาก เพราะว่าการเปลี่ยนแปลงผู้นำของประเทศๆ หนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งของอเมริกานั้น สำคัญที่สุด จะส่งผลต่อโลกทั้งใบได้ . ไม่ว่าใครจะชนะ นโยบายอเมริกาไม่เปลี่ยนแปลง เพราะการขับเคลื่อนประเทศสหรัฐฯ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับประธานาธิบดี แต่ถูกบงการโดยรัฐพันลึกที่เขาเรียกว่า Deep State คือกลุ่มทุน กลุ่มผลประโยชน์อุตสาหกรรมอาวุธ อุตสาหกรรมพลังงาน ล็อบบี้ยิสต์ ไปจนถึงเครือข่ายในองค์กรอย่าง CIA, FBI รวมทั้งสื่อมวลชนกระแสหลัก ไม่ว่าจะเป็น CNBC, CBS, CNN, New York Times ซึ่งล้วนแล้วแต่ถือหางเลือกสองข้างพรรคการเมืองใหญ่เท่านั้นเอง . ทั้งพรรคเดโมแครต หรือรีพับลิกัน ล้วนยึดนโยบายอเมริกาต้องมาก่อนทั้งนั้น และนโยบายหลายเรื่องไม่มีการเปลี่ยนแปลง สนับสนุนอิสราเอลให้ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ต่อไป ต่อต้านจีน บ่อนเซาะรัสเซีย และรักษาสถานภาพมหาอำนาจเบอร์หนึ่งของโลกเอาไว้ด้วยวิธีการต่างๆ สร้างข่าวปลอม การคว่ำบาตร การทำสงคราม ทั้งสงครามอาวุธและสงครามข้อมูลข่าวสาร . อำนาจของสหรัฐฯ เสื่อมโทรม ทรุดถอยลง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะสหรัฐฯ มีปัญหาในประเทศอย่างหนักหนาสาหัส เพราะเกิดจากระบบทุนนิยมสามัญของตัวเองที่รังแกประชาชนของตัวเอง และใช้วิธีโยนปัญหาให้ประเทศอื่น เหมือนที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ ลดดอกเบี้ยหลายครั้งจนทำให้เศรษฐกิจของประเทศอื่นปั่นป่วนไปด้วย แต่พอแข่งขันไม่ได้ สู้ไม่ได้ ก็ตั้งกำแพงภาษีกีดกันสินค้านำเข้าจากจีน ก่อสงครามเทคโนโลยี ส่งผลให้หคนอเมริกาเองต้องใช้สินค้าราคาแพงด้วย . นักวิเคราะห์การเมืองทั่วโลกจึงเห็นตรงกันว่า ไม่ว่าใครชนะการเลือกตั้ง นโยบายหลายๆ อย่างไม่เปลี่ยนแปลง โดยเปลี่ยนแต่รูปแบบเท่านั้น โดยเปรียบเทียบให้เห็นว่า นางกมลา แฮร์ริส จะใช้มีดผ่าตัด จัดการแบบเชือดนิ่มๆ กับประเทศที่ทำให้สหรัฐฯ เสียผลประโยชน์ ส่วนนายทรัมป์จะใช้ค้อนทุบประเทศคู่แข่งที่เขาบอกว่าเอาเปรียบสหรัฐฯ . ในการประชุม BRICS ที่ประเทศรัสเซีย นายอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชงโก ประธานาธิบดีเบลารุส ได้กล่าวถึงการเลือกตั้งสหรัฐฯ ไว้อย่างน่าสนใจ เขาบอกว่า การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ เป็นละครปาหี่ทางการเมืองที่ห่วยแตกและงี่เง่าที่สุด พรรคเดโมแครต และพรรครีพับลิกัน ทุ่มเงินหลายร้อยล้านดอลลาร์ในการหาเสียงเลือกตั้ง แต่กลับไม่มีนโยบายอะไรที่เป็นรูปธรรมเลย
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 1613 Views 0 Reviews