• พระพุทธสำริด ศิลปหริภุญชัย
    พระพุทธสำริด ศิลปหริภุญชัย
    0 Comments 0 Shares 2 Views 0 Reviews
  • พระพุทธรูป ศิลปทิเบต
    พระพุทธรูป ศิลปทิเบต
    0 Comments 0 Shares 2 Views 0 Reviews
  • เป็นพระมหากรุณาธิคุณของในหลวง ร.10
    พระราชทานเครื่องดื่มอเมซอน วันละ 2,000 แก้ว เพื่อให้บริการกับครอบครัวผู้วายชนม์ และแขกที่มาร่วมงานสวดพระอภิธรรม และพระราชทานเพลิงศพ (เป็นกรณีพิเศษ) ตั้งแต่วันที่ 3-8 ตุลาคม 2567 ณ โรงเรียนวัดเขาพระยาสังฆาราม อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี
    #ทรงพระเจริญ 🙏🙏🙏
    เป็นพระมหากรุณาธิคุณของในหลวง ร.10 พระราชทานเครื่องดื่มอเมซอน วันละ 2,000 แก้ว เพื่อให้บริการกับครอบครัวผู้วายชนม์ และแขกที่มาร่วมงานสวดพระอภิธรรม และพระราชทานเพลิงศพ (เป็นกรณีพิเศษ) ตั้งแต่วันที่ 3-8 ตุลาคม 2567 ณ โรงเรียนวัดเขาพระยาสังฆาราม อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี #ทรงพระเจริญ 🙏🙏🙏
    Love
    2
    0 Comments 0 Shares 43 Views 47 0 Reviews
  • พระ-เณร แบกโลง! เผาผีหนีน้ำท่วม 3 ศพ 05/10/67 #เชียงใหม่ #พระ-เณร #น้ำท่วม #มหาอุทกภัย
    พระ-เณร แบกโลง! เผาผีหนีน้ำท่วม 3 ศพ 05/10/67 #เชียงใหม่ #พระ-เณร #น้ำท่วม #มหาอุทกภัย
    Like
    Sad
    8
    0 Comments 1 Shares 247 Views 663 0 Reviews
  • สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์โต วัดอินทรวิหาร
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์โต วัดอินทรวิหาร
    0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 371
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 150 จบ
    รวมสวดสะสม 80,870 จบ ยอดคงเหลือ 3,130 จบ
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน
    #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ
    #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 371 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 150 จบ รวมสวดสะสม 80,870 จบ ยอดคงเหลือ 3,130 จบ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 371
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 150 จบ
    รวมสวดสะสม 80,870 จบ ยอดคงเหลือ 3,130 จบ
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน
    #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ
    #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 371 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 150 จบ รวมสวดสะสม 80,870 จบ ยอดคงเหลือ 3,130 จบ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • จงระลึกถึงองค์มหาบารมีพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์อยู่ทุกขณะจิต
    จงระลึกถึงองค์มหาบารมีพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์อยู่ทุกขณะจิต
    Love
    1
    0 Comments 1 Shares 26 Views 0 Reviews
  • Smith&Wesson Model 629 .44 Magnum

    โดย. พีระพงษ์ กลั่นกรอง

    เมื่อ คลิ้นท์ อี้สต์วู้ด (Clint Eastwood) ในบทของสารวัตรมือปราบ ฮาร์รี่ คาลาแฮน (Harry Callahan) พูดกับคนร้ายในฉากแรกของภาพยนต์เรื่อง “มือปราบปืนโหด” หรือ Dirty Harry ภาพยนต์ซีรี่ส์บู้แอ๊คชั่นที่ยิงกันสนั่นจอเรื่องที่โด่งดังที่สุดในโลกเมื่อ 40 ปีที่แล้ว

    ด้วยทุนสร้าง 4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มือปราบปืนโหด(ภาคแรก-ปีค.ศ.1971)ทำรายได้สูงถึง 35 ล้านเหรียญ, ภาคที่สอง คือ Magnum Force (ปี 1973), ภาคที่สาม-The Enforcer (ปี 1976), ภาคที่สี่-Sudden Impact (ปี 1983), และภาคสุดท้าย คือ The Dead Pool (ปี 1988)

    ไม่ว่าภาพยนต์เรื่องนี้จะออกมากี่ภาคก็ตาม ผลตอบรับ ก็คือ ปลุกกระแสความนิยมปืน “สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 สี่สี่แม็กนั่ม” จนตลาดปืนทั่วโลกยอดขายถล่มทลาย แม้ว่าบริษัทผลิตปืนสมิธฯกำลังจะขุดหลุมฝัง(เลิกผลิต)ปืนสั้นกระสุนโหดรุ่นนี้อยู่ก่อนหน้านั้นก็ตาม
    ................

    อเมริกัน ได้ชื่อว่าเก่งในเรื่องการต่อสู้ด้วยอาวุธปืน เรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีชีวิตเป็นเดิมพัน นับแต่ครั้งที่ต่อสู้แย่งผืนดินที่ทำกินกับอินเดียนแดงเผ่าต่างๆ จนกระทั่งถึงสงครามกลางเมือง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง-สอง และสงครามเวียดนาม

    อานุภาพกระสุนปืน(อำนาจหยุดยั้ง, ประหัตประหาร, และทะลุทะลวง)เป็นข้อสำคัญประการแรกสำหรับงานล่า ป้องกันตัว และจู่โจม ความแม่นยำเป็นอันดับที่สองโดยเฉพาะกรณีที่ระยะยิงตั้งแต่ 75 หลา(หรือ 68.6 เมตร)ขึ้นไป หรือในระยะที่ความหนาของใบศูนย์หน้าใหญ่ทับเป้าหรือตัวคน

    ดังที่ทราบกัน โดยหลักการ การเพิ่มอานุภาพกระสุนปืนมากขึ้นได้ก็ต้องอาศัย หนึ่ง-แรงดันในรังเพลิง(Chamber Pressure) ซึ่งจะให้ประโยชน์โดยปริยายในข้อที่สอง-คือ ความเร็วหัวกระสุน(Velocity), สาม-รูปแบบหัวกระสุน(Bullet type), ส่วนข้อที่สี่ คือ ขนาด-น้ำหนักหัวกระสุน(Bore & Weight) นั้น กลายเป็นเรื่องท้ายสุด หากว่าความเร็วกระสุนเกิน 3,000 ฟุตต่อวินาทีขึ้นไป ก็จะเกิดแรงปะทะคลื่นอากาศหรือ Shock Wave ทำให้บาดแผลแหกฉกรรจ์และกระเด็นล้มคว่ำได้ทันใด

    ยกตัวอย่าง กระสุนเอ็ม 16 หรือกระสุนปืนไรเฟิลล่าสัตว์ขนาด .223 หรือ 5.56x45 ม.ม.นาโต้(NATO) หัวกระสุนเล็กเท่ากับกระสุนลูกกรด คือ .22 นิ้วฟุต น้ำหนักหัวกระสุน 55 เกรนมากกว่ากระสุนลูกกรด(40 เกรน)นิดเดียว ความเร็วต้น 3,250 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 1,325 ฟุต-ปอนด์ ฯลฯ เป็นต้น

    “สี่สี่แม็กนั่ม” หรือในชื่อเป็นทางการว่า .44 Remington Magnum เมื่อ 40 ปีที่แล้วเป็นกระสุนปืนสั้นที่อานุภาพเอกอุที่สุดในโลก(The Most Powerful Handgun in the World)

    ประดิษฐ์คิดค้นโดย เอลเม่อร์ คีธ (Elmer Keith) นักเขียนเรื่องปืนและนักผจญภัยกลางแจ้ง(Outdoor Adventurer)ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังมากในสหรัฐอเมริกา โดยร่วมกับบริษัทผลิตปืน สมิธแอนด์เวสสัน(Smith&Wesson)และบริษัทปืนและกระสุนยี่ห้อเรมิงตัน(Remington) ผลิตจำหน่ายในปีค.ศ.1955 (ปีพ.ศ.2498) จนปัจจุบัน

    เอลเม่อร์ คีธ นำกระสุนขนาด “สี่สี่-สเปเชี่ยล” หรือ .44 S&W Special (ผลิตในปีค.ศ.1907 แรงดันรังเพลิง 15,500 ปอนด์/ตร.นิ้วฟุต ปลอกกระสุนยาว 1.16 นิ้วฟุต น้ำหนักหัวกระสุน 246 เกรน ความเร็วต้น 755 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 310 ฟุต-ปอนด์) มาทดลองพัฒนาเพิ่มแรงดันในรังเพลิง ซึ่งก็หมายถึงกระสุนความเร็วสูงโดยปริยาย เพื่อให้เป็น “สี่สี่-แม็กนั่ม”

    โดยไม่คิดนำกระสุนหน้าตัดใหญ่ที่โด่งดังในยุคโคบาลตะวันตก(Wild Western) คือ “สี่ห้า-โค้ลท์” หรือ .45 Colt (ผลิตในปีค.ศ.1872 แรงดันรังเพลิง 14,000 ปอนด์/ตร.นิ้วฟุต ปลอกกระสุนยาว 1.285 นิ้วฟุต หัวกระสุนหนัก 250 เกรน ความเร็วต้น 929 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 479 ฟุต-ปอนด์ และแบบ Buffalo Bore หัวกระสุนหนัก 325 เกรน ความเร็วต้น 1,325 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 1,267 ฟุต-ปอนด์) มาพัฒนา

    หลักการง่ายๆ ก็คือ กระสุนหน้าตัดใหญ่(Big Bore), หัวกระสุนหนักอึ้ง(Heavy Bullet), และ กระสุนความเร็วสูง(Higher Velocity) เปรียบง่ายๆว่า ซุงหนึ่งต้นหนัก 500 กิโลกรัมวางไว้เฉยๆข้างถนน รถยนต์ที่พุ่งชนต้นซุงต้นนี้ย่อมเสียหายน้อยกว่าการที่ถูกต้นซุงพุ่งมาด้วยความเร็ว 60 กม./ชม.ชนเข้ากับรถยนต์ที่จอดอยู่เฉยๆ (อ่านและคิดทบทวนอีกครั้งนะครับ)

    วัตถุประสงค์หลักในการประดิษฐ์คิดค้น ก็เพื่อล่าสัตว์เท้ากีบขนาดเขื่อง เช่น กวางเอ้ลค์(Elk) สูงถึงหัวไหล่ 1.50 เมตร หนักประมาณ 250-450 กิโลกรัม จนกระทั่งถึงควายป่าที่เรียกว่า Cape Buffalo ที่มีกล้ามเนื้อเป็นมัดๆ แต่น้ำหนักไม่มากเท่ากระทิงในบ้านเรา โดยการยิงจากปืนสั้นลูกโม่ลำกล้องยาว 7-8 นิ้วฟุต

    จึงเป็นจุดกำเนิดปืนสั้นลูกโม่ดับเบิ้ลแอ๊คชั่น Smith&Wesson Model 29
    สมิธแอนด์เวสสัน “สี่สี่-แม็กนั่ม”

    56 ปีมาแล้วที่ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 ปืนสั้นลูกโม่ดับเบิ้ลแอ็คชั่น(Double-Action Revolver) กระสุนสี่สี่แม็กนั่มผลิตจำหน่าย อันที่จริงก็ด้วยวัตถุประสงค์ของการล่าสัตว์ด้วยปืนสั้น ซึ่งเป็นความคลาสสิคและใช้ศิลปะการล่ามากกว่าปืนยาว ยิ่งปืนสั้นลูกโม่แม้จะลำกล้องยาว 7-8 นิ้วฟุต หากได้ติดศูนย์กล้องเล็งขยาย 4-8 เท่า ก็ยิ่งทวีความยากลำบากในการเล็งยิงมากขึ้น

    แม้ปืนโมเดลนี้(ซึ่งรวมทั้งกระสุนด้วย)จะขายดิบดีในช่วงต้นๆของการเปิดจำหน่ายก็ตาม แต่แล้วยอดขายก็ตกฮวบตามวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เช่นเดียวกับรถ 4x4 Off-Road เพราะมนุษย์หันมาอนุรักษ์สัตว์ป่าและธรรมชาติ ออกกำลังกายในร่มมากกว่ากีฬากลางแจ้งเช่นก่อน

    จนกระทั่ง ในปีค.ศ.1971 ที่ภาพยนต์บู้แอ๊คชั่นเรื่อง “มือปราบปืนโหด” ออกฉาย ทำให้ปืนและกระสุนสี่สี่แม๊กนั่มกลับขายดีถล่มทลาย เพราะผู้ชายส่วนมากอย่างเก่งกล้าหรือมีอาวุธที่อานุภาพเอกอุเหมือนพระเอก คลิ้นท์ อี้สต์วู้ด นั้น จะเป็นกลยุทธ์การตลาดเช่นเดียวกับที่ภาพยนต์เรื่อง เจมส์ บอนด์ ปลุกกระแสความนิยมรถสปอร์ตอังกฤษยี่ห้อ แอสตัน มาร์ติน(Aston Martin) เป็นเหตุผลอยู่เบื้องหลังหรือเปล่า อันนี้ไม่แน่ใจ

    สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29
    -ปืนสั้นลูกโม่ดับเบิ้ลแอ๊คชั่นบรรจุกระสุน 6 นัด โครงปืนใหญ่(S&W N-Frame)
    -ลูกโม่หมุนทวนเข็มนาฬิกา(Anti-Clockwise)
    -กระสุนปืนสั้นลูกโม่ชนวนกลาง(Revolver/Center-Fire Cartridge)ขนาด .44 Remington Magnum
    -ตัวปืนเสนอตลาดด้วย 7 ขนาดความยาวลำกล้อง ได้แก่ 3, 4, 5, 6, 6 ½ , 8 3/8 และหลังสุด 10 5/8 นิ้วฟุต
    -เฉพาะลำกล้อง 5 นิ้วฟุตเท่านั้นที่ฟักก้านกระทุ้งปลอกกระสุนยาวเต็มความยาวลำกล้องหรือ Full Barrel Length Underlug

    โมเดล 29 เสนออยู่ 2 แบบ ได้แก่ แบบรมดำผิวหนา(Highly Polished Blued Finish) กับแบบนิเกิ้ลโครเมี่ยม(Nickle-Plated Surface)

    ในปีค.ศ.1960 โมเดล 29-1 ผลิตสู่ตลาดภายใต้การปรับปรุงด้านเทคนิคเล็กน้อย อาทิ สกรูยึดก้านกระทุ้งปลอกกระสุน(Ejector Rod Screw) ให้หลังหนึ่งปี โมเดล 29-2 ก็ปรากฏสู่ตลาดโดยเพิ่มสกรูตัวขันยึดความแน่นหนาให้กับสปริงสลักล็อคลูกโม่(Cylinder Stop Spring) ในปีค.ศ. 1979 หั่นลำกล้องจาก 6 ½ เหลือแค่ 6 นิ้วฟุต

    ทั้งโมเดล 29-1 และ 29-2 เพิ่มเทคนิคพิเศษอีกนิดนึง คือ ตัวลำกล้องขันเกลียวยึดแน่นกับโครงปืนพร้อมหมุดตอกย้ำ ส่วนตัวลูกโม่เซาะร่องฝังจานคัดปลอกกระสุนให้เรียบหน้าโม่ เรียกเทคนิคนี้ว่า Pinned & Recessed Model

    ปีค.ศ.1967-1971 บริษัทสนับสนุนทางยุทโธปกรณ์สหรัฐอเมริกา ชื่อ AAI Corporation (Aircraft Armaments, Inc.) สั่งผลิตปืนสมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 จำนวนหนึ่ง

    ลำกล้องสั้นแค่ 1.375 นิ้วฟุต ใช้ยิงกับกระสุน .40 หรือว่า 10 มอมอ และกระสุนลูกซองขนาด .410 เพื่อใช้ในปฏิบัติการพิเศษที่เรียกว่า QAPR (Quiet Special Purpose Revolver) เพื่อให้ทหารอเมริกันบุกเข้าจู่โจมและตรวจค้น “ถ้ำรูหนู” หรือ Tunnel Rats ที่ทหารเวียดนามอาศัยเป็นช่องทางหลบหนีหลบซ่อน

    ในปีค.ศ. 1982 โมเดล 29-3 ยกเลิกเทคนิคพิเศษดังกล่าวเพิ่มลดต้นทุนและระยะเวลาในการผลิต โดยหันมาใช้เทคนิค Crush-Fit Barrel หรือคล้ายๆกับ โคนลำกล้องตีปลอกฟิตแน่นกับโครงปืน ซึ่งได้ผลเท่าเทียมกันแต่ประหยัดต้นทุนและเวลาผลิตมากกว่า

    ในปีค.ศ.1988 (โมเดล 29-4) และปี 1990 (โมเดล 29-5) เสริมแรงให้กับชิ้นส่วนและโครงสร้างตัวปืนเพื่อให้ใช้งานได้อย่างสมบุกสมบันมากขึ้น โดยเฉพาะทนแรงดันรังเพลิงและแรงสะบัดสะท้อนจากกระสุนแรงสูงสมัยใหม่ ปีค.ศ.1994 โมเดล 29-6 ผลิตจำหน่ายพร้อมกับด้ามยาง Monogrip กระชับมือยี่ห้อ ฮ้อว์ก(Hogue) สันบนโครงปืนมีรูไว้สำหรับขันสกรูติดตั้งศูนย์กล้องล่าสัตว์

    ในปีค.ศ.1998 โมเดล 29-7 ออกตลาดภายใต้การปรับปรุงชิ้นส่วนลั่นไก เช่น เข็มแทงชนวน, นกปืน, ไกปืน, ฯลฯ ล้วนผลิตจากกรรมวิธีฉีดโลหะขึ้นรูป(Metal Injection Molding Process) เพื่อป้องกันปัญหาแตกหักขณะใช้งานหนัก

    สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 ถูกยกเลิกการผลิตไปอย่างถาวรในปีค.ศ.1999 ด้วยเหตุผลของอายุสินค้า(Model Life)ในเชิงการตลาด ปัจจุบัน ทั้งตลาดนอกและตลาดไทย นักเล่นปืนต่างมองหาสี่สี่แม็กนั่มรุ่นนี้ไว้สะสม เพราะตัวปืนมีความสวยงามมากกว่าปืนรุ่นใหม่ของสมิธฯ

    โดยเฉพาะ โมเดล 29 ในรุ่นฉลองครบรอบ 50 ปี (50th Anniversary Model 29) ที่ผลิตขึ้นจำกัดจำนวนเมื่อวันที่ 26 มกราคมปี 2006 ลักษณะพิเศษ ได้แก่ ลูกโม่กลมกลึงไม่มีร่อง(Non-Fluted Cylinder), สลักลายทองด้วยแสงเลเซอร์บนตัวปืน, ระบบสลักนิรภัยภายใน(Interlock Mechanism), ฯลฯ

    วันที่ 1 มกราคมปี 2007 โมเดล 29 คลาสสิคไลน์ รุ่นพิเศษแกะลายสวยหรู(Engraved Model)

    สมิธแอนด์เวสสัน “โมเดล 629”
    ในยุคที่โลหะวิทยาหันมาสนใจเหล็กสแตนเลส(Stainless Steel)กันอย่างบ้าคลั่ง

    ด้วยคุณสมบัติบางประการที่ให้ประโยชน์ใช้งานเหนือกว่าเหล็ก(Steel) เช่น ไม่เป็นสนิมเหล็ก, ทนสภาวะกัดกร่อนได้สูง(Anti-Corrosion), เนื้อโลหะเหนียวแน่น(High-Density)จากการหล่อขึ้นรูปได้มากกว่า, เนื้อผิวสวยงามดูน่าใช้น่าจับต้องมากกว่า, ฯลฯ
    สมิธแอนด์เวสสัน “โมเดล 629” จึงกำเนิดขึ้นมาด้วยเหล็กสแตนเลสแทนโมเดล 29 ที่เป็นเหล็ก ด้วยประการเช่นนี้

    โมเดล 629 สี่สี่แม็กนั่ม เปิดตัวครั้งแรกในปีค.ศ.1978 ในขนาดลำกล้องยาว 6 นิ้วฟุต ส่วนลำกล้อง 4 และ 8 3/8 นิ้วฟุตออกสู่ตลาดในปีค.ศ.1980

    ในปีค.ศ.1982 โมเดล 629-1 ใช้เทคนิคพิเศษ Crush-Fit Barrel ตามอย่างโมเดล 29-3 ในปีค.ศ.1988 โมเดล 629-1 เพิ่มรุ่นพิเศษลำกล้องสั้น 3 นิ้วฟุต ส้นด้ามมน(Round Butt) ชิ้นส่วนกลไกภายในเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับโมเดล 29-4 กรณีที่ตัวปืนปั๊ม 629-2E นั่นหมายถึงว่า บานพับหน้าลูกโม่หรือ Cylinder Crane ปรับให้ผิวเนื้อมีความแข็งแกร่งมากขึ้น

    ปีค.ศ.1990 โมเดล 629-3 มาในรูปแบบของด้ามยางฮ้อว์ก(Hogue), สันบนโครงปืนมีสกรูพร้อมติดตั้งศูนย์กล้องเล็ง, เปลี่ยนก้านกระทุ้งปลอกกระสุน ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาโมเดล 629-4 ที่เปิดตัวภายหลังในคุณสมบัติของปืนสั้นแข่งขันยิงเป้ามากขึ้น อาทิ นกปืน-ไกปืนใหญ่แบบปืนสั้นแข่งขันยิงเป้า, ศูนย์หน้ากระโดงปลาแถบแดง(Red Ramp Front Sight), ใบศูนย์หลังเส้นขาว(White Outline Rear Sight), ฯลฯ เป็นต้น

    ในปีเดียวกันนี้(1990) โมเดล 629 คลาสสิค(Classic) เสนอตลาดด้วยรูปแบบของ “ฝักเต็ม” หรือ Full Barrel Underlug หมายถึง มีแท่งตันถ่วงน้ำหนักต่อจากฝักก้านกระทุ้งปลอกกระสุนใต้ลำกล้องยาวจรดปากกระบอกปืน

    ภายใต้รหัส 629-4s ลำกล้องยาว 5, 6 และ 8 3/8 นิ้วฟุต ปีค.ศ.1991 โมเดล 629 คลาสสิค ดีเอ๊กซ์ (629 Classic DX) ออกสู่ตลาดพร้อมกับคุณสมบัติพิเศษเหนือใคร คือ เปลี่ยนใบศูนย์หน้าได้ 5 แบบ

    ปีค.ศ.1988 โมเดล 629-5 เปลี่ยนนกและไกปืน MIM และใช้เข็มแทงชนวนแบบฝังลอยในโครงปืน แทนเข็มแทงชนวนแบบนกสับเช่นก่อน

    โมเดล 629 คลาสสิค มิได้เป็นแค่สินค้ารุ่นใหม่ที่ได้รับการพัฒนาปรับปรุงให้มีคุณภาพดีมากกว่าโมเดล 29 และโมเดล 629 เท่านั้น

    ในเชิงการตลาดถือว่าเป็นการ “ยกระดับ” สินค้า(Product Repositioning)ให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง ราคาแพงขึ้นตามคุณภาพสินค้า ขณะเดียวกัน ก็ยกระดับชื่อยี่ห้อและตัวสินค้าให้สูงขึ้นเพื่อตลาดระดับไฮเอ็น(High-end) คือ เศรษฐีและนักสะสมปืน

    ดังนี้ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 629 คลาสสิค ยุคหลังๆจึงมีสินค้ารุ่นพิเศษสู่ตลาด อาทิ แม๊กน่าคลาสสิค(MagnaClassic), วี-ค้อมพ์(V-Comp), สเต็ลท์ฮันเตอร์(Stealth Hunter), ฯลฯ เป็นต้น รวมทั้งความยาวลำกล้อง 7 ½ นิ้วฟุตที่มาคั่นกลางเป็นทางเลือกใหม่ ระหว่างลำกล้อง 6 และ 8 3/8 นิ้วฟุต อีกด้วย

    บทวิพากย์….
    ในแง่มุมของนักสะสมปืน(Gun Collectors) ยังมีข้อมูลอีกมากมายที่ไม่สามารถลงพิมพ์ในจำนวนหน้ากระดาษจำกัดนี้ได้หมด เช่น รุ่นลำกล้องสั้น 3 นิ้วฟุต, เมาเท่นกันส์(Mountain Gun), และอื่นๆ

    แต่ในมุมของผู้ใช้ปืนทั่วไปก็พอที่จะใช้เนื้อที่หน้ากระดาษที่เหลือนั่งจับเข่าคุยกันได้ดังนี้ครับ

    คำถาม: “ใครบ้างที่ซื้อปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่ม? และทำไมต้องเป็นสมิธแอนด์เวสสัน?”

    ตอบ: แม้กระสุนสี่สี่แม็กนั่มจะออกแบบมาแต่อ้อนออกให้ใช้กับปืนสั้นลูกโม่ดับเบิ้ลแอ็คชั่น เพื่อกีฬาล่าสัตว์และป้องกันตัวจากสัตว์ร้ายในงานสำรวจท่องเที่ยวป่า

    แต่กลุ่มผู้ซื้อปืนสั้นกระสุนดุขนาดนี้ส่วนมากกลับเป็นนักสะสมปืน นักเลงปืน และตำรวจทหารตามชายแดนหรือในท้องที่ทุรกันดาร ทั้งในสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเมืองไทย

    ด้วยราคาตัวปืนและกระสุนที่แพงกว่าปืนอื่นในตลาด ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า ผู้ที่ซื้อปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่ม ก็คือ คนที่มีใจรักปืนสั้นกระสุนดุขนาดนี้จริงๆ

    ขณะที่ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 สี่สี่แม็กนั่ม คลอดสู่ตลาดเมื่อ 56 ปีที่แล้ว ก็มีบริษัทผลิตปืนยี่ห้อ รูเก้อร์ (Ruger) สหรัฐอเมริกา ผลิตปืนสั้นที่ใช้กระสุนขนาดเดียวกันนี้ออกแข่งตลาด แต่เป็นปืนสั้นซิงเกิ้ลแอ๊คชั่น(Single Action Revolver)

    นัยว่า เป็นเพราะพนักงานของบริษัทผลิตกระสุนเรมิงตันนำปลอกกระสุนขนาดใหม่ล่านี้ไปให้รูเก้อร์

    ปัจจุบัน แม้ว่าจะมีปืนสั้นหลายยี่ห้อที่แข่งค้ากับปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่มของสมิธฯ เช่น โค้ลท์ อะนาคอนด้า(Colt Anaconda), รูเก้อร์ ซูเปอร์ เรดฮอว์ก(Ruger Super Redhawk)ดับเบิ้ลแอ๊คชั่น, รูเก้อร์ ซูเปอร์ แบล็คฮอว์ก(Ruger Super Blackhawk)ซิงเกิ้ลแอ๊คชั่น, ฯลฯ

    ยังไม่นับปืนพกกึ่งอัตโนมัติ(Semi-Automatic Pistol)ชื่อดังที่ใช้กระสุนสี่สี่แม๊กนั่มของปืนสั้นลูกโม่ เช่น เดสเสิร์ต อีเกิ้ล (IMI Desert Eagle), และอื่นๆ เป็นต้น

    แต่ที่เมืองนอกเมืองไทยพูดกันมากที่สุด ก็คือ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29, 629 และ 629 คลาสสิค ประณีตแม่นยำที่สุดในกระบวนปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่มด้วยกัน

    ถาม: “ปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่มใช้กระสุนอื่นยิงแทนได้ไหมในเมื่อไม่มีลูกซ้อมยิง?”

    ตอบ: ได้ คือ .44 สเปเชี่ยล(.44 S&W Special) ที่ปลอกหรือนัดกระสุนสั้นกว่าสี่สี่แม็กนั่มนิดเดียว (0.125 นิ้วฟุต)

    ทำนองเดียวกับที่เราใช้กระสุนสามแปดสเปฯ (.38 Special) ยิงซ้อมมือกับปืนสั้นลูกโม่สามห้าเจ็ดแม็กนั่ม(.357 Magnum) เพราะขนาดหน้าตัดหัวกระสุนและความโตของปลอกกระสุนใกล้เคียงกันมาก แต่หลักการนี้ใช้ได้เฉพาะปืนสั้นลูกโม่เท่านั้น ปืนพกกึ่งอัตโนมัติหรือปืนสั้นออโตเมติคจะมีปัญหา

    ถาม: “สมมุติว่าขอใบอนุญาตและซื้อปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่มมาได้แล้วจะไปยิงซ้อมที่สนามยิงปืนที่ไหน?”

    ตอบ: เดี๋ยวนี้ยากมากครับ สนามยิงปืนของราชการและเอกชนทั่วไปในบ้านเราไม่ค่อยอนุญาตให้ยิงปืนกระสุนสี่สี่แม็กนั่ม ซึ่งรวมทั้งปืนไรเฟิลขนาดต่างๆ ด้วย

    ปืนกระสุนดุที่อนุญาตให้ยิงซ้อมกันในสนาม อย่างมากก็แค่สิบเอ็ดมอมอ(.45 ACP), ลูกซองกระสุนลูกปราย, สามห้าเจ็ดแม็กนั่ม(.357 Magnum)เป็นบางสนาม จริงๆจังๆก็คงเป็นสนามยิงปืนของทหารที่ Backstop (กำแพงหยุดกระสุนหลังเป้า) เตรียมไว้สำหรับเอ็ม 16 ก็พอจะพูดคุยขอกันได้บ้าง

    ถาม: “สี่สี่แม็กนั่มกระสุนนอกราคานัดละเท่าไร? กระสุนไทยมีผลิตไหม?”

    ตอบ: กระสุนสี่สี่แม็กนั่มที่พอจะหาซื้อได้ในตลาดปืนบ้านเรามีค่อนข้างน้อยมาก ถ้ามีก็ตกนัดละเกือบๆร้อยบาทหรือกว่านี้ เท่าที่ทราบ สี่สี่แม็กนั่มไม่มีผลิตขึ้นในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ เพราะขาดวัสดุและดินปืนที่ต้องขออนุญาตกลาโหมเพื่อนำเข้า ยอดจำหน่ายมีแค่นิดเดียว จึงไม่คุ้มที่จะผลิตในประเทศไทย

    ถาม: “ที่ว่า ปืนสมิธฯสี่สี่แม็กนั่มแม่นยำกว่าปืนอื่นนั้นเป็นอย่างไร?”

    ตอบ: จากบทความต่างประเทศ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 629 แม็กน่าคลาสสิค ลำกล้องยาว 8 3/8 นิ้วฟุต ยิงด้วยกระสุน Garrett Cartridges หัวกระสุนหนัก 320 เกรน ความเร็วต้น 1,315 ฟุต/วินาที จากระยะยิง 25 หลา(ประมาณ 23 เมตร)จำนวน 6 นัดทำกลุ่มกระสุนได้ 1 นิ้วฟุต

    กระสุน Carbon Hunter หัวกระสุนหนัก 260 เกรน หัวรู(Hollow Point) ความเร็วต้น 1,450 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 1,214 ฟุต-ปอนด์ ระยะยิง 25 หลา จำนวน 6 นัดทำกลุ่มได้ 1x2 นิ้วฟุต

    ทั้งนี้ยังไม่มีการยิงพิสูจน์ความแม่นยำเทียบระหว่าง Smith&Wesson, Colt Anaconda, Ruger Super Redhawk ทั้งเมืองนอกและในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ

    ถาม: “ถ้าจะซื้อปืนสั้นลูกโม่สี่สี่แม็กนั่มสักกระบอกในชีวิตจะเลือกอะไรดี?”

    ตอบ: ถ้าเลือกความประณีตแม่นยำ(Precision/Accuracy)ก็ต้องสมิธแอนด์เวสสัน ถ้าชอบความแข็งแรงบึกบึนทนทาน(Strong, Durability & Reliability)ก็ต้องฟันธงว่ารูเก้อร์ ส่วนอะนาคอนด้า(Anaconda)เป็นอะไรๆ ที่ต้องเป็นยี่ห้อโค้ลท์ไว้ก่อน

    ถาม: “ปืนสั้นลูกโม่เล่นกระสุนสี่สี่แม็กนั่มแบบไหนดี?”

    ตอบ: นักเลงสี่สี่แม็กนั่มตัวจริงจะเล่นกระสุน “หัวตัน-หัวหนัก” ไว้ก่อน ไม่ว่าจะเป็น Jacketed Soft Point, Semi-Wadcutter, Flat/Leaded Nose, รวมทั้งกระสุนพิเศษซาบ้อต(Sabot)

    จากประสบการณ์ส่วนตัว สี่สี่แม็กนั่มหัวรู น้ำหนัก 240 เกรน แม้จะมีความเร็วสูงถึงขั้น 1,400 ฟุต/วินาที จะมีปัญหา “เหินลม” ทำให้วิถีกระสุน(Trajectory)ไม่ราบเรียบไม่แม่นยำเท่าควร

    ขณะที่กระสุนหัวตัน น้ำหนักหัวกระสุนมากๆ (หรือบางทีก็น้ำหนัก 240 เกรนเท่ากัน) แต่ปลอกกระสุนมีเข็มขัดรัดหรือรอยย้ำ 2 แถว แม้ความเร็วน้อยกว่าแต่ให้ความแม่นยำหนักแน่นสูงกว่ามาก เรียกว่าได้ใจทุกนัดไป ข้อเสีย คือ ยิงสะบัดกัดมือมากกว่ากระสุนรุ่นใหม่ๆ ประมาณ +15%-20%

    ถาม: “ปืนสี่สี่แม็กนั่มต้องระวังอะไรบ้าง? ติดศูนย์กล้องดีไหม?”

    ตอบ: ข้อหนึ่ง-ถ้าเป็นเหล็กสแตนเลส เช่น โมเดล 629 และ 629 คลาสสิค ควรใส่กล่องเก็บหรือไม่ก็ตัดซองหนังใส่ปืนเก็บรักษา เพื่อป้องกันรอยขีดข่วน รอยขนแมว ที่เกิดขึ้นเพราะผิวเหล็กสแตนเลสเนื้ออ่อนกว่าเหล็ก

    ข้อสอง-ไม่ควรใช้ยาขัดโลหะชนิดที่มีสารชะล้าง(Solven)ขัดถูกตัวปืน เพราะจะทำให้ตัวอักษรที่แกะสลักด้วยเลเซอร์เคลือบสีทองไว้ลางเลือนจางหาย

    ข้อสาม-หมั่นตรวจขันหมุดสกรูที่ตัวปืนทั้งก่อนและหลังการยิง เนื่องจากแรงสะบัดสะท้อนรุนแรงทำให้หมุดสกรูคลายตัวและอาจหลุดกระเด็นหาย

    ข้อสี่-ถึงจะหาซื้อกระสุนได้มากก็ไม่ควรยิงเล่นบ่อยๆ เพราะจะทำให้ตัวปืนทรุดโทรมเร็วกว่าที่ควรอย่างน่าเสียดาย

    ข้อห้า-อย่านำมายิงแห้งหรือเหนี่ยวไกเล่น(โดยไม่บรรจุกระสุนในตัวปืน)บ่อยๆ กลไกปืนอาจชำรุดเสียหาย โดยเฉพาะเข็มแทงชนวนอาจหักโดยไม่รู้ตัว

    ข้อหก-ติดศูนย์กล้องเล็งได้ในกำลังขยายภาพไม่เกิน 4 เท่า สูงกว่านั้นจะเล็งยิงได้ลำบาก มือสั่นสายตาพร่ามัวเพราะไม่กล้าลั่นกระสุน(เพราะภาพมันฟ้องว่าศูนย์ปืนไม่เข้าเป้าเนื่องจากมือผู้ยิงสั่นไปมา) แต่สุดท้ายก็ต้องถอดศูนย์กล้องเล็งออกเพราะรู้สึกเกะกะหนักตัวปืนเปล่าๆ

    สรุปท้ายเรื่อง...

    สมิธแอนด์เวสสัน สี่สี่แม็กนั่ม เป็นทรัพย์สมบัติที่คู่ควรต่อผู้มีบารมีและนักสะสมปืนมากกว่าการมีใช้เพื่อต่อสู้ป้องกันชีวิตทรัพย์สิน ไม่ใช่ปืนสั้นประจำกายอย่างแน่นอน แต่จะเหมาะที่สุดในกรณีท่องไพรสำรวจป่าที่พกไว้ข้างเอวหรือข้างสีข้างลำตัวเพื่อป้องกันสัตว์เขี้ยวยาวดุร้ายต่างๆ

    แม้ปัจจุบัน ตลาดปืนโลกจะมี “ปืนโหดกระสุนดุ” รุ่นใหม่ๆที่มีอานุภาพสูงกว่าสี่สี่แม็กนั่ม ไม่ว่าจะเป็น .454 Casull, .460 S&W Magnum, .500 S&W Magnum, และอื่นๆ แต่

    “สี่สี่แม็กนั่มยังจะเป็นเพื่อนที่ดีของนักเล่นปืนตลอดไป”
    ขอบคุณครับ...

    Smith&Wesson Model 629 .44 Magnum โดย. พีระพงษ์ กลั่นกรอง เมื่อ คลิ้นท์ อี้สต์วู้ด (Clint Eastwood) ในบทของสารวัตรมือปราบ ฮาร์รี่ คาลาแฮน (Harry Callahan) พูดกับคนร้ายในฉากแรกของภาพยนต์เรื่อง “มือปราบปืนโหด” หรือ Dirty Harry ภาพยนต์ซีรี่ส์บู้แอ๊คชั่นที่ยิงกันสนั่นจอเรื่องที่โด่งดังที่สุดในโลกเมื่อ 40 ปีที่แล้ว ด้วยทุนสร้าง 4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มือปราบปืนโหด(ภาคแรก-ปีค.ศ.1971)ทำรายได้สูงถึง 35 ล้านเหรียญ, ภาคที่สอง คือ Magnum Force (ปี 1973), ภาคที่สาม-The Enforcer (ปี 1976), ภาคที่สี่-Sudden Impact (ปี 1983), และภาคสุดท้าย คือ The Dead Pool (ปี 1988) ไม่ว่าภาพยนต์เรื่องนี้จะออกมากี่ภาคก็ตาม ผลตอบรับ ก็คือ ปลุกกระแสความนิยมปืน “สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 สี่สี่แม็กนั่ม” จนตลาดปืนทั่วโลกยอดขายถล่มทลาย แม้ว่าบริษัทผลิตปืนสมิธฯกำลังจะขุดหลุมฝัง(เลิกผลิต)ปืนสั้นกระสุนโหดรุ่นนี้อยู่ก่อนหน้านั้นก็ตาม ................ อเมริกัน ได้ชื่อว่าเก่งในเรื่องการต่อสู้ด้วยอาวุธปืน เรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีชีวิตเป็นเดิมพัน นับแต่ครั้งที่ต่อสู้แย่งผืนดินที่ทำกินกับอินเดียนแดงเผ่าต่างๆ จนกระทั่งถึงสงครามกลางเมือง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง-สอง และสงครามเวียดนาม อานุภาพกระสุนปืน(อำนาจหยุดยั้ง, ประหัตประหาร, และทะลุทะลวง)เป็นข้อสำคัญประการแรกสำหรับงานล่า ป้องกันตัว และจู่โจม ความแม่นยำเป็นอันดับที่สองโดยเฉพาะกรณีที่ระยะยิงตั้งแต่ 75 หลา(หรือ 68.6 เมตร)ขึ้นไป หรือในระยะที่ความหนาของใบศูนย์หน้าใหญ่ทับเป้าหรือตัวคน ดังที่ทราบกัน โดยหลักการ การเพิ่มอานุภาพกระสุนปืนมากขึ้นได้ก็ต้องอาศัย หนึ่ง-แรงดันในรังเพลิง(Chamber Pressure) ซึ่งจะให้ประโยชน์โดยปริยายในข้อที่สอง-คือ ความเร็วหัวกระสุน(Velocity), สาม-รูปแบบหัวกระสุน(Bullet type), ส่วนข้อที่สี่ คือ ขนาด-น้ำหนักหัวกระสุน(Bore & Weight) นั้น กลายเป็นเรื่องท้ายสุด หากว่าความเร็วกระสุนเกิน 3,000 ฟุตต่อวินาทีขึ้นไป ก็จะเกิดแรงปะทะคลื่นอากาศหรือ Shock Wave ทำให้บาดแผลแหกฉกรรจ์และกระเด็นล้มคว่ำได้ทันใด ยกตัวอย่าง กระสุนเอ็ม 16 หรือกระสุนปืนไรเฟิลล่าสัตว์ขนาด .223 หรือ 5.56x45 ม.ม.นาโต้(NATO) หัวกระสุนเล็กเท่ากับกระสุนลูกกรด คือ .22 นิ้วฟุต น้ำหนักหัวกระสุน 55 เกรนมากกว่ากระสุนลูกกรด(40 เกรน)นิดเดียว ความเร็วต้น 3,250 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 1,325 ฟุต-ปอนด์ ฯลฯ เป็นต้น “สี่สี่แม็กนั่ม” หรือในชื่อเป็นทางการว่า .44 Remington Magnum เมื่อ 40 ปีที่แล้วเป็นกระสุนปืนสั้นที่อานุภาพเอกอุที่สุดในโลก(The Most Powerful Handgun in the World) ประดิษฐ์คิดค้นโดย เอลเม่อร์ คีธ (Elmer Keith) นักเขียนเรื่องปืนและนักผจญภัยกลางแจ้ง(Outdoor Adventurer)ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังมากในสหรัฐอเมริกา โดยร่วมกับบริษัทผลิตปืน สมิธแอนด์เวสสัน(Smith&Wesson)และบริษัทปืนและกระสุนยี่ห้อเรมิงตัน(Remington) ผลิตจำหน่ายในปีค.ศ.1955 (ปีพ.ศ.2498) จนปัจจุบัน เอลเม่อร์ คีธ นำกระสุนขนาด “สี่สี่-สเปเชี่ยล” หรือ .44 S&W Special (ผลิตในปีค.ศ.1907 แรงดันรังเพลิง 15,500 ปอนด์/ตร.นิ้วฟุต ปลอกกระสุนยาว 1.16 นิ้วฟุต น้ำหนักหัวกระสุน 246 เกรน ความเร็วต้น 755 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 310 ฟุต-ปอนด์) มาทดลองพัฒนาเพิ่มแรงดันในรังเพลิง ซึ่งก็หมายถึงกระสุนความเร็วสูงโดยปริยาย เพื่อให้เป็น “สี่สี่-แม็กนั่ม” โดยไม่คิดนำกระสุนหน้าตัดใหญ่ที่โด่งดังในยุคโคบาลตะวันตก(Wild Western) คือ “สี่ห้า-โค้ลท์” หรือ .45 Colt (ผลิตในปีค.ศ.1872 แรงดันรังเพลิง 14,000 ปอนด์/ตร.นิ้วฟุต ปลอกกระสุนยาว 1.285 นิ้วฟุต หัวกระสุนหนัก 250 เกรน ความเร็วต้น 929 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 479 ฟุต-ปอนด์ และแบบ Buffalo Bore หัวกระสุนหนัก 325 เกรน ความเร็วต้น 1,325 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 1,267 ฟุต-ปอนด์) มาพัฒนา หลักการง่ายๆ ก็คือ กระสุนหน้าตัดใหญ่(Big Bore), หัวกระสุนหนักอึ้ง(Heavy Bullet), และ กระสุนความเร็วสูง(Higher Velocity) เปรียบง่ายๆว่า ซุงหนึ่งต้นหนัก 500 กิโลกรัมวางไว้เฉยๆข้างถนน รถยนต์ที่พุ่งชนต้นซุงต้นนี้ย่อมเสียหายน้อยกว่าการที่ถูกต้นซุงพุ่งมาด้วยความเร็ว 60 กม./ชม.ชนเข้ากับรถยนต์ที่จอดอยู่เฉยๆ (อ่านและคิดทบทวนอีกครั้งนะครับ) วัตถุประสงค์หลักในการประดิษฐ์คิดค้น ก็เพื่อล่าสัตว์เท้ากีบขนาดเขื่อง เช่น กวางเอ้ลค์(Elk) สูงถึงหัวไหล่ 1.50 เมตร หนักประมาณ 250-450 กิโลกรัม จนกระทั่งถึงควายป่าที่เรียกว่า Cape Buffalo ที่มีกล้ามเนื้อเป็นมัดๆ แต่น้ำหนักไม่มากเท่ากระทิงในบ้านเรา โดยการยิงจากปืนสั้นลูกโม่ลำกล้องยาว 7-8 นิ้วฟุต จึงเป็นจุดกำเนิดปืนสั้นลูกโม่ดับเบิ้ลแอ๊คชั่น Smith&Wesson Model 29 สมิธแอนด์เวสสัน “สี่สี่-แม็กนั่ม” 56 ปีมาแล้วที่ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 ปืนสั้นลูกโม่ดับเบิ้ลแอ็คชั่น(Double-Action Revolver) กระสุนสี่สี่แม็กนั่มผลิตจำหน่าย อันที่จริงก็ด้วยวัตถุประสงค์ของการล่าสัตว์ด้วยปืนสั้น ซึ่งเป็นความคลาสสิคและใช้ศิลปะการล่ามากกว่าปืนยาว ยิ่งปืนสั้นลูกโม่แม้จะลำกล้องยาว 7-8 นิ้วฟุต หากได้ติดศูนย์กล้องเล็งขยาย 4-8 เท่า ก็ยิ่งทวีความยากลำบากในการเล็งยิงมากขึ้น แม้ปืนโมเดลนี้(ซึ่งรวมทั้งกระสุนด้วย)จะขายดิบดีในช่วงต้นๆของการเปิดจำหน่ายก็ตาม แต่แล้วยอดขายก็ตกฮวบตามวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เช่นเดียวกับรถ 4x4 Off-Road เพราะมนุษย์หันมาอนุรักษ์สัตว์ป่าและธรรมชาติ ออกกำลังกายในร่มมากกว่ากีฬากลางแจ้งเช่นก่อน จนกระทั่ง ในปีค.ศ.1971 ที่ภาพยนต์บู้แอ๊คชั่นเรื่อง “มือปราบปืนโหด” ออกฉาย ทำให้ปืนและกระสุนสี่สี่แม๊กนั่มกลับขายดีถล่มทลาย เพราะผู้ชายส่วนมากอย่างเก่งกล้าหรือมีอาวุธที่อานุภาพเอกอุเหมือนพระเอก คลิ้นท์ อี้สต์วู้ด นั้น จะเป็นกลยุทธ์การตลาดเช่นเดียวกับที่ภาพยนต์เรื่อง เจมส์ บอนด์ ปลุกกระแสความนิยมรถสปอร์ตอังกฤษยี่ห้อ แอสตัน มาร์ติน(Aston Martin) เป็นเหตุผลอยู่เบื้องหลังหรือเปล่า อันนี้ไม่แน่ใจ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 -ปืนสั้นลูกโม่ดับเบิ้ลแอ๊คชั่นบรรจุกระสุน 6 นัด โครงปืนใหญ่(S&W N-Frame) -ลูกโม่หมุนทวนเข็มนาฬิกา(Anti-Clockwise) -กระสุนปืนสั้นลูกโม่ชนวนกลาง(Revolver/Center-Fire Cartridge)ขนาด .44 Remington Magnum -ตัวปืนเสนอตลาดด้วย 7 ขนาดความยาวลำกล้อง ได้แก่ 3, 4, 5, 6, 6 ½ , 8 3/8 และหลังสุด 10 5/8 นิ้วฟุต -เฉพาะลำกล้อง 5 นิ้วฟุตเท่านั้นที่ฟักก้านกระทุ้งปลอกกระสุนยาวเต็มความยาวลำกล้องหรือ Full Barrel Length Underlug โมเดล 29 เสนออยู่ 2 แบบ ได้แก่ แบบรมดำผิวหนา(Highly Polished Blued Finish) กับแบบนิเกิ้ลโครเมี่ยม(Nickle-Plated Surface) ในปีค.ศ.1960 โมเดล 29-1 ผลิตสู่ตลาดภายใต้การปรับปรุงด้านเทคนิคเล็กน้อย อาทิ สกรูยึดก้านกระทุ้งปลอกกระสุน(Ejector Rod Screw) ให้หลังหนึ่งปี โมเดล 29-2 ก็ปรากฏสู่ตลาดโดยเพิ่มสกรูตัวขันยึดความแน่นหนาให้กับสปริงสลักล็อคลูกโม่(Cylinder Stop Spring) ในปีค.ศ. 1979 หั่นลำกล้องจาก 6 ½ เหลือแค่ 6 นิ้วฟุต ทั้งโมเดล 29-1 และ 29-2 เพิ่มเทคนิคพิเศษอีกนิดนึง คือ ตัวลำกล้องขันเกลียวยึดแน่นกับโครงปืนพร้อมหมุดตอกย้ำ ส่วนตัวลูกโม่เซาะร่องฝังจานคัดปลอกกระสุนให้เรียบหน้าโม่ เรียกเทคนิคนี้ว่า Pinned & Recessed Model ปีค.ศ.1967-1971 บริษัทสนับสนุนทางยุทโธปกรณ์สหรัฐอเมริกา ชื่อ AAI Corporation (Aircraft Armaments, Inc.) สั่งผลิตปืนสมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 จำนวนหนึ่ง ลำกล้องสั้นแค่ 1.375 นิ้วฟุต ใช้ยิงกับกระสุน .40 หรือว่า 10 มอมอ และกระสุนลูกซองขนาด .410 เพื่อใช้ในปฏิบัติการพิเศษที่เรียกว่า QAPR (Quiet Special Purpose Revolver) เพื่อให้ทหารอเมริกันบุกเข้าจู่โจมและตรวจค้น “ถ้ำรูหนู” หรือ Tunnel Rats ที่ทหารเวียดนามอาศัยเป็นช่องทางหลบหนีหลบซ่อน ในปีค.ศ. 1982 โมเดล 29-3 ยกเลิกเทคนิคพิเศษดังกล่าวเพิ่มลดต้นทุนและระยะเวลาในการผลิต โดยหันมาใช้เทคนิค Crush-Fit Barrel หรือคล้ายๆกับ โคนลำกล้องตีปลอกฟิตแน่นกับโครงปืน ซึ่งได้ผลเท่าเทียมกันแต่ประหยัดต้นทุนและเวลาผลิตมากกว่า ในปีค.ศ.1988 (โมเดล 29-4) และปี 1990 (โมเดล 29-5) เสริมแรงให้กับชิ้นส่วนและโครงสร้างตัวปืนเพื่อให้ใช้งานได้อย่างสมบุกสมบันมากขึ้น โดยเฉพาะทนแรงดันรังเพลิงและแรงสะบัดสะท้อนจากกระสุนแรงสูงสมัยใหม่ ปีค.ศ.1994 โมเดล 29-6 ผลิตจำหน่ายพร้อมกับด้ามยาง Monogrip กระชับมือยี่ห้อ ฮ้อว์ก(Hogue) สันบนโครงปืนมีรูไว้สำหรับขันสกรูติดตั้งศูนย์กล้องล่าสัตว์ ในปีค.ศ.1998 โมเดล 29-7 ออกตลาดภายใต้การปรับปรุงชิ้นส่วนลั่นไก เช่น เข็มแทงชนวน, นกปืน, ไกปืน, ฯลฯ ล้วนผลิตจากกรรมวิธีฉีดโลหะขึ้นรูป(Metal Injection Molding Process) เพื่อป้องกันปัญหาแตกหักขณะใช้งานหนัก สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 ถูกยกเลิกการผลิตไปอย่างถาวรในปีค.ศ.1999 ด้วยเหตุผลของอายุสินค้า(Model Life)ในเชิงการตลาด ปัจจุบัน ทั้งตลาดนอกและตลาดไทย นักเล่นปืนต่างมองหาสี่สี่แม็กนั่มรุ่นนี้ไว้สะสม เพราะตัวปืนมีความสวยงามมากกว่าปืนรุ่นใหม่ของสมิธฯ โดยเฉพาะ โมเดล 29 ในรุ่นฉลองครบรอบ 50 ปี (50th Anniversary Model 29) ที่ผลิตขึ้นจำกัดจำนวนเมื่อวันที่ 26 มกราคมปี 2006 ลักษณะพิเศษ ได้แก่ ลูกโม่กลมกลึงไม่มีร่อง(Non-Fluted Cylinder), สลักลายทองด้วยแสงเลเซอร์บนตัวปืน, ระบบสลักนิรภัยภายใน(Interlock Mechanism), ฯลฯ วันที่ 1 มกราคมปี 2007 โมเดล 29 คลาสสิคไลน์ รุ่นพิเศษแกะลายสวยหรู(Engraved Model) สมิธแอนด์เวสสัน “โมเดล 629” ในยุคที่โลหะวิทยาหันมาสนใจเหล็กสแตนเลส(Stainless Steel)กันอย่างบ้าคลั่ง ด้วยคุณสมบัติบางประการที่ให้ประโยชน์ใช้งานเหนือกว่าเหล็ก(Steel) เช่น ไม่เป็นสนิมเหล็ก, ทนสภาวะกัดกร่อนได้สูง(Anti-Corrosion), เนื้อโลหะเหนียวแน่น(High-Density)จากการหล่อขึ้นรูปได้มากกว่า, เนื้อผิวสวยงามดูน่าใช้น่าจับต้องมากกว่า, ฯลฯ สมิธแอนด์เวสสัน “โมเดล 629” จึงกำเนิดขึ้นมาด้วยเหล็กสแตนเลสแทนโมเดล 29 ที่เป็นเหล็ก ด้วยประการเช่นนี้ โมเดล 629 สี่สี่แม็กนั่ม เปิดตัวครั้งแรกในปีค.ศ.1978 ในขนาดลำกล้องยาว 6 นิ้วฟุต ส่วนลำกล้อง 4 และ 8 3/8 นิ้วฟุตออกสู่ตลาดในปีค.ศ.1980 ในปีค.ศ.1982 โมเดล 629-1 ใช้เทคนิคพิเศษ Crush-Fit Barrel ตามอย่างโมเดล 29-3 ในปีค.ศ.1988 โมเดล 629-1 เพิ่มรุ่นพิเศษลำกล้องสั้น 3 นิ้วฟุต ส้นด้ามมน(Round Butt) ชิ้นส่วนกลไกภายในเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับโมเดล 29-4 กรณีที่ตัวปืนปั๊ม 629-2E นั่นหมายถึงว่า บานพับหน้าลูกโม่หรือ Cylinder Crane ปรับให้ผิวเนื้อมีความแข็งแกร่งมากขึ้น ปีค.ศ.1990 โมเดล 629-3 มาในรูปแบบของด้ามยางฮ้อว์ก(Hogue), สันบนโครงปืนมีสกรูพร้อมติดตั้งศูนย์กล้องเล็ง, เปลี่ยนก้านกระทุ้งปลอกกระสุน ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาโมเดล 629-4 ที่เปิดตัวภายหลังในคุณสมบัติของปืนสั้นแข่งขันยิงเป้ามากขึ้น อาทิ นกปืน-ไกปืนใหญ่แบบปืนสั้นแข่งขันยิงเป้า, ศูนย์หน้ากระโดงปลาแถบแดง(Red Ramp Front Sight), ใบศูนย์หลังเส้นขาว(White Outline Rear Sight), ฯลฯ เป็นต้น ในปีเดียวกันนี้(1990) โมเดล 629 คลาสสิค(Classic) เสนอตลาดด้วยรูปแบบของ “ฝักเต็ม” หรือ Full Barrel Underlug หมายถึง มีแท่งตันถ่วงน้ำหนักต่อจากฝักก้านกระทุ้งปลอกกระสุนใต้ลำกล้องยาวจรดปากกระบอกปืน ภายใต้รหัส 629-4s ลำกล้องยาว 5, 6 และ 8 3/8 นิ้วฟุต ปีค.ศ.1991 โมเดล 629 คลาสสิค ดีเอ๊กซ์ (629 Classic DX) ออกสู่ตลาดพร้อมกับคุณสมบัติพิเศษเหนือใคร คือ เปลี่ยนใบศูนย์หน้าได้ 5 แบบ ปีค.ศ.1988 โมเดล 629-5 เปลี่ยนนกและไกปืน MIM และใช้เข็มแทงชนวนแบบฝังลอยในโครงปืน แทนเข็มแทงชนวนแบบนกสับเช่นก่อน โมเดล 629 คลาสสิค มิได้เป็นแค่สินค้ารุ่นใหม่ที่ได้รับการพัฒนาปรับปรุงให้มีคุณภาพดีมากกว่าโมเดล 29 และโมเดล 629 เท่านั้น ในเชิงการตลาดถือว่าเป็นการ “ยกระดับ” สินค้า(Product Repositioning)ให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง ราคาแพงขึ้นตามคุณภาพสินค้า ขณะเดียวกัน ก็ยกระดับชื่อยี่ห้อและตัวสินค้าให้สูงขึ้นเพื่อตลาดระดับไฮเอ็น(High-end) คือ เศรษฐีและนักสะสมปืน ดังนี้ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 629 คลาสสิค ยุคหลังๆจึงมีสินค้ารุ่นพิเศษสู่ตลาด อาทิ แม๊กน่าคลาสสิค(MagnaClassic), วี-ค้อมพ์(V-Comp), สเต็ลท์ฮันเตอร์(Stealth Hunter), ฯลฯ เป็นต้น รวมทั้งความยาวลำกล้อง 7 ½ นิ้วฟุตที่มาคั่นกลางเป็นทางเลือกใหม่ ระหว่างลำกล้อง 6 และ 8 3/8 นิ้วฟุต อีกด้วย บทวิพากย์…. ในแง่มุมของนักสะสมปืน(Gun Collectors) ยังมีข้อมูลอีกมากมายที่ไม่สามารถลงพิมพ์ในจำนวนหน้ากระดาษจำกัดนี้ได้หมด เช่น รุ่นลำกล้องสั้น 3 นิ้วฟุต, เมาเท่นกันส์(Mountain Gun), และอื่นๆ แต่ในมุมของผู้ใช้ปืนทั่วไปก็พอที่จะใช้เนื้อที่หน้ากระดาษที่เหลือนั่งจับเข่าคุยกันได้ดังนี้ครับ คำถาม: “ใครบ้างที่ซื้อปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่ม? และทำไมต้องเป็นสมิธแอนด์เวสสัน?” ตอบ: แม้กระสุนสี่สี่แม็กนั่มจะออกแบบมาแต่อ้อนออกให้ใช้กับปืนสั้นลูกโม่ดับเบิ้ลแอ็คชั่น เพื่อกีฬาล่าสัตว์และป้องกันตัวจากสัตว์ร้ายในงานสำรวจท่องเที่ยวป่า แต่กลุ่มผู้ซื้อปืนสั้นกระสุนดุขนาดนี้ส่วนมากกลับเป็นนักสะสมปืน นักเลงปืน และตำรวจทหารตามชายแดนหรือในท้องที่ทุรกันดาร ทั้งในสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเมืองไทย ด้วยราคาตัวปืนและกระสุนที่แพงกว่าปืนอื่นในตลาด ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า ผู้ที่ซื้อปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่ม ก็คือ คนที่มีใจรักปืนสั้นกระสุนดุขนาดนี้จริงๆ ขณะที่ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29 สี่สี่แม็กนั่ม คลอดสู่ตลาดเมื่อ 56 ปีที่แล้ว ก็มีบริษัทผลิตปืนยี่ห้อ รูเก้อร์ (Ruger) สหรัฐอเมริกา ผลิตปืนสั้นที่ใช้กระสุนขนาดเดียวกันนี้ออกแข่งตลาด แต่เป็นปืนสั้นซิงเกิ้ลแอ๊คชั่น(Single Action Revolver) นัยว่า เป็นเพราะพนักงานของบริษัทผลิตกระสุนเรมิงตันนำปลอกกระสุนขนาดใหม่ล่านี้ไปให้รูเก้อร์ ปัจจุบัน แม้ว่าจะมีปืนสั้นหลายยี่ห้อที่แข่งค้ากับปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่มของสมิธฯ เช่น โค้ลท์ อะนาคอนด้า(Colt Anaconda), รูเก้อร์ ซูเปอร์ เรดฮอว์ก(Ruger Super Redhawk)ดับเบิ้ลแอ๊คชั่น, รูเก้อร์ ซูเปอร์ แบล็คฮอว์ก(Ruger Super Blackhawk)ซิงเกิ้ลแอ๊คชั่น, ฯลฯ ยังไม่นับปืนพกกึ่งอัตโนมัติ(Semi-Automatic Pistol)ชื่อดังที่ใช้กระสุนสี่สี่แม๊กนั่มของปืนสั้นลูกโม่ เช่น เดสเสิร์ต อีเกิ้ล (IMI Desert Eagle), และอื่นๆ เป็นต้น แต่ที่เมืองนอกเมืองไทยพูดกันมากที่สุด ก็คือ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 29, 629 และ 629 คลาสสิค ประณีตแม่นยำที่สุดในกระบวนปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่มด้วยกัน ถาม: “ปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่มใช้กระสุนอื่นยิงแทนได้ไหมในเมื่อไม่มีลูกซ้อมยิง?” ตอบ: ได้ คือ .44 สเปเชี่ยล(.44 S&W Special) ที่ปลอกหรือนัดกระสุนสั้นกว่าสี่สี่แม็กนั่มนิดเดียว (0.125 นิ้วฟุต) ทำนองเดียวกับที่เราใช้กระสุนสามแปดสเปฯ (.38 Special) ยิงซ้อมมือกับปืนสั้นลูกโม่สามห้าเจ็ดแม็กนั่ม(.357 Magnum) เพราะขนาดหน้าตัดหัวกระสุนและความโตของปลอกกระสุนใกล้เคียงกันมาก แต่หลักการนี้ใช้ได้เฉพาะปืนสั้นลูกโม่เท่านั้น ปืนพกกึ่งอัตโนมัติหรือปืนสั้นออโตเมติคจะมีปัญหา ถาม: “สมมุติว่าขอใบอนุญาตและซื้อปืนสั้นสี่สี่แม็กนั่มมาได้แล้วจะไปยิงซ้อมที่สนามยิงปืนที่ไหน?” ตอบ: เดี๋ยวนี้ยากมากครับ สนามยิงปืนของราชการและเอกชนทั่วไปในบ้านเราไม่ค่อยอนุญาตให้ยิงปืนกระสุนสี่สี่แม็กนั่ม ซึ่งรวมทั้งปืนไรเฟิลขนาดต่างๆ ด้วย ปืนกระสุนดุที่อนุญาตให้ยิงซ้อมกันในสนาม อย่างมากก็แค่สิบเอ็ดมอมอ(.45 ACP), ลูกซองกระสุนลูกปราย, สามห้าเจ็ดแม็กนั่ม(.357 Magnum)เป็นบางสนาม จริงๆจังๆก็คงเป็นสนามยิงปืนของทหารที่ Backstop (กำแพงหยุดกระสุนหลังเป้า) เตรียมไว้สำหรับเอ็ม 16 ก็พอจะพูดคุยขอกันได้บ้าง ถาม: “สี่สี่แม็กนั่มกระสุนนอกราคานัดละเท่าไร? กระสุนไทยมีผลิตไหม?” ตอบ: กระสุนสี่สี่แม็กนั่มที่พอจะหาซื้อได้ในตลาดปืนบ้านเรามีค่อนข้างน้อยมาก ถ้ามีก็ตกนัดละเกือบๆร้อยบาทหรือกว่านี้ เท่าที่ทราบ สี่สี่แม็กนั่มไม่มีผลิตขึ้นในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ เพราะขาดวัสดุและดินปืนที่ต้องขออนุญาตกลาโหมเพื่อนำเข้า ยอดจำหน่ายมีแค่นิดเดียว จึงไม่คุ้มที่จะผลิตในประเทศไทย ถาม: “ที่ว่า ปืนสมิธฯสี่สี่แม็กนั่มแม่นยำกว่าปืนอื่นนั้นเป็นอย่างไร?” ตอบ: จากบทความต่างประเทศ สมิธแอนด์เวสสัน โมเดล 629 แม็กน่าคลาสสิค ลำกล้องยาว 8 3/8 นิ้วฟุต ยิงด้วยกระสุน Garrett Cartridges หัวกระสุนหนัก 320 เกรน ความเร็วต้น 1,315 ฟุต/วินาที จากระยะยิง 25 หลา(ประมาณ 23 เมตร)จำนวน 6 นัดทำกลุ่มกระสุนได้ 1 นิ้วฟุต กระสุน Carbon Hunter หัวกระสุนหนัก 260 เกรน หัวรู(Hollow Point) ความเร็วต้น 1,450 ฟุต/วินาที แรงปะทะต้น 1,214 ฟุต-ปอนด์ ระยะยิง 25 หลา จำนวน 6 นัดทำกลุ่มได้ 1x2 นิ้วฟุต ทั้งนี้ยังไม่มีการยิงพิสูจน์ความแม่นยำเทียบระหว่าง Smith&Wesson, Colt Anaconda, Ruger Super Redhawk ทั้งเมืองนอกและในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ถาม: “ถ้าจะซื้อปืนสั้นลูกโม่สี่สี่แม็กนั่มสักกระบอกในชีวิตจะเลือกอะไรดี?” ตอบ: ถ้าเลือกความประณีตแม่นยำ(Precision/Accuracy)ก็ต้องสมิธแอนด์เวสสัน ถ้าชอบความแข็งแรงบึกบึนทนทาน(Strong, Durability & Reliability)ก็ต้องฟันธงว่ารูเก้อร์ ส่วนอะนาคอนด้า(Anaconda)เป็นอะไรๆ ที่ต้องเป็นยี่ห้อโค้ลท์ไว้ก่อน ถาม: “ปืนสั้นลูกโม่เล่นกระสุนสี่สี่แม็กนั่มแบบไหนดี?” ตอบ: นักเลงสี่สี่แม็กนั่มตัวจริงจะเล่นกระสุน “หัวตัน-หัวหนัก” ไว้ก่อน ไม่ว่าจะเป็น Jacketed Soft Point, Semi-Wadcutter, Flat/Leaded Nose, รวมทั้งกระสุนพิเศษซาบ้อต(Sabot) จากประสบการณ์ส่วนตัว สี่สี่แม็กนั่มหัวรู น้ำหนัก 240 เกรน แม้จะมีความเร็วสูงถึงขั้น 1,400 ฟุต/วินาที จะมีปัญหา “เหินลม” ทำให้วิถีกระสุน(Trajectory)ไม่ราบเรียบไม่แม่นยำเท่าควร ขณะที่กระสุนหัวตัน น้ำหนักหัวกระสุนมากๆ (หรือบางทีก็น้ำหนัก 240 เกรนเท่ากัน) แต่ปลอกกระสุนมีเข็มขัดรัดหรือรอยย้ำ 2 แถว แม้ความเร็วน้อยกว่าแต่ให้ความแม่นยำหนักแน่นสูงกว่ามาก เรียกว่าได้ใจทุกนัดไป ข้อเสีย คือ ยิงสะบัดกัดมือมากกว่ากระสุนรุ่นใหม่ๆ ประมาณ +15%-20% ถาม: “ปืนสี่สี่แม็กนั่มต้องระวังอะไรบ้าง? ติดศูนย์กล้องดีไหม?” ตอบ: ข้อหนึ่ง-ถ้าเป็นเหล็กสแตนเลส เช่น โมเดล 629 และ 629 คลาสสิค ควรใส่กล่องเก็บหรือไม่ก็ตัดซองหนังใส่ปืนเก็บรักษา เพื่อป้องกันรอยขีดข่วน รอยขนแมว ที่เกิดขึ้นเพราะผิวเหล็กสแตนเลสเนื้ออ่อนกว่าเหล็ก ข้อสอง-ไม่ควรใช้ยาขัดโลหะชนิดที่มีสารชะล้าง(Solven)ขัดถูกตัวปืน เพราะจะทำให้ตัวอักษรที่แกะสลักด้วยเลเซอร์เคลือบสีทองไว้ลางเลือนจางหาย ข้อสาม-หมั่นตรวจขันหมุดสกรูที่ตัวปืนทั้งก่อนและหลังการยิง เนื่องจากแรงสะบัดสะท้อนรุนแรงทำให้หมุดสกรูคลายตัวและอาจหลุดกระเด็นหาย ข้อสี่-ถึงจะหาซื้อกระสุนได้มากก็ไม่ควรยิงเล่นบ่อยๆ เพราะจะทำให้ตัวปืนทรุดโทรมเร็วกว่าที่ควรอย่างน่าเสียดาย ข้อห้า-อย่านำมายิงแห้งหรือเหนี่ยวไกเล่น(โดยไม่บรรจุกระสุนในตัวปืน)บ่อยๆ กลไกปืนอาจชำรุดเสียหาย โดยเฉพาะเข็มแทงชนวนอาจหักโดยไม่รู้ตัว ข้อหก-ติดศูนย์กล้องเล็งได้ในกำลังขยายภาพไม่เกิน 4 เท่า สูงกว่านั้นจะเล็งยิงได้ลำบาก มือสั่นสายตาพร่ามัวเพราะไม่กล้าลั่นกระสุน(เพราะภาพมันฟ้องว่าศูนย์ปืนไม่เข้าเป้าเนื่องจากมือผู้ยิงสั่นไปมา) แต่สุดท้ายก็ต้องถอดศูนย์กล้องเล็งออกเพราะรู้สึกเกะกะหนักตัวปืนเปล่าๆ สรุปท้ายเรื่อง... สมิธแอนด์เวสสัน สี่สี่แม็กนั่ม เป็นทรัพย์สมบัติที่คู่ควรต่อผู้มีบารมีและนักสะสมปืนมากกว่าการมีใช้เพื่อต่อสู้ป้องกันชีวิตทรัพย์สิน ไม่ใช่ปืนสั้นประจำกายอย่างแน่นอน แต่จะเหมาะที่สุดในกรณีท่องไพรสำรวจป่าที่พกไว้ข้างเอวหรือข้างสีข้างลำตัวเพื่อป้องกันสัตว์เขี้ยวยาวดุร้ายต่างๆ แม้ปัจจุบัน ตลาดปืนโลกจะมี “ปืนโหดกระสุนดุ” รุ่นใหม่ๆที่มีอานุภาพสูงกว่าสี่สี่แม็กนั่ม ไม่ว่าจะเป็น .454 Casull, .460 S&W Magnum, .500 S&W Magnum, และอื่นๆ แต่ “สี่สี่แม็กนั่มยังจะเป็นเพื่อนที่ดีของนักเล่นปืนตลอดไป” ขอบคุณครับ...
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 11 Views 0 Reviews
  • "สายมู" ห้ามพลาด! "งานนวราตรี 2567" 05/10/67 #งานนวราตรี #วัดพระศรีมหาอุมาเทวี #วัดแขก #สายมู
    "สายมู" ห้ามพลาด! "งานนวราตรี 2567" 05/10/67 #งานนวราตรี #วัดพระศรีมหาอุมาเทวี #วัดแขก #สายมู
    Like
    7
    0 Comments 0 Shares 401 Views 295 0 Reviews
  • วัดเฉลิมพระเกียรติ
    วัดเฉลิมพระเกียรติ
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 117 Views 167 0 Reviews
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 248
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 248 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 Comments 0 Shares 9 Views 0 Reviews
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 248
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 248 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 Comments 0 Shares 9 Views 0 Reviews
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,646
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    ใส่บาตร 26 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 332 บาท
    วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 12 บาท
    1. นมโค ดัชมิลล์ UHT รสจืด 180ml. (6 บาท)
    2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท)
    4. กาแฟ 3in1 Royal Latte 18g. (2 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,646 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) ใส่บาตร 26 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 332 บาท วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 12 บาท 1. นมโค ดัชมิลล์ UHT รสจืด 180ml. (6 บาท) 2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท) 4. กาแฟ 3in1 Royal Latte 18g. (2 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,646
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    ใส่บาตร 26 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 332 บาท
    วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 12 บาท
    1. นมโค ดัชมิลล์ UHT รสจืด 180ml. (6 บาท)
    2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท)
    4. กาแฟ 3in1 Royal Latte 18g. (2 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,646 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) ใส่บาตร 26 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 332 บาท วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 12 บาท 1. นมโค ดัชมิลล์ UHT รสจืด 180ml. (6 บาท) 2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท) 4. กาแฟ 3in1 Royal Latte 18g. (2 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • พระพุทธเจ้าสอนอะไร #หลวงพ่อจรัญ_ฐิตธมฺโม #ธรรมะธรรมดา #เตือนสติตัวเอง
    พระพุทธเจ้าสอนอะไร #หลวงพ่อจรัญ_ฐิตธมฺโม #ธรรมะธรรมดา #เตือนสติตัวเอง
    0 Comments 0 Shares 112 Views 38 0 Reviews
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,538
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    รายการทำบุญ(Photo Album) ชุดที่ 1/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดคลองไม้แดง อ.สามเงา จ.ตาก
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    02. วัดถ้ำผาขาวคีรีวงกต อ.เมือง จ.กระบี่
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    03. วัดทุ่งสว่างท่าวารี อ.ปากคาด จ.บึงกาฬ
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    04. วัดป่ากอกแก้ว อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    05. วัดป่าเขาภูหลวง อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    06. วัดป่าดอนประดู่มงคลทิพย์ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    07. วัดป่าหนองช้างคาว อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    08. วัดป่าอุดมญาณสัมปันโน อ.เชียงคาน จ.เลย
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    09. วัดพระธาตุดอยวิสุทธิญาณ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    10. วัดพระบาทน้ำพุ อ.เมือง จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,538 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) รายการทำบุญ(Photo Album) ชุดที่ 1/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดคลองไม้แดง อ.สามเงา จ.ตาก (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 02. วัดถ้ำผาขาวคีรีวงกต อ.เมือง จ.กระบี่ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 03. วัดทุ่งสว่างท่าวารี อ.ปากคาด จ.บึงกาฬ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 04. วัดป่ากอกแก้ว อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 05. วัดป่าเขาภูหลวง อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 06. วัดป่าดอนประดู่มงคลทิพย์ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 07. วัดป่าหนองช้างคาว อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 08. วัดป่าอุดมญาณสัมปันโน อ.เชียงคาน จ.เลย (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 09. วัดพระธาตุดอยวิสุทธิญาณ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 10. วัดพระบาทน้ำพุ อ.เมือง จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,538
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    รายการทำบุญ(Photo Album) ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. ที่พักสงฆ์กระแหน่โชติการาม อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    22. วัดกระทงลอย อ.หนองแค จ.สระบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    23. วัดกองแก้ว อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    24. วัดแก้วโสภณ อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กำแพงเพชร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    25. วัดเขาเทพนิมิต อ.ปางศิลาทอง จ.กำแพงเพชร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    26. วัดเขาน้อยคงคาราม อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    27. วัดเขาลังพัฒนา อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    28. วัดคลองปลัดเปรียง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    29. วัดควนสระบัว อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    30. วัดเจดีย์ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,538 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) รายการทำบุญ(Photo Album) ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. ที่พักสงฆ์กระแหน่โชติการาม อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 22. วัดกระทงลอย อ.หนองแค จ.สระบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 23. วัดกองแก้ว อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 24. วัดแก้วโสภณ อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กำแพงเพชร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 25. วัดเขาเทพนิมิต อ.ปางศิลาทอง จ.กำแพงเพชร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 26. วัดเขาน้อยคงคาราม อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 27. วัดเขาลังพัฒนา อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 28. วัดคลองปลัดเปรียง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 29. วัดควนสระบัว อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 30. วัดเจดีย์ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,538
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    รายการทำบุญ(Photo Album) ชุดที่ 1/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดคลองไม้แดง อ.สามเงา จ.ตาก
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    02. วัดถ้ำผาขาวคีรีวงกต อ.เมือง จ.กระบี่
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    03. วัดทุ่งสว่างท่าวารี อ.ปากคาด จ.บึงกาฬ
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    04. วัดป่ากอกแก้ว อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    05. วัดป่าเขาภูหลวง อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    06. วัดป่าดอนประดู่มงคลทิพย์ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    07. วัดป่าหนองช้างคาว อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    08. วัดป่าอุดมญาณสัมปันโน อ.เชียงคาน จ.เลย
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    09. วัดพระธาตุดอยวิสุทธิญาณ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    10. วัดพระบาทน้ำพุ อ.เมือง จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,538 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) รายการทำบุญ(Photo Album) ชุดที่ 1/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดคลองไม้แดง อ.สามเงา จ.ตาก (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 02. วัดถ้ำผาขาวคีรีวงกต อ.เมือง จ.กระบี่ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 03. วัดทุ่งสว่างท่าวารี อ.ปากคาด จ.บึงกาฬ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 04. วัดป่ากอกแก้ว อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 05. วัดป่าเขาภูหลวง อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 06. วัดป่าดอนประดู่มงคลทิพย์ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 07. วัดป่าหนองช้างคาว อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 08. วัดป่าอุดมญาณสัมปันโน อ.เชียงคาน จ.เลย (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 09. วัดพระธาตุดอยวิสุทธิญาณ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) 10. วัดพระบาทน้ำพุ อ.เมือง จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 02 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,538
    วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024)

    รายการทำบุญ(Photo Album) ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. ที่พักสงฆ์กระแหน่โชติการาม อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    22. วัดกระทงลอย อ.หนองแค จ.สระบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    23. วัดกองแก้ว อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    24. วัดแก้วโสภณ อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กำแพงเพชร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    25. วัดเขาเทพนิมิต อ.ปางศิลาทอง จ.กำแพงเพชร
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    26. วัดเขาน้อยคงคาราม อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    27. วัดเขาลังพัฒนา อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    28. วัดคลองปลัดเปรียง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    29. วัดควนสระบัว อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    30. วัดเจดีย์ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,538 วันเสาร์: ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๗ (5 October 2024) รายการทำบุญ(Photo Album) ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. ที่พักสงฆ์กระแหน่โชติการาม อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 22. วัดกระทงลอย อ.หนองแค จ.สระบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 23. วัดกองแก้ว อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 24. วัดแก้วโสภณ อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กำแพงเพชร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 25. วัดเขาเทพนิมิต อ.ปางศิลาทอง จ.กำแพงเพชร (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 26. วัดเขาน้อยคงคาราม อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 27. วัดเขาลังพัฒนา อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 28. วัดคลองปลัดเปรียง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 29. วัดควนสระบัว อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 30. วัดเจดีย์ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๐ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • ร้านข้าวหอมแกงเผ็ด
    ข้าวแกงปักษ์ใต้แสนอร่อย ตั้งอยู่ถนนพระยาสุเรนทร์
    ร้านข้าวหอมแกงเผ็ด ข้าวแกงปักษ์ใต้แสนอร่อย ตั้งอยู่ถนนพระยาสุเรนทร์
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 116 Views 70 0 Reviews
  • #ผ้ายันต์อรหันต์แปดทิศ ลพ.กวย

    ผ้ายันต์อรหันต์แปดทิศจักรณีย์ ลพ.กวย หรือผ้ายันต์แดง สงครามลาว ขนาด1ฟุต ผ้ายันต์นี้มีอานุภาพทางคุ้มครองสูง ทั้งกันภูตผีปีศาจดเเละกันอาวุธ เข้าป่า อยู่ดง เอาไว้คุ้มครองดี หลวงพ่อเคยเเจกให้ศิษย์ไปรบสงครามลาวเมื่อปี2118 บางคนจึงเรียก ผ้ายันต์สงครามลาว หลายคนรอดตายเพราะผ้ายันต์รุ่นนี้ เอาคลุมหัว หรือใช้โบกทาง ก่อนวิ่งหลบห่ากระสุนตอนรบ เห็นหลวงพ่อเดินนำทาง รอดปลอดภัยมาได้
    #รับเช่าพระเครื่องหลวงพ่อกวย((รับฝาก))
    📞สายด่วนสะดวกกว่า 081-7407657 สิทธิ์ เสนา
    #ผ้ายันต์อรหันต์แปดทิศ ลพ.กวย ผ้ายันต์อรหันต์แปดทิศจักรณีย์ ลพ.กวย หรือผ้ายันต์แดง สงครามลาว ขนาด1ฟุต ผ้ายันต์นี้มีอานุภาพทางคุ้มครองสูง ทั้งกันภูตผีปีศาจดเเละกันอาวุธ เข้าป่า อยู่ดง เอาไว้คุ้มครองดี หลวงพ่อเคยเเจกให้ศิษย์ไปรบสงครามลาวเมื่อปี2118 บางคนจึงเรียก ผ้ายันต์สงครามลาว หลายคนรอดตายเพราะผ้ายันต์รุ่นนี้ เอาคลุมหัว หรือใช้โบกทาง ก่อนวิ่งหลบห่ากระสุนตอนรบ เห็นหลวงพ่อเดินนำทาง รอดปลอดภัยมาได้ #รับเช่าพระเครื่องหลวงพ่อกวย((รับฝาก)) 📞สายด่วนสะดวกกว่า 081-7407657 สิทธิ์ เสนา
    Like
    1
    1 Comments 0 Shares 10 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/TQtPAArNgXw?si=4wdGsTJIDIZ3rE95
    อานิสงส์ในการระลึกถึงพระเจ้าบ่อยๆภาวนาพุทโธ ลงยนรกไม่ได้
    https://youtu.be/TQtPAArNgXw?si=4wdGsTJIDIZ3rE95 อานิสงส์ในการระลึกถึงพระเจ้าบ่อยๆภาวนาพุทโธ ลงยนรกไม่ได้
    Love
    1
    0 Comments 1 Shares 44 Views 0 Reviews
  • เมื่อไหร่ที่เราทำความดี
    เมื่อนั้นจะต้องผจญมาร ๕ประการ

    🪷การให้ทาน ถือเป็นความดีขั้นธรรมดา

    🪷การรักษาศีล เป็นความดีขั้นสูงกว่าทาน

    🪷การบำเพ็ญภาวนา เช่นการนั่งสมาธิ การเดินจงกรม ถือเป็นความดีขั้นสูงสุด

    เมื่อไหร่ที่เราทำความดี
    เมื่อนั้นจะต้องผจญมาร มารมี ๕ ประเภทด้วยกันคือ

    🐝๑. ขันธมาร
    ได้แก่ ความปวดเมื่อย คันตรงโน้น เจ็บตรงนี้

    🐝๒. กิเลสมาร
    ได้แก่ กิเลสต่างๆ เช่น นั่งแล้วอยากเห็นเลข ก็เป็นโลภะ นึกเคียดแค้นคนอื่นก็เป็นโทสะ หรือนั่งเพลินๆ คิดเป็นสุขก็เป็นโมหะ

    🐝๓. เทวปุตมาร
    ก็เช่นเห็นเทพบุตร เทพธิดา เห็นนรกสวรรค์

    🐝๔. อภิสังขารมาร
    ได้แก่ ความคิดปรุงแต่ง อยากเห็นโน่นเห็นนี่ อยากได้ "เห็นหนอ"อยากสำเร็จพระอรหันต์

    🐝๕. มัจจุมาร
    อันนี้ร้ายที่สุด เพราะถ้าตายเสียแล้ว โอกาสที่จะมานั่งพอง-หนอ ยุบ-หนอ ก็ไม่มี เพราะฉนั้นจะต้องรู้เท่าทันมารเหล่านี้

    สาธุธรรมหลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม

    #ศิษย์พ่อแม่ครูบาอาจารย์หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม (วัดอัมพวัน จ.สิงห์บุรี)
    เมื่อไหร่ที่เราทำความดี เมื่อนั้นจะต้องผจญมาร ๕ประการ 🪷การให้ทาน ถือเป็นความดีขั้นธรรมดา 🪷การรักษาศีล เป็นความดีขั้นสูงกว่าทาน 🪷การบำเพ็ญภาวนา เช่นการนั่งสมาธิ การเดินจงกรม ถือเป็นความดีขั้นสูงสุด เมื่อไหร่ที่เราทำความดี เมื่อนั้นจะต้องผจญมาร มารมี ๕ ประเภทด้วยกันคือ 🐝๑. ขันธมาร ได้แก่ ความปวดเมื่อย คันตรงโน้น เจ็บตรงนี้ 🐝๒. กิเลสมาร ได้แก่ กิเลสต่างๆ เช่น นั่งแล้วอยากเห็นเลข ก็เป็นโลภะ นึกเคียดแค้นคนอื่นก็เป็นโทสะ หรือนั่งเพลินๆ คิดเป็นสุขก็เป็นโมหะ 🐝๓. เทวปุตมาร ก็เช่นเห็นเทพบุตร เทพธิดา เห็นนรกสวรรค์ 🐝๔. อภิสังขารมาร ได้แก่ ความคิดปรุงแต่ง อยากเห็นโน่นเห็นนี่ อยากได้ "เห็นหนอ"อยากสำเร็จพระอรหันต์ 🐝๕. มัจจุมาร อันนี้ร้ายที่สุด เพราะถ้าตายเสียแล้ว โอกาสที่จะมานั่งพอง-หนอ ยุบ-หนอ ก็ไม่มี เพราะฉนั้นจะต้องรู้เท่าทันมารเหล่านี้ สาธุธรรมหลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม #ศิษย์พ่อแม่ครูบาอาจารย์หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม (วัดอัมพวัน จ.สิงห์บุรี)
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 11 Views 0 Reviews
  • ทรงพระเจริญ🙏
    เล่าเรื่อง ขอบคุณTikTok@noonoodle #ถุงพระราชทาน #ว่างว่างก็แวะมา #Thaitimes
    ทรงพระเจริญ🙏 เล่าเรื่อง ขอบคุณTikTok@noonoodle #ถุงพระราชทาน #ว่างว่างก็แวะมา #Thaitimes
    Love
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 453 Views 339 0 Reviews
  • อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 370
    วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024)

    สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 180 จบ
    รวมสวดสะสม 80,720 จบ ยอดคงเหลือ 3,280 จบ
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน
    #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ
    #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 370 วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024) สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 180 จบ รวมสวดสะสม 80,720 จบ ยอดคงเหลือ 3,280 จบ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 370
    วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024)

    สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 180 จบ
    รวมสวดสะสม 80,720 จบ ยอดคงเหลือ 3,280 จบ
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน
    #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ
    #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 370 วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024) สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 180 จบ รวมสวดสะสม 80,720 จบ ยอดคงเหลือ 3,280 จบ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • 🤠#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 01.🤠

    😎#ออกจากประตูหยก😎

    🥸การเดินทางของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปทางทิศตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะนั้นเป็นการกระทำส่วนตัวโดยไม่ได้รับการสนับสนุนจากทางการ แต่ด้วยเหตุนี้ มุมมองของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่มีต่อภูมิภาคตะวันตกจึงมีความเป็นพลเรือนมากกว่า เป็นกลางมากกว่า และเป็นจริงมากกว่า🥸

    🥸ต่อไปนี้เชิญท่านมาเผชิญหน้ากับท่ามกลางท้องฟ้าอันเต็มไปด้วยลมและทราย เดินย่ำเหยียบฝ่าหมอกควันทะเลทราย เริ่มต้นเข้าร่วมกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ในการเดินทางอันน่ามหัศจรรย์ของเขาเพื่อร่างขอบเขตดินแดนของภูมิภาคตะวันตก🥸

    😎ออกจากประตูหยก(玉门)ไปทางทิศตะวันตก 😎

    🥸ในปีคริสตศักราช 629 ภัยพิบัติน้ำแข็งเกิดขึ้นในพื้นที่กวนจง(关中) ราชวงศ์ถัง(唐)ออกคำสั่งให้พระภิกษุและฆราวาสในพื้นที่ คยองกี(Gyeonggi京畿) ย้ายไปยังสถานที่อื่นเพื่อหาอาหารและหลีกเลี่ยงหลบหนีจากความอดอยาก พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ซึ่งแต่เดิมต้องการออกจากด่านทางผ่าน แต่ไม่ได้รับอนุญาตจากราชสำนักจึงใช้โอกาสนี้ออกจากฉางอาน(长安)🥸 เขาเดินทางผ่านหลานโจว(兰州)และเหลียงโจว(凉州) เขาหลีกเลี่ยงการติดตามจัยกุมของทางการโดยการเดินทางเวลากลางคืนและพักเวลากลางวัน ต่อมา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เสี่ยงภัยเดินทางผ่าน กวัวโจว(瓜州) และ อวี้เหมินกวน(Yumen Pass玉门关) ผ่านหอคอยสัญญาณไฟ 5 แห่งที่มีกองทหารคุ้มกันตามลำดับรายทาง ด้วยความช่วยเหลือจากทหารรักษาชายแดนผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ข้ามทะเลทรายโกบีด้วยพลังแห่งความศรัทธาและความอุตสาหะอย่างแรงกล้าก่อนจะไปถึงอีหวู(伊吾) และเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตก

    🥸สถานีแรกของการเดินทาง อีหวู(伊吾) ได้มีการส่งมอบการมาถึงอย่างกะทันหันของพระภิกษุให้กับเกาชาง(Gaochang高昌) (ปัจจุบันคือเมืองถูหลู่ฟาน(Turfan 吐鲁番) เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์(Xinjiang Uygur Autonomous Region 新疆维吾尔自治区)) เจ้าเหนือหัวองค์น้อยทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตกในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ริมแอ่งถูหลู่ฟาน(Turfan Depression吐鲁番盆地)🥸

    🥸หลังจากได้ยินข่าวว่า พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)มาถึงแล้ว กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) เสนาบดี และสาวใช้ออกมาจากพระราชวังในเวลากลางคืน ทรงจุดเทียน และเข้าแถวเพื่อต้อนรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เข้าสู่พระราชวังด้วยความเคารพ🥸 หลังจากเห็น พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) แล้ว ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ดีใจมากและบอกกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ว่า: นับตั้งแต่ฉันรู้ชื่ออาจารย์ ฉันมีความสุขมากจนลืมกินลืมนอน ฉันรู้ว่าพระภิกษุผู้แสวงธรรมจากตะวันออกจะมาคืนนี้ ฉันก็เลยพร้อมกับพระราชินีและเจ้าชายทรงพากันสวดมนต์ตลอดทั้งคืนรอการมาถึงของพระอาจารย์

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ถูกจัดให้อยู่ที่สนามหลวงทางพิธีกรรมของศาสนาถัดจากพระราชวังกษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) และจัดขันทีให้ดูแลอาหารและชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)

    รัฐเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)เป็นนครรัฐที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคตะวันตก และถูกปกครองโดยผู้รอดชีวิตจากราชวงศ์ฮั่น(汉)และเว่ย(魏) ซึ่งเป็นโครงสร้างทางการเมืองที่รวมหู(胡)และฮั่น(汉)เข้าด้วยกัน ในบรรดาพลเมืองนั้น ไม่เพียงแต่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพชาวฮั่น(汉)เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้คนจากภูมิภาคตะวันตกด้วย เช่น ชาวซ็อกเดียน(Sogdians粟特) ชาวซานซาน(Shanshan鄯善人)และชาวเติร์ก(Turks突厥人) 🥸ก่อนที่ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)จะมาถึง ประเทศนี้ก็ก่อตั้งขึ้นที่นั่นมานานกว่า 100 ปีแล้ว เขารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่พบว่าข้อมูลจำเพาะของเมืองที่นี่มีความคล้ายคลึงกับเมืองฉางอัน(长安)ในราชวงศ์ซุย(隋)และราชวงศ์ถัง(唐)มาก นอกจากนี้ยังมีรูปของ ดยุคไอแห่งหลู่(鲁哀公)สอดถามขงจื๊อ(孔子)เกี่ยวกับปัญหาการเมืองที่แขวนอยู่ในพระราชวังของอาณาจักร เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)🥸

    😎การต้อนรับด้วยมารยาทอันสูงส่ง😎

    🥸ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และบิดาของเขาเดินทางไปยังราชวงศ์สุย(隋)ในยุครุ่งเรืองเพื่อเข้าเฝ้าจักรพรรดิสุยหยางตี้(隋炀帝)🥸 เขาไม่เพียงแต่เดินทางไปยังฉางอาน(长安) ล่อหยาง(洛阳) เฝินหยาง(汾阳) เอี้ยนตี้(燕地) ไต้ตี้(代地) และเมืองสำคัญอื่นๆ และได้เห็นวัฒนธรรมฮั่น(汉)ของที่ราบตอนกลางดั้งเดิม แต่เขายังไปเยี่ยมคารวะพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงและผู้มีคุณธรรมอีกมากมาย และเขาก็ชื่นชมที่ราบภาคกลางที่เป็นบ้านเกิดทางวัฒนธรรมของเขาเป็นอย่างมาก แต่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)รู้สึกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงในอดีตของราชวงศ์ซุย ความฉลาดสามารถของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)นั้นเหนือกว่ามาก

    เมื่อใดก็ตามที่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)บรรยายธรรมแก่ขุนนางของเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ในเต็นท์ใหญ่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ถือกระถางธูปเพื่อเคลียร์นำทางให้พระภิกษุผู้มีชื่อเสียงด้วยตนเอง เมื่อพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปที่แท่นธรรมาสน์เพื่อขึ้นเทศนาธรรม กษัตริย์แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ถึงกับคุกเข่าโน้มตัวลง และทำหน้าที่เป็นบันไดให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ก้าวขึ้นแท่นธรรมาสน์ การปฏิบัตินี้ไม่สอดคล้องกับประเพณีตะวันออก แต่ก็มีบันทึกไว้ในหนังสือดั้งเดิมของอินเดียบางเรื่อง สิ่งนี้พิสูจน์ได้จากสิ่งแวดล้อมข้วงเคียงว่า เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)คือจุดทางสี่แยกของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก นอกจากนี้ยังอธิบายถึงการบูชาสักการะอย่างสูงสุดต่อ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ยังคัดเลือกพระภิกษุในท้องถิ่นหลายแห่งใน เกาชาง(Gaochang高昌)ให้เป็นนักเรียนและคนรับใช้ นิสัยปกิบัติในการรับลูกศิษย์ไปตลอดทางนี้ กลายเป็นต้นแบบทางประวัติศาสตร์สำหรับทีมอาจารย์และลูกศิษย์ของภิกษุราชวงศ์ถัง(唐)ที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องใน "บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก(Journey to the West西游记)" แม้ว่ากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)จะชื่นชมพรสวรรค์และการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เขาถึงกับมีความคิดหน่วงรั้งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้ที่เกาชาง(Gaochang高昌)ด้วยซ้ำ และขอให้ประทับอยู่ที่นี่ตลอดไป แสดงธรรมสั่งสอนให้ความรู้ความกระจ่างแก่คนทั่วไป จนกระทั่งเป็นพระอาจารย์ระดับชาติของ เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เห็นด้วยเพราะมีตวามเห็นว่าเรื่องธรรมะเป็นเรื่องใหญ่กว่า กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)เห็นว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) มีความมุ่งมั่นดังนั้นเขาจึงจำต้องโยนไพ่ตายทางเลือกสุดท้ายของเขาออกไป: 🥸ถ้าพระคุณท่านไม่ปรารถนาอยู่ในเกาชาง(Gaochang高昌) ข้าพระเจ้าจะไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากส่งท่านอาจารย์กลับไปทางทิศตะวันออก🥸

    เมื่อต้องเผชิญกับกลยุทธ์ไม้แข็งและไม้อ่อนร่วมกันของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) กล่าวด้วยท่าทีที่ไม่ถ่อมตัวหรือหยิ่งผยองว่า: 🥸พระองค์สามารถจะเพียงได้รับกระดูกของอาตมาเอาไว้ได้ แต่พระองค์ไม่สามารถหยุดยั้งความตั้งใจของอาตมาที่จะไปทางตะวันตกได้🥸

    😎หนทางเบื้องหน้าอันยาวไกล😎

    🥸ด้วยเหตุนี้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) จึงอดอาหารเป็นเวลาสามวันเพื่อแสดงความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตก🥸 ในฐานะเป็นอาณาจักรในภูมิภาคตะวันตกที่นับถือศาสนาพุทธ หากมีพระภิกษุที่แสวงหาธรรมะมาอดอยากจนตายภายในดินแดนของตน ชื่อเสียงสู่ภายนอกของเกาชาง(Gaochang高昌)ในภูมิภาคตะวันตกจะเสียหายอย่างมาก และเขาจะพลอยได้รับชื่อเสียงเสื่อมเสียงจากการทำร้ายพระภิกษุที่มีชื่อเสียงด้วย ยิ่งไปกว่านั้นความจริงแล้ว การขัดขวางการเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตกของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ด้วยเพื่อความปรารถนาอันเห็นแก่ตัวของเขาเองก็เป็นการขัดแย้งกับความตั้งใจเดิมของเขา

    🥸เมื่อเขาคิดมาถึง ณ จุดนี้ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ก้มหัวให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เพื่อขอโทษ🥸 ความคิดที่เห็นแก่ตัวของเขาที่มีต่อเกาชาง(Gaochang高昌) ก็ถูกขจัดออกไปในที่สุดด้วยความมุ่งมั่นมีเมตตาที่จะช่วยสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในเวลาเดียวกันกับขณะที่รู้สึกประทับใจกับความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะแสวงหาธรรมะโดยปราศจากสิ่งภายนอกมาบั่นทอนความตั้งใจ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ได้สาบานต่อฟ้าดินสัญญาเป็นพี่น้องกัน ภายใต้การอุปถัมภ์จากแม่ของแผ่นดินเจ้าจอมมารดา จาง(张太妃) เพื่อให้พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เดินทางไปถึงอินเดียได้อย่างราบรื่น กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) ทรงสั่งการให้จัดทีมงานเล็กๆ ประกอบด้วยม้า 30 ตัว พนักงานข้าราชการเกาชาง(Gaochang高昌)1 คน ผู้ติดตามกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ 25 คน และพระภิกษุหนุ่ม 4 รูป เพื่อดูแลเรื่องอาหาร เสื้อผ้า และชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมหน้ากากและหมวกพิเศษสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สำหรับการเดินทางผ่านภูเขาและทะเลทรายที่เต็มไปด้วยหิมะ รวมถึงเสื้อคลุมสำหรับพระสงฆ์ซึ่งสามารถปรับให้เข้ากับเขตภูมิอากาศต่างๆ จัดทหารม้าขนนำทองคำ เงิน และผ้าไหมจำนวนมากไว้สำหรับการครั้งนี้ ทำให้มั่นใจได้ว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เพียงแต่จะไม่ต้องทนทุกข์จากความหิวโหยระหว่างทางไปอินเดียเท่านั้น แต่ยังมีเงินเพียงพอที่จะทำทานอีกด้วย ในสิ่งแต่งเคิมเหล่านี้เป็นรายละเอียดด้านที่อ่อนโยนของประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ที่มีต่ออัครสาวก

    🥸นอกจากทรัพย์สินแล้ว เนื่องจากเจ้าผู้ครองแคว้นตะวันตกในขณะนั้น คือ ข่านเตอร์กตะวันตก(西突厥)ได้สมรสกับราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ยังมีจดหมายแสดงความเคารพที่กษัตริย์แห่งเกาชาง(Gaochang高昌)มอบให้กับข่านแห่งเติร์กตะวันตก(西突厥) อธิบายถึงความตั้งใจของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะไปทางดินแดนแคว้นตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะ🥸 ภายใต้การคุ้มครองของเตอร์กข่านตะวันตก (西突厥) ทุกประเทศในภูมิภาคตะวันตกตลอดเส้นทางให้ความเคารพแก่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) และให้การสนับสนุนทางทหารที่เข้มแข็งและมีควาทปลอดภัยที่สุดสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)และคณะเดินทางของเขา และจดหมายแสดงความเคารพของกษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ถึงพระมหากษัตริย์ของยี่สิบสี่ประเทศในภูมิภาคตะวันตกจะช่วยให้การเดินทางของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ง่ายและสะดวกขึ้นอย่างมาก

    🥸ในช่วงเวลาอันศักดิ์สิทธิ์ของการอำลาอาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌) บรรดาราชวงศ์และชาวเกาชาง(Gaochang高昌)ก็ออกจากเมืองเพื่อส่งอำลา🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สัญญาว่า เมื่อเดินทางผ่านเกาชาง(Gaochang高昌)หลังจากกลับจากการศึกษาในอินเดียจะแสดงเทศนาธรรมอีก จากนั้นเขาก็กล่าวคำอำลากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ด้วยน้ำตา พวกบรรดาราชวงศ์ เกาชาง(Gaochang高昌)เจ้าหน้าที่และประชาชนชาวพุทธต่างพากันออกจากเมืองส่งเสียงอำลาดังลั่นสั่นสะเทือนไปทั่วทั้งถิ่น ราวกับว่ามือแห่งโชคชะตาได้ฉีกหัวใจและจิตวิญญาณออกจากร่างกายของชาวเกาชาง(Gaochang高昌) ทำให้พวกเขาสูญเสียสมบัติของชาติไปตลอดกาล

    บรรดาพวกราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ส่งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ออกไปนอกเมืองหลายสิบลี้ แม้ว่าพระภิกษุสมณเพศจะมองเห็นบรรลุแล้วการจากแยกอำลาในทางโลกแล้วก็ตาม แต่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ผู้ที่มีจิตใจละเอียดอ่อนและยังคงเห็นคุณค่าของความสัมพันธ์ของมนุษย์ก็ยังมีอารมณ์อ่อนไหวมาก เขาขอบคุณต่ออาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌)อย่างสุดซึ้งอีกครั้งสำหรับการสนับสนุนอย่างมีน้ำใจ ราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังจับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้แน่นด้วยมือทั้งสองข้าง ร่ำไห้ราวกับสายฝนกล่าวว่า 🥸ในเมื่อพระคุณท่านถือเป็นพี่น้องกัน สัตว์พาหนะต่าง ๆ ในประเทศก็มีเจ้าของคนเดียวกัน แล้วเหตุใดจึงต้องขอบคุณพวกเขาด้วย?🥸

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ตอบว่า: 🥸ฉันจะไม่มีวันลืมความเมตตาของเสด็จพี่ตลอดชีวิตของอาตมา ในวันที่อาตมากลับจากนำพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนากลับมา อาตมาจะอยู่สอนธรรมะในเกาชาง(Gaochang高昌)เป็นเวลาสามปีเป็นการตอบแทน!🥸

    หลายปีต่อมาในฉางอาน(长安) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เล่าถึงเหตุการณ์อันน่าประทับใจนี้ในช่วงเวลาที่ยากลำบากให้เหล่าสาวกฟัง มิตรภาพฉันท์พี่น้องที่มีต่อราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังคงเกินคำบรรยาย ดูเหมือนราวกับว่าพิธีอำลาที่หรูหราและยิ่งใหญ่นั้นได่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้เอง ตอนนั้นเขาไม่รู้ 🥸นี่ยังจะเป็นครั้งสุดท้ายที่เขาจะได้พบกับพี่ชายร่วมสาบานของเขา🥸

    🥳โปรดติดตามบทความ#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 02.
    #อาณาจักรคาราซาห์และคูชาที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🥳

    🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    🤠#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 01.🤠 😎#ออกจากประตูหยก😎 🥸การเดินทางของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปทางทิศตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะนั้นเป็นการกระทำส่วนตัวโดยไม่ได้รับการสนับสนุนจากทางการ แต่ด้วยเหตุนี้ มุมมองของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่มีต่อภูมิภาคตะวันตกจึงมีความเป็นพลเรือนมากกว่า เป็นกลางมากกว่า และเป็นจริงมากกว่า🥸 🥸ต่อไปนี้เชิญท่านมาเผชิญหน้ากับท่ามกลางท้องฟ้าอันเต็มไปด้วยลมและทราย เดินย่ำเหยียบฝ่าหมอกควันทะเลทราย เริ่มต้นเข้าร่วมกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ในการเดินทางอันน่ามหัศจรรย์ของเขาเพื่อร่างขอบเขตดินแดนของภูมิภาคตะวันตก🥸 😎ออกจากประตูหยก(玉门)ไปทางทิศตะวันตก 😎 🥸ในปีคริสตศักราช 629 ภัยพิบัติน้ำแข็งเกิดขึ้นในพื้นที่กวนจง(关中) ราชวงศ์ถัง(唐)ออกคำสั่งให้พระภิกษุและฆราวาสในพื้นที่ คยองกี(Gyeonggi京畿) ย้ายไปยังสถานที่อื่นเพื่อหาอาหารและหลีกเลี่ยงหลบหนีจากความอดอยาก พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ซึ่งแต่เดิมต้องการออกจากด่านทางผ่าน แต่ไม่ได้รับอนุญาตจากราชสำนักจึงใช้โอกาสนี้ออกจากฉางอาน(长安)🥸 เขาเดินทางผ่านหลานโจว(兰州)และเหลียงโจว(凉州) เขาหลีกเลี่ยงการติดตามจัยกุมของทางการโดยการเดินทางเวลากลางคืนและพักเวลากลางวัน ต่อมา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เสี่ยงภัยเดินทางผ่าน กวัวโจว(瓜州) และ อวี้เหมินกวน(Yumen Pass玉门关) ผ่านหอคอยสัญญาณไฟ 5 แห่งที่มีกองทหารคุ้มกันตามลำดับรายทาง ด้วยความช่วยเหลือจากทหารรักษาชายแดนผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ข้ามทะเลทรายโกบีด้วยพลังแห่งความศรัทธาและความอุตสาหะอย่างแรงกล้าก่อนจะไปถึงอีหวู(伊吾) และเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตก 🥸สถานีแรกของการเดินทาง อีหวู(伊吾) ได้มีการส่งมอบการมาถึงอย่างกะทันหันของพระภิกษุให้กับเกาชาง(Gaochang高昌) (ปัจจุบันคือเมืองถูหลู่ฟาน(Turfan 吐鲁番) เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์(Xinjiang Uygur Autonomous Region 新疆维吾尔自治区)) เจ้าเหนือหัวองค์น้อยทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตกในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ริมแอ่งถูหลู่ฟาน(Turfan Depression吐鲁番盆地)🥸 🥸หลังจากได้ยินข่าวว่า พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)มาถึงแล้ว กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) เสนาบดี และสาวใช้ออกมาจากพระราชวังในเวลากลางคืน ทรงจุดเทียน และเข้าแถวเพื่อต้อนรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เข้าสู่พระราชวังด้วยความเคารพ🥸 หลังจากเห็น พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) แล้ว ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ดีใจมากและบอกกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ว่า: นับตั้งแต่ฉันรู้ชื่ออาจารย์ ฉันมีความสุขมากจนลืมกินลืมนอน ฉันรู้ว่าพระภิกษุผู้แสวงธรรมจากตะวันออกจะมาคืนนี้ ฉันก็เลยพร้อมกับพระราชินีและเจ้าชายทรงพากันสวดมนต์ตลอดทั้งคืนรอการมาถึงของพระอาจารย์ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ถูกจัดให้อยู่ที่สนามหลวงทางพิธีกรรมของศาสนาถัดจากพระราชวังกษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) และจัดขันทีให้ดูแลอาหารและชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) รัฐเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)เป็นนครรัฐที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคตะวันตก และถูกปกครองโดยผู้รอดชีวิตจากราชวงศ์ฮั่น(汉)และเว่ย(魏) ซึ่งเป็นโครงสร้างทางการเมืองที่รวมหู(胡)และฮั่น(汉)เข้าด้วยกัน ในบรรดาพลเมืองนั้น ไม่เพียงแต่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพชาวฮั่น(汉)เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้คนจากภูมิภาคตะวันตกด้วย เช่น ชาวซ็อกเดียน(Sogdians粟特) ชาวซานซาน(Shanshan鄯善人)และชาวเติร์ก(Turks突厥人) 🥸ก่อนที่ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)จะมาถึง ประเทศนี้ก็ก่อตั้งขึ้นที่นั่นมานานกว่า 100 ปีแล้ว เขารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่พบว่าข้อมูลจำเพาะของเมืองที่นี่มีความคล้ายคลึงกับเมืองฉางอัน(长安)ในราชวงศ์ซุย(隋)และราชวงศ์ถัง(唐)มาก นอกจากนี้ยังมีรูปของ ดยุคไอแห่งหลู่(鲁哀公)สอดถามขงจื๊อ(孔子)เกี่ยวกับปัญหาการเมืองที่แขวนอยู่ในพระราชวังของอาณาจักร เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)🥸 😎การต้อนรับด้วยมารยาทอันสูงส่ง😎 🥸ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และบิดาของเขาเดินทางไปยังราชวงศ์สุย(隋)ในยุครุ่งเรืองเพื่อเข้าเฝ้าจักรพรรดิสุยหยางตี้(隋炀帝)🥸 เขาไม่เพียงแต่เดินทางไปยังฉางอาน(长安) ล่อหยาง(洛阳) เฝินหยาง(汾阳) เอี้ยนตี้(燕地) ไต้ตี้(代地) และเมืองสำคัญอื่นๆ และได้เห็นวัฒนธรรมฮั่น(汉)ของที่ราบตอนกลางดั้งเดิม แต่เขายังไปเยี่ยมคารวะพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงและผู้มีคุณธรรมอีกมากมาย และเขาก็ชื่นชมที่ราบภาคกลางที่เป็นบ้านเกิดทางวัฒนธรรมของเขาเป็นอย่างมาก แต่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)รู้สึกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงในอดีตของราชวงศ์ซุย ความฉลาดสามารถของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)นั้นเหนือกว่ามาก เมื่อใดก็ตามที่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)บรรยายธรรมแก่ขุนนางของเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ในเต็นท์ใหญ่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ถือกระถางธูปเพื่อเคลียร์นำทางให้พระภิกษุผู้มีชื่อเสียงด้วยตนเอง เมื่อพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปที่แท่นธรรมาสน์เพื่อขึ้นเทศนาธรรม กษัตริย์แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ถึงกับคุกเข่าโน้มตัวลง และทำหน้าที่เป็นบันไดให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ก้าวขึ้นแท่นธรรมาสน์ การปฏิบัตินี้ไม่สอดคล้องกับประเพณีตะวันออก แต่ก็มีบันทึกไว้ในหนังสือดั้งเดิมของอินเดียบางเรื่อง สิ่งนี้พิสูจน์ได้จากสิ่งแวดล้อมข้วงเคียงว่า เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)คือจุดทางสี่แยกของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก นอกจากนี้ยังอธิบายถึงการบูชาสักการะอย่างสูงสุดต่อ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ยังคัดเลือกพระภิกษุในท้องถิ่นหลายแห่งใน เกาชาง(Gaochang高昌)ให้เป็นนักเรียนและคนรับใช้ นิสัยปกิบัติในการรับลูกศิษย์ไปตลอดทางนี้ กลายเป็นต้นแบบทางประวัติศาสตร์สำหรับทีมอาจารย์และลูกศิษย์ของภิกษุราชวงศ์ถัง(唐)ที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องใน "บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก(Journey to the West西游记)" แม้ว่ากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)จะชื่นชมพรสวรรค์และการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เขาถึงกับมีความคิดหน่วงรั้งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้ที่เกาชาง(Gaochang高昌)ด้วยซ้ำ และขอให้ประทับอยู่ที่นี่ตลอดไป แสดงธรรมสั่งสอนให้ความรู้ความกระจ่างแก่คนทั่วไป จนกระทั่งเป็นพระอาจารย์ระดับชาติของ เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เห็นด้วยเพราะมีตวามเห็นว่าเรื่องธรรมะเป็นเรื่องใหญ่กว่า กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)เห็นว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) มีความมุ่งมั่นดังนั้นเขาจึงจำต้องโยนไพ่ตายทางเลือกสุดท้ายของเขาออกไป: 🥸ถ้าพระคุณท่านไม่ปรารถนาอยู่ในเกาชาง(Gaochang高昌) ข้าพระเจ้าจะไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากส่งท่านอาจารย์กลับไปทางทิศตะวันออก🥸 เมื่อต้องเผชิญกับกลยุทธ์ไม้แข็งและไม้อ่อนร่วมกันของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) กล่าวด้วยท่าทีที่ไม่ถ่อมตัวหรือหยิ่งผยองว่า: 🥸พระองค์สามารถจะเพียงได้รับกระดูกของอาตมาเอาไว้ได้ แต่พระองค์ไม่สามารถหยุดยั้งความตั้งใจของอาตมาที่จะไปทางตะวันตกได้🥸 😎หนทางเบื้องหน้าอันยาวไกล😎 🥸ด้วยเหตุนี้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) จึงอดอาหารเป็นเวลาสามวันเพื่อแสดงความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตก🥸 ในฐานะเป็นอาณาจักรในภูมิภาคตะวันตกที่นับถือศาสนาพุทธ หากมีพระภิกษุที่แสวงหาธรรมะมาอดอยากจนตายภายในดินแดนของตน ชื่อเสียงสู่ภายนอกของเกาชาง(Gaochang高昌)ในภูมิภาคตะวันตกจะเสียหายอย่างมาก และเขาจะพลอยได้รับชื่อเสียงเสื่อมเสียงจากการทำร้ายพระภิกษุที่มีชื่อเสียงด้วย ยิ่งไปกว่านั้นความจริงแล้ว การขัดขวางการเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตกของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ด้วยเพื่อความปรารถนาอันเห็นแก่ตัวของเขาเองก็เป็นการขัดแย้งกับความตั้งใจเดิมของเขา 🥸เมื่อเขาคิดมาถึง ณ จุดนี้ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ก้มหัวให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เพื่อขอโทษ🥸 ความคิดที่เห็นแก่ตัวของเขาที่มีต่อเกาชาง(Gaochang高昌) ก็ถูกขจัดออกไปในที่สุดด้วยความมุ่งมั่นมีเมตตาที่จะช่วยสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในเวลาเดียวกันกับขณะที่รู้สึกประทับใจกับความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะแสวงหาธรรมะโดยปราศจากสิ่งภายนอกมาบั่นทอนความตั้งใจ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ได้สาบานต่อฟ้าดินสัญญาเป็นพี่น้องกัน ภายใต้การอุปถัมภ์จากแม่ของแผ่นดินเจ้าจอมมารดา จาง(张太妃) เพื่อให้พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เดินทางไปถึงอินเดียได้อย่างราบรื่น กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) ทรงสั่งการให้จัดทีมงานเล็กๆ ประกอบด้วยม้า 30 ตัว พนักงานข้าราชการเกาชาง(Gaochang高昌)1 คน ผู้ติดตามกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ 25 คน และพระภิกษุหนุ่ม 4 รูป เพื่อดูแลเรื่องอาหาร เสื้อผ้า และชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมหน้ากากและหมวกพิเศษสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สำหรับการเดินทางผ่านภูเขาและทะเลทรายที่เต็มไปด้วยหิมะ รวมถึงเสื้อคลุมสำหรับพระสงฆ์ซึ่งสามารถปรับให้เข้ากับเขตภูมิอากาศต่างๆ จัดทหารม้าขนนำทองคำ เงิน และผ้าไหมจำนวนมากไว้สำหรับการครั้งนี้ ทำให้มั่นใจได้ว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เพียงแต่จะไม่ต้องทนทุกข์จากความหิวโหยระหว่างทางไปอินเดียเท่านั้น แต่ยังมีเงินเพียงพอที่จะทำทานอีกด้วย ในสิ่งแต่งเคิมเหล่านี้เป็นรายละเอียดด้านที่อ่อนโยนของประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ที่มีต่ออัครสาวก 🥸นอกจากทรัพย์สินแล้ว เนื่องจากเจ้าผู้ครองแคว้นตะวันตกในขณะนั้น คือ ข่านเตอร์กตะวันตก(西突厥)ได้สมรสกับราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ยังมีจดหมายแสดงความเคารพที่กษัตริย์แห่งเกาชาง(Gaochang高昌)มอบให้กับข่านแห่งเติร์กตะวันตก(西突厥) อธิบายถึงความตั้งใจของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะไปทางดินแดนแคว้นตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะ🥸 ภายใต้การคุ้มครองของเตอร์กข่านตะวันตก (西突厥) ทุกประเทศในภูมิภาคตะวันตกตลอดเส้นทางให้ความเคารพแก่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) และให้การสนับสนุนทางทหารที่เข้มแข็งและมีควาทปลอดภัยที่สุดสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)และคณะเดินทางของเขา และจดหมายแสดงความเคารพของกษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ถึงพระมหากษัตริย์ของยี่สิบสี่ประเทศในภูมิภาคตะวันตกจะช่วยให้การเดินทางของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ง่ายและสะดวกขึ้นอย่างมาก 🥸ในช่วงเวลาอันศักดิ์สิทธิ์ของการอำลาอาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌) บรรดาราชวงศ์และชาวเกาชาง(Gaochang高昌)ก็ออกจากเมืองเพื่อส่งอำลา🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สัญญาว่า เมื่อเดินทางผ่านเกาชาง(Gaochang高昌)หลังจากกลับจากการศึกษาในอินเดียจะแสดงเทศนาธรรมอีก จากนั้นเขาก็กล่าวคำอำลากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ด้วยน้ำตา พวกบรรดาราชวงศ์ เกาชาง(Gaochang高昌)เจ้าหน้าที่และประชาชนชาวพุทธต่างพากันออกจากเมืองส่งเสียงอำลาดังลั่นสั่นสะเทือนไปทั่วทั้งถิ่น ราวกับว่ามือแห่งโชคชะตาได้ฉีกหัวใจและจิตวิญญาณออกจากร่างกายของชาวเกาชาง(Gaochang高昌) ทำให้พวกเขาสูญเสียสมบัติของชาติไปตลอดกาล บรรดาพวกราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ส่งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ออกไปนอกเมืองหลายสิบลี้ แม้ว่าพระภิกษุสมณเพศจะมองเห็นบรรลุแล้วการจากแยกอำลาในทางโลกแล้วก็ตาม แต่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ผู้ที่มีจิตใจละเอียดอ่อนและยังคงเห็นคุณค่าของความสัมพันธ์ของมนุษย์ก็ยังมีอารมณ์อ่อนไหวมาก เขาขอบคุณต่ออาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌)อย่างสุดซึ้งอีกครั้งสำหรับการสนับสนุนอย่างมีน้ำใจ ราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังจับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้แน่นด้วยมือทั้งสองข้าง ร่ำไห้ราวกับสายฝนกล่าวว่า 🥸ในเมื่อพระคุณท่านถือเป็นพี่น้องกัน สัตว์พาหนะต่าง ๆ ในประเทศก็มีเจ้าของคนเดียวกัน แล้วเหตุใดจึงต้องขอบคุณพวกเขาด้วย?🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ตอบว่า: 🥸ฉันจะไม่มีวันลืมความเมตตาของเสด็จพี่ตลอดชีวิตของอาตมา ในวันที่อาตมากลับจากนำพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนากลับมา อาตมาจะอยู่สอนธรรมะในเกาชาง(Gaochang高昌)เป็นเวลาสามปีเป็นการตอบแทน!🥸 หลายปีต่อมาในฉางอาน(长安) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เล่าถึงเหตุการณ์อันน่าประทับใจนี้ในช่วงเวลาที่ยากลำบากให้เหล่าสาวกฟัง มิตรภาพฉันท์พี่น้องที่มีต่อราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังคงเกินคำบรรยาย ดูเหมือนราวกับว่าพิธีอำลาที่หรูหราและยิ่งใหญ่นั้นได่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้เอง ตอนนั้นเขาไม่รู้ 🥸นี่ยังจะเป็นครั้งสุดท้ายที่เขาจะได้พบกับพี่ชายร่วมสาบานของเขา🥸 🥳โปรดติดตามบทความ#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 02. #อาณาจักรคาราซาห์และคูชาที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🥳 🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    0 Comments 0 Shares 47 Views 0 Reviews
  • เขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มระบายน้ำเป็น 2,000 ลบ.ม./วินาที หลังฝนตกทำให้น้ำเจ้าพระยาสูงขึ้นต่อเนื่อง ด้านท้ายเขื่อนจะมีพื้นที่ถูกน้ำท่วมเพิ่มขึ้น ขอ ปชช.เตรียมรับสถานการณ์

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000094288

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    เขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มระบายน้ำเป็น 2,000 ลบ.ม./วินาที หลังฝนตกทำให้น้ำเจ้าพระยาสูงขึ้นต่อเนื่อง ด้านท้ายเขื่อนจะมีพื้นที่ถูกน้ำท่วมเพิ่มขึ้น ขอ ปชช.เตรียมรับสถานการณ์ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000094288 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    Love
    Yay
    70
    0 Comments 0 Shares 1640 Views 1 Reviews
  • รพ.ธรรมศาสตร์ฯแถลงผลการรักษาเด็กนักเรียนหญิงสองรายอายุ 7 ขวบและ9 ขวบได้รับบาดเจ็บกรณีเกิดอุบัติเหตุไฟไหม้ รถบัสทัศนศึกษา โรงเรียนวัดเขาพระยาสังฆาราม จ.อุทัยธานี เป็นเหตุให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ได้รับการส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลแพทย์รังสิต 2 ราย ล่าสุด(13:00น.) แพทย์ได้ประเมินอาการ ดังนี้
    .
    รายที่ 1 เด็กหญิงอายุ 7 ปี แพทย์ประเมินแล้วว่า ร่างกายถูกไฟไหม้บริเวณใบหน้า และลำตัว แผลไหม้ ระดับ ที่ 2 ทั้งหมดประมาณ 13% สัญญาณชีพปกติ หยุดการให้ยากระตุ้นความดันโลหิต ผู้ป่วยหายใจผ่านท่อช่วยหายใจโดยการใช้เครื่องช่วยหายใจ สามารถลดการช่วยเหลือจากเครื่องช่วยหายใจ ให้ยาแก้ปวด และให้ยานอนหลับต่อเนื่อง ปัสสาวะออกปกติ เริ่มรับอาหารทางการแพทย์ผ่านสายให้อาหารทางจมูกได้ ได้รับการประเมินทางเดินหายใจด้วยการส่องกล้องทางเดินหายใจโดยกุมารแพทย์ด้านระบบทางเดินหายใจ พบทางเดินหายใจบวมลดลง ใช้อุปกรณ์บีบคลายขาทั้ง 2 ข้าง เพื่อป้องกันลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน แผลดี ปากบวมลดลง ไม่พบการติดเชื้อของแผล และยังคงต้องทำความสะอาดแผลและป้ายยาต้านจุลชีพวันละครั้ง ทีมแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูใช้เฝือกร่วมกับอุปกรณ์ประคองมือและแขนสูง เพื่อช่วยลดบวม และมีแผนใส่อุปกรณ์รัดลดแผลเป็นในลำดับถัดไป เปลือกตาและเยื่อตายุบบวมลง สามารถหลับตาลืมตาพอได้ เยื่อหุ้มรก และ eye corneal shield อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ทั้ง 2 ข้าง
    .
    รายที่ 2 เด็กหญิงอายุ 9 ปี แพทย์ประเมินแล้วว่า ร่างกายถูกไฟไหม้บริเวณใบหน้า คอ แขน และมือ ทั้ง 2 ข้าง แผลไหม้ระดับที่สอง ทั้งหมดประมาณ 30% สัญญาณชีพปกติ แต่ยังคงต้องใส่ท่อช่วยหายใจ สามารถลดการช่วยเหลือจากเครื่องช่วยหายใจได้ เริ่มรับอาหารทางการแพทย์ผ่านสายให้อาหารทางจมูกได้ ให้ยาแก้ปวด และให้ยานอนหลับต่อเนื่อง สามารถลดการให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนเข้าทางหลอดเลือดดำได้ โดยประเมินสารน้ำในร่างกายมีภาวะน้ำเกิน เริ่มให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ บาดแผลบริเวณใบหน้ายุบบวมลง ความดันบริเวณแขนทั้ง 2 ข้างลดลง เนื้อเยื่อผิวหนังดีขึ้น กระบวนการอักเสบลดลง มีการฟื้นฟูของเนื้อเยื่อ ผิวหนัง ทีมแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูใช้เฝือกร่วมกับอุปกรณ์ประคองมือและแขนสูง เพื่อช่วยลดบวม ในส่วนของเปลือกตาและเยื่อตายุบบวมลง สามารถหลับตา ลืมตาพอได้ เยื่อหุ้มรก และ eye corneal shield อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมทั้ง 2 ข้าง

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/8eyigjYBqXrF5ePG/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    รพ.ธรรมศาสตร์ฯแถลงผลการรักษาเด็กนักเรียนหญิงสองรายอายุ 7 ขวบและ9 ขวบได้รับบาดเจ็บกรณีเกิดอุบัติเหตุไฟไหม้ รถบัสทัศนศึกษา โรงเรียนวัดเขาพระยาสังฆาราม จ.อุทัยธานี เป็นเหตุให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ได้รับการส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลแพทย์รังสิต 2 ราย ล่าสุด(13:00น.) แพทย์ได้ประเมินอาการ ดังนี้ . รายที่ 1 เด็กหญิงอายุ 7 ปี แพทย์ประเมินแล้วว่า ร่างกายถูกไฟไหม้บริเวณใบหน้า และลำตัว แผลไหม้ ระดับ ที่ 2 ทั้งหมดประมาณ 13% สัญญาณชีพปกติ หยุดการให้ยากระตุ้นความดันโลหิต ผู้ป่วยหายใจผ่านท่อช่วยหายใจโดยการใช้เครื่องช่วยหายใจ สามารถลดการช่วยเหลือจากเครื่องช่วยหายใจ ให้ยาแก้ปวด และให้ยานอนหลับต่อเนื่อง ปัสสาวะออกปกติ เริ่มรับอาหารทางการแพทย์ผ่านสายให้อาหารทางจมูกได้ ได้รับการประเมินทางเดินหายใจด้วยการส่องกล้องทางเดินหายใจโดยกุมารแพทย์ด้านระบบทางเดินหายใจ พบทางเดินหายใจบวมลดลง ใช้อุปกรณ์บีบคลายขาทั้ง 2 ข้าง เพื่อป้องกันลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน แผลดี ปากบวมลดลง ไม่พบการติดเชื้อของแผล และยังคงต้องทำความสะอาดแผลและป้ายยาต้านจุลชีพวันละครั้ง ทีมแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูใช้เฝือกร่วมกับอุปกรณ์ประคองมือและแขนสูง เพื่อช่วยลดบวม และมีแผนใส่อุปกรณ์รัดลดแผลเป็นในลำดับถัดไป เปลือกตาและเยื่อตายุบบวมลง สามารถหลับตาลืมตาพอได้ เยื่อหุ้มรก และ eye corneal shield อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ทั้ง 2 ข้าง . รายที่ 2 เด็กหญิงอายุ 9 ปี แพทย์ประเมินแล้วว่า ร่างกายถูกไฟไหม้บริเวณใบหน้า คอ แขน และมือ ทั้ง 2 ข้าง แผลไหม้ระดับที่สอง ทั้งหมดประมาณ 30% สัญญาณชีพปกติ แต่ยังคงต้องใส่ท่อช่วยหายใจ สามารถลดการช่วยเหลือจากเครื่องช่วยหายใจได้ เริ่มรับอาหารทางการแพทย์ผ่านสายให้อาหารทางจมูกได้ ให้ยาแก้ปวด และให้ยานอนหลับต่อเนื่อง สามารถลดการให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนเข้าทางหลอดเลือดดำได้ โดยประเมินสารน้ำในร่างกายมีภาวะน้ำเกิน เริ่มให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ บาดแผลบริเวณใบหน้ายุบบวมลง ความดันบริเวณแขนทั้ง 2 ข้างลดลง เนื้อเยื่อผิวหนังดีขึ้น กระบวนการอักเสบลดลง มีการฟื้นฟูของเนื้อเยื่อ ผิวหนัง ทีมแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูใช้เฝือกร่วมกับอุปกรณ์ประคองมือและแขนสูง เพื่อช่วยลดบวม ในส่วนของเปลือกตาและเยื่อตายุบบวมลง สามารถหลับตา ลืมตาพอได้ เยื่อหุ้มรก และ eye corneal shield อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมทั้ง 2 ข้าง ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/8eyigjYBqXrF5ePG/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Love
    10
    0 Comments 0 Shares 615 Views 0 Reviews
  • งานทำบุญประจำปีที่ ๒๘ วันอาทิตย์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ พระวิมลธรรมภาณ (หลวงปู่วิเวียร บุญมาก - ฐิตปุญฺโญ) ณ กุฏิวิมลธรรมภาณ (กุฏิ ๓) วัดดวงแข เขตปทุมวัน กทม.
    งานทำบุญประจำปีที่ ๒๘ วันอาทิตย์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ พระวิมลธรรมภาณ (หลวงปู่วิเวียร บุญมาก - ฐิตปุญฺโญ) ณ กุฏิวิมลธรรมภาณ (กุฏิ ๓) วัดดวงแข เขตปทุมวัน กทม.
    0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • ผู้ปกครอง-เพื่อนครู พร้อมชาวลานสัก ร่วมจัดดอกไม้สดประดับห้องเรียน “ครูจอย” รำลึกถึงคุณงามความดี หลังจากไประหว่างทำหน้าที่ “ครู” อย่างแท้จริง ขณะที่นักเรียนวัดเขาพระยาฯ พากันเข้าแถวแสดงความอาลัยตลอดวัน

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000094206

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ผู้ปกครอง-เพื่อนครู พร้อมชาวลานสัก ร่วมจัดดอกไม้สดประดับห้องเรียน “ครูจอย” รำลึกถึงคุณงามความดี หลังจากไประหว่างทำหน้าที่ “ครู” อย่างแท้จริง ขณะที่นักเรียนวัดเขาพระยาฯ พากันเข้าแถวแสดงความอาลัยตลอดวัน อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000094206 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    Angry
    29
    2 Comments 0 Shares 1793 Views 0 Reviews
  • แบงค์ 1 บาทโทมัสแบบที่ 9 ปี 2501 แบบแรกในหลวงรัชกาลที่ 9 ด้านหลังพระที่นั่งอนันตสมาคมพิมพ์ประเทศอังกฤษสภาพไม่ผ่านการใช้ รับประกันเป็นธนบัตรแท้ 100% ครับ
    ** ขอรูปภาพหรือรายละเอียดเพิ่มเติมได้ครับ**
    **ใบละ 80บ.**
    **ส่งems 50.**
    **โทร 085-5494951**
    **id : pookui*
    แบงค์ 1 บาทโทมัสแบบที่ 9 ปี 2501 แบบแรกในหลวงรัชกาลที่ 9 ด้านหลังพระที่นั่งอนันตสมาคมพิมพ์ประเทศอังกฤษสภาพไม่ผ่านการใช้ รับประกันเป็นธนบัตรแท้ 100% ครับ ** ขอรูปภาพหรือรายละเอียดเพิ่มเติมได้ครับ** **ใบละ 80บ.** **ส่งems 50.** **โทร 085-5494951** **id : pookui*
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 14 Views 0 Reviews
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 247
    วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 247 วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 Comments 0 Shares 12 Views 0 Reviews
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 247
    วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 247 วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 Comments 0 Shares 16 Views 0 Reviews
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,645
    วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024)

    ใส่บาตร 24 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 332 บาท
    วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 13 บาท
    1. นมโคแท้ โฟร์โมสต์ UHT รสจืด 225ml. (6 บาท)
    2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ มอลคิสท์ รสบาร์บีคิว 14g. (2 บาท)
    4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท)
    5. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นท์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,645 วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024) ใส่บาตร 24 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 332 บาท วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 13 บาท 1. นมโคแท้ โฟร์โมสต์ UHT รสจืด 225ml. (6 บาท) 2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ มอลคิสท์ รสบาร์บีคิว 14g. (2 บาท) 4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท) 5. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นท์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 11 Views 0 Reviews
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,645
    วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024)

    ใส่บาตร 24 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 332 บาท
    วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 13 บาท
    1. นมโคแท้ โฟร์โมสต์ UHT รสจืด 225ml. (6 บาท)
    2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ มอลคิสท์ รสบาร์บีคิว 14g. (2 บาท)
    4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท)
    5. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นท์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,645 วันศุกร์: ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (4 October 2024) ใส่บาตร 24 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 332 บาท วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 13 บาท 1. นมโคแท้ โฟร์โมสต์ UHT รสจืด 225ml. (6 บาท) 2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ มอลคิสท์ รสบาร์บีคิว 14g. (2 บาท) 4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท) 5. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นท์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๑ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 10 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/9NVFePMOBwU?si=eb1fgmte5CuILAxn
    ไปสักการะพระจุฬามณีเจดีย์สถาน บนสวรรค์
    https://youtu.be/9NVFePMOBwU?si=eb1fgmte5CuILAxn ไปสักการะพระจุฬามณีเจดีย์สถาน บนสวรรค์
    Love
    1
    0 Comments 1 Shares 44 Views 0 Reviews
  • 04-10-67/02 : หมี CNN / เหี้ยฝากมาบอก! มรึงจะมายินดีเหี้ยอะไรตอนนี้จ๊ะ? กูรู้ พวกมรึงคิดจะล่อกูมาลงแขก เหมือนที่ทำกับลวกเพ่ยิวมายเลิฟกู! รัสเซีย-จีน ไม่พูดเยอะ 1.รัสเซียลุย จีนเติมให้ไม่อั้น 2.BRICS นำ โลกตาม 3.ท่อแก็สเชื่อมต่อรัสเซีย-จีน-อิหร่าน ถึงกันหมดแล้ว โลกอยู่ในมือ 4.เทดอลล่าร์กันหมดโลก แล้วไอ้ราคาที่เห็นอยู่ มีแต่ควายใช้ไงล่ะ 5.ผนึกโลกลงแขกยิวสำเร็จ อาร์คติคมาแน่ แปซิฟิคมั่นคง สรุปคือ รัสเซียเล่นบทเพชรฆาต จีนเล่นบทพ่อพระ อิหร่านเล่นบทสงครามครูเสด โสมแดงรอดักตีท้ายครัววอชิงตัน สูตรสำเร็จความใคร่เหี้ยที่ดีที่สุดคือ "ฆ่าล้างโคตรยิว ทุกอย่างจบ" WAGNER กระจายไปทั่วโลก ภาพที่เห็นการต่อสู้ ไม่ว่าสมรภูมิไหนในโลก สอดมี WAGNER สอดไส้คาราเมลไปทั่ว ในอิรัก ซีเรีย เลบานอน อัฟกานิสถาน เยเมน ไนจีเรีย ไนเจอร์ โปแลนด์ ยูเครน โดยมีผีน้อยคิวทาโร่ กำกับการแสดง กลายร่างเป็นเงา เหี้ยยังหาไม่เจอ? อุโมงค์ใต้ดินฮามาส ลับสุดยอด ซับซ้อน เขาวงกต แม้แต่เหี้ยใช้เทคโนโลยีอะไร ก็หาแผนที่ใต้ดินไม่พบ เพราะคนที่เข้าไปวางกับดักให้ วางแผนให้ มิใช่ใครอื่น WAGNER ที่รัก สรุปคือแผนการรบในยูเครน รวมทั้งเยรูซาเล็ม พิมพ์เขียวฉบับเดียวกัน ทำพร้อมกัน เพื่อสอดประสานตามแผนการโจมตีภาพใหญ่ ล่ออีเหี้ยมะกันเข้ามาติดบ่วงสงคราม แล้วหลังบ้านจะยวบทันที การที่มันยังเคลื่อนไหวอะไรมากไม่ได้เพราะกังวลเลือกตั้งใหญ่ กว่ามรึงจะเลือกกันเสร็จ รับรองกันเสร็จ สงครามกลางเมืองมาแน่ ตอนนั้น อียิวเหลือแต่ซากแล้ว! แผนกั๊กขั้วใหม่เค้า ห่วงหน้าพะวงหลัง สู้ไม่สุด ไปไม่สุด มรึงมีแต่แพ้ยับ ต้องเทหมดหน้าตัก ถึงพอจะยังกู้สถานการณ์ได้จริง แต่เหี้ยวอชิงตัน อาจจะเสียบ้านแทนอียิว มรึงเลือกเอาน่ะ? ไอ้เหี้ย! ไม่ว่าทางไหน ก็ไม่พ้นกองตรีนกองทัพมหาเทพชัวร์! ปล.ยิ่งรัสเซียแนบแน่นกับจีนมากเท่าไหร่ ขั้วใหม่ยิ่งแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นเท่านั้น ผลประโยชน์ร่วมกันทั้งโลก มีใครจะไม่เอา? ปูติน สีจิ้นผิง จะมีชื่อในหน้าประวัติศาสตร์โลกอีก 100 ปี HALL OF FLAME จดจำชัวร์! ไม่ใช่อีลูกสาวร่าน แถวเหี้ยส่องหล้า ที่อยากจะเข้า HALL OF FLAME พ่วงคดีความยาวเป็นหางว่าว อีพ่อเหลี่ยมชั่วฆ่าลูกตัวเอง อีกะบังลม น้ำตาร่วง!

    Putin congratulates Xi on diplomatic anniversary นายปูตินแสดงความยินดีต่อประธานาธิบดีสีเนื่องในโอกาสครบรอบการทูตระหว่างประเทศ

    ------------------------------------------------------------------------—
    RONIN500(Admin Nidnoi) แปลโดย นิดหน่อย : นายปูตินแสดงความยินดีต่อประธานาธิบดีสีเนื่องในโอกาสครบรอบการทูตระหว่างประเทศ

    เมื่อวันพุธที่ผ่านมา ประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดิเมียร์ ปูตินกล่าวในจดหมายต่อประธานาธิบดี สี จิ้นผิงในโอกาสครบรอบการทูตกับจีนว่า ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและรัสเซียดีที่สุดในประวัติการณ์หลังความสัมพันธ์ทางการทูต 75 ปี

    รัสเซียและจีนพึงพอใจกับความร่วมมือทางการเมือง การค้า และเศรษฐกิจตามที่ได้เปิดเผยในเว็บไซต์ของรัสเซีย นอกจากนั้นประเทศอื่น ๆ ยังได้ผลประโยชน์จากการเป็นพันธมิตรที่แน่นแฟ้น

    นายปูตินมั่นใจว่า ข้อตกลงต่างๆที่เจรจากับนายสีจะช่วย “สร้างความมั่นคงและความปลอดภัย” ในยุโรปและเอเชียรวมถึง “ทั่วโลก”

    ทั้งสองคนประชุมกันในเดือนพฤษภาคมและกรกฎาคมปีนี้ จีนเป็นผู้สนับสนุนหลักต่อการแก้ปัญหาทางการทูตต่อความขัดแย้งกับยูเครนเหมือนกับบราซิลที่เสนอแผนการเพื่อยุติความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน

    จีนเรียกร้องให้มีการตั้งฐานทัพอย่างสันติต่อวิกฤติและอ้างว่า การปฏิบัติการของสหรัฐและการขยายตัวของนาโต ทำให้เกิดการต่อสู้ การค้าระหว่างสองประเทศดีขึ้นตั้งแต่ปี 2022

    แถลงการจากรัฐบาลจีนระบุว่า “ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่ไม่เห็นในรอบศตวรรษ รัสเซียและจีน ”มีความเชื่อมั่นซึ่งกันและกันและบรรลุผลจากความร่วมมือ“ และ ”เสียสละ“ เพื่อสนับสนุน ”โลกหลายขั้ว“ และ ”โลกาภิวัฒน์ทางเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทุกคน“

    ข้อความจากนายปูตินแก่นายสีระบุว่า สหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกที่ยอมรับสาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC) เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา นาย ปูตินแสดงความยินดีกับนายสีในโอกาสครบรอบ 75 ปีของก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC)

    https://www.rt.com/news/605107-putin-congratulates-xi-diplomatic/

    https://linevoom.line.me/post/1172801695419295999

    ------------------------------------------------------------------------—
    เข้าถ้ำ RONIN คลิกที่ LINK ตามนี้ :
    https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=hfs0310u

    **เพจหลักของหมี CNN คือ**
    https://www.minds.com/mheecnn2/

    เพจ VK ของรัสเซีย พิมคำว่า Frank Mheecnn
    www.vk.com/id448335733

    **เพจหมี CNN ใน Twitter ตัวใหม่ล่าสุด!**
    https://twitter.com/CnnMhee

    **เพจหมี CNN ใน FB ห้องปิด ตัวใหม่ล่าสุด!**
    https://www.facebook.com/chatchai.sathitsit.77
    04-10-67/02 : หมี CNN / เหี้ยฝากมาบอก! มรึงจะมายินดีเหี้ยอะไรตอนนี้จ๊ะ? กูรู้ พวกมรึงคิดจะล่อกูมาลงแขก เหมือนที่ทำกับลวกเพ่ยิวมายเลิฟกู! รัสเซีย-จีน ไม่พูดเยอะ 1.รัสเซียลุย จีนเติมให้ไม่อั้น 2.BRICS นำ โลกตาม 3.ท่อแก็สเชื่อมต่อรัสเซีย-จีน-อิหร่าน ถึงกันหมดแล้ว โลกอยู่ในมือ 4.เทดอลล่าร์กันหมดโลก แล้วไอ้ราคาที่เห็นอยู่ มีแต่ควายใช้ไงล่ะ 5.ผนึกโลกลงแขกยิวสำเร็จ อาร์คติคมาแน่ แปซิฟิคมั่นคง สรุปคือ รัสเซียเล่นบทเพชรฆาต จีนเล่นบทพ่อพระ อิหร่านเล่นบทสงครามครูเสด โสมแดงรอดักตีท้ายครัววอชิงตัน สูตรสำเร็จความใคร่เหี้ยที่ดีที่สุดคือ "ฆ่าล้างโคตรยิว ทุกอย่างจบ" WAGNER กระจายไปทั่วโลก ภาพที่เห็นการต่อสู้ ไม่ว่าสมรภูมิไหนในโลก สอดมี WAGNER สอดไส้คาราเมลไปทั่ว ในอิรัก ซีเรีย เลบานอน อัฟกานิสถาน เยเมน ไนจีเรีย ไนเจอร์ โปแลนด์ ยูเครน โดยมีผีน้อยคิวทาโร่ กำกับการแสดง กลายร่างเป็นเงา เหี้ยยังหาไม่เจอ? อุโมงค์ใต้ดินฮามาส ลับสุดยอด ซับซ้อน เขาวงกต แม้แต่เหี้ยใช้เทคโนโลยีอะไร ก็หาแผนที่ใต้ดินไม่พบ เพราะคนที่เข้าไปวางกับดักให้ วางแผนให้ มิใช่ใครอื่น WAGNER ที่รัก สรุปคือแผนการรบในยูเครน รวมทั้งเยรูซาเล็ม พิมพ์เขียวฉบับเดียวกัน ทำพร้อมกัน เพื่อสอดประสานตามแผนการโจมตีภาพใหญ่ ล่ออีเหี้ยมะกันเข้ามาติดบ่วงสงคราม แล้วหลังบ้านจะยวบทันที การที่มันยังเคลื่อนไหวอะไรมากไม่ได้เพราะกังวลเลือกตั้งใหญ่ กว่ามรึงจะเลือกกันเสร็จ รับรองกันเสร็จ สงครามกลางเมืองมาแน่ ตอนนั้น อียิวเหลือแต่ซากแล้ว! แผนกั๊กขั้วใหม่เค้า ห่วงหน้าพะวงหลัง สู้ไม่สุด ไปไม่สุด มรึงมีแต่แพ้ยับ ต้องเทหมดหน้าตัก ถึงพอจะยังกู้สถานการณ์ได้จริง แต่เหี้ยวอชิงตัน อาจจะเสียบ้านแทนอียิว มรึงเลือกเอาน่ะ? ไอ้เหี้ย! ไม่ว่าทางไหน ก็ไม่พ้นกองตรีนกองทัพมหาเทพชัวร์! ปล.ยิ่งรัสเซียแนบแน่นกับจีนมากเท่าไหร่ ขั้วใหม่ยิ่งแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นเท่านั้น ผลประโยชน์ร่วมกันทั้งโลก มีใครจะไม่เอา? ปูติน สีจิ้นผิง จะมีชื่อในหน้าประวัติศาสตร์โลกอีก 100 ปี HALL OF FLAME จดจำชัวร์! ไม่ใช่อีลูกสาวร่าน แถวเหี้ยส่องหล้า ที่อยากจะเข้า HALL OF FLAME พ่วงคดีความยาวเป็นหางว่าว อีพ่อเหลี่ยมชั่วฆ่าลูกตัวเอง อีกะบังลม น้ำตาร่วง! Putin congratulates Xi on diplomatic anniversary นายปูตินแสดงความยินดีต่อประธานาธิบดีสีเนื่องในโอกาสครบรอบการทูตระหว่างประเทศ ------------------------------------------------------------------------— RONIN500(Admin Nidnoi) แปลโดย นิดหน่อย : นายปูตินแสดงความยินดีต่อประธานาธิบดีสีเนื่องในโอกาสครบรอบการทูตระหว่างประเทศ เมื่อวันพุธที่ผ่านมา ประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดิเมียร์ ปูตินกล่าวในจดหมายต่อประธานาธิบดี สี จิ้นผิงในโอกาสครบรอบการทูตกับจีนว่า ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและรัสเซียดีที่สุดในประวัติการณ์หลังความสัมพันธ์ทางการทูต 75 ปี รัสเซียและจีนพึงพอใจกับความร่วมมือทางการเมือง การค้า และเศรษฐกิจตามที่ได้เปิดเผยในเว็บไซต์ของรัสเซีย นอกจากนั้นประเทศอื่น ๆ ยังได้ผลประโยชน์จากการเป็นพันธมิตรที่แน่นแฟ้น นายปูตินมั่นใจว่า ข้อตกลงต่างๆที่เจรจากับนายสีจะช่วย “สร้างความมั่นคงและความปลอดภัย” ในยุโรปและเอเชียรวมถึง “ทั่วโลก” ทั้งสองคนประชุมกันในเดือนพฤษภาคมและกรกฎาคมปีนี้ จีนเป็นผู้สนับสนุนหลักต่อการแก้ปัญหาทางการทูตต่อความขัดแย้งกับยูเครนเหมือนกับบราซิลที่เสนอแผนการเพื่อยุติความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน จีนเรียกร้องให้มีการตั้งฐานทัพอย่างสันติต่อวิกฤติและอ้างว่า การปฏิบัติการของสหรัฐและการขยายตัวของนาโต ทำให้เกิดการต่อสู้ การค้าระหว่างสองประเทศดีขึ้นตั้งแต่ปี 2022 แถลงการจากรัฐบาลจีนระบุว่า “ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่ไม่เห็นในรอบศตวรรษ รัสเซียและจีน ”มีความเชื่อมั่นซึ่งกันและกันและบรรลุผลจากความร่วมมือ“ และ ”เสียสละ“ เพื่อสนับสนุน ”โลกหลายขั้ว“ และ ”โลกาภิวัฒน์ทางเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทุกคน“ ข้อความจากนายปูตินแก่นายสีระบุว่า สหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกที่ยอมรับสาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC) เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา นาย ปูตินแสดงความยินดีกับนายสีในโอกาสครบรอบ 75 ปีของก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC) https://www.rt.com/news/605107-putin-congratulates-xi-diplomatic/ https://linevoom.line.me/post/1172801695419295999 ------------------------------------------------------------------------— เข้าถ้ำ RONIN คลิกที่ LINK ตามนี้ : https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=hfs0310u **เพจหลักของหมี CNN คือ** https://www.minds.com/mheecnn2/ เพจ VK ของรัสเซีย พิมคำว่า Frank Mheecnn www.vk.com/id448335733 **เพจหมี CNN ใน Twitter ตัวใหม่ล่าสุด!** https://twitter.com/CnnMhee **เพจหมี CNN ใน FB ห้องปิด ตัวใหม่ล่าสุด!** https://www.facebook.com/chatchai.sathitsit.77
    0 Comments 0 Shares 42 Views 1 Reviews
  • มุมสงบที่บ้านพระอาทิตย์
    มุมสงบที่บ้านพระอาทิตย์
    Like
    Love
    Yay
    3
    1 Comments 0 Shares 19 Views 0 Reviews
  • เด็กร้องไห้ตรงประตูสวรรค์
    ------------------

    นานมาแล้ว
    ในงานศพที่ผู้เสียชีวิตยังเป็นเด็กน้อย
    ลุงเลาะแกหันไปหาแม่ของเด็กที่ยืนสะอึกสะอื้น

    เรายังจำได้ ที่แกพูดกับแม่ของเด็ก

    "ให้อดทนกับเรื่องที่เสียใจนะ
    เขาจากไปโดยบริสุทธิ์ ไร้บาป
    รู้มั้ย? ที่หน้าประตูสวรรค์ เด็กเขาจะไปยืนร้องไห้
    ไม่ยอมเงียบ ไม่ยอมจะเข้าไป
    เขาจะร้องหาแม่ หาพ่อ เขาจะเอาเข้าไปด้วย

    ถึงตอนนั้น
    ความบริสุทธิ์ของเด็กจะทำให้พระเจ้ายอม
    แม้พ่อแม่ของเด็กจะอยู่ในนรก
    ความผิดบาปของพ่อแม่ที่มี
    พระเจ้าก็จะยกออกไป
    แล้วก็ให้พ่อแม่เดินเข้าสวรรค์ไปพร้อมกับเขา"

    น้ำเสียงลุงแกพูดได้อย่างนุ่มนวล ฟังแล้วผ่อนคลาย
    เด็กร้องไห้ตรงประตูสวรรค์ ------------------ นานมาแล้ว ในงานศพที่ผู้เสียชีวิตยังเป็นเด็กน้อย ลุงเลาะแกหันไปหาแม่ของเด็กที่ยืนสะอึกสะอื้น เรายังจำได้ ที่แกพูดกับแม่ของเด็ก "ให้อดทนกับเรื่องที่เสียใจนะ เขาจากไปโดยบริสุทธิ์ ไร้บาป รู้มั้ย? ที่หน้าประตูสวรรค์ เด็กเขาจะไปยืนร้องไห้ ไม่ยอมเงียบ ไม่ยอมจะเข้าไป เขาจะร้องหาแม่ หาพ่อ เขาจะเอาเข้าไปด้วย ถึงตอนนั้น ความบริสุทธิ์ของเด็กจะทำให้พระเจ้ายอม แม้พ่อแม่ของเด็กจะอยู่ในนรก ความผิดบาปของพ่อแม่ที่มี พระเจ้าก็จะยกออกไป แล้วก็ให้พ่อแม่เดินเข้าสวรรค์ไปพร้อมกับเขา" น้ำเสียงลุงแกพูดได้อย่างนุ่มนวล ฟังแล้วผ่อนคลาย
    0 Comments 0 Shares 8 Views 0 Reviews
  • พระพิฆเนศ ทำความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ฮินดู
    พระพิฆเนศ ทำความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ฮินดู
    Like
    1
    0 Comments 1 Shares 60 Views 0 Reviews
  • "ความจริงมีหนึ่งเดียว ครั้งที่ 4"
    คอนเสิร์ตครั้งสุดท้ายของปี จัดใหญ่ จัดเต็ม ยิ่งกว่าเดิม
    วันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน 2567 เวลา 10:00 - 17:00 น.
    หอประชุมใหญ่ ม.ธรรมศาตร์ท่าพระจันทร์

    !! ห้ามพลาด บัตรมีจำนวนจำกัด หมดแล้วหมดเลย !!

    สามารถจองบัตรและสอบถามรายละเอียดได้ที่
    Line@sondhitalk คลิก https://lin.ee/Skns1k1
    "ความจริงมีหนึ่งเดียว ครั้งที่ 4" คอนเสิร์ตครั้งสุดท้ายของปี จัดใหญ่ จัดเต็ม ยิ่งกว่าเดิม วันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน 2567 เวลา 10:00 - 17:00 น. หอประชุมใหญ่ ม.ธรรมศาตร์ท่าพระจันทร์ !! ห้ามพลาด บัตรมีจำนวนจำกัด หมดแล้วหมดเลย !! สามารถจองบัตรและสอบถามรายละเอียดได้ที่ Line@sondhitalk คลิก https://lin.ee/Skns1k1
    Like
    Love
    Haha
    Yay
    Wow
    61
    3 Comments 2 Shares 1851 Views 0 Reviews
  • มาเถอะ ถึงเวลาแล้ว พี่น้องไทย วิญญาณ ไทย ในดินน้ำฟ้า ป่า อากาศ ธรรมชาติ เทวธาตุ อวกาศ ธาตุ​​
    แต่นี้ ป่าจะล้อมเมือง อวกาศ จะครอบงำ ทุกดวงดาว อวกาศ คือพ่อแม่ พ่อแม่จะทวงคืนความยุติธรรม
    ​​ประชาธิปไตย ทางตรง อำนาจ ปชช ทางตรงเท่ากัน เปลี่ยนเกมส์ ใหม่ เกมส์ ของ ทุกคน ไม่ใช่ 500 ตระกูล
    โลกใหม่พึ่งเริ่ม ทุกคน มีส่วนเป้นพระผู้สร้างร่วม มาๆๆๆ
    ของๆ คนไทย ไม่ดี เหมือน ฝรั่ง แต่ ปลอดภัยกว่ามากๆๆ
    ตึ้งๆ ตึ้งๆ ตึ้งๆ​​
    ตึ่งๆ ตึ่งๆ ตึ่งๆ
    ประชาธิปไตยทางตรง อันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข + ระบบ ศีลธรรมคุณธรรม เป็น ธรรมนูญ ปชช เกินครึงใช้อำนาจทั้ง 3 การเงิน นโยบาย การควบคุม ทางตรง ด้วยเสียงเกิน กึ่ง โหวดผ่าน ควอนตั้งอินเตอร์เน็ต ตัดอำนาจคนกลางและอำนาจการเงิน พวกเขาโดยสิ้นเชิง แต่ จ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวได้ และให้โบนัส ในถานะผู้อาสารับใน ปชช อย่างแท้ จริง Civil servants. โลกใหม่ จะเปลี่ยนไป นักการเมือง ทุกประเทศ จะหมดอำนาจ ปชช ชาวโลก สันติสุข จะเป็นใหญ่ นักการเมือง ไม่ต้องแย่งชิง เราเอา ส้วมออก หมาจะไม่แย่งอึ๊ อีกต่อไป😊 ไทยจะเป็นตัวอย่างดีๆ ของดลกใหม่ เขาจะมา สนใจงานของเรา งานมีสเน่ห์ แบบ น้องหมูเด้ง ที่ฝรั่งต้องเขามาเรียนมาสนใจมาดู ที่ไหนๆ ที่ให้ความสงบของใจ เขาทำได้อย่างไร สันติสุขความดี ศีลธรรม ความถูกต้อง ความยุติธรรม เริ่มได้อย่าไร อนุโมทนา พ่อแม่พี่น้อง ลุกหลานหลวงตา ผู้มีส่วนร่วม สร้างโลกใหม่ ของ ทุกคน ที่จะมาเกิดใหม่ นะครับ😊
    😊
    มาเถอะ ถึงเวลาแล้ว พี่น้องไทย วิญญาณ ไทย ในดินน้ำฟ้า ป่า อากาศ ธรรมชาติ เทวธาตุ อวกาศ ธาตุ​​ แต่นี้ ป่าจะล้อมเมือง อวกาศ จะครอบงำ ทุกดวงดาว อวกาศ คือพ่อแม่ พ่อแม่จะทวงคืนความยุติธรรม ​​ประชาธิปไตย ทางตรง อำนาจ ปชช ทางตรงเท่ากัน เปลี่ยนเกมส์ ใหม่ เกมส์ ของ ทุกคน ไม่ใช่ 500 ตระกูล โลกใหม่พึ่งเริ่ม ทุกคน มีส่วนเป้นพระผู้สร้างร่วม มาๆๆๆ ของๆ คนไทย ไม่ดี เหมือน ฝรั่ง แต่ ปลอดภัยกว่ามากๆๆ ตึ้งๆ ตึ้งๆ ตึ้งๆ​​ ตึ่งๆ ตึ่งๆ ตึ่งๆ ประชาธิปไตยทางตรง อันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข + ระบบ ศีลธรรมคุณธรรม เป็น ธรรมนูญ ปชช เกินครึงใช้อำนาจทั้ง 3 การเงิน นโยบาย การควบคุม ทางตรง ด้วยเสียงเกิน กึ่ง โหวดผ่าน ควอนตั้งอินเตอร์เน็ต ตัดอำนาจคนกลางและอำนาจการเงิน พวกเขาโดยสิ้นเชิง แต่ จ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราวได้ และให้โบนัส ในถานะผู้อาสารับใน ปชช อย่างแท้ จริง Civil servants. โลกใหม่ จะเปลี่ยนไป นักการเมือง ทุกประเทศ จะหมดอำนาจ ปชช ชาวโลก สันติสุข จะเป็นใหญ่ นักการเมือง ไม่ต้องแย่งชิง เราเอา ส้วมออก หมาจะไม่แย่งอึ๊ อีกต่อไป😊 ไทยจะเป็นตัวอย่างดีๆ ของดลกใหม่ เขาจะมา สนใจงานของเรา งานมีสเน่ห์ แบบ น้องหมูเด้ง ที่ฝรั่งต้องเขามาเรียนมาสนใจมาดู ที่ไหนๆ ที่ให้ความสงบของใจ เขาทำได้อย่างไร สันติสุขความดี ศีลธรรม ความถูกต้อง ความยุติธรรม เริ่มได้อย่าไร อนุโมทนา พ่อแม่พี่น้อง ลุกหลานหลวงตา ผู้มีส่วนร่วม สร้างโลกใหม่ ของ ทุกคน ที่จะมาเกิดใหม่ นะครับ😊 😊
    0 Comments 0 Shares 19 Views 0 Reviews
  • #พิมพ์สำอางค์เลี่ยมกรอบพระกันน้ำ #เลี่ยมกรอบพระ #ช่างเลี่ยมพระ
    #พิมพ์สำอางค์เลี่ยมกรอบพระกันน้ำ #เลี่ยมกรอบพระ #ช่างเลี่ยมพระ
    0 Comments 0 Shares 179 Views 117 0 Reviews
  • ☆ดีแคทลอน สาขาพระราม4
    (โลตัสชั้น2)
    》》
    https://www.decathlon.co.th/en-TH/s/our-stores/rama-4
    《《
    อยู่ได้เป็นวันๆ
    เข้าไปเมื่อไหร่
    จัดของมันต้องมี
    ติดตัวกลับบ้านตลอด
    วันนี้จัดเบาๆเหลือตังค์ไว้จ่ายค่าทริป-///-
    แล้วตาม มะนาวก้าวเดิน ไปเดินป่า
    เขาหลวงสุโขทัย ด้วยกันน่าคร่า
    ■■■■■■■■
    #มะนาวก้าวเดิน #ดีแคทลอนสาขาพระรามสี่ #ดีแคทลอน #สายป่า
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ☆ดีแคทลอน สาขาพระราม4 (โลตัสชั้น2) 》》 https://www.decathlon.co.th/en-TH/s/our-stores/rama-4 《《 อยู่ได้เป็นวันๆ เข้าไปเมื่อไหร่ จัดของมันต้องมี ติดตัวกลับบ้านตลอด วันนี้จัดเบาๆเหลือตังค์ไว้จ่ายค่าทริป-///- แล้วตาม มะนาวก้าวเดิน ไปเดินป่า เขาหลวงสุโขทัย ด้วยกันน่าคร่า ■■■■■■■■ #มะนาวก้าวเดิน #ดีแคทลอนสาขาพระรามสี่ #ดีแคทลอน #สายป่า #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    0 Comments 0 Shares 747 Views 240 0 Reviews
  • #มีความพยายาม ที่จะเป็นคนดี 😀
    #รักชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ 😀
    #มีความพยายาม ที่จะเป็นคนดี 😀 #รักชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ 😀
    0 Comments 0 Shares 11 Views 0 Reviews
  • พระพุทธเจ้าสอนเรื่อง "อนัตตา" ว่าทุกสิ่งล้วนไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง รวมถึงความคิดของเราด้วย การบอกว่าความคิดเป็นอนัตตาหมายถึง ความคิดไม่ได้มีความคงที่ ไม่สามารถเป็นตัวเดิมได้อย่างถาวร เพราะมันเกิดจากปัจจัยหลายอย่างและเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งรอบตัว เช่น การเรียนรู้ใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย หรืออารมณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

    เมื่อเราพิจารณาความคิดอย่างลึกซึ้ง จะเห็นว่ามันไม่เคยเป็นสิ่งที่แน่นอน เช่น ความคิดร้ายๆ มักเกิดขึ้นเพราะปัจจัยภายนอก เช่น การเจอคนหรือสถานการณ์ที่ทำให้เราโกรธ ในทางตรงกันข้าม ความคิดดีๆ อาจเกิดขึ้นเมื่อเรารับธรรมะเข้ามาในใจ ดังนั้น ความคิดไม่ใช่สิ่งที่มีตัวตนอยู่ถาวร แต่เป็นเพียงผลจากการปรุงแต่งของปัจจัยต่างๆ

    ความเข้าใจเรื่องอนัตตาของความคิดนี้ช่วยให้เราเห็นว่า เราไม่ได้เป็นเจ้าของความคิดเหล่านั้น ไม่ว่าเราจะคิดดีหรือคิดร้าย ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นผลของปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นชั่วคราว และผ่านไป ความคิดไม่ใช่ "ตัวเรา" อย่างแท้จริง การฝึกสติและการพิจารณาให้เห็นความเป็นอนัตตาในความคิด จะทำให้เราคลายความยึดมั่นในตัวตนและปล่อยวางความคิดที่ไม่เป็นประโยชน์ไปได้

    นี่คือการเผชิญหน้ากับความจริงแห่งอนัตตา ที่ทำให้เราเข้าใจอย่างลึกซึ้งว่า ความคิดก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วดับไป ไม่มีตัวตนที่แท้จริง
    พระพุทธเจ้าสอนเรื่อง "อนัตตา" ว่าทุกสิ่งล้วนไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง รวมถึงความคิดของเราด้วย การบอกว่าความคิดเป็นอนัตตาหมายถึง ความคิดไม่ได้มีความคงที่ ไม่สามารถเป็นตัวเดิมได้อย่างถาวร เพราะมันเกิดจากปัจจัยหลายอย่างและเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งรอบตัว เช่น การเรียนรู้ใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย หรืออารมณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น เมื่อเราพิจารณาความคิดอย่างลึกซึ้ง จะเห็นว่ามันไม่เคยเป็นสิ่งที่แน่นอน เช่น ความคิดร้ายๆ มักเกิดขึ้นเพราะปัจจัยภายนอก เช่น การเจอคนหรือสถานการณ์ที่ทำให้เราโกรธ ในทางตรงกันข้าม ความคิดดีๆ อาจเกิดขึ้นเมื่อเรารับธรรมะเข้ามาในใจ ดังนั้น ความคิดไม่ใช่สิ่งที่มีตัวตนอยู่ถาวร แต่เป็นเพียงผลจากการปรุงแต่งของปัจจัยต่างๆ ความเข้าใจเรื่องอนัตตาของความคิดนี้ช่วยให้เราเห็นว่า เราไม่ได้เป็นเจ้าของความคิดเหล่านั้น ไม่ว่าเราจะคิดดีหรือคิดร้าย ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นผลของปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นชั่วคราว และผ่านไป ความคิดไม่ใช่ "ตัวเรา" อย่างแท้จริง การฝึกสติและการพิจารณาให้เห็นความเป็นอนัตตาในความคิด จะทำให้เราคลายความยึดมั่นในตัวตนและปล่อยวางความคิดที่ไม่เป็นประโยชน์ไปได้ นี่คือการเผชิญหน้ากับความจริงแห่งอนัตตา ที่ทำให้เราเข้าใจอย่างลึกซึ้งว่า ความคิดก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วดับไป ไม่มีตัวตนที่แท้จริง
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 74 Views 0 Reviews
  • 📣วันนี้พาไปดูไลฟ์สไตล์ของ “ป๋ากิ๊ก” หรือ คุณเกียรติ กิจเจริญ #watchmaker นักแสดงและพิธีกรรุ่นใหญ่ชื่อดัง บุคคลที่คลั่งไคล้และหลงใหลกับระบบกลไกการทำงานของนาฬิกา ____________________________________ Modify Watch ขอขอบพระคุณ “ป๋ากิ๊ก” ที่ให้เกียรติกลับมาเยี่ยมเยือนที่ Modify Watch Training Center มาโดยตลอด หลังจากที่เรียนจบคอร์สหลักสูตรซ่อมนาฬิกาขั้นพื้นฐาน และคอร์สหลักสูตรการขัดตัวเรือน (Polishing Course) ไปทั้ง 2 คอร์สเรียบร้อยแล้ว🩵⌚️
    CR.​ขอ​ขอบคุณ​ข้อมูล​ดี​ๆ​จาก
    Overwrist
    📣วันนี้พาไปดูไลฟ์สไตล์ของ “ป๋ากิ๊ก” หรือ คุณเกียรติ กิจเจริญ #watchmaker นักแสดงและพิธีกรรุ่นใหญ่ชื่อดัง บุคคลที่คลั่งไคล้และหลงใหลกับระบบกลไกการทำงานของนาฬิกา ____________________________________ Modify Watch ขอขอบพระคุณ “ป๋ากิ๊ก” ที่ให้เกียรติกลับมาเยี่ยมเยือนที่ Modify Watch Training Center มาโดยตลอด หลังจากที่เรียนจบคอร์สหลักสูตรซ่อมนาฬิกาขั้นพื้นฐาน และคอร์สหลักสูตรการขัดตัวเรือน (Polishing Course) ไปทั้ง 2 คอร์สเรียบร้อยแล้ว🩵⌚️ CR.​ขอ​ขอบคุณ​ข้อมูล​ดี​ๆ​จาก Overwrist
    0 Comments 0 Shares 214 Views 83 0 Reviews
  • 📚รีเบคก้า


    ดีใจที่ห้องสมุดมี และดีใจที่ยืมมาอ่าน แม้นอรรถรสอาจจะได้ไม่เต็มที่เพราะเคยดูหนังที่ฮิตช์ค็อกสร้างมาก่อน ถึงอย่างนั้นก็ยังสัมผัสได้ถึงความเป็นสุดยอดของนิยายยอดเยี่ยมแห่งยุคเรื่องหนึ่ง ไม่สงสัยแล้วว่าเหตุใดจึงยังไม่ถูกลืม เพราะความดีงามของเรื่องนั้นสามารถข้ามผ่านกาลเวลามาใกล้ 90 ปีเต็มที

    ขนาดพอรู้เรื่องคร่าวๆแม้นจำไม่ได้มากเพราะหนังดูไว้นานหลายปีแล้ว แต่เมื่อได้จับฉบับหนังสือก็ยังอดลุ้นระทึกตามไปกับตัวละครนำไม่ได้ ต้องสรรเสริญผู้เขียนคือ ดาฟเน ดู โมริเยร์ ที่ให้กำเนิดรีเบคก้าขึ้นมาอวดโฉมสู่สายตานักอ่านในบรรณพิภพ

    หนังสือพิมพ์ในไทยครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ.2511 ฉบับที่อ่านนี้เป็นของ สนพ.สร้างสรรค์-วิชาการ เป็นพิมพ์ครั้งที่ 7 เมื่อปี พ.ศ.2538 หนา 387 หน้า มีช่วงระหว่างหน้าที่ 283-298 ทำเอาใจวูบ เพราะกำลังดำเนินเรื่องถึงช่วงจุดสูงสุดที่จะเฉลยปม เลขหน้าข้าม ทีแรกก็เศร้าว่าหน้าหายเยอะขนาดนี้คงจะพลาดอะไรสำคัญไปเยอะ พลิกตรวจดูจึงรู้ว่า เป็นความผิดพลาดของการเข้าเล่ม ที่ทำให้ต้องเปิดพลิกกลับอ่านแบบญี่ปุ่นจากขวามาซ้ายประมาณ 16 หน้า จึงกลับสู่การอ่านแบบปกติได้ น่าจะเป็นทั้งล็อตในการพิมพ์หรือเปล่าก็ไม่แน่ใจ

    สองประการที่ลดคุณค่าของนิยายเล่มนี้ในฉบับพิมพ์ของสร้างสรรค์คือ หนึ่ง ตัวอักษรที่เลือกใช้ได้ทรมานสายตาคนอ่านอย่างมากคือทั้งเล็กและบาง เมื่อบวกกับแถวยาวเหยียดที่เบียดกันเป็นพรืด นาน ๆ จึงจะพบย่อหน้าสักครั้ง จึงต้องใช้พลังสมาธิและความพยายามอย่างยิ่งกว่าจะอ่านจบ นี่ถ้าไม่ใช่เพราะความดีงามในตัวของนิยายเองที่ทำให้อยากอ่านต่อ อาจยอมแพ้เสียก่อน และสอง กระดาษที่ใช้คุณภาพไม่ดีเลย ความหนาแน่นของเนื้อเยื่อกระดาษบางมาก

    🔻

    เนื้อเรื่องโดยย่อ

    หญิงสาววัยสัก20ปี ที่เป็นผู้มีบุคลิกใสซื่อ มีความเป็นตัวของตัวเองอย่างบริสุทธิ์ตามธรรมชาตินางหนึ่ง พ่อแม่ตายไปตั้งแต่ยังเล็ก จึงจำต้องหาเลี้ยงตนเองมาแบบอัตคัด จนได้มาติดตามเป็นหญิงรับใช้ให้กับคุณนายอึ่งอ่างนางหนึ่ง(ขออภัย เธอมีชื่อแต่ลักษณะภายนอกที่ถูกบรรยายทำให้นึกไปถึงอึ่งจริง ๆ นะ) ซึ่งคุณนายคนนี้ก็มีนิสัยแย่ ชอบจิกใช้งานหญิงสาว และพูดจาเหยียบย่ำน้ำใจบ่อย อีกทั้งชอบทำตัวเจ๋อแจ้น เที่ยวปั้นหน้าไปคุยกับคนในแวดวงสังคม ไม่ใช่เพื่ออะไรมากไปกว่าตักตวงข่าวสารมาพูดนินทาต่อให้คนอื่นฟังด้วยความสนุกปากตามพื้นนิสัยเดิม ซึ่งสถานที่ที่ทำให้นางเอกและพระเอกได้พบกันครั้งแรกคือที่ โรงแรมแห่งหนึ่งในมอนติคาโล คุณนายอึ่งอ่างถือวิสาสะไปคุยด้วยกับหนุ่มใหญ่เจ้าของคฤหาสน์ มันเดอลีย์ ที่กำลังอยู่ในระหว่างท่องเที่ยวเพื่อลืมเลือนเรื่องอดีตเกี่ยวกับภรรยาสาวที่เสียชีวิตไปไม่นาน ในห้องอาหารชั้นล่างซึ่งนางเอกก็จำต้องอยู่ใกล้ชิดร่วมโต๊ะแม้นไม่อยาก เพราะอับอายแทนผู้ว่าจ้างของตน ด้วยเธอเป็นคนหน้าบางและมีสมบัติผู้ดีมากกว่าคุณนายอึ่งอ่าง ทั้งที่โดนกดและดูถูกว่าเป็นพวกชั้นล่าง

    ก็การพบหน้าคราวนั้นเองคือจุดเริ่มต้นแห่งเรื่องราวชวนฝัน ที่ประจวบเหมาะว่าวันต่อมาเจ้านายเธอมีไข้ไม่สบาย หมอให้พักสักสองสัปดาห์ในห้อง จึงเป็นโอกาสให้นางเอกของเรื่องพอจะมีเวลาเป็นของตนเอง ได้ใช้ชีวิตอิสระในตอนลงมากินข้าวที่ห้องอาหารชั้นล่าง ซึ่งก็พอดีได้พบพระเอกเป็นครั้งที่สอง แม้จะเจียมตัวไม่กล้าไปทักหรือร่วมโต๊ะ แต่สุดท้ายเหตุการณ์ก็พาไปให้พระเอกคือมิสเตอร์ เดอวินเตอร์ ตะล่อมพูดจนเธอยอมมานั่งกินอาหารโต๊ะเดียวกับเขา และได้พูดคุยพอเป็นที่รู้เรื่องความเป็นมาของฝ่ายสาว และในโอกาสต่อมาจากวันนั้น กลายเป็นว่าช่วงเวลาที่คุณนายอึ่งอ่างนอนแซ่วบนเตียง ที่ก็ไม่ได้ป่วยอะไรมาก แต่อยากหาเหตุให้คนอื่นมาเยี่ยมจะได้ชวนคุยนินทาสารพัดกับเล่นไพ่นั้น เปิดโอกาสให้นางเอกได้สานความสัมพันธ์อันดีกับพระเอกที่ยังคงมีมาดสุขุม ลึกลับ ครุ่นคิดตลอดเวลา และไม่ค่อยพูดจาหรือเปิดเผยเรื่องราวของตน จนฝ่ายหญิงเริ่มมีความรู้สึกที่ดีกับฝ่ายชายอย่างมาก ถึงขั้นที่เรียกว่ารักแรก ทุกวันพระเอกจะพบกับนางเอกที่ห้องอาหาร กินด้วยกันแล้วพาไปนั่งรถแล่นกินลมชมวิวไปตามที่ต่างๆ

    แต่แล้วเมื่ออาการของเจ้านายดีขึ้น วันหนึ่งก็สั่งนางเอกว่าให้รีบไปจองตั๋วรถไฟ เพราะลูกสาวของนางติดต่อมาว่าจะไปนิวยอร์ก และเจ้านายก็จะตามไปอยู่ด้วย แน่นอนว่าต้องเอานางเอกตามไปรับใช้ เมื่อทราบข่าวเธอถึงกับหัวใจสลาย เข่าอ่อน เหมือนความสุขที่เพิ่งปรากฏไม่นานในชีวิตกำลังจะสูญสลายไปตลอดกาล เธอพยายามจะลงไปพบเจอพระเอก แต่เขาไม่อยู่ไปทำธุระ ทำให้ในเธอรุ่มร้อนเป็นไฟ ในวันเดินทางที่ถูกใช้ให้ไปเปลี่ยนตั๋วเพื่อเลื่อนเที่ยวรถให้เร็วขึ้นจากช่วงสายเป็นช่วงเช้า เธอสิ้นหวังแล้ว แต่ไม่อาจตัดใจจากไปทั้งยังไม่ได้บอกลา จึงอาศัยช่วงที่เจ้านายสั่งให้มาติดต่อเปลี่ยนเที่ยวนั้น วิ่งหน้าตั้งไปเคาะห้องที่รู้ว่าพระเอกพักอยู่เพื่อจะบอกให้ทราบ และเมื่อพระเอกได้ฟัง จึงถามว่าทำไมเธอต้องปล่อยชีวิตให้เป็นไปตามแต่เจ้านายจะบงการ เธอบอกเพราะเธอต้องใช้เงิน และการทำงานรับใช้ทั้งที่ไม่อยากก็เพื่อแลกกับค่าจ้างน้อยนิด พระเอกยื่นข้อเสนอให้เลือก ว่าเธอจะไปกับคุณนายอึ่งอ่างหรือจะไปกับเขา เธอไม่เข้าใจ เขาบอกอีกครั้งให้ชัดว่าเธอจะเลือกไปกับเขาในฐานะมิสซิส เดอวินเตอร์หรือไม่

    นั่นเอง คือการเดินทางครั้งใหม่ของนางเอก หลังเธอตกลงใจจะไปกับเขาเพราะความรัก ทั้งสองแต่งงานกันอย่างที่ไม่มีการสวมชุด เข้าโบสถ์หรือการเลี้ยงฉลอง เพราะเขาไม่ปรารถนา แล้วไปฮันนีมูนต่อที่อิตาลีอยู่หลายสัปดาห์ ก่อนที่ท้ายสุดจะตรงไปที่คฤหาสน์มันเดอลีย์อันแสนไกล งดงามตั้งตระหง่านอยู่ภายในวงล้อมของป่ารก ที่ซึ่งเธอต้องกลายจากนางสาวต็อกต๋อย ไร้ชื่อเสียง ไร้เงิน ไร้ศักดิ์ฐานะใดๆ ไปเป็นคุณนายภริยาคนใหม่ของเจ้าของคฤหาสน์หรูเก่าแก่ ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ด้วยตัวคนเดียวโดดเดี่ยว และต้องเผชิญหน้ากับการต้อนรับอันเย็นชา และน่ากลัวของหญิงสาวผู้เป็นต้นห้องคนเก่าของมิสซิส เดอวินเตอร์คนที่ตายไปแล้ว อันมีนามว่า รีเบคกา กับบริวารรับใช้ชายหญิงอีกหลายคนที่ล้วนแล้วแต่มีอะไรที่เหมือนจะให้ความรู้สึกที่ไม่น่าไว้ใจ หดหู่ เร้นลับ

    ท่ามกลางความใหญ่โตกว้างขวางของห้องหับนับไม่ถ้วน ดอกไม้ป่านานาพรรณ อีกไม้ป่ายืนต้นรกชัฏ กับชายหาดและอ่าวที่เงียบเชียบ ดูเปลี่ยวเหงาวังเวง เสียงคลื่นทะเลที่ซัดเข้าหาฝั่ง กระทบโขดหิน ความดำมืดของบรรยากาศที่ทึบทึม ผู้คนที่จะเป็นมิตรก็ไม่ใช่ จะศัตรูก็ไม่เชิง กับเงาร่างของภรรยาสาวคนเก่าที่เพิ่งตายไปไม่นานของคนรักของเธอ ที่เหมือนยังมีชีวิตและปรากฏตัวไปทั่วทุกแห่ง

    นางเอกที่ยังอายุน้อยมาก กับพระเอกในวัย42 จะฟันฝ่าอุปสรรคและนำพาชีวิตรักไปรอดหรือไม่ ในขณะที่มีพี่สาวของสามีและพี่เขย อีกทั้งผู้จัดการงานทั่วไปของสามี คล้ายจะอยู่ฝ่ายเดียวกับเธอ และเอาใจช่วยให้ชีวิตของคนทั้งคู่เดินหน้าต่อไปได้ แต่ทว่าปริศนาทั้งหลายเกี่ยวกับคุณนายคนเก่า คือรีเบคกา และอุปสรรคจากแม่บ้านที่แสดงตนชัดว่าชิงชังรังเกียจ และหาเรื่องคอยสร้างปัญหาให้ ล้วนเป็นปราการใหญ่ที่ทำให้ผู้อ่านต้องลุ้นเอาใจช่วยเธอไปอย่างตื่นเต้น

    🔶️

    เชื่อว่าคนที่ไม่เคยรู้เรื่องราว ไม่เคยดูหนังมาก่อน จะได้รับอรรถรสความสนุกเต็มที่มากสุด ส่วนผู้เคยดูหนังแล้วก็ยังคงจะได้รับความสนุกได้ ในแง่ของการได้ทบทวนเก็บเกี่ยวรายละเอียดอีกครั้ง หากใครที่มีไว้ในกองดองแต่ยังไม่ได้อ่าน น่าเสียดายอย่างมาก

    ผู้แต่งมีอัจฉริยภาพในการเขียนบรรยายฉากอย่างแท้จริง ขอชื่นชมและสรรเสริญ โดนเฉพาะฉากที่พูดถึงนกชนิดต่าง ๆ พรรณไม้หลากหลายชนิดที่ขึ้นและปลูกไว้รายรอบคฤหาสน์ รายละเอียดของชนิดอาหาร เครื่องประกอบ เฟอร์นิเจอร์ของตกแต่ง คือมีความรอบรู้อย่างลึกจริง ทำให้คนอ่านเห็นภาพตามชัดเจน ยิ่งใครที่รู้จักอาหารประเภทต่าง ๆ เหล่านั้น รู้จักดอกไม้มากมายหลายชนิดที่กล่าวถึง คงจะยิ่งดำดิ่งเห็นภาพชัดราวกับเห็นลอยอยู่ตรงหน้า

    การใช้รูปแบบของอุปมาโวหารเชิงเปรียบเทียบช่างเป็นภาษาที่งดงาม แม้จะโบราณแต่เข้ากันมากกับยุคสมัยและบรรยากาศตามท้องเรื่อง ยิ่งบวกกับโครงเรื่องและแก่นที่แน่นเปรี๊ยะ อีกทั้งวิธีการเล่าอันน่าทึ่ง ซึ่งไม่ใช่ใครที่เป็นนักเขียนโดยทั่วไปก็สามารถทำได้ แน่นอนว่านักเขียนทุกคนล้วนปรารถนาให้ตนสามารถสร้างสรรค์งานเขียนดีเยี่ยมชนิดเป็นมาสเตอร์พีซของตนเองได้สักเล่มในชั่วชีวิตที่ผลิตงาน แต่มีไม่กี่คนเท่านั้นที่ทำสำเร็จ และผมเชื่อว่า ดาฟเน ดู โมริเยร์ คือหนึ่งในนั้นได้อย่างเต็มภาคภูมิ ฉบับแปลไทยนี้ทำได้ดีทีเดียว แม้จะพบว่ามีบางคำออกจะแปลก ๆ ในความรู้สึกอยู่บ้าง เช่นใช้คำว่า กระท้อน ในความหมายที่สื่อถึงการ สะท้อน และอีก 2-3 คำ แต่พอเข้าใจได้ ไม่แน่ว่าในยุคสมัยที่ผู้แปลแปลไว้ คำไทยบางคำในเวลานั้นอาจใช้และสะกดต่างไปจากปัจจุบัน ซึ่งก็ได้แต่คาดเดาเพราะผมไม่มีความรู้มากพอในด้านนี้

    เรื่องนี้ทำให้เข้าใจถึงข้อด้อยที่น่ากำจัดหรือปรับปรุงแก้ไขให้ไม่มีอยู่ในอุปนิสัยของใครคนไหนก็ตามคือ "การคิดเองเออเอง" ซึ่งจะพบเห็นได้เยอะมากในตัวตนของนางเอก แทบจะตลอดทั้งเรื่อง ซึ่งเป็นจุดตายที่มีส่วนจะทำให้ชีวิตรักของนางอาจต้องถึงกาลอับปางอย่างน่าหวดเสียว และผู้หญิงส่วนใหญ่ก็มักจะเป็นกันด้วยสิ ความคิดระแวง คิดเป็นตุเป็นตะ คิดหมกมุ่นเพ้อฝันไปล่วงหน้าและมักเป็นไปในทางร้ายนั้น ได้แสดงให้เห็นอิทธิพลของมันชัดเจนยิ่งในเรื่อง ว่าส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาตามมาอย่างไม่น่าเชื่อ สิ่งนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากหากผู้อ่านจะนำมาสำรวจตรวจตรากับการดำเนินชีวิตตนเอง ที่จะไม่ให้มี "อิตถีภาวะ"มากเกินไปแม้ในเพศชายก็ตาม

    มีบ้างทีอ่านแล้วอาจจะรู้สึก "ลำไย" ในอุปนิสัยของนางเอก ที่เธอจะอะไรกันนักหนานะกับแทบทุกเรื่อง แต่ก็ดีที่ผู้เขียนได้สร้างเหตุแล้วให้ตัวละครของตน ได้รู้จักเรียนรู้จากความผิดพลาดของตนเองแล้วพัฒนาเติบโตขึ้นในช่วงหลัง ที่ไม่อ่อนวัย ใจใสไร้เดียงสาดังเช่นตอนต้นเรื่อง

    เป็นความชาญฉลาดในการวางผังอย่างดี ที่ให้เหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ค่อยๆเปิดเผยให้ตัวนางเอกและคนอ่านได้ค่อยๆ รู้เรื่องเกี่ยวกับรีเบคกาเพิ่มขึ้นทีละน้อย ๆ เต็มไปด้วยความหวาดระแวง แคลงใจ จนนำไปสู่ความน่าตื่นตะลึงในช่วงที่เฉลยความจริงให้นางเอกและผู้อ่านทราบไปพร้อมกัน ต่อจากนั้นอีกร้อยกว่าหน้า ก็เป็นช่วงที่ไม่ได้มีแผ่วลงเลยแม้แต่น้อย มีแต่เร่งเร้า เขย่าขวัญ สั่นประสาท ให้ต้องตามลุ้นระทึกเอาใจช่วยให้พระนางผ่านพ้นเรื่องร้ายแรงไปได้ด้วยดีเถิด แต่ละหน้า แต่ละบทสนทนาล้วนแต่พาเราให้ตื่นตัว ตื่นเต้นไปกับอุปสรรคต่อเนื่องที่ดาหน้าเข้าใส่ทั้งสองอย่างต่อเนื่อง ราวคลื่นทะเลที่ซัดหาฝั่งลูกแล้วลูกเล่า เหมือนโดนคลื่นพาลอยขึ้นไปจนสูงแล้วบัดดลก็จับโยนลงมาสู่เบื้องต่ำ ก่อนจะถูกม้วนลอยขึ้นไปที่สูงใหม่

    ที่ชอบมากที่สุดคือวิธีที่ผู้เขียนเลือกใช้ในการหาทางพาให้พระนางดิ้นรนไปตามทางที่ถูกตัวร้ายนำไป ไม่อาจเป็นตัวของตัวเอง ไม่มีทางเลือกอื่นที่ดีกว่า จำนนต่อสิ่งที่ปรากฏและจู่โจม แต่แล้วก็พาให้ตัวละครและเรื่องราวทั้งหมดดำเนินไปสู่จุดอันคลี่คลายอย่างชนิดที่ต้องร้องในใจว่า คิดได้ยังไง ไม่มีจุดตำหนิได้เลย เพราะไม่ใช่ตอนจบที่เหมือนไม่รู้จะจัดการกับปมที่สร้างมาอย่างไรแล้วก็ใส่วิธีจัดการเข้ามาแบบไม่สนใจอะไร แต่ทุกอย่างคือถูกวางมาแล้วแต่แรก อย่างมีระเบียบ และเงียบเชียบ บอกใบ้ไว้แต่ไม่กระโตกกระตาก มีความลุ่มลึก ที่ถ้าหากใครมีเวลามากพอ ควรอ่านอย่างช้า ๆ เพื่อเก็บละเอียดทุกประโยคแล้วจะได้พบกับความไม่ธรรมดาของนิยานเรื่องนี้ที่น่าอึ้ง ชวนหลงใหลตั้งแต่เปิดเรื่องมาด้วยท่อนอมตะที่ว่า

    "เมื่อคืนนี้ดิฉันฝันว่า ได้ไปที่คฤหาสน์มันเดอลีย์อีกครั้งหนึ่ง"

    สุดท้ายคือ การที่ตลอดทั้งเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ เรากลับไม่ได้รู้เลยว่าผู้เล่าเรื่องคือ ดิฉันนั้น แท้จริงชื่อเรียงเสียงไรกันแน่ เรารู้จักกับรีเบคกา ราวกับมีชีวิตทั้งที่ตายไปแล้ว กลับกันนางเอกหรือ ดิฉัน ที่ใกล้ชิดกับคนอ่านมากสุดราวกับคือตัวเราเองที่ยังไม่ตายนั้น เหมือนใกล้แต่ก็ไกล คือเป็นใครก็ได้ไม่ว่าผู้อ่านคือชายหรือหญิง เมื่อได้อ่านเรื่องนี้แล้วอดไม่ได้จะนำตนเองไปสวมเป็น ดิฉัน ไม่มากก็น้อย

    .

    .

    .

    .

    .

    .

    .

    .

    .

    ป.ล. (คนที่ยังไม่เคยอ่านหรือดูหนังมาเลย ควรข้าม)

    เรื่องนี้มีฉบับฝาแฝด ที่ได้รับแรงบันดาลใจ จนนักเขียนนิยายไทยท่านหนึ่ง นำโครงเรื่องมาดัดแปลง กลายเป็นนิยายแปลงชื่อ คุณหญิงสีวิกา ที่ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2534 สนพ.หมึกจีน เคยได้รับการนำไปสร้างเป็นละครช่อง 7 นำแสดงโดยคุณแอน อังคณา ทิมดี รับบทคุณหญิงสีวิกา และคุณจอห์นนี่ แอนโฟเน่ รับบทสามี ส่วนภรรยาสาวคนใหม่รับบทโดย คุณลูกศร ธนาภรณ์ รัตนเสน ผมยังได้รับชมเมื่อครั้งเรียนช่วงมัธยมปลายพอจำได้ ตอนนั้นก็สนุกนะ เพราะอยากทราบความจริงที่อยู่เบื้องหลัง ต้องตามอ่านจากไทยรัฐทุกวัน ซึ่งในเรื่องตัวคุณหญิงสีวิกามีอาการของคนที่ศัพท์เฉพาะใช้คำว่า "ฮิสทีเรีย" สมัยนั้นถึงกับมีดราม่ากันใหญ่โตว่าเรื่องนี้ไม่ใช่นิยายที่ควรนำมาทำเป็นละครฉายทางทีวีช่วงหลังข่าวภาคค่ำจบ ยุคนั้นละครมีประมาณชั่วโมงเดียว เริ่มสักสามทุ่มไปจบสี่ทุ่ม สุดท้ายกระแสต่อต้านเยอะจนไม่แน่ใจว่าถูกตัดทอนให้ตอนสั้นลงแล้วรีบตัดจบเอาดื้อ ๆ หรือไม่ จำไม่ค่อยได้แล้ว

    #thaitimes
    #รีเบคกา
    #นิยายแปล
    #นิยาย
    #ลึกลับ
    #ความวิปริตทางเพศ
    #มอนติคาโล
    #ท่องเที่ยว
    #บ้านริมหาด
    #คฤหาสน์
    #หนังสือดี
    #หนังสือน่าอ่าน
    #วรรณกรรมคลาสสิก
    📚รีเบคก้า ดีใจที่ห้องสมุดมี และดีใจที่ยืมมาอ่าน แม้นอรรถรสอาจจะได้ไม่เต็มที่เพราะเคยดูหนังที่ฮิตช์ค็อกสร้างมาก่อน ถึงอย่างนั้นก็ยังสัมผัสได้ถึงความเป็นสุดยอดของนิยายยอดเยี่ยมแห่งยุคเรื่องหนึ่ง ไม่สงสัยแล้วว่าเหตุใดจึงยังไม่ถูกลืม เพราะความดีงามของเรื่องนั้นสามารถข้ามผ่านกาลเวลามาใกล้ 90 ปีเต็มที ขนาดพอรู้เรื่องคร่าวๆแม้นจำไม่ได้มากเพราะหนังดูไว้นานหลายปีแล้ว แต่เมื่อได้จับฉบับหนังสือก็ยังอดลุ้นระทึกตามไปกับตัวละครนำไม่ได้ ต้องสรรเสริญผู้เขียนคือ ดาฟเน ดู โมริเยร์ ที่ให้กำเนิดรีเบคก้าขึ้นมาอวดโฉมสู่สายตานักอ่านในบรรณพิภพ หนังสือพิมพ์ในไทยครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ.2511 ฉบับที่อ่านนี้เป็นของ สนพ.สร้างสรรค์-วิชาการ เป็นพิมพ์ครั้งที่ 7 เมื่อปี พ.ศ.2538 หนา 387 หน้า มีช่วงระหว่างหน้าที่ 283-298 ทำเอาใจวูบ เพราะกำลังดำเนินเรื่องถึงช่วงจุดสูงสุดที่จะเฉลยปม เลขหน้าข้าม ทีแรกก็เศร้าว่าหน้าหายเยอะขนาดนี้คงจะพลาดอะไรสำคัญไปเยอะ พลิกตรวจดูจึงรู้ว่า เป็นความผิดพลาดของการเข้าเล่ม ที่ทำให้ต้องเปิดพลิกกลับอ่านแบบญี่ปุ่นจากขวามาซ้ายประมาณ 16 หน้า จึงกลับสู่การอ่านแบบปกติได้ น่าจะเป็นทั้งล็อตในการพิมพ์หรือเปล่าก็ไม่แน่ใจ สองประการที่ลดคุณค่าของนิยายเล่มนี้ในฉบับพิมพ์ของสร้างสรรค์คือ หนึ่ง ตัวอักษรที่เลือกใช้ได้ทรมานสายตาคนอ่านอย่างมากคือทั้งเล็กและบาง เมื่อบวกกับแถวยาวเหยียดที่เบียดกันเป็นพรืด นาน ๆ จึงจะพบย่อหน้าสักครั้ง จึงต้องใช้พลังสมาธิและความพยายามอย่างยิ่งกว่าจะอ่านจบ นี่ถ้าไม่ใช่เพราะความดีงามในตัวของนิยายเองที่ทำให้อยากอ่านต่อ อาจยอมแพ้เสียก่อน และสอง กระดาษที่ใช้คุณภาพไม่ดีเลย ความหนาแน่นของเนื้อเยื่อกระดาษบางมาก 🔻 เนื้อเรื่องโดยย่อ หญิงสาววัยสัก20ปี ที่เป็นผู้มีบุคลิกใสซื่อ มีความเป็นตัวของตัวเองอย่างบริสุทธิ์ตามธรรมชาตินางหนึ่ง พ่อแม่ตายไปตั้งแต่ยังเล็ก จึงจำต้องหาเลี้ยงตนเองมาแบบอัตคัด จนได้มาติดตามเป็นหญิงรับใช้ให้กับคุณนายอึ่งอ่างนางหนึ่ง(ขออภัย เธอมีชื่อแต่ลักษณะภายนอกที่ถูกบรรยายทำให้นึกไปถึงอึ่งจริง ๆ นะ) ซึ่งคุณนายคนนี้ก็มีนิสัยแย่ ชอบจิกใช้งานหญิงสาว และพูดจาเหยียบย่ำน้ำใจบ่อย อีกทั้งชอบทำตัวเจ๋อแจ้น เที่ยวปั้นหน้าไปคุยกับคนในแวดวงสังคม ไม่ใช่เพื่ออะไรมากไปกว่าตักตวงข่าวสารมาพูดนินทาต่อให้คนอื่นฟังด้วยความสนุกปากตามพื้นนิสัยเดิม ซึ่งสถานที่ที่ทำให้นางเอกและพระเอกได้พบกันครั้งแรกคือที่ โรงแรมแห่งหนึ่งในมอนติคาโล คุณนายอึ่งอ่างถือวิสาสะไปคุยด้วยกับหนุ่มใหญ่เจ้าของคฤหาสน์ มันเดอลีย์ ที่กำลังอยู่ในระหว่างท่องเที่ยวเพื่อลืมเลือนเรื่องอดีตเกี่ยวกับภรรยาสาวที่เสียชีวิตไปไม่นาน ในห้องอาหารชั้นล่างซึ่งนางเอกก็จำต้องอยู่ใกล้ชิดร่วมโต๊ะแม้นไม่อยาก เพราะอับอายแทนผู้ว่าจ้างของตน ด้วยเธอเป็นคนหน้าบางและมีสมบัติผู้ดีมากกว่าคุณนายอึ่งอ่าง ทั้งที่โดนกดและดูถูกว่าเป็นพวกชั้นล่าง ก็การพบหน้าคราวนั้นเองคือจุดเริ่มต้นแห่งเรื่องราวชวนฝัน ที่ประจวบเหมาะว่าวันต่อมาเจ้านายเธอมีไข้ไม่สบาย หมอให้พักสักสองสัปดาห์ในห้อง จึงเป็นโอกาสให้นางเอกของเรื่องพอจะมีเวลาเป็นของตนเอง ได้ใช้ชีวิตอิสระในตอนลงมากินข้าวที่ห้องอาหารชั้นล่าง ซึ่งก็พอดีได้พบพระเอกเป็นครั้งที่สอง แม้จะเจียมตัวไม่กล้าไปทักหรือร่วมโต๊ะ แต่สุดท้ายเหตุการณ์ก็พาไปให้พระเอกคือมิสเตอร์ เดอวินเตอร์ ตะล่อมพูดจนเธอยอมมานั่งกินอาหารโต๊ะเดียวกับเขา และได้พูดคุยพอเป็นที่รู้เรื่องความเป็นมาของฝ่ายสาว และในโอกาสต่อมาจากวันนั้น กลายเป็นว่าช่วงเวลาที่คุณนายอึ่งอ่างนอนแซ่วบนเตียง ที่ก็ไม่ได้ป่วยอะไรมาก แต่อยากหาเหตุให้คนอื่นมาเยี่ยมจะได้ชวนคุยนินทาสารพัดกับเล่นไพ่นั้น เปิดโอกาสให้นางเอกได้สานความสัมพันธ์อันดีกับพระเอกที่ยังคงมีมาดสุขุม ลึกลับ ครุ่นคิดตลอดเวลา และไม่ค่อยพูดจาหรือเปิดเผยเรื่องราวของตน จนฝ่ายหญิงเริ่มมีความรู้สึกที่ดีกับฝ่ายชายอย่างมาก ถึงขั้นที่เรียกว่ารักแรก ทุกวันพระเอกจะพบกับนางเอกที่ห้องอาหาร กินด้วยกันแล้วพาไปนั่งรถแล่นกินลมชมวิวไปตามที่ต่างๆ แต่แล้วเมื่ออาการของเจ้านายดีขึ้น วันหนึ่งก็สั่งนางเอกว่าให้รีบไปจองตั๋วรถไฟ เพราะลูกสาวของนางติดต่อมาว่าจะไปนิวยอร์ก และเจ้านายก็จะตามไปอยู่ด้วย แน่นอนว่าต้องเอานางเอกตามไปรับใช้ เมื่อทราบข่าวเธอถึงกับหัวใจสลาย เข่าอ่อน เหมือนความสุขที่เพิ่งปรากฏไม่นานในชีวิตกำลังจะสูญสลายไปตลอดกาล เธอพยายามจะลงไปพบเจอพระเอก แต่เขาไม่อยู่ไปทำธุระ ทำให้ในเธอรุ่มร้อนเป็นไฟ ในวันเดินทางที่ถูกใช้ให้ไปเปลี่ยนตั๋วเพื่อเลื่อนเที่ยวรถให้เร็วขึ้นจากช่วงสายเป็นช่วงเช้า เธอสิ้นหวังแล้ว แต่ไม่อาจตัดใจจากไปทั้งยังไม่ได้บอกลา จึงอาศัยช่วงที่เจ้านายสั่งให้มาติดต่อเปลี่ยนเที่ยวนั้น วิ่งหน้าตั้งไปเคาะห้องที่รู้ว่าพระเอกพักอยู่เพื่อจะบอกให้ทราบ และเมื่อพระเอกได้ฟัง จึงถามว่าทำไมเธอต้องปล่อยชีวิตให้เป็นไปตามแต่เจ้านายจะบงการ เธอบอกเพราะเธอต้องใช้เงิน และการทำงานรับใช้ทั้งที่ไม่อยากก็เพื่อแลกกับค่าจ้างน้อยนิด พระเอกยื่นข้อเสนอให้เลือก ว่าเธอจะไปกับคุณนายอึ่งอ่างหรือจะไปกับเขา เธอไม่เข้าใจ เขาบอกอีกครั้งให้ชัดว่าเธอจะเลือกไปกับเขาในฐานะมิสซิส เดอวินเตอร์หรือไม่ นั่นเอง คือการเดินทางครั้งใหม่ของนางเอก หลังเธอตกลงใจจะไปกับเขาเพราะความรัก ทั้งสองแต่งงานกันอย่างที่ไม่มีการสวมชุด เข้าโบสถ์หรือการเลี้ยงฉลอง เพราะเขาไม่ปรารถนา แล้วไปฮันนีมูนต่อที่อิตาลีอยู่หลายสัปดาห์ ก่อนที่ท้ายสุดจะตรงไปที่คฤหาสน์มันเดอลีย์อันแสนไกล งดงามตั้งตระหง่านอยู่ภายในวงล้อมของป่ารก ที่ซึ่งเธอต้องกลายจากนางสาวต็อกต๋อย ไร้ชื่อเสียง ไร้เงิน ไร้ศักดิ์ฐานะใดๆ ไปเป็นคุณนายภริยาคนใหม่ของเจ้าของคฤหาสน์หรูเก่าแก่ ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ด้วยตัวคนเดียวโดดเดี่ยว และต้องเผชิญหน้ากับการต้อนรับอันเย็นชา และน่ากลัวของหญิงสาวผู้เป็นต้นห้องคนเก่าของมิสซิส เดอวินเตอร์คนที่ตายไปแล้ว อันมีนามว่า รีเบคกา กับบริวารรับใช้ชายหญิงอีกหลายคนที่ล้วนแล้วแต่มีอะไรที่เหมือนจะให้ความรู้สึกที่ไม่น่าไว้ใจ หดหู่ เร้นลับ ท่ามกลางความใหญ่โตกว้างขวางของห้องหับนับไม่ถ้วน ดอกไม้ป่านานาพรรณ อีกไม้ป่ายืนต้นรกชัฏ กับชายหาดและอ่าวที่เงียบเชียบ ดูเปลี่ยวเหงาวังเวง เสียงคลื่นทะเลที่ซัดเข้าหาฝั่ง กระทบโขดหิน ความดำมืดของบรรยากาศที่ทึบทึม ผู้คนที่จะเป็นมิตรก็ไม่ใช่ จะศัตรูก็ไม่เชิง กับเงาร่างของภรรยาสาวคนเก่าที่เพิ่งตายไปไม่นานของคนรักของเธอ ที่เหมือนยังมีชีวิตและปรากฏตัวไปทั่วทุกแห่ง นางเอกที่ยังอายุน้อยมาก กับพระเอกในวัย42 จะฟันฝ่าอุปสรรคและนำพาชีวิตรักไปรอดหรือไม่ ในขณะที่มีพี่สาวของสามีและพี่เขย อีกทั้งผู้จัดการงานทั่วไปของสามี คล้ายจะอยู่ฝ่ายเดียวกับเธอ และเอาใจช่วยให้ชีวิตของคนทั้งคู่เดินหน้าต่อไปได้ แต่ทว่าปริศนาทั้งหลายเกี่ยวกับคุณนายคนเก่า คือรีเบคกา และอุปสรรคจากแม่บ้านที่แสดงตนชัดว่าชิงชังรังเกียจ และหาเรื่องคอยสร้างปัญหาให้ ล้วนเป็นปราการใหญ่ที่ทำให้ผู้อ่านต้องลุ้นเอาใจช่วยเธอไปอย่างตื่นเต้น 🔶️ เชื่อว่าคนที่ไม่เคยรู้เรื่องราว ไม่เคยดูหนังมาก่อน จะได้รับอรรถรสความสนุกเต็มที่มากสุด ส่วนผู้เคยดูหนังแล้วก็ยังคงจะได้รับความสนุกได้ ในแง่ของการได้ทบทวนเก็บเกี่ยวรายละเอียดอีกครั้ง หากใครที่มีไว้ในกองดองแต่ยังไม่ได้อ่าน น่าเสียดายอย่างมาก ผู้แต่งมีอัจฉริยภาพในการเขียนบรรยายฉากอย่างแท้จริง ขอชื่นชมและสรรเสริญ โดนเฉพาะฉากที่พูดถึงนกชนิดต่าง ๆ พรรณไม้หลากหลายชนิดที่ขึ้นและปลูกไว้รายรอบคฤหาสน์ รายละเอียดของชนิดอาหาร เครื่องประกอบ เฟอร์นิเจอร์ของตกแต่ง คือมีความรอบรู้อย่างลึกจริง ทำให้คนอ่านเห็นภาพตามชัดเจน ยิ่งใครที่รู้จักอาหารประเภทต่าง ๆ เหล่านั้น รู้จักดอกไม้มากมายหลายชนิดที่กล่าวถึง คงจะยิ่งดำดิ่งเห็นภาพชัดราวกับเห็นลอยอยู่ตรงหน้า การใช้รูปแบบของอุปมาโวหารเชิงเปรียบเทียบช่างเป็นภาษาที่งดงาม แม้จะโบราณแต่เข้ากันมากกับยุคสมัยและบรรยากาศตามท้องเรื่อง ยิ่งบวกกับโครงเรื่องและแก่นที่แน่นเปรี๊ยะ อีกทั้งวิธีการเล่าอันน่าทึ่ง ซึ่งไม่ใช่ใครที่เป็นนักเขียนโดยทั่วไปก็สามารถทำได้ แน่นอนว่านักเขียนทุกคนล้วนปรารถนาให้ตนสามารถสร้างสรรค์งานเขียนดีเยี่ยมชนิดเป็นมาสเตอร์พีซของตนเองได้สักเล่มในชั่วชีวิตที่ผลิตงาน แต่มีไม่กี่คนเท่านั้นที่ทำสำเร็จ และผมเชื่อว่า ดาฟเน ดู โมริเยร์ คือหนึ่งในนั้นได้อย่างเต็มภาคภูมิ ฉบับแปลไทยนี้ทำได้ดีทีเดียว แม้จะพบว่ามีบางคำออกจะแปลก ๆ ในความรู้สึกอยู่บ้าง เช่นใช้คำว่า กระท้อน ในความหมายที่สื่อถึงการ สะท้อน และอีก 2-3 คำ แต่พอเข้าใจได้ ไม่แน่ว่าในยุคสมัยที่ผู้แปลแปลไว้ คำไทยบางคำในเวลานั้นอาจใช้และสะกดต่างไปจากปัจจุบัน ซึ่งก็ได้แต่คาดเดาเพราะผมไม่มีความรู้มากพอในด้านนี้ เรื่องนี้ทำให้เข้าใจถึงข้อด้อยที่น่ากำจัดหรือปรับปรุงแก้ไขให้ไม่มีอยู่ในอุปนิสัยของใครคนไหนก็ตามคือ "การคิดเองเออเอง" ซึ่งจะพบเห็นได้เยอะมากในตัวตนของนางเอก แทบจะตลอดทั้งเรื่อง ซึ่งเป็นจุดตายที่มีส่วนจะทำให้ชีวิตรักของนางอาจต้องถึงกาลอับปางอย่างน่าหวดเสียว และผู้หญิงส่วนใหญ่ก็มักจะเป็นกันด้วยสิ ความคิดระแวง คิดเป็นตุเป็นตะ คิดหมกมุ่นเพ้อฝันไปล่วงหน้าและมักเป็นไปในทางร้ายนั้น ได้แสดงให้เห็นอิทธิพลของมันชัดเจนยิ่งในเรื่อง ว่าส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาตามมาอย่างไม่น่าเชื่อ สิ่งนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากหากผู้อ่านจะนำมาสำรวจตรวจตรากับการดำเนินชีวิตตนเอง ที่จะไม่ให้มี "อิตถีภาวะ"มากเกินไปแม้ในเพศชายก็ตาม มีบ้างทีอ่านแล้วอาจจะรู้สึก "ลำไย" ในอุปนิสัยของนางเอก ที่เธอจะอะไรกันนักหนานะกับแทบทุกเรื่อง แต่ก็ดีที่ผู้เขียนได้สร้างเหตุแล้วให้ตัวละครของตน ได้รู้จักเรียนรู้จากความผิดพลาดของตนเองแล้วพัฒนาเติบโตขึ้นในช่วงหลัง ที่ไม่อ่อนวัย ใจใสไร้เดียงสาดังเช่นตอนต้นเรื่อง เป็นความชาญฉลาดในการวางผังอย่างดี ที่ให้เหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ค่อยๆเปิดเผยให้ตัวนางเอกและคนอ่านได้ค่อยๆ รู้เรื่องเกี่ยวกับรีเบคกาเพิ่มขึ้นทีละน้อย ๆ เต็มไปด้วยความหวาดระแวง แคลงใจ จนนำไปสู่ความน่าตื่นตะลึงในช่วงที่เฉลยความจริงให้นางเอกและผู้อ่านทราบไปพร้อมกัน ต่อจากนั้นอีกร้อยกว่าหน้า ก็เป็นช่วงที่ไม่ได้มีแผ่วลงเลยแม้แต่น้อย มีแต่เร่งเร้า เขย่าขวัญ สั่นประสาท ให้ต้องตามลุ้นระทึกเอาใจช่วยให้พระนางผ่านพ้นเรื่องร้ายแรงไปได้ด้วยดีเถิด แต่ละหน้า แต่ละบทสนทนาล้วนแต่พาเราให้ตื่นตัว ตื่นเต้นไปกับอุปสรรคต่อเนื่องที่ดาหน้าเข้าใส่ทั้งสองอย่างต่อเนื่อง ราวคลื่นทะเลที่ซัดหาฝั่งลูกแล้วลูกเล่า เหมือนโดนคลื่นพาลอยขึ้นไปจนสูงแล้วบัดดลก็จับโยนลงมาสู่เบื้องต่ำ ก่อนจะถูกม้วนลอยขึ้นไปที่สูงใหม่ ที่ชอบมากที่สุดคือวิธีที่ผู้เขียนเลือกใช้ในการหาทางพาให้พระนางดิ้นรนไปตามทางที่ถูกตัวร้ายนำไป ไม่อาจเป็นตัวของตัวเอง ไม่มีทางเลือกอื่นที่ดีกว่า จำนนต่อสิ่งที่ปรากฏและจู่โจม แต่แล้วก็พาให้ตัวละครและเรื่องราวทั้งหมดดำเนินไปสู่จุดอันคลี่คลายอย่างชนิดที่ต้องร้องในใจว่า คิดได้ยังไง ไม่มีจุดตำหนิได้เลย เพราะไม่ใช่ตอนจบที่เหมือนไม่รู้จะจัดการกับปมที่สร้างมาอย่างไรแล้วก็ใส่วิธีจัดการเข้ามาแบบไม่สนใจอะไร แต่ทุกอย่างคือถูกวางมาแล้วแต่แรก อย่างมีระเบียบ และเงียบเชียบ บอกใบ้ไว้แต่ไม่กระโตกกระตาก มีความลุ่มลึก ที่ถ้าหากใครมีเวลามากพอ ควรอ่านอย่างช้า ๆ เพื่อเก็บละเอียดทุกประโยคแล้วจะได้พบกับความไม่ธรรมดาของนิยานเรื่องนี้ที่น่าอึ้ง ชวนหลงใหลตั้งแต่เปิดเรื่องมาด้วยท่อนอมตะที่ว่า "เมื่อคืนนี้ดิฉันฝันว่า ได้ไปที่คฤหาสน์มันเดอลีย์อีกครั้งหนึ่ง" สุดท้ายคือ การที่ตลอดทั้งเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ เรากลับไม่ได้รู้เลยว่าผู้เล่าเรื่องคือ ดิฉันนั้น แท้จริงชื่อเรียงเสียงไรกันแน่ เรารู้จักกับรีเบคกา ราวกับมีชีวิตทั้งที่ตายไปแล้ว กลับกันนางเอกหรือ ดิฉัน ที่ใกล้ชิดกับคนอ่านมากสุดราวกับคือตัวเราเองที่ยังไม่ตายนั้น เหมือนใกล้แต่ก็ไกล คือเป็นใครก็ได้ไม่ว่าผู้อ่านคือชายหรือหญิง เมื่อได้อ่านเรื่องนี้แล้วอดไม่ได้จะนำตนเองไปสวมเป็น ดิฉัน ไม่มากก็น้อย . . . . . . . . . ป.ล. (คนที่ยังไม่เคยอ่านหรือดูหนังมาเลย ควรข้าม) เรื่องนี้มีฉบับฝาแฝด ที่ได้รับแรงบันดาลใจ จนนักเขียนนิยายไทยท่านหนึ่ง นำโครงเรื่องมาดัดแปลง กลายเป็นนิยายแปลงชื่อ คุณหญิงสีวิกา ที่ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2534 สนพ.หมึกจีน เคยได้รับการนำไปสร้างเป็นละครช่อง 7 นำแสดงโดยคุณแอน อังคณา ทิมดี รับบทคุณหญิงสีวิกา และคุณจอห์นนี่ แอนโฟเน่ รับบทสามี ส่วนภรรยาสาวคนใหม่รับบทโดย คุณลูกศร ธนาภรณ์ รัตนเสน ผมยังได้รับชมเมื่อครั้งเรียนช่วงมัธยมปลายพอจำได้ ตอนนั้นก็สนุกนะ เพราะอยากทราบความจริงที่อยู่เบื้องหลัง ต้องตามอ่านจากไทยรัฐทุกวัน ซึ่งในเรื่องตัวคุณหญิงสีวิกามีอาการของคนที่ศัพท์เฉพาะใช้คำว่า "ฮิสทีเรีย" สมัยนั้นถึงกับมีดราม่ากันใหญ่โตว่าเรื่องนี้ไม่ใช่นิยายที่ควรนำมาทำเป็นละครฉายทางทีวีช่วงหลังข่าวภาคค่ำจบ ยุคนั้นละครมีประมาณชั่วโมงเดียว เริ่มสักสามทุ่มไปจบสี่ทุ่ม สุดท้ายกระแสต่อต้านเยอะจนไม่แน่ใจว่าถูกตัดทอนให้ตอนสั้นลงแล้วรีบตัดจบเอาดื้อ ๆ หรือไม่ จำไม่ค่อยได้แล้ว #thaitimes #รีเบคกา #นิยายแปล #นิยาย #ลึกลับ #ความวิปริตทางเพศ #มอนติคาโล #ท่องเที่ยว #บ้านริมหาด #คฤหาสน์ #หนังสือดี #หนังสือน่าอ่าน #วรรณกรรมคลาสสิก
    0 Comments 0 Shares 676 Views 0 Reviews
More Results