• #ข้าพระพุทธเจ้าขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้
    #ข้าพระพุทธเจ้าขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 63 มุมมอง 0 รีวิว
  • 33 ปี สิ้น “หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง” พระเถราจารย์แห่งอุบลราชธานี ผู้สร้างวัดสาขาต่างประเทศมากมาย

    ย้อนไปเมื่อ 33 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2535 เป็นวันที่พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศ และทั่วโลกต้องเศร้าโศก เมื่อหลวงปู่ชา สุภัทโท เจ้าอาวาสวัดหนองป่าพง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี พระเถราจารย์ผู้เป็นที่เคารพรัก ทั้งในไทยและต่างประเทศ ได้ละสังขารอย่างสงบ หลังจากอาพาธ มายาวนาน

    หลวงปู่ชาไม่เพียงเป็น ผู้นำทางจิตวิญญาณ แต่ยังเป็นบุคคลสำคัญ ที่ช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา ไปสู่ชาวต่างชาติ ผ่านการปฏิบัติธรรม และการสร้างวัดสาขามากมาย ทั้งในและนอกประเทศไทย แม้ว่าท่านจะพูดได้เพียงภาษาไทย แต่ด้วยคำสอน และวัตรปฏิบัติอันเรียบง่าย กลับสร้างแรงศรัทธา ให้แก่คนทั่วโลก

    วัยเยาว์หลวงปู่
    หลวงปู่ชา สุภัทโท เกิดเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 ตรงกับวันแรม 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ตามปฏิทินจันทรคติ ที่บ้านก่อ (เดิมชื่อบ้านก้นถ้วย) อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดามารดาของท่านคือนายมา และนางพิมพ์ ช่วงโชติ หลวงปู่ชาเป็นบุตรคนที่ 5 จากพี่น้องทั้งหมด 10 คน

    เริ่มต้นชีวิตในร่มกาสาวพัสตร์
    เมื่อหลวงปู่ชามีอายุได้ 13 ปี ท่านได้บรรพชาที่วัดบ้านก่อนอก ร่วมกับเพื่อนๆ หลายคน แต่ไม่นานท่านก็ลาสิกขาออกมา เพื่อช่วยครอบครัว อย่างไรก็ตาม ความเบื่อหน่ายในชีวิตฆราวาส ได้ผลักดันให้ท่าน หันกลับมาสู่เส้นทางธรรมอีกครั้ง

    เมื่ออายุครบ 21 ปี หลังทราบว่า ไม่ติดทหารเกณฑ์ หลวงปู่ชาจึงได้อุปสมบท เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2482 ณ วัดก่อใน ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ โดยมี พระครูอินทรสารคุณ เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านได้รับฉายาว่า "สุภัทโท" ซึ่งแปลว่า "ผู้เจริญด้วยดี"

    ธุดงค์พบทางธรรม
    หลวงปู่ชาได้ออกเดินธุดงค์ เพื่อแสวงหาครูบาอาจารย์ ผู้มีความรู้ทั้งด้านปริยัติ และปฏิบัติ โดยเดินทางไกล ผ่านหลายจังหวัดของประเทศไทย รวมถึงการไปศึกษาธรรมกับ "หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต" ซึ่งเป็นครูบาอาจารย์ สายวิปัสสนากรรมฐาน ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคนั้น

    หลวงปู่ชาเล่าถึงความประทับใจ เมื่อได้พบหลวงปู่มั่นว่า การได้ฟังธรรมะจากท่าน ทำให้จิตใจของหลวงปู่ชา สงบลึกในทันที และทำให้เกิดความมั่นใจ ในแนวทางการปฏิบัติธรรม

    ตั้งวัดหนองป่าพง
    หลังจากธุดงค์ ยาวนานกว่า 8 ปี ในที่สุดหลวงปู่ชา ได้กลับมาที่บ้านเกิด และก่อตั้งวัดหนองป่าพง ขึ้นในปี พ.ศ. 2497 โดยพื้นที่ดั้งเดิมของวัด เป็นป่าอันเงียบสงบ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม หลวงปู่ชาใช้วิถีชีวิตเรียบง่าย และเน้นการปฏิบัติ เพื่อสร้างแบบอย่างให้ศิษย์เห็น

    วัดหนองป่าพง เริ่มเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ไม่เพียงแต่ในหมู่คนไทย แต่ยังรวมถึงชาวต่างชาติ ที่เดินทางมาศึกษาธรรม กับหลวงปู่ชา

    เผยแผ่พุทธศาสนาไปต่างประเทศ
    หนึ่งในสิ่งที่น่าทึ่งที่สุด เกี่ยวกับหลวงปู่ชา คือความสามารถ ในการถ่ายทอดธรรมะ ให้แก่ชาวต่างชาติ แม้ว่าท่าน จะไม่ได้พูดภาษาอังกฤษก็ตาม ท่านสอนด้วยการกระทำเป็นหลัก โดยมักกล่าวว่า

    “น้ำร้อนก็มี น้ำฮ้อนก็มี ฮอตวอเตอร์ก็มี มันเป็นแต่ชื่อหรอก ถ้าเอามือจุ่มลงไป ก็ไม่ต้องใช้ภาษาหรอก คนชาติไหนก็รู้ได้เอง”

    วัดหนองป่าพง และวัดสาขาของหลวงปู่ชา กลายเป็นจุดหมายของชาวต่างชาติ ที่สนใจปฏิบัติธรรม ปัจจุบันวัดหนองป่าพง มีวัดสาขาทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศรวมกว่า 141 แห่ง โดยแบ่งเป็น 133 สาขา ในประเทศไทย และ 8 สาขา ในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย และสวิตเซอร์แลนด์

    คำสอนเรียบง่ายลึกซึ้ง
    คำสอนของหลวงปู่ชา เน้นไปที่การปฏิบัติจริง ในชีวิตประจำวัน ท่านสอนให้ศิษย์รักษาศีล เจริญสมาธิ และใช้ปัญญาแก้ไขปัญหาในชีวิต โดยหลวงปู่ชาเคยกล่าวไว้ว่า

    “พึงทำตน ให้ตั้งอยู่ในคุณธรรม อันสมควรเสียก่อน จึงค่อยสอนผู้อื่นทีหลัง จึงจักไม่เป็นบัณฑิตทราม”

    ท่านยังเน้นย้ำว่า การปฏิบัติธรรมจะสำเร็จได้ ต้องเริ่มจากการรักษาศีล เพราะศีลจะนำไปสู่สมาธิ และสมาธิจะนำไปสู่ปัญญา ซึ่งทั้งสามส่วนนี้ ต้องเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน

    บั้นปลายชีวิต
    ในปี พ.ศ. 2520 หลวงปู่ชาเริ่มอาพาธ และแม้ว่าท่าน จะมีอาการทรุดหนักลงเรื่อยๆ แต่ท่านก็ยังคงปฏิบัติหน้าที่ และเผยแผ่ธรรมะจนถึงที่สุด

    หลวงปู่ชาได้ละสังขารเมื่อ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2535 เวลา 05.20 น. ณ วัดหนองป่าพง โดยทิ้งมรดกทางธรรม และวัตรปฏิบัติอันเรียบง่าย ให้แก่ศิษยานุศิษย์ทั่วโลก

    33 ปี หลังการละสังขารของหลวงปู่ชา คำสอนและวัตรปฏิบัติของท่าน ยังคงมีชีวิตอยู่ในใจ ของศิษยานุศิษย์ และผู้ปฏิบัติธรรมทั่วโลก วัดหนองป่าพง ยังคงเป็นศูนย์กลาง ของพระพุทธศาสนา และแหล่งเผยแผ่ธรรมะ ที่ไม่เพียงแค่ในประเทศไทย แต่ขยายไปสู่ชาวต่างชาติ

    หลวงปู่ชาเป็นตัวอย่าง ของพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ผู้ใช้ชีวิตเรียบง่าย และยึดมั่นในคำสอน ของพระพุทธเจ้า อย่างแท้จริง

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 161017 ม.ค. 2568

    #หลวงปู่ชา #วัดหนองป่าพง #ธรรมะ #พระป่ากรรมฐาน #ปฏิบัติธรรม #ศาสนาพุทธ #คำสอนหลวงปู่ชา #พระพุทธศาสนา #ธรรมะอินเตอร์ #วัดสาขาต่างประเทศ
    33 ปี สิ้น “หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง” พระเถราจารย์แห่งอุบลราชธานี ผู้สร้างวัดสาขาต่างประเทศมากมาย ย้อนไปเมื่อ 33 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2535 เป็นวันที่พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศ และทั่วโลกต้องเศร้าโศก เมื่อหลวงปู่ชา สุภัทโท เจ้าอาวาสวัดหนองป่าพง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี พระเถราจารย์ผู้เป็นที่เคารพรัก ทั้งในไทยและต่างประเทศ ได้ละสังขารอย่างสงบ หลังจากอาพาธ มายาวนาน หลวงปู่ชาไม่เพียงเป็น ผู้นำทางจิตวิญญาณ แต่ยังเป็นบุคคลสำคัญ ที่ช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา ไปสู่ชาวต่างชาติ ผ่านการปฏิบัติธรรม และการสร้างวัดสาขามากมาย ทั้งในและนอกประเทศไทย แม้ว่าท่านจะพูดได้เพียงภาษาไทย แต่ด้วยคำสอน และวัตรปฏิบัติอันเรียบง่าย กลับสร้างแรงศรัทธา ให้แก่คนทั่วโลก วัยเยาว์หลวงปู่ หลวงปู่ชา สุภัทโท เกิดเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 ตรงกับวันแรม 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ตามปฏิทินจันทรคติ ที่บ้านก่อ (เดิมชื่อบ้านก้นถ้วย) อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดามารดาของท่านคือนายมา และนางพิมพ์ ช่วงโชติ หลวงปู่ชาเป็นบุตรคนที่ 5 จากพี่น้องทั้งหมด 10 คน เริ่มต้นชีวิตในร่มกาสาวพัสตร์ เมื่อหลวงปู่ชามีอายุได้ 13 ปี ท่านได้บรรพชาที่วัดบ้านก่อนอก ร่วมกับเพื่อนๆ หลายคน แต่ไม่นานท่านก็ลาสิกขาออกมา เพื่อช่วยครอบครัว อย่างไรก็ตาม ความเบื่อหน่ายในชีวิตฆราวาส ได้ผลักดันให้ท่าน หันกลับมาสู่เส้นทางธรรมอีกครั้ง เมื่ออายุครบ 21 ปี หลังทราบว่า ไม่ติดทหารเกณฑ์ หลวงปู่ชาจึงได้อุปสมบท เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2482 ณ วัดก่อใน ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ โดยมี พระครูอินทรสารคุณ เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านได้รับฉายาว่า "สุภัทโท" ซึ่งแปลว่า "ผู้เจริญด้วยดี" ธุดงค์พบทางธรรม หลวงปู่ชาได้ออกเดินธุดงค์ เพื่อแสวงหาครูบาอาจารย์ ผู้มีความรู้ทั้งด้านปริยัติ และปฏิบัติ โดยเดินทางไกล ผ่านหลายจังหวัดของประเทศไทย รวมถึงการไปศึกษาธรรมกับ "หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต" ซึ่งเป็นครูบาอาจารย์ สายวิปัสสนากรรมฐาน ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคนั้น หลวงปู่ชาเล่าถึงความประทับใจ เมื่อได้พบหลวงปู่มั่นว่า การได้ฟังธรรมะจากท่าน ทำให้จิตใจของหลวงปู่ชา สงบลึกในทันที และทำให้เกิดความมั่นใจ ในแนวทางการปฏิบัติธรรม ตั้งวัดหนองป่าพง หลังจากธุดงค์ ยาวนานกว่า 8 ปี ในที่สุดหลวงปู่ชา ได้กลับมาที่บ้านเกิด และก่อตั้งวัดหนองป่าพง ขึ้นในปี พ.ศ. 2497 โดยพื้นที่ดั้งเดิมของวัด เป็นป่าอันเงียบสงบ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม หลวงปู่ชาใช้วิถีชีวิตเรียบง่าย และเน้นการปฏิบัติ เพื่อสร้างแบบอย่างให้ศิษย์เห็น วัดหนองป่าพง เริ่มเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ไม่เพียงแต่ในหมู่คนไทย แต่ยังรวมถึงชาวต่างชาติ ที่เดินทางมาศึกษาธรรม กับหลวงปู่ชา เผยแผ่พุทธศาสนาไปต่างประเทศ หนึ่งในสิ่งที่น่าทึ่งที่สุด เกี่ยวกับหลวงปู่ชา คือความสามารถ ในการถ่ายทอดธรรมะ ให้แก่ชาวต่างชาติ แม้ว่าท่าน จะไม่ได้พูดภาษาอังกฤษก็ตาม ท่านสอนด้วยการกระทำเป็นหลัก โดยมักกล่าวว่า “น้ำร้อนก็มี น้ำฮ้อนก็มี ฮอตวอเตอร์ก็มี มันเป็นแต่ชื่อหรอก ถ้าเอามือจุ่มลงไป ก็ไม่ต้องใช้ภาษาหรอก คนชาติไหนก็รู้ได้เอง” วัดหนองป่าพง และวัดสาขาของหลวงปู่ชา กลายเป็นจุดหมายของชาวต่างชาติ ที่สนใจปฏิบัติธรรม ปัจจุบันวัดหนองป่าพง มีวัดสาขาทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศรวมกว่า 141 แห่ง โดยแบ่งเป็น 133 สาขา ในประเทศไทย และ 8 สาขา ในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย และสวิตเซอร์แลนด์ คำสอนเรียบง่ายลึกซึ้ง คำสอนของหลวงปู่ชา เน้นไปที่การปฏิบัติจริง ในชีวิตประจำวัน ท่านสอนให้ศิษย์รักษาศีล เจริญสมาธิ และใช้ปัญญาแก้ไขปัญหาในชีวิต โดยหลวงปู่ชาเคยกล่าวไว้ว่า “พึงทำตน ให้ตั้งอยู่ในคุณธรรม อันสมควรเสียก่อน จึงค่อยสอนผู้อื่นทีหลัง จึงจักไม่เป็นบัณฑิตทราม” ท่านยังเน้นย้ำว่า การปฏิบัติธรรมจะสำเร็จได้ ต้องเริ่มจากการรักษาศีล เพราะศีลจะนำไปสู่สมาธิ และสมาธิจะนำไปสู่ปัญญา ซึ่งทั้งสามส่วนนี้ ต้องเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน บั้นปลายชีวิต ในปี พ.ศ. 2520 หลวงปู่ชาเริ่มอาพาธ และแม้ว่าท่าน จะมีอาการทรุดหนักลงเรื่อยๆ แต่ท่านก็ยังคงปฏิบัติหน้าที่ และเผยแผ่ธรรมะจนถึงที่สุด หลวงปู่ชาได้ละสังขารเมื่อ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2535 เวลา 05.20 น. ณ วัดหนองป่าพง โดยทิ้งมรดกทางธรรม และวัตรปฏิบัติอันเรียบง่าย ให้แก่ศิษยานุศิษย์ทั่วโลก 33 ปี หลังการละสังขารของหลวงปู่ชา คำสอนและวัตรปฏิบัติของท่าน ยังคงมีชีวิตอยู่ในใจ ของศิษยานุศิษย์ และผู้ปฏิบัติธรรมทั่วโลก วัดหนองป่าพง ยังคงเป็นศูนย์กลาง ของพระพุทธศาสนา และแหล่งเผยแผ่ธรรมะ ที่ไม่เพียงแค่ในประเทศไทย แต่ขยายไปสู่ชาวต่างชาติ หลวงปู่ชาเป็นตัวอย่าง ของพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ผู้ใช้ชีวิตเรียบง่าย และยึดมั่นในคำสอน ของพระพุทธเจ้า อย่างแท้จริง ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 161017 ม.ค. 2568 #หลวงปู่ชา #วัดหนองป่าพง #ธรรมะ #พระป่ากรรมฐาน #ปฏิบัติธรรม #ศาสนาพุทธ #คำสอนหลวงปู่ชา #พระพุทธศาสนา #ธรรมะอินเตอร์ #วัดสาขาต่างประเทศ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 157 มุมมอง 0 รีวิว
  • การตอบแทนบุญคุณพระพุทธเจ้า

    พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า การตอบแทนบุญคุณของพระองค์ที่สมบูรณ์ที่สุดคือการ ปฏิบัติธรรมเป็นบูชา เพราะพระองค์ทรงมุ่งหมายให้สัตว์โลกหลุดพ้นจากความทุกข์ และการปฏิบัติธรรมคือหนทางที่นำไปสู่จุดมุ่งหมายนี้โดยตรง


    ---

    วิธีปฏิบัติธรรมเป็นบูชา

    1. เริ่มต้นด้วยการทำจิตดีๆ ให้เกิดขึ้น

    ด้วยทาน: เปิดใจด้วยการแบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อื่น

    ด้วยศีล: รักษาความประพฤติของตนให้สะอาดบริสุทธิ์

    ด้วยสมาธิและสติ: ฝึกเจริญสติ รู้กายรู้ใจจนกระจ่างในความไม่เที่ยง



    2. การถวายจิตดีๆ เป็นบูชา

    หากสามารถทำจิตให้สงบและเบาสบายได้แม้เพียงชั่วครู่ ก็น้อมนำจิตดีๆ นั้นถวายแทนการบูชา

    การปฏิบัติที่นำไปสู่ความหลุดพ้นจากความทุกข์ของตัวเรา คือสิ่งที่ทำให้พระพุทธเจ้าทรงพอพระทัยที่สุด





    ---

    ทางเลือกสำหรับผู้เริ่มต้น

    หากยังไม่สามารถปฏิบัติธรรมได้ลึกซึ้งนัก ก็สามารถแสดงความกตัญญูต่อพระพุทธเจ้าได้ด้วยการ:

    นำรูปหรือพระพุทธรูปมาบูชา เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจในการปฏิบัติดี

    ทำบุญ ถวายทาน หรือร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา

    ศึกษาและเผยแผ่คำสอนของพระองค์



    ---

    การตอบแทนคุณครูบาอาจารย์

    ปฏิบัติตามคำสอน: งดเว้นจากสิ่งไม่ดีและลงมือปฏิบัติธรรม

    เผยแผ่คำสอน: ช่วยสืบทอดคำสอนของท่านให้กว้างไกล

    เคารพและระลึกถึงท่าน: ด้วยการประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี



    ---

    สรุป

    การตอบแทนบุญคุณพระพุทธเจ้าและครูบาอาจารย์เริ่มต้นได้จากใจจริง ไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ ขอเพียงมีความตั้งใจจริง และลงมือทำด้วยความบริสุทธิ์ใจ ทุกการกระทำที่ดีงาม ล้วนถือเป็นการตอบแทนคุณอันสมบูรณ์แล้ว.

    การตอบแทนบุญคุณพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า การตอบแทนบุญคุณของพระองค์ที่สมบูรณ์ที่สุดคือการ ปฏิบัติธรรมเป็นบูชา เพราะพระองค์ทรงมุ่งหมายให้สัตว์โลกหลุดพ้นจากความทุกข์ และการปฏิบัติธรรมคือหนทางที่นำไปสู่จุดมุ่งหมายนี้โดยตรง --- วิธีปฏิบัติธรรมเป็นบูชา 1. เริ่มต้นด้วยการทำจิตดีๆ ให้เกิดขึ้น ด้วยทาน: เปิดใจด้วยการแบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อื่น ด้วยศีล: รักษาความประพฤติของตนให้สะอาดบริสุทธิ์ ด้วยสมาธิและสติ: ฝึกเจริญสติ รู้กายรู้ใจจนกระจ่างในความไม่เที่ยง 2. การถวายจิตดีๆ เป็นบูชา หากสามารถทำจิตให้สงบและเบาสบายได้แม้เพียงชั่วครู่ ก็น้อมนำจิตดีๆ นั้นถวายแทนการบูชา การปฏิบัติที่นำไปสู่ความหลุดพ้นจากความทุกข์ของตัวเรา คือสิ่งที่ทำให้พระพุทธเจ้าทรงพอพระทัยที่สุด --- ทางเลือกสำหรับผู้เริ่มต้น หากยังไม่สามารถปฏิบัติธรรมได้ลึกซึ้งนัก ก็สามารถแสดงความกตัญญูต่อพระพุทธเจ้าได้ด้วยการ: นำรูปหรือพระพุทธรูปมาบูชา เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจในการปฏิบัติดี ทำบุญ ถวายทาน หรือร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ศึกษาและเผยแผ่คำสอนของพระองค์ --- การตอบแทนคุณครูบาอาจารย์ ปฏิบัติตามคำสอน: งดเว้นจากสิ่งไม่ดีและลงมือปฏิบัติธรรม เผยแผ่คำสอน: ช่วยสืบทอดคำสอนของท่านให้กว้างไกล เคารพและระลึกถึงท่าน: ด้วยการประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี --- สรุป การตอบแทนบุญคุณพระพุทธเจ้าและครูบาอาจารย์เริ่มต้นได้จากใจจริง ไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ ขอเพียงมีความตั้งใจจริง และลงมือทำด้วยความบริสุทธิ์ใจ ทุกการกระทำที่ดีงาม ล้วนถือเป็นการตอบแทนคุณอันสมบูรณ์แล้ว.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 123 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันนี้พระธรรมเทศนาถวายพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระราชินี

    พระราชปณิธานขององค์สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนา แต่มาสมัยนี้ ลูกหลานพระยามาร คิดเห็นผิดด้วยโลภะ โมหะ จะนำอบายมุขมานำเสนอแก่มวลมนุษย์ชาติ ไม่ว่าคนไทยและชาวต่างชาติ
    ข้าพระพุทธเจ้า ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้องรักษาบ้านเมือง ได้โปรดดลจิตดลใจให้ผู้มีหน้าที่ กรุณาโปรดทำหน้าที่ หาช่องทำหน้าที่ ให้พญามาร จอมมาร พ่ายแพ้ ต่อธรรม ต่อสัจจะ ต่อกรรม ให้ทำชั่วไม่สำเร็จ อย่าได้เดือดร้อนพลเมืองของชาติ ที่มีเหลือไม่มากด้วยเทริญ สาธุ สาธุ สาธุ
    วันนี้พระธรรมเทศนาถวายพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระราชินี พระราชปณิธานขององค์สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนา แต่มาสมัยนี้ ลูกหลานพระยามาร คิดเห็นผิดด้วยโลภะ โมหะ จะนำอบายมุขมานำเสนอแก่มวลมนุษย์ชาติ ไม่ว่าคนไทยและชาวต่างชาติ ข้าพระพุทธเจ้า ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้องรักษาบ้านเมือง ได้โปรดดลจิตดลใจให้ผู้มีหน้าที่ กรุณาโปรดทำหน้าที่ หาช่องทำหน้าที่ ให้พญามาร จอมมาร พ่ายแพ้ ต่อธรรม ต่อสัจจะ ต่อกรรม ให้ทำชั่วไม่สำเร็จ อย่าได้เดือดร้อนพลเมืองของชาติ ที่มีเหลือไม่มากด้วยเทริญ สาธุ สาธุ สาธุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 148 มุมมอง 0 รีวิว
  • วิตกทุกข์ร้อนหลายมันยิ่งทุกข์ ..เรามาพึ่งพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ากัน ปฏิบัติกันบ้าง
    วิตกทุกข์ร้อนหลายมันยิ่งทุกข์ ..เรามาพึ่งพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ากัน ปฏิบัติกันบ้าง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • สำนึกถึงพระมหากรุณา​ธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแก่​ ข้าพระพุทธเจ้า​นา​ยสุร​เดช​โล่ห์​เพช​รัตน์​ ในพิธีฉลองพระพุทธมงคลศรีไทยพระพุทธรูปหยกเขียวปางสมาธิที่ใหญ่ที่สุดในโลกปีพ.ศ.2542วัดธรรมมงคล สุขุมวิท101 กรุงเทพ​มหานคร​
    สำนึกถึงพระมหากรุณา​ธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแก่​ ข้าพระพุทธเจ้า​นา​ยสุร​เดช​โล่ห์​เพช​รัตน์​ ในพิธีฉลองพระพุทธมงคลศรีไทยพระพุทธรูปหยกเขียวปางสมาธิที่ใหญ่ที่สุดในโลกปีพ.ศ.2542วัดธรรมมงคล สุขุมวิท101 กรุงเทพ​มหานคร​
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 0 รีวิว
  • เวทมนตร์คาถาอาคม มันเป็นของร้อน ทำผิดเป็นบ้าเป็นปอบ เป็นสาง
    แต่มนต์ของพระพุทธเจ้าเป็นของร่มเย็น เป็นบุญกุศล
    เวทมนตร์คาถาอาคม มันเป็นของร้อน ทำผิดเป็นบ้าเป็นปอบ เป็นสาง แต่มนต์ของพระพุทธเจ้าเป็นของร่มเย็น เป็นบุญกุศล
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 76 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระพุทธเจ้าไม่เคยใช้วิธีคัดกรองผู้คนที่จะฟังธรรมของพระองค์ด้วยการด่า เพื่อผลักคนที่จิตใจอ่อนแอไม่ให้มาฟังธรรม และคัดเลือกเฉพาะคนที่ทนการด่าได้ให้เข้ามาฟังธรรม พระพุทธเจ้ามีพระกรุณาแก่ทุกคนเสมอกันในการให้ธรรมทาน แต่จะเลือกโปรด คือ แสดงธรรมเฉพาะบุคคลที่ทรงทราบด้วยข่ายพระญานว่าบุคคลนี้มีอัธยาศัยบรรลุธรรม จึงจะโปรดเฉพาะส่วนพระองค์

    พระพุทธเจ้าแสดงธรรมกระทบกิเลส เพราะเหตุนี้คนที่ฟังธรรมของพระพุทธเจ้าจึงซาบซึ้งเพราะธรรมของพระพุทธเจ้ากระทบกิเลสของทุกคน แต่ปุถุชนอย่างเราๆ ไม่มีความสามารถ ไม่มีปฏิสัมภิทาในการแสดงพยัญชนะและอรรถได้ลึกซึ่งเท่าพระองค์ ขนาดผู้ทรงพระไตรปิฎกยังทำไม่ได้ จะกล่าวไปใยถึงคนที่รู้พยัญชนะน้อย รู้อรรถน้อยอย่างเราๆ ท่านๆ ความตั้งใจกระทบกิเลสคนอื่นมันจึงกลายเป็นความยกตนด้วยมานะกระทบคนอื่นด้วยอัตตา พระพุทธเจ้าจึงตรัสกับพระอานนท์ว่า

    "อานนท์ การแสดงธรรมแก่ผู้อื่นมิใช่ทำได้ง่าย

    ภิกษุเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผู้อื่น พึงตั้งธรรม ๕ ประการไว้ในตนแล้วจึงแสดงธรรมแก่ผู้อื่น

    ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ

    ภิกษุพึงตั้งใจว่า
    ๑. เราจักแสดงธรรมไปตามลำดับ (แสดงโดยอนุบุพิกถา)

    ๒. เราจักแสดงอ้างเหตุ (แสดงเหตุในเนื้อธรรมนั้นๆ)

    ๓. เราจักแสดงธรรมอาศัยความเอ็นดู (ตั้งจิตไว้ในเมตตาแล้วจึงแสดงธรรม)

    ๔. เราจักเป็นผู้ไม่เพ่งอามิส แสดงธรรม (ไม่หวังผลประโยชน์จากการแสดงธรรม เพราะถ้าหวังผลประโยชน์คอนเท้นท์ต่างๆ จะตามมา การแสดงธรรมจะไม่ตรงไปตรงมา)

    ๕. เราจักไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่น (ไม่แสดงธรรมโดยยกตนว่าดี ข่มคนอื่นว่าไม่ดี)"

    พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต [๔. จตุตถปัณณาสก์] อุทายีสูตร

    ปฏิสัมภิทา ได้แก่

    ๑.อัตถปฏิสัมภิทาความรู้แตกฉานในอรรถ คือผล

    ๓. ธัมมปฏิสัมภิทา ความรู้แตกฉานในธรรมคือเหตุ

    ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ความรู้แตกฉานในทั้งอรรถทั้งธรรม คือทั้งเหตุทั้งผล รวมทั้งแตกฉานในภาษา

    ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาในการไขปัญหา ในการกล่าวถ้อยคำ

    วาจาที่จริง มีประโยชน์ คนชอบ รู้กาลควรกล่าววาจานั้น
    วาจาที่จริง มีประโยชน์ คนไม่ชอบ รู้กาลควรกล่าววาจานั้น นอกจากนี้ไม่กล่าว (รู้กาละเทศะในการกล่าว)

    ขอบคุณภาพ AI จากเพื่อนสมาชิกค่ะ
    พระพุทธเจ้าไม่เคยใช้วิธีคัดกรองผู้คนที่จะฟังธรรมของพระองค์ด้วยการด่า เพื่อผลักคนที่จิตใจอ่อนแอไม่ให้มาฟังธรรม และคัดเลือกเฉพาะคนที่ทนการด่าได้ให้เข้ามาฟังธรรม พระพุทธเจ้ามีพระกรุณาแก่ทุกคนเสมอกันในการให้ธรรมทาน แต่จะเลือกโปรด คือ แสดงธรรมเฉพาะบุคคลที่ทรงทราบด้วยข่ายพระญานว่าบุคคลนี้มีอัธยาศัยบรรลุธรรม จึงจะโปรดเฉพาะส่วนพระองค์ พระพุทธเจ้าแสดงธรรมกระทบกิเลส เพราะเหตุนี้คนที่ฟังธรรมของพระพุทธเจ้าจึงซาบซึ้งเพราะธรรมของพระพุทธเจ้ากระทบกิเลสของทุกคน แต่ปุถุชนอย่างเราๆ ไม่มีความสามารถ ไม่มีปฏิสัมภิทาในการแสดงพยัญชนะและอรรถได้ลึกซึ่งเท่าพระองค์ ขนาดผู้ทรงพระไตรปิฎกยังทำไม่ได้ จะกล่าวไปใยถึงคนที่รู้พยัญชนะน้อย รู้อรรถน้อยอย่างเราๆ ท่านๆ ความตั้งใจกระทบกิเลสคนอื่นมันจึงกลายเป็นความยกตนด้วยมานะกระทบคนอื่นด้วยอัตตา พระพุทธเจ้าจึงตรัสกับพระอานนท์ว่า "อานนท์ การแสดงธรรมแก่ผู้อื่นมิใช่ทำได้ง่าย ภิกษุเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผู้อื่น พึงตั้งธรรม ๕ ประการไว้ในตนแล้วจึงแสดงธรรมแก่ผู้อื่น ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ ภิกษุพึงตั้งใจว่า ๑. เราจักแสดงธรรมไปตามลำดับ (แสดงโดยอนุบุพิกถา) ๒. เราจักแสดงอ้างเหตุ (แสดงเหตุในเนื้อธรรมนั้นๆ) ๓. เราจักแสดงธรรมอาศัยความเอ็นดู (ตั้งจิตไว้ในเมตตาแล้วจึงแสดงธรรม) ๔. เราจักเป็นผู้ไม่เพ่งอามิส แสดงธรรม (ไม่หวังผลประโยชน์จากการแสดงธรรม เพราะถ้าหวังผลประโยชน์คอนเท้นท์ต่างๆ จะตามมา การแสดงธรรมจะไม่ตรงไปตรงมา) ๕. เราจักไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่น (ไม่แสดงธรรมโดยยกตนว่าดี ข่มคนอื่นว่าไม่ดี)" พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต [๔. จตุตถปัณณาสก์] อุทายีสูตร ปฏิสัมภิทา ได้แก่ ๑.อัตถปฏิสัมภิทาความรู้แตกฉานในอรรถ คือผล ๓. ธัมมปฏิสัมภิทา ความรู้แตกฉานในธรรมคือเหตุ ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ความรู้แตกฉานในทั้งอรรถทั้งธรรม คือทั้งเหตุทั้งผล รวมทั้งแตกฉานในภาษา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาในการไขปัญหา ในการกล่าวถ้อยคำ วาจาที่จริง มีประโยชน์ คนชอบ รู้กาลควรกล่าววาจานั้น วาจาที่จริง มีประโยชน์ คนไม่ชอบ รู้กาลควรกล่าววาจานั้น นอกจากนี้ไม่กล่าว (รู้กาละเทศะในการกล่าว) ขอบคุณภาพ AI จากเพื่อนสมาชิกค่ะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 113 มุมมอง 0 รีวิว
  • "อาจารย์เบียร์ คนตื่นธรรม" เปิดโต๊ะแถลง แจงคลิปร้อน ยันที่พูดว่าตนเองมีแบ็กใหญ่หมายถึงพระพุทธเจ้า ไม่มีเจตนาพาดพิงสถาบัน แต่มีคนไปตัดบางคำพูดออก ส่วนที่พูดถึงมหาเถรสมาคม เป็นการวิจารณ์พระบางรูป ไม่คิดดูหมิ่นพระเถระจะพยายามเข้าไปกราบ ย้ำตนเองได้นอบน้อมต่อพระสังฆราชมาตลอด แต่มีคนพยายามปั่นให้เป็นคู่ขัดแย้ง ด้านทายาท “หมอเส็ง” เตรียมฟ้องกลับคนตัดต่อคลิปใส่ร้ายอาจารย์เบียร์

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000003270

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    "อาจารย์เบียร์ คนตื่นธรรม" เปิดโต๊ะแถลง แจงคลิปร้อน ยันที่พูดว่าตนเองมีแบ็กใหญ่หมายถึงพระพุทธเจ้า ไม่มีเจตนาพาดพิงสถาบัน แต่มีคนไปตัดบางคำพูดออก ส่วนที่พูดถึงมหาเถรสมาคม เป็นการวิจารณ์พระบางรูป ไม่คิดดูหมิ่นพระเถระจะพยายามเข้าไปกราบ ย้ำตนเองได้นอบน้อมต่อพระสังฆราชมาตลอด แต่มีคนพยายามปั่นให้เป็นคู่ขัดแย้ง ด้านทายาท “หมอเส็ง” เตรียมฟ้องกลับคนตัดต่อคลิปใส่ร้ายอาจารย์เบียร์ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000003270 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    Haha
    Yay
    18
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1205 มุมมอง 0 รีวิว
  • การหลุดพ้นจากบ่วงกรรมในครอบครัว

    1. รู้คุณท่าน (กตัญญู)

    เริ่มต้นจากการพิจารณาความจริง:

    พ่อแม่ให้ชีวิต ให้ร่างกายนี้แก่เรา ซึ่งเป็นพื้นฐานของโอกาสทั้งหมดในชีวิต

    หากขาดบุญคุณนี้ คุณจะไม่มีโอกาสรับรู้หรือสัมผัสความสว่างทางธรรม

    ให้อภัยในความผิดพลาดของพ่อแม่:

    เห็นว่าท่านก็เป็นมนุษย์ธรรมดาที่อาจผิดพลาดได้

    เลิกผูกพยาบาท เพราะการให้อภัยคือการปลดล็อกใจของตัวเอง

    ---

    2. สนองคุณท่าน (กตเวที)

    ทำให้พ่อแม่มีความสุข:

    ทั้งด้วยคำพูด การดูแลเอาใจใส่ และการกระทำที่แสดงถึงความรักและเคารพ

    นำพาท่านสู่ความดี:

    สนับสนุนให้พ่อแม่มีศรัทธาในสิ่งที่ถูกต้อง เช่น พระพุทธเจ้า กรรมวิบาก

    ช่วยให้พวกท่านรักษาศีล และละเว้นจากการกระทำที่ผิด

    ทำให้พ่อแม่พ้นจากความมืดบอดทางจิตใจ ไปสู่ปัญญาและความสว่าง

    ---

    3. วิธีปฏิบัติในทางธรรม

    เริ่มจากสิ่งเล็กๆ:

    ช่วยเหลือในชีวิตประจำวัน

    แผ่เมตตาให้พ่อแม่ มีความปรารถนาดีต่อพวกท่านเสมอ

    สื่อสารผ่านธรรมะ:

    วางหนังสือธรรมะ หรือสื่อที่พวกท่านสนใจ เพื่อเปิดโอกาสให้พ่อแม่เข้าถึงธรรมะ

    ใช้คำพูดที่อ่อนโยนและสร้างแรงบันดาลใจ

    ---

    4. ผลลัพธ์ของการปฏิบัติ

    เกิดความเบาสบายในจิตใจ:

    เมื่อรู้คุณและตอบแทนคุณพ่อแม่อย่างเต็มที่ จะรู้สึกเหมือนปลดบ่วงบางอย่างออกไป

    ปลูกแนวโน้มแห่งความสว่างในชีวิต:

    การทำกรรมดีต่อพ่อแม่ คือการสร้างเหตุให้ชีวิตพบเจอสิ่งดีๆ

    พ้นจากแรงดึงดูดของกรรมเดิม:

    เมื่อเราทำดีต่อพ่อแม่อย่างจริงใจ กรรมที่เป็นบ่วงรัดกับพวกท่านจะค่อยๆ คลายลง

    ---

    สรุป

    การหลุดพ้นจากแรงกรรมในครอบครัว ไม่ได้หมายความว่าต้องเปลี่ยนแปลงพ่อแม่โดยทันที แต่คือการเปลี่ยนแปลงตัวเองด้วยการรู้คุณ และตอบแทนคุณอย่างเต็มที่ การให้อภัยและการพยายามนำพาท่านสู่สิ่งที่ดี คือหนทางที่ช่วยให้เราหลุดพ้นจากบ่วงกรรมได้ทั้งในชาตินี้และภายภาคหน้า.
    การหลุดพ้นจากบ่วงกรรมในครอบครัว 1. รู้คุณท่าน (กตัญญู) เริ่มต้นจากการพิจารณาความจริง: พ่อแม่ให้ชีวิต ให้ร่างกายนี้แก่เรา ซึ่งเป็นพื้นฐานของโอกาสทั้งหมดในชีวิต หากขาดบุญคุณนี้ คุณจะไม่มีโอกาสรับรู้หรือสัมผัสความสว่างทางธรรม ให้อภัยในความผิดพลาดของพ่อแม่: เห็นว่าท่านก็เป็นมนุษย์ธรรมดาที่อาจผิดพลาดได้ เลิกผูกพยาบาท เพราะการให้อภัยคือการปลดล็อกใจของตัวเอง --- 2. สนองคุณท่าน (กตเวที) ทำให้พ่อแม่มีความสุข: ทั้งด้วยคำพูด การดูแลเอาใจใส่ และการกระทำที่แสดงถึงความรักและเคารพ นำพาท่านสู่ความดี: สนับสนุนให้พ่อแม่มีศรัทธาในสิ่งที่ถูกต้อง เช่น พระพุทธเจ้า กรรมวิบาก ช่วยให้พวกท่านรักษาศีล และละเว้นจากการกระทำที่ผิด ทำให้พ่อแม่พ้นจากความมืดบอดทางจิตใจ ไปสู่ปัญญาและความสว่าง --- 3. วิธีปฏิบัติในทางธรรม เริ่มจากสิ่งเล็กๆ: ช่วยเหลือในชีวิตประจำวัน แผ่เมตตาให้พ่อแม่ มีความปรารถนาดีต่อพวกท่านเสมอ สื่อสารผ่านธรรมะ: วางหนังสือธรรมะ หรือสื่อที่พวกท่านสนใจ เพื่อเปิดโอกาสให้พ่อแม่เข้าถึงธรรมะ ใช้คำพูดที่อ่อนโยนและสร้างแรงบันดาลใจ --- 4. ผลลัพธ์ของการปฏิบัติ เกิดความเบาสบายในจิตใจ: เมื่อรู้คุณและตอบแทนคุณพ่อแม่อย่างเต็มที่ จะรู้สึกเหมือนปลดบ่วงบางอย่างออกไป ปลูกแนวโน้มแห่งความสว่างในชีวิต: การทำกรรมดีต่อพ่อแม่ คือการสร้างเหตุให้ชีวิตพบเจอสิ่งดีๆ พ้นจากแรงดึงดูดของกรรมเดิม: เมื่อเราทำดีต่อพ่อแม่อย่างจริงใจ กรรมที่เป็นบ่วงรัดกับพวกท่านจะค่อยๆ คลายลง --- สรุป การหลุดพ้นจากแรงกรรมในครอบครัว ไม่ได้หมายความว่าต้องเปลี่ยนแปลงพ่อแม่โดยทันที แต่คือการเปลี่ยนแปลงตัวเองด้วยการรู้คุณ และตอบแทนคุณอย่างเต็มที่ การให้อภัยและการพยายามนำพาท่านสู่สิ่งที่ดี คือหนทางที่ช่วยให้เราหลุดพ้นจากบ่วงกรรมได้ทั้งในชาตินี้และภายภาคหน้า.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 207 มุมมอง 0 รีวิว
  • แปลกดีนะ..คนไทย...ละทิ้ง ความรู้ ความเชื่อ ความคิด ที่เรียนสู้สั่งสมมาชั่วชีวิต ด้วยสิ่งที่ใครบอกยังไม่รู้เลย ว่าจริงไหม? แต่เชื่อเขา...อย่างเรื่อง พุทธคุณ พระเครื่อง สิ่งเคารพแทนพระพุทธเจ้า มีการโยงไปถึง พระพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติเอาไว้..มาลองคิดตาม..ก็ยุคท่านยังไม่มีไง..รูปเคารพถูกสร้างหลังจากท่านนิพพานไปแล้วกว่า 600 ปี..ทำให้พุทธศาสนา สืบต่อและยืนยาวมาได้..ถามว่า ถ้าไม่มี..จะยังคงเหลือไหม? แม้ในถิ่นกำเนิด อินเดีย เนปาล ยังหายไปเลย...สิ่งที่อ้างถึง ไม่ว่า พุทธวจนะ พระไตรปิฏก..มีการคัดลอก สังคายนา ถ่ายทอด กี่ครั้ง..ท่านรู้ได้อย่างไรว่า สิ่งนั้นจริง...ฉะนั้น การเชื่ออะไรสักอย่าง ท่านต้องเอา หลักคิด ความรู้ของตน..เข้าไปผสมด้วย ..ไม่ใช่เชื่อ เพราะเขาบอกว่า .....แล้วละทิ้งสิ่งอื่นทั้งหมด
    แปลกดีนะ..คนไทย...ละทิ้ง ความรู้ ความเชื่อ ความคิด ที่เรียนสู้สั่งสมมาชั่วชีวิต ด้วยสิ่งที่ใครบอกยังไม่รู้เลย ว่าจริงไหม? แต่เชื่อเขา...อย่างเรื่อง พุทธคุณ พระเครื่อง สิ่งเคารพแทนพระพุทธเจ้า มีการโยงไปถึง พระพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติเอาไว้..มาลองคิดตาม..ก็ยุคท่านยังไม่มีไง..รูปเคารพถูกสร้างหลังจากท่านนิพพานไปแล้วกว่า 600 ปี..ทำให้พุทธศาสนา สืบต่อและยืนยาวมาได้..ถามว่า ถ้าไม่มี..จะยังคงเหลือไหม? แม้ในถิ่นกำเนิด อินเดีย เนปาล ยังหายไปเลย...สิ่งที่อ้างถึง ไม่ว่า พุทธวจนะ พระไตรปิฏก..มีการคัดลอก สังคายนา ถ่ายทอด กี่ครั้ง..ท่านรู้ได้อย่างไรว่า สิ่งนั้นจริง...ฉะนั้น การเชื่ออะไรสักอย่าง ท่านต้องเอา หลักคิด ความรู้ของตน..เข้าไปผสมด้วย ..ไม่ใช่เชื่อ เพราะเขาบอกว่า .....แล้วละทิ้งสิ่งอื่นทั้งหมด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 161 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๘ มกราคม ๒๕๖๘ วันคล้ายวันประสูติ
    สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา

    ทรงพระเจริญ 🙏🏼✨

    ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
    ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ประกอบวิชาชีพเกษตรกรรม บ้านไร่นาโสก อ.เมือง จ.มุกดาหาร 🇹🇭
    ๘ มกราคม ๒๕๖๘ วันคล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงพระเจริญ 🙏🏼✨ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ประกอบวิชาชีพเกษตรกรรม บ้านไร่นาโสก อ.เมือง จ.มุกดาหาร 🇹🇭
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๘ มกราคม ๒๕๖๘ วันคล้ายวันประสูติ
    สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา

    ทรงพระเจริญ 🙏🏼✨

    ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
    ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ประกอบวิชาชีพเกษตรกรรม บ้านไร่นาโสก อ.เมือง จ.มุกดาหาร 🇹🇭
    ๘ มกราคม ๒๕๖๘ วันคล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงพระเจริญ 🙏🏼✨ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ประกอบวิชาชีพเกษตรกรรม บ้านไร่นาโสก อ.เมือง จ.มุกดาหาร 🇹🇭
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 163 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๘ มกราคม ๒๕๖๘ วันคล้ายวันประสูติ
    สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา

    ทรงพระเจริญ 🙏🏼✨

    ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
    ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ประกอบวิชาชีพเกษตรกรรม บ้านไร่นาโสก อ.เมือง จ.มุกดาหาร 🇹🇭
    ๘ มกราคม ๒๕๖๘ วันคล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงพระเจริญ 🙏🏼✨ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ประกอบวิชาชีพเกษตรกรรม บ้านไร่นาโสก อ.เมือง จ.มุกดาหาร 🇹🇭
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 0 รีวิว
  • คนตื่นธรรมปากแซ่บ พระผู้ใหญ่ติง ระวังจะจบไม่สวย
    อาจารย์เบียร์คนตื่นทํา นักสอนธรรมะคนดังได้เวลาฝ่าด่านดราม่าสําคัญ เมื่ออาจารย์เบียร์ดันไปตอบคําถามเรื่องสังขารสรีระไม่เน่าเปื่อย ของเกจิอาจารย์บางรูป อาจารย์เบียร์ชี้ว่าสิ่งนี้ไม่ใช่เรื่องความศักดิ์สิทธิ์
    ขนาดหมาแมวก็มีตัวอย่างให้เห็นว่าซากไม่เน่าเปื่อยเหมือนกัน ทําเอาชาวพุทธลุกฮือด้วยความไม่พอใจทัวร์ลงอาจารย์เบียร์ทันที ต้องบอกว่าคําพูดนั้นเป็นสไตล์ปกติของอาจารย์เบียร์ เขาสร้างตัวตนขึ้นมาจากการสอนธรรมะแบบฮาร์ดคอร์พูดจาโผงผาง ดุดัน วางตําแหน่งตัวเองเหมือนเป็นคนคอยจับผิดความเชื่อทางพุทธศาสนา ที่บิดเบี้ยวไปจากเดิม
    มีคนชอบมากก็มี ไม่ชอบมากเช่นกันคราวนี้ถือว่าปากของอาจารย์เบียร์พาตัวเองให้ลําบากดันเปรียบเปรยเกจิอาจารย์กับหมาแมว จนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าอาจารย์เบียร์จาบจ้วงเกินไปแล้ว มีพระผู้ใหญ่ออกโรงมาปราบอาจารย์เบียร์โดยเจ้าคุณประสาน กล่าวว่าในฐานะที่เป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อรวย ปาสาทิโกซึ่งสรีระสังขารไม่เน่าเปื่อยรู้สึกว่าอาจารย์เบียร์ขาดสิ่งที่เรียกว่าคารวะตาหรือความเคารพ
    เจ้าคุณประสานแนะนําอาจารย์เบียร์ ว่าคนจะเป็นอาจารย์สอนธรรมะคนอื่น ต้องสอนตัวเองในหลักคารวะตา6 ให้ได้เสียก่อนตามคําสอนของพระพุทธเจ้าการพูดเอามันส์ สนุกแสวงหาคอนเทนต์โดยขาดคารวะตาอาจทําให้เป็นคนก้าวร้าวเกรี้ยวกราดแข็งกระด้าง
    ต้องบอกว่าแรงแบบไม่มีผ่อนคันเร่ง อาจารย์เบียร์เย้ยบรรดาชาวเน็ตที่มาทัวร์ลงว่ามีแต่คนแก่เป็นทัวร์ฟันปลอม ทัวร์ไม้เท้าพร้อมยืนยันคําเดิมซากที่ไม่เน่าเปื่อย ไม่ใช่เรื่องของความศักดิ์สิทธิ์แต่อย่างใด ส่วนเรื่องล้มละลายอาจารย์เบียร์ก็ไม่ปฏิเสธว่าเคยถูกฟ้องล้มละลายจริง แต่เป็นธนาคารฟ้องไม่ใช่แฟนเก่าอย่างที่มีการปล่อยข่าว
    มีการตั้งข้อสังเกตว่าการล้มละลายสงสัยจะเป็นการล้มบนฟูก มีเงินแต่ไม่ใช้หนี้อย่างไรก็ตามใช่ว่าอาจารย์เบียร์จะไม่มีพวกที่เป็นเซเลบสายพุทธ อย่างอดีตพุทธอิสระก็ชูว่าอาจารย์เบียร์นี่แหละของแทร้ หรือแพรี่ไพรวัลย์ก็เตือนอาจารย์เบียร์อย่างหวังดีว่าต้องระวังจุดสลบในเรื่องเงินบริจาค ถ้าจัดการไม่ดีล่ะก็อาจารย์เบียร์จะบานเอาได้
    ติดตามข่าวซีฟๆแบบนี้ได้ที่ #คิงส์โพธิ์ดำ
    คนตื่นธรรมปากแซ่บ พระผู้ใหญ่ติง ระวังจะจบไม่สวย อาจารย์เบียร์คนตื่นทํา นักสอนธรรมะคนดังได้เวลาฝ่าด่านดราม่าสําคัญ เมื่ออาจารย์เบียร์ดันไปตอบคําถามเรื่องสังขารสรีระไม่เน่าเปื่อย ของเกจิอาจารย์บางรูป อาจารย์เบียร์ชี้ว่าสิ่งนี้ไม่ใช่เรื่องความศักดิ์สิทธิ์ ขนาดหมาแมวก็มีตัวอย่างให้เห็นว่าซากไม่เน่าเปื่อยเหมือนกัน ทําเอาชาวพุทธลุกฮือด้วยความไม่พอใจทัวร์ลงอาจารย์เบียร์ทันที ต้องบอกว่าคําพูดนั้นเป็นสไตล์ปกติของอาจารย์เบียร์ เขาสร้างตัวตนขึ้นมาจากการสอนธรรมะแบบฮาร์ดคอร์พูดจาโผงผาง ดุดัน วางตําแหน่งตัวเองเหมือนเป็นคนคอยจับผิดความเชื่อทางพุทธศาสนา ที่บิดเบี้ยวไปจากเดิม มีคนชอบมากก็มี ไม่ชอบมากเช่นกันคราวนี้ถือว่าปากของอาจารย์เบียร์พาตัวเองให้ลําบากดันเปรียบเปรยเกจิอาจารย์กับหมาแมว จนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าอาจารย์เบียร์จาบจ้วงเกินไปแล้ว มีพระผู้ใหญ่ออกโรงมาปราบอาจารย์เบียร์โดยเจ้าคุณประสาน กล่าวว่าในฐานะที่เป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อรวย ปาสาทิโกซึ่งสรีระสังขารไม่เน่าเปื่อยรู้สึกว่าอาจารย์เบียร์ขาดสิ่งที่เรียกว่าคารวะตาหรือความเคารพ เจ้าคุณประสานแนะนําอาจารย์เบียร์ ว่าคนจะเป็นอาจารย์สอนธรรมะคนอื่น ต้องสอนตัวเองในหลักคารวะตา6 ให้ได้เสียก่อนตามคําสอนของพระพุทธเจ้าการพูดเอามันส์ สนุกแสวงหาคอนเทนต์โดยขาดคารวะตาอาจทําให้เป็นคนก้าวร้าวเกรี้ยวกราดแข็งกระด้าง ต้องบอกว่าแรงแบบไม่มีผ่อนคันเร่ง อาจารย์เบียร์เย้ยบรรดาชาวเน็ตที่มาทัวร์ลงว่ามีแต่คนแก่เป็นทัวร์ฟันปลอม ทัวร์ไม้เท้าพร้อมยืนยันคําเดิมซากที่ไม่เน่าเปื่อย ไม่ใช่เรื่องของความศักดิ์สิทธิ์แต่อย่างใด ส่วนเรื่องล้มละลายอาจารย์เบียร์ก็ไม่ปฏิเสธว่าเคยถูกฟ้องล้มละลายจริง แต่เป็นธนาคารฟ้องไม่ใช่แฟนเก่าอย่างที่มีการปล่อยข่าว มีการตั้งข้อสังเกตว่าการล้มละลายสงสัยจะเป็นการล้มบนฟูก มีเงินแต่ไม่ใช้หนี้อย่างไรก็ตามใช่ว่าอาจารย์เบียร์จะไม่มีพวกที่เป็นเซเลบสายพุทธ อย่างอดีตพุทธอิสระก็ชูว่าอาจารย์เบียร์นี่แหละของแทร้ หรือแพรี่ไพรวัลย์ก็เตือนอาจารย์เบียร์อย่างหวังดีว่าต้องระวังจุดสลบในเรื่องเงินบริจาค ถ้าจัดการไม่ดีล่ะก็อาจารย์เบียร์จะบานเอาได้ ติดตามข่าวซีฟๆแบบนี้ได้ที่ #คิงส์โพธิ์ดำ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 278 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญหวังผล จัดเป็นทานบารมีไหม?

    การทำบุญหวังผลนั้นสามารถจัดเป็น ทานบารมี ได้ แต่มีความแตกต่างใน ระดับของบารมี และ ความละเอียดของจิต ที่แฝงอยู่ในขณะทำทาน ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ดังนี้:


    ---

    1. ทำบุญหวังผลในเชิงสัมมาทิฏฐิ

    ใจเลื่อมใสว่าทานมีผล: เชื่อว่าการทำความดี การให้ทานจะนำมาซึ่งผลดีในอนาคต เช่น ความสุข ความเจริญ หรือการเกิดในภพภูมิที่ดี

    จิตประกอบด้วยศรัทธาและเจตนาในทางกุศล: แม้มีความหวังผล แต่ยังคงเป็นความหวังในลักษณะสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)

    นับเป็นทานบารมีระดับต้นถึงกลาง: บุญที่เกิดขึ้นจะช่วยสร้างบารมีในระดับที่นำพาไปสู่ความดี ความสุข และความเจริญทางจิตใจและชีวิต แต่ยังไม่ถึงความละเอียดสูงสุด



    ---

    2. ทำบุญหวังผลแบบเจาะจง (จิตคับแคบ)

    ทำบุญโดยมุ่งเน้นผลตอบแทนเฉพาะเจาะจง เช่น "ฉันทำบุญนี้เพื่อให้ได้ลาภสักการะ หรือเพื่อได้สวรรค์ชั้นนั้น ชั้นนี้"

    จิตประกอบด้วยความละโมบแบบนักลงทุน: ขาดความประณีตและความเปิดกว้างในการให้ อานิสงส์ที่ได้รับจึงถูกจำกัดอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า เช่น สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ซึ่งยังคงอยู่ในขอบเขตของความเป็นปุถุชน



    ---

    3. ทำบุญโดยไม่หวังผลตอบแทน

    จิตบริสุทธิ์ เบิกบาน ไม่เลือกหน้า: ให้ด้วยความเมตตา ปรารถนาเพียงความสุขของผู้รับ โดยไม่หวังผลตอบแทน

    เกิดปีติสุขจากการทำทันที: ไม่ต้องรอผลในอนาคต เพราะจิตได้สัมผัสถึงความสุขจากการให้ตั้งแต่ขณะนั้น

    นับเป็นทานบารมีระดับสูง: อานิสงส์ของทานเช่นนี้จะส่งผลให้เกิดความสุข ความผ่องใส ทั้งในชาตินี้และชาติต่อไป และอาจนำไปสู่การเข้าถึงความละเอียดของจิตที่สูงขึ้น เช่น สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หรือสูงกว่านั้น



    ---

    สรุป: ทำบุญหวังผลเป็นทานบารมีหรือไม่?

    หากหวังผลในเชิงสัมมาทิฏฐิและไม่ละโมบจนเกินไป การทำบุญหวังผลยังคงเป็น ทานบารมี แต่ผลที่ได้รับจะคับแคบตามความคาดหวังนั้น

    หากไม่หวังผลตอบแทน จิตใจเปิดกว้าง เบิกบาน การทำบุญนั้นจะเป็น ทานบารมีระดับสูงสุด ที่ก่อให้เกิดอานิสงส์ยิ่งใหญ่ทั้งในปัจจุบันและอนาคต.


    ทำบุญหวังผล จัดเป็นทานบารมีไหม? การทำบุญหวังผลนั้นสามารถจัดเป็น ทานบารมี ได้ แต่มีความแตกต่างใน ระดับของบารมี และ ความละเอียดของจิต ที่แฝงอยู่ในขณะทำทาน ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ดังนี้: --- 1. ทำบุญหวังผลในเชิงสัมมาทิฏฐิ ใจเลื่อมใสว่าทานมีผล: เชื่อว่าการทำความดี การให้ทานจะนำมาซึ่งผลดีในอนาคต เช่น ความสุข ความเจริญ หรือการเกิดในภพภูมิที่ดี จิตประกอบด้วยศรัทธาและเจตนาในทางกุศล: แม้มีความหวังผล แต่ยังคงเป็นความหวังในลักษณะสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) นับเป็นทานบารมีระดับต้นถึงกลาง: บุญที่เกิดขึ้นจะช่วยสร้างบารมีในระดับที่นำพาไปสู่ความดี ความสุข และความเจริญทางจิตใจและชีวิต แต่ยังไม่ถึงความละเอียดสูงสุด --- 2. ทำบุญหวังผลแบบเจาะจง (จิตคับแคบ) ทำบุญโดยมุ่งเน้นผลตอบแทนเฉพาะเจาะจง เช่น "ฉันทำบุญนี้เพื่อให้ได้ลาภสักการะ หรือเพื่อได้สวรรค์ชั้นนั้น ชั้นนี้" จิตประกอบด้วยความละโมบแบบนักลงทุน: ขาดความประณีตและความเปิดกว้างในการให้ อานิสงส์ที่ได้รับจึงถูกจำกัดอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า เช่น สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ซึ่งยังคงอยู่ในขอบเขตของความเป็นปุถุชน --- 3. ทำบุญโดยไม่หวังผลตอบแทน จิตบริสุทธิ์ เบิกบาน ไม่เลือกหน้า: ให้ด้วยความเมตตา ปรารถนาเพียงความสุขของผู้รับ โดยไม่หวังผลตอบแทน เกิดปีติสุขจากการทำทันที: ไม่ต้องรอผลในอนาคต เพราะจิตได้สัมผัสถึงความสุขจากการให้ตั้งแต่ขณะนั้น นับเป็นทานบารมีระดับสูง: อานิสงส์ของทานเช่นนี้จะส่งผลให้เกิดความสุข ความผ่องใส ทั้งในชาตินี้และชาติต่อไป และอาจนำไปสู่การเข้าถึงความละเอียดของจิตที่สูงขึ้น เช่น สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หรือสูงกว่านั้น --- สรุป: ทำบุญหวังผลเป็นทานบารมีหรือไม่? หากหวังผลในเชิงสัมมาทิฏฐิและไม่ละโมบจนเกินไป การทำบุญหวังผลยังคงเป็น ทานบารมี แต่ผลที่ได้รับจะคับแคบตามความคาดหวังนั้น หากไม่หวังผลตอบแทน จิตใจเปิดกว้าง เบิกบาน การทำบุญนั้นจะเป็น ทานบารมีระดับสูงสุด ที่ก่อให้เกิดอานิสงส์ยิ่งใหญ่ทั้งในปัจจุบันและอนาคต.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 230 มุมมอง 0 รีวิว
  • 7/1/68

    "...ผู้มีวาสนาต่อกันเท่านั้น จึงจะผูกพันต่อกัน..."

    คุณเชื่อเรื่องวาสนาต่อกันไหม
    ทำไมคนบางคนจึงได้เป็นกัลยาณมิตร
    ต่อกัน ชี้ชวนแนะนำกันไปทำความดี
    ชวนได้โดยง่ายดาย..

    แต่กับอีกหลายคนชวนเท่าไรก็ไม่ไป
    สอนกล่าวตักเตือนก็ไม่ฟัง
    ดีกับเขาเขาก็ไม่มีวันดีตอบ
    กลับคิดว่าเราประสงค์ร้าย
    ไม่เห็นความหวังดีของเรา

    ไม่ต้องกังวลเดือดร้อนใจไป
    ทุกคนมีบุพกรรมของตนเอง ต้องเคยมีปัจจัยผูก
    ฝ่ายกุศลต่อกัน ก็จะเป็นกัลยาณมิตรกัน
    พระพุทธเจ้าก็มีสิ่งที่แม้พระองค์ก็ทำไม่ได้
    สามอย่างที่บันทึกไว้ในมหายาน

    สามประการที่ว่าคือ..

    1. ไม่สามารถโปรดสัตว์ที่ไม่มีวาสนาต่อพระองค์
    2. ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงกรรมของสัตว์
    3. ไม่สามารถโปรดสัตว์ให้สิ้นได้
    .
    วันหนึ่งพระศากยมุนีพุทธเจ้า กำลังแสดงธรรมอยู่
    แล้วทันใดนั้นพระพุทธองค์กล่าวแก่พระอานนท์ว่า
    “อานนท์เธอเอาถังน้ำใบหนึ่ง ไปเบื้องหน้า
    ตามทางจะมีหมู่บ้านแห่งหนึ่ง
    มีหญิงชรานางหนึ่งกำลังซักเสื้อผ้าอยู่
    ขอน้ำนางกลับมาถังหนึ่ง แต่จำไว้ ..
    ต้องแสดงกิริยาสุภาพกับนางด้วย”

    พระอานนท์รับคำ แล้วก็นำถังน้ำเปล่า
    เดินไปทางที่พระพุทธองค์ทรงบอก คิดในใจว่า
    เรื่องเล็กน้อยแค่นี้ ไม่ยากเย็นอะไร
    ก็ไปถึงหมู่บ้านแห่งนั้น เห็นสตรีชราผมขาวนางหนึ่ง
    กำลังซักผ้าอยู่จริงๆ พระอานนท์จึงกล่าวปิยวาจา
    ขอน้ำจากหญิงชรานั้นอย่างสุภาพ
    “แม่เฒ่า แม่เฒ่า ข้าอยากจะขอน้ำสักถังจะได้ไหม”

    หญิงชรานั้น เมื่อได้เห็นพระอานนท์
    เหมือนไม่รู้ไปโกรธใครมา “ไม่ได้หรอก น้ำในบ่อนี้
    ใช้ได้แต่คนที่ในหมู่บ้านนี้เท่านั้น คนอื่นห้ามตักเชียวนะ ไม่ให้ๆ” แถมยังไล่พระอานนท์อีกเสียอย่างนั้น

    พระอานนท์จะอ้อนวอนขอนางอย่างไรก็ไม่เป็นผล
    พระอานนท์สิ้นหนทาง ก็เดินถือถังเปล่ากลับไป
    เข้าเฝ้าพระพุทธองค์ แล้วแจ้งความตามที่เกิด

    พระพุทธองค์ทรงพยักหน้ารับ
    แล้วบอกให้พระอานนท์นั่งลง
    แล้วขอให้พระสารีบุตรไปทำแทน

    พระสารีบุตรก็กล่าวเช่นเดียวกัน
    “แม่เฒ่า แม่เฒ่า ข้าอยากจะขอน้ำสักถังจะได้ไหม”
    ก็น่าแปลกใจ สตรีชรานางนั้นเมื่อได้เห็นพระสารีบุตร ก็ทำหน้าเหมือนได้พบกับญาติที่ไม่ได้เจอกันเนิ่นนาน ไม่โกรธ ไม่โวยวาย แถมยังกล่าวตอบด้วยดีๆ

    “ได้ๆๆ เอาเลย ตามสบายเลยพระคุณเจ้า
    มาๆ ข้าช่วยท่านตักน้ำดีกว่า”
    ก่อนที่พระสารีบุตรจะกลับ นางก็กุลีกุจอกลับบ้าน
    รีบกลับไปเอาสิ่งของมาถวายพระสารีบุตรให้พระสารีบุตร นำกลับไปอีก เมื่อพระสารีบุตรรับน้ำมาถวายพระพุทธเจ้าแล้ว ก็บอกให้พระสารีบุตรนั่งลง

    พระอานนท์สงสัยเป็นกำลัง จึงได้ทูลถามพระพุทธเจ้า
    “ด้วยเหตุอะไร จึงเป็นเช่นนี้พระพุทธเจ้าข้า”

    "ที่นางปฏิบัติกับเจ้าทั้งสองแตกต่างกันเช่นนี้
    เพราะในชาติอันล่วงมาแล้ว สตรีชรานางนี้
    มีสภาพเป็นเดรัจฉาน เกิดเป็นหนูตัวหนึ่ง
    แล้วนางก็ตายอยู่บนถนน
    พระอานนท์ในชาตินั้นเป็นพ่อค้าผ่านทางมา
    เมื่อได้เห็นซากของหนูตัวนั้นตายอยู่
    ในใจของพระอานนท์ก็เกิดความรู้สึกสะอิดสะเอียน
    เดินเอามือปิดจมูกแล้วจากไป

    แต่ตรงกันข้ามกับพระสารีบุตร
    เมื่อพระสารีบุตรได้เห็นซากหนูตัวนั้น
    ก็ให้บังเกิดจิตเวทนาสงสาร ซ้ำยังเอาซากหนูตัวนั้น
    ไปฝังกลบอย่างดี เมื่อชาตินี้พวกเจ้าได้พบกันอีกครั้ง
    สิ่งที่นางปฏิบัติต่อเจ้าทั้งสองจึงมีความแตกต่างกันเช่นนี้"

    จิตเป็นเรื่องละเอียดอ่อน เราต้องรอบคอบ
    ไม่ก้าวล่วงผู้อื่นแม้ความคิด

    จากมหาปรัชญาปารมิโตปเทศน์ มีบันทึกไว้ว่า ..
    พระพุทธเจ้าพร้อมพระอานนท์ เดินบิณฑบาต
    ในเมืองไวศาลี พระอานนท์มองเห็นสตรีนางหนึ่ง
    ยากจนข้นแค้นเป็นที่น่าสงสาร
    พระอานนท์ทูลขอให้พระพุทธองค์ไปโปรดนาง
    พระพุทธองค์ตรัสว่า “เรากับนางไม่มีเหตุปัจจัยผูกต่อกัน ดังนั้นนางก็จะไม่ศรัทธาในเรา เราก็ไม่สามารถที่จะโปรดนางได้”

    พระอานนท์รบเร้าอยู่ถึงสามครั้ง
    พระพุทธเจ้าจึงดำเนินไปหานาง เมื่อยืนต่อหน้านาง
    สตรีนางนั้นก็กลับหันหลัง ไม่สนใจพระพุทธเจ้า
    ไม่ว่าพระองค์จะเดินไปต่อหน้านางกี่ครั้ง
    นางก็จะหันหลังให้กับพระองค์ทุกครั้ง

    แม้พระพุทธองค์จะใช้ฤทธิ์ให้พระกาย
    ปรากฏขึ้นทั้งสี่ทิศพร้อมกัน สตรีนางนั้นก็ปิดตาเสีย
    ไม่มอง ไม่สนใจพระองค์

    พระอานนท์จังได้ประจักษ์แก่คำพูดของพระพุทธเจ้าที่ว่า ...
    “หากไร้วาสนา ไร้ปัจจัยผูกพันต่อกัน ไม่สามารถโปรดกันได้”

    แม้กับพระพุทธเจ้าเองก็ไม่มียกเว้น...

    Posted by Onnie 🦋
    7/1/68 "...ผู้มีวาสนาต่อกันเท่านั้น จึงจะผูกพันต่อกัน..." คุณเชื่อเรื่องวาสนาต่อกันไหม ทำไมคนบางคนจึงได้เป็นกัลยาณมิตร ต่อกัน ชี้ชวนแนะนำกันไปทำความดี ชวนได้โดยง่ายดาย.. แต่กับอีกหลายคนชวนเท่าไรก็ไม่ไป สอนกล่าวตักเตือนก็ไม่ฟัง ดีกับเขาเขาก็ไม่มีวันดีตอบ กลับคิดว่าเราประสงค์ร้าย ไม่เห็นความหวังดีของเรา ไม่ต้องกังวลเดือดร้อนใจไป ทุกคนมีบุพกรรมของตนเอง ต้องเคยมีปัจจัยผูก ฝ่ายกุศลต่อกัน ก็จะเป็นกัลยาณมิตรกัน พระพุทธเจ้าก็มีสิ่งที่แม้พระองค์ก็ทำไม่ได้ สามอย่างที่บันทึกไว้ในมหายาน สามประการที่ว่าคือ.. 1. ไม่สามารถโปรดสัตว์ที่ไม่มีวาสนาต่อพระองค์ 2. ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงกรรมของสัตว์ 3. ไม่สามารถโปรดสัตว์ให้สิ้นได้ . วันหนึ่งพระศากยมุนีพุทธเจ้า กำลังแสดงธรรมอยู่ แล้วทันใดนั้นพระพุทธองค์กล่าวแก่พระอานนท์ว่า “อานนท์เธอเอาถังน้ำใบหนึ่ง ไปเบื้องหน้า ตามทางจะมีหมู่บ้านแห่งหนึ่ง มีหญิงชรานางหนึ่งกำลังซักเสื้อผ้าอยู่ ขอน้ำนางกลับมาถังหนึ่ง แต่จำไว้ .. ต้องแสดงกิริยาสุภาพกับนางด้วย” พระอานนท์รับคำ แล้วก็นำถังน้ำเปล่า เดินไปทางที่พระพุทธองค์ทรงบอก คิดในใจว่า เรื่องเล็กน้อยแค่นี้ ไม่ยากเย็นอะไร ก็ไปถึงหมู่บ้านแห่งนั้น เห็นสตรีชราผมขาวนางหนึ่ง กำลังซักผ้าอยู่จริงๆ พระอานนท์จึงกล่าวปิยวาจา ขอน้ำจากหญิงชรานั้นอย่างสุภาพ “แม่เฒ่า แม่เฒ่า ข้าอยากจะขอน้ำสักถังจะได้ไหม” หญิงชรานั้น เมื่อได้เห็นพระอานนท์ เหมือนไม่รู้ไปโกรธใครมา “ไม่ได้หรอก น้ำในบ่อนี้ ใช้ได้แต่คนที่ในหมู่บ้านนี้เท่านั้น คนอื่นห้ามตักเชียวนะ ไม่ให้ๆ” แถมยังไล่พระอานนท์อีกเสียอย่างนั้น พระอานนท์จะอ้อนวอนขอนางอย่างไรก็ไม่เป็นผล พระอานนท์สิ้นหนทาง ก็เดินถือถังเปล่ากลับไป เข้าเฝ้าพระพุทธองค์ แล้วแจ้งความตามที่เกิด พระพุทธองค์ทรงพยักหน้ารับ แล้วบอกให้พระอานนท์นั่งลง แล้วขอให้พระสารีบุตรไปทำแทน พระสารีบุตรก็กล่าวเช่นเดียวกัน “แม่เฒ่า แม่เฒ่า ข้าอยากจะขอน้ำสักถังจะได้ไหม” ก็น่าแปลกใจ สตรีชรานางนั้นเมื่อได้เห็นพระสารีบุตร ก็ทำหน้าเหมือนได้พบกับญาติที่ไม่ได้เจอกันเนิ่นนาน ไม่โกรธ ไม่โวยวาย แถมยังกล่าวตอบด้วยดีๆ “ได้ๆๆ เอาเลย ตามสบายเลยพระคุณเจ้า มาๆ ข้าช่วยท่านตักน้ำดีกว่า” ก่อนที่พระสารีบุตรจะกลับ นางก็กุลีกุจอกลับบ้าน รีบกลับไปเอาสิ่งของมาถวายพระสารีบุตรให้พระสารีบุตร นำกลับไปอีก เมื่อพระสารีบุตรรับน้ำมาถวายพระพุทธเจ้าแล้ว ก็บอกให้พระสารีบุตรนั่งลง พระอานนท์สงสัยเป็นกำลัง จึงได้ทูลถามพระพุทธเจ้า “ด้วยเหตุอะไร จึงเป็นเช่นนี้พระพุทธเจ้าข้า” "ที่นางปฏิบัติกับเจ้าทั้งสองแตกต่างกันเช่นนี้ เพราะในชาติอันล่วงมาแล้ว สตรีชรานางนี้ มีสภาพเป็นเดรัจฉาน เกิดเป็นหนูตัวหนึ่ง แล้วนางก็ตายอยู่บนถนน พระอานนท์ในชาตินั้นเป็นพ่อค้าผ่านทางมา เมื่อได้เห็นซากของหนูตัวนั้นตายอยู่ ในใจของพระอานนท์ก็เกิดความรู้สึกสะอิดสะเอียน เดินเอามือปิดจมูกแล้วจากไป แต่ตรงกันข้ามกับพระสารีบุตร เมื่อพระสารีบุตรได้เห็นซากหนูตัวนั้น ก็ให้บังเกิดจิตเวทนาสงสาร ซ้ำยังเอาซากหนูตัวนั้น ไปฝังกลบอย่างดี เมื่อชาตินี้พวกเจ้าได้พบกันอีกครั้ง สิ่งที่นางปฏิบัติต่อเจ้าทั้งสองจึงมีความแตกต่างกันเช่นนี้" จิตเป็นเรื่องละเอียดอ่อน เราต้องรอบคอบ ไม่ก้าวล่วงผู้อื่นแม้ความคิด จากมหาปรัชญาปารมิโตปเทศน์ มีบันทึกไว้ว่า .. พระพุทธเจ้าพร้อมพระอานนท์ เดินบิณฑบาต ในเมืองไวศาลี พระอานนท์มองเห็นสตรีนางหนึ่ง ยากจนข้นแค้นเป็นที่น่าสงสาร พระอานนท์ทูลขอให้พระพุทธองค์ไปโปรดนาง พระพุทธองค์ตรัสว่า “เรากับนางไม่มีเหตุปัจจัยผูกต่อกัน ดังนั้นนางก็จะไม่ศรัทธาในเรา เราก็ไม่สามารถที่จะโปรดนางได้” พระอานนท์รบเร้าอยู่ถึงสามครั้ง พระพุทธเจ้าจึงดำเนินไปหานาง เมื่อยืนต่อหน้านาง สตรีนางนั้นก็กลับหันหลัง ไม่สนใจพระพุทธเจ้า ไม่ว่าพระองค์จะเดินไปต่อหน้านางกี่ครั้ง นางก็จะหันหลังให้กับพระองค์ทุกครั้ง แม้พระพุทธองค์จะใช้ฤทธิ์ให้พระกาย ปรากฏขึ้นทั้งสี่ทิศพร้อมกัน สตรีนางนั้นก็ปิดตาเสีย ไม่มอง ไม่สนใจพระองค์ พระอานนท์จังได้ประจักษ์แก่คำพูดของพระพุทธเจ้าที่ว่า ... “หากไร้วาสนา ไร้ปัจจัยผูกพันต่อกัน ไม่สามารถโปรดกันได้” แม้กับพระพุทธเจ้าเองก็ไม่มียกเว้น... Posted by Onnie 🦋
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 212 มุมมอง 0 รีวิว
  • Credit: @พระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตต์
    คนมีมลทินราคีติดหนี้ล้มละลายอย่าหมายบรรพชา
    มาบวชอุปสมบทเป็นพระภิกษุในบวรพุทธศาสนา
    คนมั่วธรรม มนุษย์บางพวก (กเฬวราก จำนวนมาก)
    ยังนิยมชื่นชมเอาไว้ ก็หมายถึงว่า “รอด” อยู่ในช่วงหนึ่ง
    แต่เทวดาสัมมาทิฐิไม่นิยมเอาไว้ก็หมายถึงว่า “จอด” ทันที
    ทองเทียม แม้ไม่ถูกไฟลน นานไปมันก็กลายเป็นตะกั่ว
    เพราะความชั่วมันชอบโชว์เปิดเผยตัวของมันเสียเอง

    ก่อนข้าพเจ้าจะเขียนอธิบายขยายความที่จั่วหัวข้อแรกไว้ ปรารถนาให้ท่านสาธุชนทั้งหลายได้อ่านความอัศจรรย์ของพระพุทธศาสนาเปรียบเป็นมหาสมุทรข้อที่ ๓ สักหน่อย ดังนี้ : -

    “ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนมหาสมุทรไม่ร่วมกับซากศพที่ตายแล้ว ซากศพที่ตายแล้วใดมีอยู่ในมหาสมุทร มหาสมุทรย่อมนำซากศพที่ตาย แล้วนั้นไปสู่ฝั่ง ซัดขึ้นบกโดยพลัน
    บุคคลนั้นใดเป็นผู้ทุศีล มีธรรมหยาบช้าลามก (ชอบออกกูออกมึง กูๆ มึงๆ) มีความประพฤติไม่สะอาด น่ารังเกียจ ปิดบังการกระทำ มิใช่สมณะปฏิญาณว่าเป็นสมณะ มิใช่พรหมจารีปฏิญาณว่าเป็นพรหมจารี เน่าภายในโชกชุ่มด้วยกิเลส ผู้เศร้าหมองก็เหมือนกัน สงฆ์ย่อมไม่ร่วมกับบุคคลนั้น ย่อมประชุมกันยกเธอเสียโดยพลัน
    ถึงแม้เธอนั่งในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ก็จริง ถึงอย่างนั้น เธอชื่อว่าไกลจากสงฆ์ และสงฆ์ก็ไกลจากเธอ ข้อที่บุคคลนั้นใดเป็นผู้ทุศีล มีธรรมหยาบช้าลามก (ชอบออกกูออกมึง กูๆ มึงๆ) มีความประพฤติไม่สะอาด น่ารังเกียจ ปิดบังการกระทำ มิใช่สมณะ ปฏิญาณว่าเป็นสมณะ มิใช่พรหมจารีปฏิญาณ ว่าเป็นพรหมจารี เน่าภายใน โชกชุ่มด้วยกิเลส ผู้เศร้าหมอง สงฆ์ย่อมไม่ร่วมกับบุคคลนั้น ย่อมประชุมกันยกเธอเสียโดยพลัน ถึงแม้เธอนั่งในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ก็จริง ถึงอย่างนั้น เธอชื่อว่าไกลจากสงฆ์ และสงฆ์ก็ไกลจากเธอ
    แม้นี้ก็เป็นความอัศจรรย์ไม่เคยมีในธรรมวินัยนี้ เป็นข้อที่ ๓ ที่ภิกษุทั้งหลายพบเห็นแล้วพากันชื่นชมในธรรมวินัยนี้ ฯ”
    วิ.จุ. ๒/๑๘๔/๔๕๙-๔๖๑

    คนมีมลทินราคีติดหนี้ล้มละลายในข้อกฎหมายคดีความทางโลกก็มีนัย (อ่านว่า “นัย (ะ) ไม่ควรเขียนเป็น “นัยยะ” คำนี้จะแปลว่า “ผู้ที่แนะนำพร่ำสอนได้คือ เนยยบุคคล”) อันเดียวกันกับกฎหมายพระวินัยบัญญัติคดีความทางธรรม ถูกต้องทุกประการด้วย

    ข้าพเจ้าขอพิมพ์ข้อความที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา ประกาศอย่างเป็นทางการให้สาธารณชนทราบโดยทั่วกัน เพื่อเป็นหลักฐานยืนยันในข้อเท็จจริงนี้

    ประกาศเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
    เรื่อง คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
    คดีหมายเลขแดงที่.... กองบังคับคดีล้มละลาย ๑
    กรมบังคับคดี
    กระทรวงยุติธรรม

    ด้วย ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) โจทก์ ได้ยื่นฟ้องต่อศาลล้มละลายกลางขอให้จำเลยล้มละลาย และศาลได้มีคำสั่งลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ให้พิทักษ์ทรัพย์ของนาย....จำเลย เด็ดขาด ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๕๘๓ แล้ว

    จำเลย เลขประจำตัวประชาชน........มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่.....

    ดังนั้น นับแต่วันที่ศาลได้มีคำสั่ง เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียว มีอำนาจจัดการเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ ตามมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ และบุคคลผู้เป็นหนี้ลูกหนี้หรือมีทรัพย์สินของลูกหนี้อยู่ในครอบครอง มีหน้าที่ต้องแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับหนี้หรือทรัพย์สินของลูกหนี้ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ ภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ตามมาตรา ๒๔/๑ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งผู้ใดมีหน้าที่ตามมาตรา ๒๔/๑ แล้วไม่ปฏิบัติตาม มีความผิดต้องระวังโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท ตามมาตรา ๑๗๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓

    อนึ่ง เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีนี้....และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กำหนดวันลงโฆษณาในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๔

    ประกาศ ณ วันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
    เบญจา สุภานนท์
    เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์

    ประกาศเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
    เรื่อง คำพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย

    คดีหมายเลขแดงที่.... กองบังคับคดีล้มละลาย ๑
    ศาลล้มละลายกลาง กรมบังคับคดี
    กระทรวงยุติธรรม

    ด้วยคดีเรื่องนี้ ศาลล้มละลายกลางได้พิพากษาให้นาย....ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลายแล้ว ตั้งแต่วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๕
    ผู้ล้มละลาย เลขประจำตัวประชาชน....มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่....

    ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕
    อุโรวษา เพชรวารี
    เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์

    จากข้อความที่ทางการประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาว่า

    “บุคคลผู้เป็นหนี้ลูกหนี้หรือมีทรัพย์สินของลูกหนี้อยู่ในครอบครอง มีหน้าที่ต้องแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับหนี้หรือทรัพย์สินของลูกหนี้ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ....ซึ่งผู้ใดมีหน้าที่ตามมาตรา ๒๔/๑ แล้วไม่ปฏิบัติตาม มีความผิดต้องระวังโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท...”

    คำเตือนที่ข้าพเจ้าเขียนบอกไว้ในบทความหนึ่งว่า
    “ระวังไว้ด้วยนะครับ จะพลอยฟ้าพลอยฝนโดนหางเลขกับเขาไปด้วย”
    และในเวลาต่อมาไม่นาน ข้าพเจ้าก็เขียนโพสต์ไว้ในหน้าวอลล์ว่า
    “ไม่มาเข้าคอร์สก็น่าจะได้ไปเข้าคุก”
    ส่อเค้าว่าจะเป็นจริง เห็นแสงรำไรๆ อยู่ในคุกที่จองจำนั้นเสียแล้ว

    เมื่อเย็นวานนี้ทนายความท่านหนึ่งได้โทรมาคุยสนทนากับข้าพเจ้าในเรื่องนี้ พร้อมกับส่งหลักฐานในราชกิจจานุเบกษามาให้ และเมื่อเช้าของวันนี้ในเวลา 10:00 น. ทนายความอีกท่านหนึ่งก็โทรมาคุยกับข้าพเจ้า และยืนยันข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ไว้ตรงกับทนายความท่านแรก ทนายความสองท่านนี้ได้ตรวจสอบฐานข้อมูลมาเป็นอย่างดีแล้ว
    ข้าพเจ้าแสดงหลักฐานคดีความทางโลกให้เห็นปรากฏชัดเรียบร้อยแล้ว ก็จะเขียนเข้าสู่คดีความทางธรรม กฎหมายทางธรรม พระวินัยบัญญัติ ว่า มีข้อกำหนดอย่างไรกับผู้ติดคดีทางโลกมีหนี้สินท่วมหัว จนกระทั่งทางการต้องประกาศให้เป็นผู้ล้มละลาย ต่อจากนี้เขาก็ไม่สามารถทำธุรกิจ ธุรกรรม (เปิดรับบริจาค) ได้อีกแล้ว คนที่ไปบริจาคทรัพย์ให้แก่นายผู้ล้มละลายคนนี้ก็ดี คนที่ไปรับทรัพย์จากนายผู้ล้มละลายคนนี้ก็ดี ก็จะตกอยู่ในข่ายความผิดต้องโทษลักษณะเดียวกันไปโดยปริยาย
    กล่าวคือมีคติเป็น ๒ ไม่ถูกปรับก็ถูกจำ หรือทั้งปรับทั้งจำ

    พระวินัยบัญญัติกำหนดให้กุลบุตรผู้เป็นอุปสัมปทาเปกขะ (ต้องการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ) หากต้องโทษข้อใดข้อหนึ่ง ใน ๑๓ ข้อเหล่านี้ มิให้มาอยู่ในเพศของพระภิกษุในร่มเงาของพระพุทธศาสนา
    ถ้าหากว่าแอบเข้ามาบรรพชาอุปสมบททรงเพศเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ทราบในภายหลัง สงฆ์ก็ต้องสั่งให้สิกขาลาพรต ว่า “สิกฺขํ ปจฺจกฺขาหิ เธอจงบอกคืนสิกขาบทเสียเถิด”
    กรณีตัวอย่างคือ นาคจำแลงแปลงกายเป็นมาณพมาขอบวชเป็นพระภิกษุกับพระสงฆ์กลุ่มหนึ่งอยู่ในป่า พอคืนร่างเป็นนาคตามเดิม ความทราบไปถึงพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ก็รับสั่งให้ภิกษุผู้เป็นนาคจำแลงแปลงกายนั้นบอกคืนสิกขาบท คือให้ลาสิกขาทันที

    ในทุกกรณีของผู้ที่ต้องอันตรายิกธรรมข้อใดข้อหนึ่ง เช่น ทราบในภายหลังว่าเป็นบัณเฑาะก์ คือ ไม่ใช่บุรุษเพศชาย (ผู้ชายเต็มตัว) ก็สั่งให้ลาสิกขาเช่นเดียวกัน ให้อยู่ในเพศของพระภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ไม่ได้ เพราะถือว่าเป็นบุคคลอันตราย จะสร้างความเสียหายให้แก่พระพุทธศาสนาแก่พระสงฆ์องค์สามเณร (ข้าพเจ้าเขียนอธิบายในโพสต์ก่อนแล้ว ร่างเป็นผู้ชายแต่ใจเป็นผู้หญิงก็จะกวนพระกวนเณรไม่ให้อยู่เป็นสุข)

    ถ้าผู้นั้นเป็นบัณเฑาะก์และรู้ว่าตนก็เป็นบัณเฑาะก์แท้ๆ แต่ปกปิดความเป็นบัณเฑาะก์ทรงเพศของพระภิกษุผู้ประพฤติพรหมจรรย์ในพระพุทธศาสนานี้ไว้ ถือว่าอยู่ในฐานะผู้หลอกลวง ลักขโมยเคี้ยวกลืนกินบิณฑะก้อนข้าวของชาวแว่นแคว้น ท่านเรียกเป็นภาษาพระวินัยว่า “ลักเพศ” คือ ลักขโมยเพศของพระภิกษุ ลักขโมยอุดมเพศที่ครองผ้ากาสาวพัสตร์ธงชัยของพระอรหันต์

    เขาจะสั่งสมบาปอกุศลเอาไว้อยู่เรื่อยๆ สุดท้ายเห็นได้ชัดใช่ไหมว่า บัณเฑาะก์ผู้นั้นที่ลักขโมยเพศพระภิกษุแอบอาศัยอยู่ในร่มเงาของพระพุทธศาสนานี้มาเป็นเวลายาวนาน ก็แพ้ภัยตัวเอง กระเด็นออกไปจากพระพุทธศาสนา เปรียบเหมือนกเฬวราก ซากศพเน่า ต้องถูกคลื่นของมหาสมุทรซัดออกมาเกยตื้นติดอยู่กับฝั่งทะเล ฉะนั้น

    อันตรายิกธรรมเหล่านี้ คือ
    “โรคเรื้อน ฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู เจ้าเป็นมนุษย์หรือ เป็นชายหรือ เป็นไทหรือ ไม่มีหนี้สินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดาบิดาอนุญาตแล้วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้วหรือ บาตรจีวรของเจ้ามีครบแล้วหรือ เจ้าชื่ออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้าชื่ออะไร”
    วิ.ม. ๑/๑๕๔/๑๔๒

    ปรากฏอยู่ในอุปสัมปทาวิธีว่า

    พระคู่สวดถาม สามเณรตอบ
    กุฏฐัง นัตถิ ภันเต
    คัณโฑ นัตถิ ภันเต
    กิลาโส นัตถิ ภันเต
    โสโส นัตถิ ภันเต
    อะปะมาโร นัตถิ ภันเต
    มะนุสโสสิ๊ อามะ ภันเต
    ปุริโสสิ๊ อามะ ภันเต
    ภุชิสโสสิ๊ อามะ ภันเต
    อะนะโณสิ๊ อามะ ภันเต
    นะสิ๊ราชะภะโฏ อามะ ภันเต
    อะนุญญาโตสิ๊ มาตาปิตูหิ อามะ ภันเต
    ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ๊ อามะ ภันเต
    ปะริปุณณันเต ปัตตะจีวะรัง อามะ ภันเต
    กินนาโมสิ อะหัง ภันเต...(๑)....นามะ
    โก นามะ เต อุปัชฌาโย อุปัชฌาโย เมภันเต อายัสมา.... (๒).นามะ

    (๑) บอกฉายาของตนเอง
    (๒) บอกฉายาของพระอุปัชฌาย์

    ในคำตอบของสามเณร (นาค) หากผิดไปจาก อามะ ภันเต จาก นัตถิ ภันเต แม้ข้อเดียว เช่น “ปุริโสสิ๊ เจ้าเป็นบุรุษเพศชายจริงหรือเปล่า” นาคตอบว่า “นัตถิ ภันเต ไม่ใช่ครับ” “อะนะโณสิ๊ เธอไม่มีหนี้สินใช่ไหม” นาคตอบว่า “นัตถิ ภันเต ไม่ใช่ครับ” พระคู่สวดอาจจะต้องถามย้ำอีกสัก ๒ - ๓ ครั้ง นาคก็ยังตอบอยู่ในคำเดิม คือ นัตถิ ภันเต อุปสัมปทาวิธีก็ต้องล้มไป ยุติพิธีอุปสมบท ทันที อาจถึงกับขับไล่ผู้ต้องอันตรายิกธรรมข้อใดข้อหนึ่งนี้ออกจากสีมา (เขตแดน) ของพระอุโบสถหลังนั้นไปเลย
    “อย่าแหลมหน้ามาขอบวชอีกเชียวนะ”.
    Credit: @พระมหาอุเทน ปัญญาปริทัตต์ คนมีมลทินราคีติดหนี้ล้มละลายอย่าหมายบรรพชา มาบวชอุปสมบทเป็นพระภิกษุในบวรพุทธศาสนา คนมั่วธรรม มนุษย์บางพวก (กเฬวราก จำนวนมาก) ยังนิยมชื่นชมเอาไว้ ก็หมายถึงว่า “รอด” อยู่ในช่วงหนึ่ง แต่เทวดาสัมมาทิฐิไม่นิยมเอาไว้ก็หมายถึงว่า “จอด” ทันที ทองเทียม แม้ไม่ถูกไฟลน นานไปมันก็กลายเป็นตะกั่ว เพราะความชั่วมันชอบโชว์เปิดเผยตัวของมันเสียเอง ก่อนข้าพเจ้าจะเขียนอธิบายขยายความที่จั่วหัวข้อแรกไว้ ปรารถนาให้ท่านสาธุชนทั้งหลายได้อ่านความอัศจรรย์ของพระพุทธศาสนาเปรียบเป็นมหาสมุทรข้อที่ ๓ สักหน่อย ดังนี้ : - “ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนมหาสมุทรไม่ร่วมกับซากศพที่ตายแล้ว ซากศพที่ตายแล้วใดมีอยู่ในมหาสมุทร มหาสมุทรย่อมนำซากศพที่ตาย แล้วนั้นไปสู่ฝั่ง ซัดขึ้นบกโดยพลัน บุคคลนั้นใดเป็นผู้ทุศีล มีธรรมหยาบช้าลามก (ชอบออกกูออกมึง กูๆ มึงๆ) มีความประพฤติไม่สะอาด น่ารังเกียจ ปิดบังการกระทำ มิใช่สมณะปฏิญาณว่าเป็นสมณะ มิใช่พรหมจารีปฏิญาณว่าเป็นพรหมจารี เน่าภายในโชกชุ่มด้วยกิเลส ผู้เศร้าหมองก็เหมือนกัน สงฆ์ย่อมไม่ร่วมกับบุคคลนั้น ย่อมประชุมกันยกเธอเสียโดยพลัน ถึงแม้เธอนั่งในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ก็จริง ถึงอย่างนั้น เธอชื่อว่าไกลจากสงฆ์ และสงฆ์ก็ไกลจากเธอ ข้อที่บุคคลนั้นใดเป็นผู้ทุศีล มีธรรมหยาบช้าลามก (ชอบออกกูออกมึง กูๆ มึงๆ) มีความประพฤติไม่สะอาด น่ารังเกียจ ปิดบังการกระทำ มิใช่สมณะ ปฏิญาณว่าเป็นสมณะ มิใช่พรหมจารีปฏิญาณ ว่าเป็นพรหมจารี เน่าภายใน โชกชุ่มด้วยกิเลส ผู้เศร้าหมอง สงฆ์ย่อมไม่ร่วมกับบุคคลนั้น ย่อมประชุมกันยกเธอเสียโดยพลัน ถึงแม้เธอนั่งในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ก็จริง ถึงอย่างนั้น เธอชื่อว่าไกลจากสงฆ์ และสงฆ์ก็ไกลจากเธอ แม้นี้ก็เป็นความอัศจรรย์ไม่เคยมีในธรรมวินัยนี้ เป็นข้อที่ ๓ ที่ภิกษุทั้งหลายพบเห็นแล้วพากันชื่นชมในธรรมวินัยนี้ ฯ” วิ.จุ. ๒/๑๘๔/๔๕๙-๔๖๑ คนมีมลทินราคีติดหนี้ล้มละลายในข้อกฎหมายคดีความทางโลกก็มีนัย (อ่านว่า “นัย (ะ) ไม่ควรเขียนเป็น “นัยยะ” คำนี้จะแปลว่า “ผู้ที่แนะนำพร่ำสอนได้คือ เนยยบุคคล”) อันเดียวกันกับกฎหมายพระวินัยบัญญัติคดีความทางธรรม ถูกต้องทุกประการด้วย ข้าพเจ้าขอพิมพ์ข้อความที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา ประกาศอย่างเป็นทางการให้สาธารณชนทราบโดยทั่วกัน เพื่อเป็นหลักฐานยืนยันในข้อเท็จจริงนี้ ประกาศเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เรื่อง คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด คดีหมายเลขแดงที่.... กองบังคับคดีล้มละลาย ๑ กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม ด้วย ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) โจทก์ ได้ยื่นฟ้องต่อศาลล้มละลายกลางขอให้จำเลยล้มละลาย และศาลได้มีคำสั่งลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ให้พิทักษ์ทรัพย์ของนาย....จำเลย เด็ดขาด ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๕๘๓ แล้ว จำเลย เลขประจำตัวประชาชน........มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่..... ดังนั้น นับแต่วันที่ศาลได้มีคำสั่ง เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียว มีอำนาจจัดการเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ ตามมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ และบุคคลผู้เป็นหนี้ลูกหนี้หรือมีทรัพย์สินของลูกหนี้อยู่ในครอบครอง มีหน้าที่ต้องแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับหนี้หรือทรัพย์สินของลูกหนี้ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ ภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ตามมาตรา ๒๔/๑ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งผู้ใดมีหน้าที่ตามมาตรา ๒๔/๑ แล้วไม่ปฏิบัติตาม มีความผิดต้องระวังโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท ตามมาตรา ๑๗๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ อนึ่ง เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีนี้....และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กำหนดวันลงโฆษณาในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๔ ประกาศ ณ วันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เบญจา สุภานนท์ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ประกาศเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เรื่อง คำพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย คดีหมายเลขแดงที่.... กองบังคับคดีล้มละลาย ๑ ศาลล้มละลายกลาง กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม ด้วยคดีเรื่องนี้ ศาลล้มละลายกลางได้พิพากษาให้นาย....ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลายแล้ว ตั้งแต่วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๕ ผู้ล้มละลาย เลขประจำตัวประชาชน....มีภูมิลำเนาอยู่บ้านเลขที่.... ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕ อุโรวษา เพชรวารี เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ จากข้อความที่ทางการประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาว่า “บุคคลผู้เป็นหนี้ลูกหนี้หรือมีทรัพย์สินของลูกหนี้อยู่ในครอบครอง มีหน้าที่ต้องแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับหนี้หรือทรัพย์สินของลูกหนี้ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ....ซึ่งผู้ใดมีหน้าที่ตามมาตรา ๒๔/๑ แล้วไม่ปฏิบัติตาม มีความผิดต้องระวังโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท...” คำเตือนที่ข้าพเจ้าเขียนบอกไว้ในบทความหนึ่งว่า “ระวังไว้ด้วยนะครับ จะพลอยฟ้าพลอยฝนโดนหางเลขกับเขาไปด้วย” และในเวลาต่อมาไม่นาน ข้าพเจ้าก็เขียนโพสต์ไว้ในหน้าวอลล์ว่า “ไม่มาเข้าคอร์สก็น่าจะได้ไปเข้าคุก” ส่อเค้าว่าจะเป็นจริง เห็นแสงรำไรๆ อยู่ในคุกที่จองจำนั้นเสียแล้ว เมื่อเย็นวานนี้ทนายความท่านหนึ่งได้โทรมาคุยสนทนากับข้าพเจ้าในเรื่องนี้ พร้อมกับส่งหลักฐานในราชกิจจานุเบกษามาให้ และเมื่อเช้าของวันนี้ในเวลา 10:00 น. ทนายความอีกท่านหนึ่งก็โทรมาคุยกับข้าพเจ้า และยืนยันข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ไว้ตรงกับทนายความท่านแรก ทนายความสองท่านนี้ได้ตรวจสอบฐานข้อมูลมาเป็นอย่างดีแล้ว ข้าพเจ้าแสดงหลักฐานคดีความทางโลกให้เห็นปรากฏชัดเรียบร้อยแล้ว ก็จะเขียนเข้าสู่คดีความทางธรรม กฎหมายทางธรรม พระวินัยบัญญัติ ว่า มีข้อกำหนดอย่างไรกับผู้ติดคดีทางโลกมีหนี้สินท่วมหัว จนกระทั่งทางการต้องประกาศให้เป็นผู้ล้มละลาย ต่อจากนี้เขาก็ไม่สามารถทำธุรกิจ ธุรกรรม (เปิดรับบริจาค) ได้อีกแล้ว คนที่ไปบริจาคทรัพย์ให้แก่นายผู้ล้มละลายคนนี้ก็ดี คนที่ไปรับทรัพย์จากนายผู้ล้มละลายคนนี้ก็ดี ก็จะตกอยู่ในข่ายความผิดต้องโทษลักษณะเดียวกันไปโดยปริยาย กล่าวคือมีคติเป็น ๒ ไม่ถูกปรับก็ถูกจำ หรือทั้งปรับทั้งจำ พระวินัยบัญญัติกำหนดให้กุลบุตรผู้เป็นอุปสัมปทาเปกขะ (ต้องการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ) หากต้องโทษข้อใดข้อหนึ่ง ใน ๑๓ ข้อเหล่านี้ มิให้มาอยู่ในเพศของพระภิกษุในร่มเงาของพระพุทธศาสนา ถ้าหากว่าแอบเข้ามาบรรพชาอุปสมบททรงเพศเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ทราบในภายหลัง สงฆ์ก็ต้องสั่งให้สิกขาลาพรต ว่า “สิกฺขํ ปจฺจกฺขาหิ เธอจงบอกคืนสิกขาบทเสียเถิด” กรณีตัวอย่างคือ นาคจำแลงแปลงกายเป็นมาณพมาขอบวชเป็นพระภิกษุกับพระสงฆ์กลุ่มหนึ่งอยู่ในป่า พอคืนร่างเป็นนาคตามเดิม ความทราบไปถึงพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ก็รับสั่งให้ภิกษุผู้เป็นนาคจำแลงแปลงกายนั้นบอกคืนสิกขาบท คือให้ลาสิกขาทันที ในทุกกรณีของผู้ที่ต้องอันตรายิกธรรมข้อใดข้อหนึ่ง เช่น ทราบในภายหลังว่าเป็นบัณเฑาะก์ คือ ไม่ใช่บุรุษเพศชาย (ผู้ชายเต็มตัว) ก็สั่งให้ลาสิกขาเช่นเดียวกัน ให้อยู่ในเพศของพระภิกษุในพระพุทธศาสนานี้ไม่ได้ เพราะถือว่าเป็นบุคคลอันตราย จะสร้างความเสียหายให้แก่พระพุทธศาสนาแก่พระสงฆ์องค์สามเณร (ข้าพเจ้าเขียนอธิบายในโพสต์ก่อนแล้ว ร่างเป็นผู้ชายแต่ใจเป็นผู้หญิงก็จะกวนพระกวนเณรไม่ให้อยู่เป็นสุข) ถ้าผู้นั้นเป็นบัณเฑาะก์และรู้ว่าตนก็เป็นบัณเฑาะก์แท้ๆ แต่ปกปิดความเป็นบัณเฑาะก์ทรงเพศของพระภิกษุผู้ประพฤติพรหมจรรย์ในพระพุทธศาสนานี้ไว้ ถือว่าอยู่ในฐานะผู้หลอกลวง ลักขโมยเคี้ยวกลืนกินบิณฑะก้อนข้าวของชาวแว่นแคว้น ท่านเรียกเป็นภาษาพระวินัยว่า “ลักเพศ” คือ ลักขโมยเพศของพระภิกษุ ลักขโมยอุดมเพศที่ครองผ้ากาสาวพัสตร์ธงชัยของพระอรหันต์ เขาจะสั่งสมบาปอกุศลเอาไว้อยู่เรื่อยๆ สุดท้ายเห็นได้ชัดใช่ไหมว่า บัณเฑาะก์ผู้นั้นที่ลักขโมยเพศพระภิกษุแอบอาศัยอยู่ในร่มเงาของพระพุทธศาสนานี้มาเป็นเวลายาวนาน ก็แพ้ภัยตัวเอง กระเด็นออกไปจากพระพุทธศาสนา เปรียบเหมือนกเฬวราก ซากศพเน่า ต้องถูกคลื่นของมหาสมุทรซัดออกมาเกยตื้นติดอยู่กับฝั่งทะเล ฉะนั้น อันตรายิกธรรมเหล่านี้ คือ “โรคเรื้อน ฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ ลมบ้าหมู เจ้าเป็นมนุษย์หรือ เป็นชายหรือ เป็นไทหรือ ไม่มีหนี้สินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดาบิดาอนุญาตแล้วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้วหรือ บาตรจีวรของเจ้ามีครบแล้วหรือ เจ้าชื่ออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้าชื่ออะไร” วิ.ม. ๑/๑๕๔/๑๔๒ ปรากฏอยู่ในอุปสัมปทาวิธีว่า พระคู่สวดถาม สามเณรตอบ กุฏฐัง นัตถิ ภันเต คัณโฑ นัตถิ ภันเต กิลาโส นัตถิ ภันเต โสโส นัตถิ ภันเต อะปะมาโร นัตถิ ภันเต มะนุสโสสิ๊ อามะ ภันเต ปุริโสสิ๊ อามะ ภันเต ภุชิสโสสิ๊ อามะ ภันเต อะนะโณสิ๊ อามะ ภันเต นะสิ๊ราชะภะโฏ อามะ ภันเต อะนุญญาโตสิ๊ มาตาปิตูหิ อามะ ภันเต ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ๊ อามะ ภันเต ปะริปุณณันเต ปัตตะจีวะรัง อามะ ภันเต กินนาโมสิ อะหัง ภันเต...(๑)....นามะ โก นามะ เต อุปัชฌาโย อุปัชฌาโย เมภันเต อายัสมา.... (๒).นามะ (๑) บอกฉายาของตนเอง (๒) บอกฉายาของพระอุปัชฌาย์ ในคำตอบของสามเณร (นาค) หากผิดไปจาก อามะ ภันเต จาก นัตถิ ภันเต แม้ข้อเดียว เช่น “ปุริโสสิ๊ เจ้าเป็นบุรุษเพศชายจริงหรือเปล่า” นาคตอบว่า “นัตถิ ภันเต ไม่ใช่ครับ” “อะนะโณสิ๊ เธอไม่มีหนี้สินใช่ไหม” นาคตอบว่า “นัตถิ ภันเต ไม่ใช่ครับ” พระคู่สวดอาจจะต้องถามย้ำอีกสัก ๒ - ๓ ครั้ง นาคก็ยังตอบอยู่ในคำเดิม คือ นัตถิ ภันเต อุปสัมปทาวิธีก็ต้องล้มไป ยุติพิธีอุปสมบท ทันที อาจถึงกับขับไล่ผู้ต้องอันตรายิกธรรมข้อใดข้อหนึ่งนี้ออกจากสีมา (เขตแดน) ของพระอุโบสถหลังนั้นไปเลย “อย่าแหลมหน้ามาขอบวชอีกเชียวนะ”.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 386 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ศีลสมบัติเป็นรุ่งอรุณแห่งอริยมรรค

    เมื่ออาทิตย์อุทัยขึ้น
    การขึ้นมาแห่งอรุณ (แสงเงินแสงทอง)
    ย่อมเป็นเบื้องต้น เป็นนิมิตที่แลเห็นก่อน
    ฉันใดก็ฉันนั้น เพื่อ ความเกิดขึ้น
    แห่ง #อริยมรรคมีองค์๘
    ศีลสมบัติ (ความถึงพร้อมด้วยศีล)
    ย่อมเป็นหลักเบื้องต้น เป็นนิมิตเบื้องต้น
    .
    จากหนังสือขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์หน้า 224
    .
    .
    .
    #happynewyear2025
    #สวัสดีปีใหม่2568
    #ThewordoftheBuddha
    #thewordofbuddha
    #dharmaofbuddha
    #คำสอนของพระพุทธเจ้า
    #ธรรมะของพระพุทธเจ้า
    #พระสูตร #พระไตรปิฎก
    #walkontheways
    #orgabotaessence
    #orgabotaessenceproducts
    #ศีลสมบัติเป็นรุ่งอรุณแห่งอริยมรรค เมื่ออาทิตย์อุทัยขึ้น การขึ้นมาแห่งอรุณ (แสงเงินแสงทอง) ย่อมเป็นเบื้องต้น เป็นนิมิตที่แลเห็นก่อน ฉันใดก็ฉันนั้น เพื่อ ความเกิดขึ้น แห่ง #อริยมรรคมีองค์๘ ศีลสมบัติ (ความถึงพร้อมด้วยศีล) ย่อมเป็นหลักเบื้องต้น เป็นนิมิตเบื้องต้น . จากหนังสือขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์หน้า 224 . . . #happynewyear2025 #สวัสดีปีใหม่2568 #ThewordoftheBuddha #thewordofbuddha #dharmaofbuddha #คำสอนของพระพุทธเจ้า #ธรรมะของพระพุทธเจ้า #พระสูตร #พระไตรปิฎก #walkontheways #orgabotaessence #orgabotaessenceproducts
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 502 มุมมอง 0 รีวิว
  • กรรมเก่าและการสร้างปัจจุบันกรรมเพื่อความร่ำรวย

    กรรมเก่า:
    กรรมเก่ามีบทบาทสำคัญในการ "เอื้อ" หรือ "จำกัด" ความสามารถในการมีเงินของเรา เช่นเดียวกับการที่เราเกิดมาพร้อมกับภาชนะที่รองรับอาหารได้ต่างกัน:

    1. ภาชนะเล็ก:

    เคยทำทานน้อย รักษาศีลไม่สม่ำเสมอ หรือตระหนี่ถี่เหนียว

    ผลกรรม: รองรับทรัพย์ได้น้อย แม้ได้ทรัพย์มา ก็มีแนวโน้มสูญเสียง่าย

    2. ภาชนะขนาดกลาง:

    เคยทำทานปานกลาง รักษาศีลในระดับใช้ได้

    ผลกรรม: มีความมั่นคงในทรัพย์ระดับหนึ่ง ไม่ขาดแคลน

    3. ภาชนะขนาดใหญ่:

    เคยทำทานอย่างรื่นเริง ทำด้วยจิตอิ่มเอิบ รักษาศีลบริสุทธิ์

    ผลกรรม: รองรับทรัพย์ได้มหาศาล ทรัพย์สมบัติเกิดขึ้นและคงอยู่

    กรรมเก่าในรูปของ ทานจิต และ ศีลจิต ส่งผลต่อฐานะทางการเงินในปัจจุบัน แต่ไม่ได้แปลว่ากรรมเก่าจะกำหนดทุกอย่าง 100%

    ---

    ปัจจุบันกรรม:
    พระพุทธเจ้าสอนให้ใส่ใจปัจจุบันกรรม ด้วยการประกอบอาชีพสุจริต ขยันขันแข็ง และรู้จักบริหารทรัพย์อย่างเหมาะสม:

    1. ขยัน:

    ทุ่มเทแรงกายแรงใจในงานที่ทำ

    สร้างความชำนาญและความน่าเชื่อถือ

    2. รู้จักเก็บ:

    บริหารทรัพย์สินให้สมดุล ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย

    วางแผนการเงินเพื่ออนาคต

    3. รู้จักอุปสงค์-อุปทาน:

    ศึกษาตลาดและความต้องการ

    เลือกแนวทางการทำมาหากินที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม

    4. เผื่อแผ่และเจือจาน:

    ฝึกทำทานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อขยายภาชนะรับทรัพย์ในอนาคต

    ไม่จำเป็นต้องทำมากในคราวเดียว แต่ต้องทำด้วยใจที่เต็มเปี่ยม

    ---

    สรุป:

    กรรมเก่า: เป็นพื้นฐานที่เอื้อให้มีทรัพย์ในระดับหนึ่ง

    ปัจจุบันกรรม: เป็นตัวสร้างผลสำเร็จในระยะสั้นและระยะยาว

    อยากรวยอย่างยั่งยืน ให้ขยันทำงานสุจริต พร้อมทั้งทำทานและรักษาศีลอย่างต่อเนื่อง เมื่อนั้นทั้งผลกรรมเก่าและปัจจุบันกรรมจะสนับสนุนให้ชีวิตรุ่งเรืองขึ้นเอง.
    กรรมเก่าและการสร้างปัจจุบันกรรมเพื่อความร่ำรวย กรรมเก่า: กรรมเก่ามีบทบาทสำคัญในการ "เอื้อ" หรือ "จำกัด" ความสามารถในการมีเงินของเรา เช่นเดียวกับการที่เราเกิดมาพร้อมกับภาชนะที่รองรับอาหารได้ต่างกัน: 1. ภาชนะเล็ก: เคยทำทานน้อย รักษาศีลไม่สม่ำเสมอ หรือตระหนี่ถี่เหนียว ผลกรรม: รองรับทรัพย์ได้น้อย แม้ได้ทรัพย์มา ก็มีแนวโน้มสูญเสียง่าย 2. ภาชนะขนาดกลาง: เคยทำทานปานกลาง รักษาศีลในระดับใช้ได้ ผลกรรม: มีความมั่นคงในทรัพย์ระดับหนึ่ง ไม่ขาดแคลน 3. ภาชนะขนาดใหญ่: เคยทำทานอย่างรื่นเริง ทำด้วยจิตอิ่มเอิบ รักษาศีลบริสุทธิ์ ผลกรรม: รองรับทรัพย์ได้มหาศาล ทรัพย์สมบัติเกิดขึ้นและคงอยู่ กรรมเก่าในรูปของ ทานจิต และ ศีลจิต ส่งผลต่อฐานะทางการเงินในปัจจุบัน แต่ไม่ได้แปลว่ากรรมเก่าจะกำหนดทุกอย่าง 100% --- ปัจจุบันกรรม: พระพุทธเจ้าสอนให้ใส่ใจปัจจุบันกรรม ด้วยการประกอบอาชีพสุจริต ขยันขันแข็ง และรู้จักบริหารทรัพย์อย่างเหมาะสม: 1. ขยัน: ทุ่มเทแรงกายแรงใจในงานที่ทำ สร้างความชำนาญและความน่าเชื่อถือ 2. รู้จักเก็บ: บริหารทรัพย์สินให้สมดุล ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย วางแผนการเงินเพื่ออนาคต 3. รู้จักอุปสงค์-อุปทาน: ศึกษาตลาดและความต้องการ เลือกแนวทางการทำมาหากินที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม 4. เผื่อแผ่และเจือจาน: ฝึกทำทานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อขยายภาชนะรับทรัพย์ในอนาคต ไม่จำเป็นต้องทำมากในคราวเดียว แต่ต้องทำด้วยใจที่เต็มเปี่ยม --- สรุป: กรรมเก่า: เป็นพื้นฐานที่เอื้อให้มีทรัพย์ในระดับหนึ่ง ปัจจุบันกรรม: เป็นตัวสร้างผลสำเร็จในระยะสั้นและระยะยาว อยากรวยอย่างยั่งยืน ให้ขยันทำงานสุจริต พร้อมทั้งทำทานและรักษาศีลอย่างต่อเนื่อง เมื่อนั้นทั้งผลกรรมเก่าและปัจจุบันกรรมจะสนับสนุนให้ชีวิตรุ่งเรืองขึ้นเอง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 207 มุมมอง 0 รีวิว
  • #รวมคำสอนผิด คน…ธรรม (จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด...)

    1. พระอรหันต์ฆ่าตัวตาย ทำการุณยฆาต❌
    ที่ถูกคือ>> พระอรหันต์ไม่ฆ่าตัวตาย
    สมดังคำที่พระสารีบุตรกล่าวว่า
    เราไม่ยินดีความตาย
    ไม่ปรารถนาความเป็น
    แต่เรารอเวลาแตกดับ (ปรินิพพาน)
    เหมือนลูกจ้างรอค่าจ้างฉะนั้น.
    และการุณยฆาตไม่ใช่การฆ่าตัวเอง

    2. พระพุทธเจ้าไม่เคยใช้กุศโลบาย❌
    ที่ถูกคือ>> พระพุทธเจ้าเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ด้วยอุบายเครื่องแนะนำอย่างวิจิตร มีอาฬวกยักษ์เป็นต้น. แม้คำสอนทั้งหมดก็มีอุบายสอน เช่นอุบายเครื่องสงบจิต.

    3. พุทธคุณในพระเครื่องไม่มี❌
    ที่ถูกคือ>> พุทธคุณในพระเครื่องมีทั้งมีและไม่มี ที่มีเพราะเหตุปัจจัยถึงพร้อม คือ ผู้สวดพระปริตรมีศีล ไม่มีความโลภอยากได้ลาภสักการะ สวดด้วยความอนุเคราะห์ ด้วยศรัทธา บาลีไม่ผิดเพี้ยน ย่อมมีอานุภาพ/ ส่วนที่ไม่มีอานุภาพก็ตรงกันข้ามกัน (ตัวอย่างตั่ง(ที่นั่ง)ที่พระองคุลิมาลนั่งทำสัจกิริยา ก็มีอานุภาพตลอดกัป)

    4. พระปริตรป้องกันภัยไม่ได้
    พระปริตรขัดกับหลักกรรมและสุขทุกข์ไม่มีใครบันดาล❌
    ที่ถูกคือ >> กรรมและสุขทุกข์ไม่มีใครบันดาลนั้นหมายความว่า “สุขทุกข์ไม่ได้เกิดจากพระผู้สร้าง เช่นพระอิศวรนิรมิต” / พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธพระผู้สร้าง เพราะศาสนาพุทธเป็นศาสนาแห่งเหตุและปัจจัย ไม่ได้เกิดขึ้นเองลอยๆหรือใครบันดาล >> พระปริตรเป็นกุศลกรรม ไม่ใช่ใครบันดาล แต่เกิดจากกรรมในปัจจุบัน ที่บุคคลนั้นได้กล่าวสัจจกิริยา หรือ สวดพระปริตร ซึ่งเป็นกุศลที่ให้ผลในปัจจุบัน ตามหลักแห่งกรรม เป็น ทิฐธรรมเวทนียกรรม
    >> และพระปริตรก็มีเหตุปัจจัยอื่นเป็นตัวแปรที่ให้ผลไม่ได้ทุกคน จึงแทนโรงพยาบาลไม่ได้ แต่ผู้มีศรัทธา ไม่ทำกรรมหนัก ไม่สวดด้วยกิเลส และยังไม่หมดอายุขัย พระปริตรย่อมช่วยได้.

    5. สร้างศาลาใหญ่ไว้ให้หมานอนเกาขี้กาก❌ ที่ถูกคือ ทำบุญในศาสนาของพระพุทธเจ้าผู้มีคุณหาประมาณมิได้ ไม่ควรกำหนดว่าเท่านั้นเท่านี้ มีตัวอย่างพระลกุณฏกะ ในอดีตท่านแนะนำชาวบ้านให้สร้างเจดีย์จากใหญ่ให้เหลือเล็กลง ด้วยวิบากกรรมนั้นท่านจึงเกิดมาตัวเล็กเตี้ยเหมือนสามเณร

    6. บวชพระ, บวชตามประเพณี, บวชหน้าไฟ ไม่เป็นการทดแทนบุญคุณพ่อแม่❌ ที่ถูกคือ>> การบวชแม้ไม่ใช่การทดแทนคุณพ่อแม่สูงสุด แต่ก็เป็นการทดแทนคุณได้ เพราะการบวชทำให้พ่อแม่เกิดกุศลจิต พ่อแม่ได้ทำบุญใส่บาตรพระลูกชายเป็นต้น การทำให้พ่อแม่เกิดกุศลจิตได้ เป็นการทดแทนคุณอย่างหนึ่ง

    7. สัมภเวสี คือช่วงรออัตภาพการเกิด คือเวลาที่กายแตกตายแต่สี่ขันธ์ยังยึดรูปอยู่ยังรู้อยู่เรียกช่วงนี้ว่าสัมภเวสี❌ ที่ถูกคือ >> สัมภเวสี คือ ผู้ที่แสวงหาที่เกิด, ผู้ที่ยังต้องเกิด คือ พระเสขะและปุถุชน ยกเว้นพระอรหันต์ เพราะยังละภวสังโยชน์ยังไม่ได้.
    👉 สัมภเวสี ตามนัยแห่งกำเนิด 4 คือ
    1. เกิดในไข่ (ขณะอยู่ในไข่ เรียกสัมภเวสี ออกจากไข่ได้แล้วเรียกว่าภูต คือเกิดแล้ว)
    2. เกิดในครรภ์ (ขณะอยู่ในรก เรียกสัมภเวสี คลอดออกมาแล้วเรียกว่าภูต คือเกิดแล้ว)
    3. เกิดในเถ้าไคล และ 4. เกิดแบบผุดเกิด
    (ขณะแห่งปฐมจิต เรียกสัมภเวสี
    ขณะแห่งจิตดวงที่สอง ชื่อว่าภูต คือเกิดแล้ว)
    มาใน : อรรถกถาเมตตสูตร

    8. อมตะธาตุยึดขันธ์ห้า❌
    ที่ถูกคือ>> อมตะธาตุยึดขันธ์๕ไม่ได้
    เพราะอมตะธาตุคือนิพพาน

    9. โสดาปัตติมรรค ละสังโยชน์ข้อแรก
    โสดาปัตติผล ละสังโยชน์อีกสองข้อ❌
    ที่ถูกคือ>> โสดาปัตติมัคคจิต เป็นจิตที่ประหาณจิตโลภที่เป็นทิฏฐิสัมปยุตต ๔ ดวง และโมหมูลจิตที่เป็นวิจิกิจฉาสัมปยุตต ๑ ดวง อย่างเด็ดขาด เป็นสมุจเฉทประหาณ รวมประหาณ อกุศลจิต ๕ ดวง เด็ดขาด /โสดาปัตติผลจิต เป็นจิตที่เกิดขึ้นเพื่อเสวยสุขจากการที่โสดาปัตติมรรคญาณได้ทำการประหาณแล้ว

    10. ลอยกระทง ไปขอขมาทำไมแม่น้ำ ไปทะเลาะกับแม่น้ำเหรอจึงต้องขอขมา / วันลอยกระทงตามหลักคำสอนพระพุทธเจ้าคือวันดอกโกมุทบาน❌
    ที่ถูกคือ>> การรู้คุณแม่น้ำถือว่าเป็นผู้รู้คุณในสรรพสิ่ง สมดังคำที่พระองค์ตรัสว่า "บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่พึงหักรานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวทราม" ดังนั้นสิ่งที่มีอุปการะแก่ชีวิตเราล้วนมีคุณเพียงแค่เราจะเห็นคุณนั้นหรือไม่ ส่วนน้ำนั้นคนโบราณเห็นว่าใช้น้ำมาทั้งปี ทำไร่ ทำนา ใช้ชำระกายทั้งดื่มกิน เขาก็ระลึกรู้คุณเป็นพิเศษ ก็ถือได้ว่าเขาเป็นคนดีเลยทีเดียว
    / และวันลอยกระทงตามหลักคำสอนพระพุทธเจ้าคือวันดอกโกมุทบาน❌ ไม่ควรกล่าวอ้างอย่างนั้น เพราะดอกโกมุทบานเป็นเพียงคำขยายของพระจันทร์ เพราะวันนั้นเป็นวันพระจันทร์เต็มดวงในฤดูฝน ดอกโกมุทบานก็บานทั้งฤดูอยู่แล้ว ดอกโกมุทบานเป็นเพียงผู้ร่วมงาน ประธานคือพระจันทร์เต็มดวง ดังนั้นจึงไม่ควรเอาแขกร่วมงานมาตั้งชื้อวัน

    11. ใครแย้งว่าสอนผิด จะอ้างว่าเขาอิจฉาริษยา❌
    ที่ถูกคือ>> ผู้ชี้โทษ ไม่ใช่เพราะอิจฉาริษยา แต่เป็นการติเตียนตามธรรม เพื่อปกป้องพระพุทธศาสนาไม่ให้ใครมาบิดเบือน / ทราบว่าที่คุณพูดเอามาจากสักกปัญหาสูตร
    ท้าวสักกะได้ทูลถามพระพุทธเจ้าว่า “ทำไมสัตว์ทั้งหลายมีความปรารถนาไม่มีเวร ไม่ถูกเบียดเบียนฯลฯ แต่เพราะอะไรพวกเขาจึงยังคงมีเวร ถูกเบียดเบียนอยู่”
    พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ”เพราะมีอิสสา(ความริษยา) และมัจฉริยะ(ความตระหนี่) สัตว์ทั้งหลายจึงจองเวรกัน เบียดเบียนกัน ซึ่งท่านใช้สูตรนี้มาสอนลูกศิษย์ และลูกศิษย์ก็เที่ยวไปว่าคนเห็นต่างว่าอิจฉาริษยาอาจารย์เขา /ทำไมคุณไม่ใช้สูตรผู้ชี้โทษคือผู้ชี้ขุมทรัพย์มาสอน.

    ✍️ที่สอนถูกก็มี ผิดก็ควรแก้ไข
    หวังว่าท่านจะระวังในการสอนมากขึ้น

    #แค่ผ่านตา แต่ก็อดไม่ได้ที่จะต้องชี้แจง
    >> ผู้เขียน : โลก กะ ธรรม กับม่อน

    Credit : เปรมวดี ก๋งชิน
    #รวมคำสอนผิด คน…ธรรม (จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด...) 1. พระอรหันต์ฆ่าตัวตาย ทำการุณยฆาต❌ ที่ถูกคือ>> พระอรหันต์ไม่ฆ่าตัวตาย สมดังคำที่พระสารีบุตรกล่าวว่า เราไม่ยินดีความตาย ไม่ปรารถนาความเป็น แต่เรารอเวลาแตกดับ (ปรินิพพาน) เหมือนลูกจ้างรอค่าจ้างฉะนั้น. และการุณยฆาตไม่ใช่การฆ่าตัวเอง 2. พระพุทธเจ้าไม่เคยใช้กุศโลบาย❌ ที่ถูกคือ>> พระพุทธเจ้าเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ด้วยอุบายเครื่องแนะนำอย่างวิจิตร มีอาฬวกยักษ์เป็นต้น. แม้คำสอนทั้งหมดก็มีอุบายสอน เช่นอุบายเครื่องสงบจิต. 3. พุทธคุณในพระเครื่องไม่มี❌ ที่ถูกคือ>> พุทธคุณในพระเครื่องมีทั้งมีและไม่มี ที่มีเพราะเหตุปัจจัยถึงพร้อม คือ ผู้สวดพระปริตรมีศีล ไม่มีความโลภอยากได้ลาภสักการะ สวดด้วยความอนุเคราะห์ ด้วยศรัทธา บาลีไม่ผิดเพี้ยน ย่อมมีอานุภาพ/ ส่วนที่ไม่มีอานุภาพก็ตรงกันข้ามกัน (ตัวอย่างตั่ง(ที่นั่ง)ที่พระองคุลิมาลนั่งทำสัจกิริยา ก็มีอานุภาพตลอดกัป) 4. พระปริตรป้องกันภัยไม่ได้ พระปริตรขัดกับหลักกรรมและสุขทุกข์ไม่มีใครบันดาล❌ ที่ถูกคือ >> กรรมและสุขทุกข์ไม่มีใครบันดาลนั้นหมายความว่า “สุขทุกข์ไม่ได้เกิดจากพระผู้สร้าง เช่นพระอิศวรนิรมิต” / พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธพระผู้สร้าง เพราะศาสนาพุทธเป็นศาสนาแห่งเหตุและปัจจัย ไม่ได้เกิดขึ้นเองลอยๆหรือใครบันดาล >> พระปริตรเป็นกุศลกรรม ไม่ใช่ใครบันดาล แต่เกิดจากกรรมในปัจจุบัน ที่บุคคลนั้นได้กล่าวสัจจกิริยา หรือ สวดพระปริตร ซึ่งเป็นกุศลที่ให้ผลในปัจจุบัน ตามหลักแห่งกรรม เป็น ทิฐธรรมเวทนียกรรม >> และพระปริตรก็มีเหตุปัจจัยอื่นเป็นตัวแปรที่ให้ผลไม่ได้ทุกคน จึงแทนโรงพยาบาลไม่ได้ แต่ผู้มีศรัทธา ไม่ทำกรรมหนัก ไม่สวดด้วยกิเลส และยังไม่หมดอายุขัย พระปริตรย่อมช่วยได้. 5. สร้างศาลาใหญ่ไว้ให้หมานอนเกาขี้กาก❌ ที่ถูกคือ ทำบุญในศาสนาของพระพุทธเจ้าผู้มีคุณหาประมาณมิได้ ไม่ควรกำหนดว่าเท่านั้นเท่านี้ มีตัวอย่างพระลกุณฏกะ ในอดีตท่านแนะนำชาวบ้านให้สร้างเจดีย์จากใหญ่ให้เหลือเล็กลง ด้วยวิบากกรรมนั้นท่านจึงเกิดมาตัวเล็กเตี้ยเหมือนสามเณร 6. บวชพระ, บวชตามประเพณี, บวชหน้าไฟ ไม่เป็นการทดแทนบุญคุณพ่อแม่❌ ที่ถูกคือ>> การบวชแม้ไม่ใช่การทดแทนคุณพ่อแม่สูงสุด แต่ก็เป็นการทดแทนคุณได้ เพราะการบวชทำให้พ่อแม่เกิดกุศลจิต พ่อแม่ได้ทำบุญใส่บาตรพระลูกชายเป็นต้น การทำให้พ่อแม่เกิดกุศลจิตได้ เป็นการทดแทนคุณอย่างหนึ่ง 7. สัมภเวสี คือช่วงรออัตภาพการเกิด คือเวลาที่กายแตกตายแต่สี่ขันธ์ยังยึดรูปอยู่ยังรู้อยู่เรียกช่วงนี้ว่าสัมภเวสี❌ ที่ถูกคือ >> สัมภเวสี คือ ผู้ที่แสวงหาที่เกิด, ผู้ที่ยังต้องเกิด คือ พระเสขะและปุถุชน ยกเว้นพระอรหันต์ เพราะยังละภวสังโยชน์ยังไม่ได้. 👉 สัมภเวสี ตามนัยแห่งกำเนิด 4 คือ 1. เกิดในไข่ (ขณะอยู่ในไข่ เรียกสัมภเวสี ออกจากไข่ได้แล้วเรียกว่าภูต คือเกิดแล้ว) 2. เกิดในครรภ์ (ขณะอยู่ในรก เรียกสัมภเวสี คลอดออกมาแล้วเรียกว่าภูต คือเกิดแล้ว) 3. เกิดในเถ้าไคล และ 4. เกิดแบบผุดเกิด (ขณะแห่งปฐมจิต เรียกสัมภเวสี ขณะแห่งจิตดวงที่สอง ชื่อว่าภูต คือเกิดแล้ว) มาใน : อรรถกถาเมตตสูตร 8. อมตะธาตุยึดขันธ์ห้า❌ ที่ถูกคือ>> อมตะธาตุยึดขันธ์๕ไม่ได้ เพราะอมตะธาตุคือนิพพาน 9. โสดาปัตติมรรค ละสังโยชน์ข้อแรก โสดาปัตติผล ละสังโยชน์อีกสองข้อ❌ ที่ถูกคือ>> โสดาปัตติมัคคจิต เป็นจิตที่ประหาณจิตโลภที่เป็นทิฏฐิสัมปยุตต ๔ ดวง และโมหมูลจิตที่เป็นวิจิกิจฉาสัมปยุตต ๑ ดวง อย่างเด็ดขาด เป็นสมุจเฉทประหาณ รวมประหาณ อกุศลจิต ๕ ดวง เด็ดขาด /โสดาปัตติผลจิต เป็นจิตที่เกิดขึ้นเพื่อเสวยสุขจากการที่โสดาปัตติมรรคญาณได้ทำการประหาณแล้ว 10. ลอยกระทง ไปขอขมาทำไมแม่น้ำ ไปทะเลาะกับแม่น้ำเหรอจึงต้องขอขมา / วันลอยกระทงตามหลักคำสอนพระพุทธเจ้าคือวันดอกโกมุทบาน❌ ที่ถูกคือ>> การรู้คุณแม่น้ำถือว่าเป็นผู้รู้คุณในสรรพสิ่ง สมดังคำที่พระองค์ตรัสว่า "บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่พึงหักรานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวทราม" ดังนั้นสิ่งที่มีอุปการะแก่ชีวิตเราล้วนมีคุณเพียงแค่เราจะเห็นคุณนั้นหรือไม่ ส่วนน้ำนั้นคนโบราณเห็นว่าใช้น้ำมาทั้งปี ทำไร่ ทำนา ใช้ชำระกายทั้งดื่มกิน เขาก็ระลึกรู้คุณเป็นพิเศษ ก็ถือได้ว่าเขาเป็นคนดีเลยทีเดียว / และวันลอยกระทงตามหลักคำสอนพระพุทธเจ้าคือวันดอกโกมุทบาน❌ ไม่ควรกล่าวอ้างอย่างนั้น เพราะดอกโกมุทบานเป็นเพียงคำขยายของพระจันทร์ เพราะวันนั้นเป็นวันพระจันทร์เต็มดวงในฤดูฝน ดอกโกมุทบานก็บานทั้งฤดูอยู่แล้ว ดอกโกมุทบานเป็นเพียงผู้ร่วมงาน ประธานคือพระจันทร์เต็มดวง ดังนั้นจึงไม่ควรเอาแขกร่วมงานมาตั้งชื้อวัน 11. ใครแย้งว่าสอนผิด จะอ้างว่าเขาอิจฉาริษยา❌ ที่ถูกคือ>> ผู้ชี้โทษ ไม่ใช่เพราะอิจฉาริษยา แต่เป็นการติเตียนตามธรรม เพื่อปกป้องพระพุทธศาสนาไม่ให้ใครมาบิดเบือน / ทราบว่าที่คุณพูดเอามาจากสักกปัญหาสูตร ท้าวสักกะได้ทูลถามพระพุทธเจ้าว่า “ทำไมสัตว์ทั้งหลายมีความปรารถนาไม่มีเวร ไม่ถูกเบียดเบียนฯลฯ แต่เพราะอะไรพวกเขาจึงยังคงมีเวร ถูกเบียดเบียนอยู่” พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ”เพราะมีอิสสา(ความริษยา) และมัจฉริยะ(ความตระหนี่) สัตว์ทั้งหลายจึงจองเวรกัน เบียดเบียนกัน ซึ่งท่านใช้สูตรนี้มาสอนลูกศิษย์ และลูกศิษย์ก็เที่ยวไปว่าคนเห็นต่างว่าอิจฉาริษยาอาจารย์เขา /ทำไมคุณไม่ใช้สูตรผู้ชี้โทษคือผู้ชี้ขุมทรัพย์มาสอน. ✍️ที่สอนถูกก็มี ผิดก็ควรแก้ไข หวังว่าท่านจะระวังในการสอนมากขึ้น #แค่ผ่านตา แต่ก็อดไม่ได้ที่จะต้องชี้แจง >> ผู้เขียน : โลก กะ ธรรม กับม่อน Credit : เปรมวดี ก๋งชิน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 344 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในวาระขึ้นปีใหม่นี้ หากระลึกถึงคติแห่งพร หรือมงคลทางพระพุทธศาสนาดังกล่าว และหันมาขอพรอย่างนี้กันให้มากขึ้น พรอย่างนี้ไม่ต้องไปขอจากใคร ให้ขอจากตนเอง คือ ขอให้ตนเองเว้นความประพฤติต่างๆ ที่ชั่วร้าย ขอให้ตนเองสร้างคุณความดี ขอให้ตนเองระงับใจจากความโลภโกรธหลง พรเหล่านี้ตนเองเท่านั้นที่จะให้ได้ ใครอื่นจะขอหรือแนะนำตักเตือนสักเท่าไร ถ้าตนเองไม่ทำแล้วก็ไม่สำเร็จประโยชน์

    พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “จงเตือนตนด้วยตนเอง จงพิจารณาตนด้วยตนเอง ท่านมีสติคุ้มครองตนได้แล้ว เป็นผู้เห็นภัยในโทษ แม้เพียงเล็กน้อย จักอยู่เป็นสุข” นี้คือวิธีขอพรตนเองของพระพุทธเจ้าผู้เลิศล้ำ ขอให้พรนี้ จงสำเร็จแก่ทุกๆ ท่าน
    .
    --- สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
    ในวาระขึ้นปีใหม่นี้ หากระลึกถึงคติแห่งพร หรือมงคลทางพระพุทธศาสนาดังกล่าว และหันมาขอพรอย่างนี้กันให้มากขึ้น พรอย่างนี้ไม่ต้องไปขอจากใคร ให้ขอจากตนเอง คือ ขอให้ตนเองเว้นความประพฤติต่างๆ ที่ชั่วร้าย ขอให้ตนเองสร้างคุณความดี ขอให้ตนเองระงับใจจากความโลภโกรธหลง พรเหล่านี้ตนเองเท่านั้นที่จะให้ได้ ใครอื่นจะขอหรือแนะนำตักเตือนสักเท่าไร ถ้าตนเองไม่ทำแล้วก็ไม่สำเร็จประโยชน์ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “จงเตือนตนด้วยตนเอง จงพิจารณาตนด้วยตนเอง ท่านมีสติคุ้มครองตนได้แล้ว เป็นผู้เห็นภัยในโทษ แม้เพียงเล็กน้อย จักอยู่เป็นสุข” นี้คือวิธีขอพรตนเองของพระพุทธเจ้าผู้เลิศล้ำ ขอให้พรนี้ จงสำเร็จแก่ทุกๆ ท่าน . --- สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 210 มุมมอง 0 รีวิว
  • อภัยและปล่อยวาง: วิธีสร้างใจเย็นและโปร่งเบา

    เริ่มต้นให้อภัย: ทำไมจึงยาก?
    การให้อภัยไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่รู้สึกเจ็บลึกจากการกระทำของผู้อื่น ความรู้สึกเจ็บปวดและผูกใจเจ็บมักทำให้เราเห็นการให้อภัยเป็นการ "ปล่อยให้คนผิดลอยนวล" หรือ "ยอมเสียเปรียบ" แต่ในมุมมองทางพุทธศาสนา การให้อภัยคือการรักษาจิตใจของเราให้หายจาก "โรคทางใจ" ที่ชื่อว่าพยาบาท

    ---

    มองความพยาบาทในฐานะ 'โรคทางใจ'
    พระพุทธเจ้าตรัสเปรียบความโกรธเกลียดว่าเป็นโรคที่รุมเร้าจิตใจ ทำให้เกิดความหดหู่ เศร้าหมอง และไร้กำลังวังชา การยอมปล่อยวางความพยาบาทจึงเปรียบเสมือนการรักษาใจให้กลับมาสดชื่นและมีพลังอีกครั้ง

    ---

    อุบายฝึกใจให้อภัย

    1. สังเกตใจที่ป่วย:
    เมื่อเราโกรธหรือผูกใจเจ็บ ให้สังเกตว่าใจของเรานั้นฟุ้งซ่าน ร้อนรน และไม่มีความสุข

    2. เปรียบเทียบสุขและทุกข์:
    เมื่อยังยึดติดกับความพยาบาท ความร้อนเหมือนไข้จะครอบงำใจ แต่เมื่อเปลี่ยนเป็นอภัย ความเย็นและความสุขจะเข้ามาแทนที่

    3. เจริญเมตตา:
    ฝึกมองคู่กรณีในฐานะเพื่อนร่วมทุกข์ ปรารถนาให้เขาไม่ต้องเป็นต้นเหตุแห่งความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น

    4. ไม่จำเป็นต้องแกล้งดี:
    หากความสัมพันธ์ไม่สามารถฟื้นฟูได้ ให้ยุติความสัมพันธ์โดยไม่สร้างความเกลียดชังเพิ่มเติม การให้อภัยไม่ได้หมายถึงการกลับไปคบหากันเสมอไป

    ---

    อภัยไม่ได้แปลว่าไม่รักษาสิทธิ์
    การให้อภัยในมุมพุทธศาสนาไม่ใช่การยอมละทิ้งความยุติธรรม เราสามารถเรียกร้องสิทธิ์หรือปกป้องความถูกต้องได้ โดยไม่ต้องยึดติดหรือเก็บความโกรธไว้ในใจ

    ---

    ผลลัพธ์ของการให้อภัย
    เมื่อจิตใจเย็นลงจากการให้อภัยจริง เราจะรู้สึกโปร่งโล่ง มีพลัง และเปี่ยมด้วยความสุขแบบที่อยากแบ่งปันให้ผู้อื่น ความสุขนี้จะสะท้อนผ่านสายตา น้ำเสียง และท่าที ทำให้ผู้คนที่พบเจอรู้สึกประทับใจในความสงบและความเมตตาของเรา

    ข้อคิดส่งท้าย:
    การให้อภัยไม่ใช่เพียงการปล่อยคนอื่นไป แต่คือการปล่อยตัวเองจากความทุกข์ และสร้างโลกในใจให้เย็นและเบาสบาย!
    อภัยและปล่อยวาง: วิธีสร้างใจเย็นและโปร่งเบา เริ่มต้นให้อภัย: ทำไมจึงยาก? การให้อภัยไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่รู้สึกเจ็บลึกจากการกระทำของผู้อื่น ความรู้สึกเจ็บปวดและผูกใจเจ็บมักทำให้เราเห็นการให้อภัยเป็นการ "ปล่อยให้คนผิดลอยนวล" หรือ "ยอมเสียเปรียบ" แต่ในมุมมองทางพุทธศาสนา การให้อภัยคือการรักษาจิตใจของเราให้หายจาก "โรคทางใจ" ที่ชื่อว่าพยาบาท --- มองความพยาบาทในฐานะ 'โรคทางใจ' พระพุทธเจ้าตรัสเปรียบความโกรธเกลียดว่าเป็นโรคที่รุมเร้าจิตใจ ทำให้เกิดความหดหู่ เศร้าหมอง และไร้กำลังวังชา การยอมปล่อยวางความพยาบาทจึงเปรียบเสมือนการรักษาใจให้กลับมาสดชื่นและมีพลังอีกครั้ง --- อุบายฝึกใจให้อภัย 1. สังเกตใจที่ป่วย: เมื่อเราโกรธหรือผูกใจเจ็บ ให้สังเกตว่าใจของเรานั้นฟุ้งซ่าน ร้อนรน และไม่มีความสุข 2. เปรียบเทียบสุขและทุกข์: เมื่อยังยึดติดกับความพยาบาท ความร้อนเหมือนไข้จะครอบงำใจ แต่เมื่อเปลี่ยนเป็นอภัย ความเย็นและความสุขจะเข้ามาแทนที่ 3. เจริญเมตตา: ฝึกมองคู่กรณีในฐานะเพื่อนร่วมทุกข์ ปรารถนาให้เขาไม่ต้องเป็นต้นเหตุแห่งความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น 4. ไม่จำเป็นต้องแกล้งดี: หากความสัมพันธ์ไม่สามารถฟื้นฟูได้ ให้ยุติความสัมพันธ์โดยไม่สร้างความเกลียดชังเพิ่มเติม การให้อภัยไม่ได้หมายถึงการกลับไปคบหากันเสมอไป --- อภัยไม่ได้แปลว่าไม่รักษาสิทธิ์ การให้อภัยในมุมพุทธศาสนาไม่ใช่การยอมละทิ้งความยุติธรรม เราสามารถเรียกร้องสิทธิ์หรือปกป้องความถูกต้องได้ โดยไม่ต้องยึดติดหรือเก็บความโกรธไว้ในใจ --- ผลลัพธ์ของการให้อภัย เมื่อจิตใจเย็นลงจากการให้อภัยจริง เราจะรู้สึกโปร่งโล่ง มีพลัง และเปี่ยมด้วยความสุขแบบที่อยากแบ่งปันให้ผู้อื่น ความสุขนี้จะสะท้อนผ่านสายตา น้ำเสียง และท่าที ทำให้ผู้คนที่พบเจอรู้สึกประทับใจในความสงบและความเมตตาของเรา ข้อคิดส่งท้าย: การให้อภัยไม่ใช่เพียงการปล่อยคนอื่นไป แต่คือการปล่อยตัวเองจากความทุกข์ และสร้างโลกในใจให้เย็นและเบาสบาย!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 263 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันเดือนปีก็ผ่านไปเร็วไปตามกาลของมัน เรารีบตักตวงเอาบุญกุศล เอาธรรมะของพระพุทธเจ้าไว้ในจิต เจ้าพระกาฬก็จองมองดูเรา เก็บเกี่ยวไปเมื่อไรไม่รู้
    วันเดือนปีก็ผ่านไปเร็วไปตามกาลของมัน เรารีบตักตวงเอาบุญกุศล เอาธรรมะของพระพุทธเจ้าไว้ในจิต เจ้าพระกาฬก็จองมองดูเรา เก็บเกี่ยวไปเมื่อไรไม่รู้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 115 มุมมอง 0 รีวิว
  • เรื่องนี้มีอยู่จริงมนุษย์ต่างดาว"พระพุทธเจ้าท่านเคยตรัสสอนไว้ว่าไม่ได้มีเพียงโลกกายานี้เท่านั้น แต่ยังมีทวีปอื่นๆมากมายแม้ดวงอาทิตย์ก็มีมากมายนับประมาณมิได้เลย
    เรื่องนี้มีอยู่จริงมนุษย์ต่างดาว"พระพุทธเจ้าท่านเคยตรัสสอนไว้ว่าไม่ได้มีเพียงโลกกายานี้เท่านั้น แต่ยังมีทวีปอื่นๆมากมายแม้ดวงอาทิตย์ก็มีมากมายนับประมาณมิได้เลย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 186 มุมมอง 10 0 รีวิว
Pages Boosts