• พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าไม่เคยเสื่อมถอย ไม่เคยล้าสมัย 2,600 ปีร่วงมา ..ฟังจากพระสาวกท่านสมัยปัจจุบันเทศน์ก็น่าฟังตลอด
    พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าไม่เคยเสื่อมถอย ไม่เคยล้าสมัย 2,600 ปีร่วงมา ..ฟังจากพระสาวกท่านสมัยปัจจุบันเทศน์ก็น่าฟังตลอด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 94 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระพุทธเจ้า เป็นนักมังสะวิรัติ

    พระองค์ท่านเกิดในศากยวงศ์..เป็นฮินดู
    ซึ่งชาวฮินดูเป็นนักมังสะวิรัติตั้งแต่ก่อนพุทธกาล..ถึงปัจจุบันก็ไม่กินเนื้อสัตว์.

    คนส่วนมากเข้าใจผิดว่า..อาหารมื้อสุดท้ายของพระองค์ท่าน คือ
    "สุกรมัทวะ" เป็นเนื้อหมู ความจริงแล้ว นั่นคือ
    อาหารที่ปรุงจากเห็ดและเห็ดที่นำมาปรุงเป็นเห็ดที่มีพิษ !

    การถือศีล(บริสุทธิ์) และแผ่เมตตา ทำให้เข้าถึงสมาธิได้รวดเร็วอย่างง่ายดาย เพราะไม่มีวิญญาณของสัตว์มารบกวน
    จึงทำให้เกิดปัญญาเข้าใจในทุกสิ่งตามธรรมชาติ

    นี่แหละ..คือ เป้าหมายของ"พุทธ" ที่ตื่นรู้และเบิกบาน
    เพราะมีสุขภาพที่ดี.

    สรุป..การที่คนเรา(หลงผิด)ไปกินเนื้อสัตว์ ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ศีล ข้อที่๑(ไม่บริสุทธิ์)ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงสมาธิ และท้ายสุด..ไม่สามารถเข้าถึงปัญญาสิกขา คือ การปฏิบัติกรรมฐาน ให้บรรลุ ปัญญา.
    พระพุทธเจ้า เป็นนักมังสะวิรัติ พระองค์ท่านเกิดในศากยวงศ์..เป็นฮินดู ซึ่งชาวฮินดูเป็นนักมังสะวิรัติตั้งแต่ก่อนพุทธกาล..ถึงปัจจุบันก็ไม่กินเนื้อสัตว์. คนส่วนมากเข้าใจผิดว่า..อาหารมื้อสุดท้ายของพระองค์ท่าน คือ "สุกรมัทวะ" เป็นเนื้อหมู ความจริงแล้ว นั่นคือ อาหารที่ปรุงจากเห็ดและเห็ดที่นำมาปรุงเป็นเห็ดที่มีพิษ ! การถือศีล(บริสุทธิ์) และแผ่เมตตา ทำให้เข้าถึงสมาธิได้รวดเร็วอย่างง่ายดาย เพราะไม่มีวิญญาณของสัตว์มารบกวน จึงทำให้เกิดปัญญาเข้าใจในทุกสิ่งตามธรรมชาติ นี่แหละ..คือ เป้าหมายของ"พุทธ" ที่ตื่นรู้และเบิกบาน เพราะมีสุขภาพที่ดี. สรุป..การที่คนเรา(หลงผิด)ไปกินเนื้อสัตว์ ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ศีล ข้อที่๑(ไม่บริสุทธิ์)ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงสมาธิ และท้ายสุด..ไม่สามารถเข้าถึงปัญญาสิกขา คือ การปฏิบัติกรรมฐาน ให้บรรลุ ปัญญา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 197 มุมมอง 0 รีวิว
  • กินอาหาร 1 มื้อ อายุยืน

    "อายุขัยวัฒนา" เป็นศาสตร์ ที่ มีมานานกว่า๒๖๐๐ปี
    ซึ่ง..พระพุทธเจ้า ได้ทำการทดลอง #ลดมื้ออาหาร 3 กรณี คือ
    1) กิน ๓ มื้อ เรียกว่า แบบ #โรคี พบว่า กำหนัดมาก มีโรค อายุสั้น.
    2) กิน ๒ มื้อ เรียกว่า แบบ #โภคี พบว่า ลดกำหนัด และมีสุขภาพดี.
    3) กิน ๑ มื้อ เรียกว่า แบบ #โยคี" พบว่า เมื่อร่างกาย อดอาหาร หิว ท้องร้องจ๊อกๆ..ร่างกายจะนำไขมันตามกล้ามเนื้อ+นำเซลเก่าๆแก่ๆ..มาเผาผลาญเป็นพลังงานในการเร่งซ่อมแซม เสริมสร้าง ฟื้นฟูทั้งระบบให้เป็นเซลใหม่ จึงทำให้เกิดภาวะ "อายุขัยวัฒนา" นั่นคือ #การที่มีสุขภาพที่ดีและอายุยืน..นั่นเอง.
    กินอาหาร 1 มื้อ อายุยืน "อายุขัยวัฒนา" เป็นศาสตร์ ที่ มีมานานกว่า๒๖๐๐ปี ซึ่ง..พระพุทธเจ้า ได้ทำการทดลอง #ลดมื้ออาหาร 3 กรณี คือ 1) กิน ๓ มื้อ เรียกว่า แบบ #โรคี พบว่า กำหนัดมาก มีโรค อายุสั้น. 2) กิน ๒ มื้อ เรียกว่า แบบ #โภคี พบว่า ลดกำหนัด และมีสุขภาพดี. 3) กิน ๑ มื้อ เรียกว่า แบบ #โยคี" พบว่า เมื่อร่างกาย อดอาหาร หิว ท้องร้องจ๊อกๆ..ร่างกายจะนำไขมันตามกล้ามเนื้อ+นำเซลเก่าๆแก่ๆ..มาเผาผลาญเป็นพลังงานในการเร่งซ่อมแซม เสริมสร้าง ฟื้นฟูทั้งระบบให้เป็นเซลใหม่ จึงทำให้เกิดภาวะ "อายุขัยวัฒนา" นั่นคือ #การที่มีสุขภาพที่ดีและอายุยืน..นั่นเอง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 0 รีวิว
  • "The Chinese Revolution"

    ฉันเป็นชาวจีน(รุ่นใหม่) ที่อุตส่าห์ตะแบง ข้ามน้ำ ข้ามทะเล..ไปเรียนหนังสือกลับมา เริ่มมีเหตุผล(มากขึ้น) สได้ก่อการปฏิวัติกับครอบครัว โดยไม่ยอมเซ่นไหว้เจ้าและบรรพบุรุษ ด้วยสุราและเนื้อสัตว์...แต่ยังคงเซ่นไหว้ตามพิธีดั้งเดิม ด้วยพืชผัก ผลไม้ ไม่จุดธูป ไม่จุดเทียน แต่ใช้เทียนและธูปไฟฟ้า โอนเงินทองไปสู่ปรภพด้วยบริการทางออนไลน์ เป็นผลสำเร็จมาแล้วหลายครอบครัว

    เป็นที่ทราบโดยชัดเจนว่า #มนุษย์เป็นสัตว์กินพืช ซึ่งสามารถพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

    1) ชนิดของฟัน
    ธรรมชาติสร้างฟันมนุษย์เป็นฟันซี่เรียงแถว สำหรับกัด บด เคี้ยว #แตกต่างจากสัตว์กินเนื้อที่มีเขี้ยวสำหรับการฉีก ล่าเหยื่อ

    2) ความเป็นกรด-ด่างของน้ำลาย
    มนุษย์มีน้ำลายที่เป็นด่างสำหรับย่อยแป้งและเซลลูโลสจากพืช #ต่างจากน้ำลายสัตว์กินเนื้อที่เป็นกรด สัตว์กินเนื้อไม่ได้ล่าเหยื่อทุกวัน การล่าแต่ละครั้งสามารถกินได้หลายวัน น้ำลายที่เป็นกรดธรรมชาติประทานมาให้เพื่อใช้ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์จากบาดแผลที่เกิดจากการต่อสู้(ล่าเหยื่อ) และใช้ในการย่อยเนื้อสัตว์ที่บูดเน่า.

    3) ชนิดของกรดในกระเพาะอาหาร
    มนุษย์มีน้ำย่อยที่เป็นกรดอ่อน สำหรับการย่อยเซลลูโลสและแป้งในกลุ่มอะมีโลส และมีปริมาณน้ำย่อย(น้อย)ไม่สามารถย่อยเนื้อสัตว์
    #ต่างจากน้ำย่อยในกระเพาะสัตว์กินเนื้อ ที่เป็นเอ็มไซม์เพ็พซินและทริปซิน เป็นกรดอย่างแรงกว่า20เท่าและมีปริมาณมากกว่าน้ำย่อยในกระเพาะอาหารของมนุษย์ 5เท่า สำหรับการย่อยเนื้อสัตว์และกระดูกโดยเฉพาะ

    4) สัดส่วนความยาวของลำไส้ ต่อ ความยาวลำตัว
    (ความยาวลำตัว=ความยาวปากถึงรูตูด)

    มนุษย์เป็นสัตว์กินพืช ธรรมชาติจึงออกแบบให้มีลำไส้ยาว 7-10เท่าของความยาวลำตัว เพื่อดูดซึมสารอาหารจากพืชได้สำเร็จใน 4-6ชั่วโมง หากมนุษย์กินเนื้อสัตว์ กระเพาะไม่สามารถย่อยเนื้อสัตว์ได้หมด ต่อจากนั้น..เป็นหน้าที่ของลำไส้ใช้เวลาย่อยและดูดซึมเนื้อสัตว์ 48-72ชั่วโมง ทำให้เกิดการบูดเน่า เกิดสารพิษ และจุลินทรีย์ที่เป็นโทษ แก๊สที่มีพิษ ซึ่งทำให้บั่นทอนสุขภาพ อายุสั้นด้วยโรคต่างๆและโรคมะเร็ง

    #ต่างจากลำไส้สัตว์กินเนื้อที่มีความยาวไม่เกิน3เท่าของความยาวลำตัว กิน ย่อย ถ่ายรวดเร็วไม่มีปัญหาเรื่องความเป็นพิษในลำไส้.

    ครอบครัว..ให้ความเข้าใจและหันมากินผัก ผลไม้ ทำให้มีสุขภาพที่ดี มีอายุยืน(อายุขัยวัฒนา) กันทุกๆคน เมื่อจากโลกนี้ไปก็จะไปมีชิวิตนิรันดร์ในสายคริสต์ก็ไปอยู่บนสวรรค์กับพระผู้เป็นเจ้า สายพุทธศาสนาจะเข้าสู่โหมดนิพพาน(Nirvana)ได้ไม่ยากนัก เมื่อถือศีล(บริสุทธิ์)ย่อมเกิดสมาธิได้ไม่ยากนักเพราะไม่มีความพยาบาทอาฆาตแค้นจากชีวิตสัตว์มารบกวน จึงเกิดแสงสว่างแห่งปัญญานำไปตามทางสายเอกเข้าสู่นิพพานดับสูญ..ไม่ต้องเป็นสัมภเวสี ทนทุกข์ทรมาน เร่ร่อน ขอส่วนบุญตามสถานที่ต่างๆ หรือ วนเวียน ว่าย ตาย เกิด..อยู่เช่นนี้ ไม่เบื่อ บ้างหรือ?

    พระพุทธเจ้า ห้ามกินเนื้อสัตว์(อกัปปิยมังสะ) 10 ชนิด
    #และสัตว์ที่กินได้ต้องไม่เป็น ปวัตตมังสะ(ฆ่าเพื่อตน) และไม่เป็นอุททิสมังสะ(ฆ่าเพื่อผู้อื่น) หมายความว่า #เป็นสัตว์ที่ตายเองไม่ใช่สัตว์ทื่ถูกฆ่า จึงจะกินได้.

    ***แปลเป็นไทยว่า "สัตว์ที่ตายเอง ไม่ใช่สัตว์ที่ถูกฆ่า"
    ดังนั้น..การกินเนื้อสัตว์ ผิดทั้งพระและโยม นะจ๊ะ(ชาวพุทธ)

    สัตว์..มันก็คิดได้ คิดเป็น มนุษย์ลากมันเข้าหลักประหาร สัตว์มันรู้ มันรักตัว กลัวตาย มันร้องไห้ ดิ้นรน ไม่สงสารมันบ้างหรือไร?

    สัตว์มันมองดูมนุษย์เซ่นไหว้ เจ้า ไหว้บรรพบุรุษ
    ตรุษจีน สาร์ทจีน..ฆ่าพวกกูไหว้เจ้า --->ได้บุญ
    พอปลายปีเทศกาลกินเจ..ไม่ฆ่าพวกกู-->ได้บุญ
    อย่าให้สัตว์พูดว่า "ตกลงพวกมึง จะเอายังงัยกับชีวิตของพวกมึง" !!!

    อมตะวาจา ของ Yeo MING กล่าวว่า
    "When the buying stops, the killing can too"
    อาจแปลได้ว่า "ผู้กินเนื้อสัตว์..คือหุ้นส่วนร่วมฆ่า" เช่นเดียวกัน ค่ะ
    .
    .
    Pachäree Wõng
    November20,2024
    Sausalito, California.
    "The Chinese Revolution" ฉันเป็นชาวจีน(รุ่นใหม่) ที่อุตส่าห์ตะแบง ข้ามน้ำ ข้ามทะเล..ไปเรียนหนังสือกลับมา เริ่มมีเหตุผล(มากขึ้น) สได้ก่อการปฏิวัติกับครอบครัว โดยไม่ยอมเซ่นไหว้เจ้าและบรรพบุรุษ ด้วยสุราและเนื้อสัตว์...แต่ยังคงเซ่นไหว้ตามพิธีดั้งเดิม ด้วยพืชผัก ผลไม้ ไม่จุดธูป ไม่จุดเทียน แต่ใช้เทียนและธูปไฟฟ้า โอนเงินทองไปสู่ปรภพด้วยบริการทางออนไลน์ เป็นผลสำเร็จมาแล้วหลายครอบครัว เป็นที่ทราบโดยชัดเจนว่า #มนุษย์เป็นสัตว์กินพืช ซึ่งสามารถพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ 1) ชนิดของฟัน ธรรมชาติสร้างฟันมนุษย์เป็นฟันซี่เรียงแถว สำหรับกัด บด เคี้ยว #แตกต่างจากสัตว์กินเนื้อที่มีเขี้ยวสำหรับการฉีก ล่าเหยื่อ 2) ความเป็นกรด-ด่างของน้ำลาย มนุษย์มีน้ำลายที่เป็นด่างสำหรับย่อยแป้งและเซลลูโลสจากพืช #ต่างจากน้ำลายสัตว์กินเนื้อที่เป็นกรด สัตว์กินเนื้อไม่ได้ล่าเหยื่อทุกวัน การล่าแต่ละครั้งสามารถกินได้หลายวัน น้ำลายที่เป็นกรดธรรมชาติประทานมาให้เพื่อใช้ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์จากบาดแผลที่เกิดจากการต่อสู้(ล่าเหยื่อ) และใช้ในการย่อยเนื้อสัตว์ที่บูดเน่า. 3) ชนิดของกรดในกระเพาะอาหาร มนุษย์มีน้ำย่อยที่เป็นกรดอ่อน สำหรับการย่อยเซลลูโลสและแป้งในกลุ่มอะมีโลส และมีปริมาณน้ำย่อย(น้อย)ไม่สามารถย่อยเนื้อสัตว์ #ต่างจากน้ำย่อยในกระเพาะสัตว์กินเนื้อ ที่เป็นเอ็มไซม์เพ็พซินและทริปซิน เป็นกรดอย่างแรงกว่า20เท่าและมีปริมาณมากกว่าน้ำย่อยในกระเพาะอาหารของมนุษย์ 5เท่า สำหรับการย่อยเนื้อสัตว์และกระดูกโดยเฉพาะ 4) สัดส่วนความยาวของลำไส้ ต่อ ความยาวลำตัว (ความยาวลำตัว=ความยาวปากถึงรูตูด) มนุษย์เป็นสัตว์กินพืช ธรรมชาติจึงออกแบบให้มีลำไส้ยาว 7-10เท่าของความยาวลำตัว เพื่อดูดซึมสารอาหารจากพืชได้สำเร็จใน 4-6ชั่วโมง หากมนุษย์กินเนื้อสัตว์ กระเพาะไม่สามารถย่อยเนื้อสัตว์ได้หมด ต่อจากนั้น..เป็นหน้าที่ของลำไส้ใช้เวลาย่อยและดูดซึมเนื้อสัตว์ 48-72ชั่วโมง ทำให้เกิดการบูดเน่า เกิดสารพิษ และจุลินทรีย์ที่เป็นโทษ แก๊สที่มีพิษ ซึ่งทำให้บั่นทอนสุขภาพ อายุสั้นด้วยโรคต่างๆและโรคมะเร็ง #ต่างจากลำไส้สัตว์กินเนื้อที่มีความยาวไม่เกิน3เท่าของความยาวลำตัว กิน ย่อย ถ่ายรวดเร็วไม่มีปัญหาเรื่องความเป็นพิษในลำไส้. ครอบครัว..ให้ความเข้าใจและหันมากินผัก ผลไม้ ทำให้มีสุขภาพที่ดี มีอายุยืน(อายุขัยวัฒนา) กันทุกๆคน เมื่อจากโลกนี้ไปก็จะไปมีชิวิตนิรันดร์ในสายคริสต์ก็ไปอยู่บนสวรรค์กับพระผู้เป็นเจ้า สายพุทธศาสนาจะเข้าสู่โหมดนิพพาน(Nirvana)ได้ไม่ยากนัก เมื่อถือศีล(บริสุทธิ์)ย่อมเกิดสมาธิได้ไม่ยากนักเพราะไม่มีความพยาบาทอาฆาตแค้นจากชีวิตสัตว์มารบกวน จึงเกิดแสงสว่างแห่งปัญญานำไปตามทางสายเอกเข้าสู่นิพพานดับสูญ..ไม่ต้องเป็นสัมภเวสี ทนทุกข์ทรมาน เร่ร่อน ขอส่วนบุญตามสถานที่ต่างๆ หรือ วนเวียน ว่าย ตาย เกิด..อยู่เช่นนี้ ไม่เบื่อ บ้างหรือ? พระพุทธเจ้า ห้ามกินเนื้อสัตว์(อกัปปิยมังสะ) 10 ชนิด #และสัตว์ที่กินได้ต้องไม่เป็น ปวัตตมังสะ(ฆ่าเพื่อตน) และไม่เป็นอุททิสมังสะ(ฆ่าเพื่อผู้อื่น) หมายความว่า #เป็นสัตว์ที่ตายเองไม่ใช่สัตว์ทื่ถูกฆ่า จึงจะกินได้. ***แปลเป็นไทยว่า "สัตว์ที่ตายเอง ไม่ใช่สัตว์ที่ถูกฆ่า" ดังนั้น..การกินเนื้อสัตว์ ผิดทั้งพระและโยม นะจ๊ะ(ชาวพุทธ) สัตว์..มันก็คิดได้ คิดเป็น มนุษย์ลากมันเข้าหลักประหาร สัตว์มันรู้ มันรักตัว กลัวตาย มันร้องไห้ ดิ้นรน ไม่สงสารมันบ้างหรือไร? สัตว์มันมองดูมนุษย์เซ่นไหว้ เจ้า ไหว้บรรพบุรุษ ตรุษจีน สาร์ทจีน..ฆ่าพวกกูไหว้เจ้า --->ได้บุญ พอปลายปีเทศกาลกินเจ..ไม่ฆ่าพวกกู-->ได้บุญ อย่าให้สัตว์พูดว่า "ตกลงพวกมึง จะเอายังงัยกับชีวิตของพวกมึง" !!! อมตะวาจา ของ Yeo MING กล่าวว่า "When the buying stops, the killing can too" อาจแปลได้ว่า "ผู้กินเนื้อสัตว์..คือหุ้นส่วนร่วมฆ่า" เช่นเดียวกัน ค่ะ . . Pachäree Wõng November20,2024 Sausalito, California.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 450 มุมมอง 0 รีวิว
  • อย่าเชื่อใครก็ตาม...100 % ฟัง และเอาหลักคิด กับความรู้ของเราผสมเข้าไป แล้วเลือกเชื่อ...แบบไหนก็ได้ เพราะมันคือชีวิตเรา...เราคือผู้รับผลของความคิดและการตัดสินใจนั้น....อ่อ อ้างพระพุทธเจ้า พระไตรปิฏก ขอโทษนิดนึง ...ก่อนอื่นบอกก่อน ผมนับถือพระพุทธเจ้า เชื่อในเรื่องบาปบุญ กรรม การเวียนว่ายตายเกิด....แต่...นิดนึง อะไรคือข้อยืนยีนว่า เป็นพุทธวจนะ จริง....ถามกลับ พระไตรปิฎก สังคายนากี่ครั้ง 9 หรือ 10 ..ถ้าใครศึกษาประวัติศาสตร์มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน..จะทราบความจริงที่ว่า...ผู้มีอำนาจ เป็นผู้ชี้นำ.. อะไรก็ตามให้คนเดินตาม...ดังนั้น เราจะรู้ไหม ว่ามีเรื่อง การเมือง ชนชั้น หรือมีนัยยะอื่นมาเกี่ยว...ไม่นับ คณะ ผู้สังคายนาอีก...ตีความแบบใด..ถูกต้องตามเจตนาไหม...แปลภาษาถูกไหม......ฉะนั้น...ไม่ว่าใครอ้างอะไร...คำตอบสุดท้าย ของตัวเราว่าจะเชื่อใครหรืออะไร อยู่ที่ความรู้และวิธีคิดแต่ละคน.....นิดนึง ความเห็นส่วนตัว ว่า หลายคนอยากแจ้งเกิดด้วยกระแส ทฤษฎีแมวขาวแมวดำ..จับหนูได้เหมือนกัน...ก็ออกมา ไขว้กับคนมีแสง..ถ้ามาตามน้ำก็คงจะธรรมดาไปหน่อย..ไม่ตัดสินอะไรทั้งสิ้น เพราะไม่ใช่เรื่องที่มีประโยชน์แก่ตนหรือสังคมส่วนรวมในการเข้าข้างใด...ข้างนึง..ขอเป็นผู้ชมละกัน..นึกถึงรายการนึง ที่นั่งต่อกัน 4_5 คน แล้วคนที่ 1 วาดภาพส่งต่อให้คนที่ 2 คนที่ 2 ก็วาดส่งต่อไปเรื่อยๆ...ถึงคนสุดท้าย....แต่ละคน..ได้ภาพอะไร...เหมือนต้นฉบับไหม? #แค่คิด...
    อย่าเชื่อใครก็ตาม...100 % ฟัง และเอาหลักคิด กับความรู้ของเราผสมเข้าไป แล้วเลือกเชื่อ...แบบไหนก็ได้ เพราะมันคือชีวิตเรา...เราคือผู้รับผลของความคิดและการตัดสินใจนั้น....อ่อ อ้างพระพุทธเจ้า พระไตรปิฏก ขอโทษนิดนึง ...ก่อนอื่นบอกก่อน ผมนับถือพระพุทธเจ้า เชื่อในเรื่องบาปบุญ กรรม การเวียนว่ายตายเกิด....แต่...นิดนึง อะไรคือข้อยืนยีนว่า เป็นพุทธวจนะ จริง....ถามกลับ พระไตรปิฎก สังคายนากี่ครั้ง 9 หรือ 10 ..ถ้าใครศึกษาประวัติศาสตร์มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน..จะทราบความจริงที่ว่า...ผู้มีอำนาจ เป็นผู้ชี้นำ.. อะไรก็ตามให้คนเดินตาม...ดังนั้น เราจะรู้ไหม ว่ามีเรื่อง การเมือง ชนชั้น หรือมีนัยยะอื่นมาเกี่ยว...ไม่นับ คณะ ผู้สังคายนาอีก...ตีความแบบใด..ถูกต้องตามเจตนาไหม...แปลภาษาถูกไหม......ฉะนั้น...ไม่ว่าใครอ้างอะไร...คำตอบสุดท้าย ของตัวเราว่าจะเชื่อใครหรืออะไร อยู่ที่ความรู้และวิธีคิดแต่ละคน.....นิดนึง ความเห็นส่วนตัว ว่า หลายคนอยากแจ้งเกิดด้วยกระแส ทฤษฎีแมวขาวแมวดำ..จับหนูได้เหมือนกัน...ก็ออกมา ไขว้กับคนมีแสง..ถ้ามาตามน้ำก็คงจะธรรมดาไปหน่อย..ไม่ตัดสินอะไรทั้งสิ้น เพราะไม่ใช่เรื่องที่มีประโยชน์แก่ตนหรือสังคมส่วนรวมในการเข้าข้างใด...ข้างนึง..ขอเป็นผู้ชมละกัน..นึกถึงรายการนึง ที่นั่งต่อกัน 4_5 คน แล้วคนที่ 1 วาดภาพส่งต่อให้คนที่ 2 คนที่ 2 ก็วาดส่งต่อไปเรื่อยๆ...ถึงคนสุดท้าย....แต่ละคน..ได้ภาพอะไร...เหมือนต้นฉบับไหม? #แค่คิด...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 257 มุมมอง 0 รีวิว
  • #เรื่องหลวงพ่อฤาษีขึ้นไปบนนิพพาน #ฟังพระพุทธองค์ทรงสอนบารมี๑๐ทัศ..." วันนี้ต้องสอนบรรดาท่านพุทธบริษัท เรียกว่าเอากันเฉือนขั้นสุดท้ายเลย เรียกว่าทิ้งทวนหรือทิ้งไพ่ใบสุดท้าย และพุ่งทวนเล่มใหญ่ท้ายสุดที่มีอยู่..🌸นั่นคือคำแนะนำขององค์สมเด็จพระบรมครู ที่เรียกว่า.. บารมี ๑๐ ทัศ* วันนั้นสอนบารมี ๑๐ ทัศ แก่บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านทั้งหลายจะมีความเข้าใจหรือไม่เข้าใจเพียงใด อาตมาก็ไม่ทราบ เพราะสอนไม่ค่อยตรงเป้าหมาย..🌸 เมื่อสอนเสร็จ เวลาผ่านไปก็ดับไฟ สั่งให้บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายพากันเจริญพระกรรมฐาน ทรงสติสัมปชัญญะ คือว่า.. ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติให้มั่น กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนา หรือพิจารณาตามอัธยาศัย เพราะการภาวนาก็ดี พิจารณาก็ดี นี่ อาตมาไม่ขัดใจใคร ใครเคยทำแบบไหนคล่องมาแล้ว ให้ทำอย่างนั้นไม่เปลี่ยนแปลง เพราะอะไร..🌼 เพราะว่า.. การภาวนาหรือพิจารณาที่ทำมาแล้ว ถ้าไม่ผิดก็ไม่ควรจะเปลี่ยน เพราะแบบปฏิบัติมีมากด้วยกัน ไม่จำเป็นว่าจะต้องทำอย่างนั้นทำอย่างนี้ จึงจะถูก ทำอย่างไรก็ตาม ถ้าปรารภจิตเป็นสมาธิระงับจากนิวรณ์ หรือปรารภจิตเป็นปฏิปักษ์กับขันธ์ ๕ ใช้ได้หมด ถ้าตรงกับแนวคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระบรมสุคตแล้ว อาตมาไม่ปฏิเสธการปฏิบัติของบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน..* เมื่อบรรดาท่านพุทธบริษัทเริ่มปฏิบัติ อาตมาก็คิดในใจว่า.. ร่างกายไม่ดีแบบนี้ เราจะทนมันอยู่ทำไม ไปเสียจากร่างกายดีกว่า ปล่อยให้มันนั่งอยู่ตรงนี้ พอสัญญาณบอกเวลาปรากฏเราจึงจะกลับมา.* ฉะนั้น จึงไปได้เสียจากกาย ไปไหว้พระ จะไปแบบไหนอันนี้บรรดาท่านพุทธบริษัท อาตมาไม่บอก บอกไม่ได้.. ไปอย่างไร ไปโดยวิธีไหน อยากรู้ก็ปฏิบัติกันเอาเอง.🌼 แต่ความจริงมันก็ไม่ใช่ของดีเด่นอะไรนัก การไปได้ มาได้ ถ้าใจเหลิงเกินไปก็ลงนรกได้ ไม่ใช่ของพิเศษ เมื่อออกไปแล้วก็พบองค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์* นี่ขวางกับชาวบ้านเขาแล้ว เขาบอกว่า.. พระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว จะพบได้ยังไง นั่นมันเรื่องของเขา บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย นี่มันเรื่องของอาตมา อาตมาพบกันได้ก็แล้วกัน.🌸 เมื่อพบแล้ว ก็เข้าไปนมัสการองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว พอเงยหน้าขึ้นมา..🌸 พระองค์ก็ทรงตรัสถามว่า : " สัมพเกษี วันนี้เธอสอนบารมี ๑๐ ทัศใช่ไหม.?"🌸 ก็กราบทูลพระองค์ท่านว่า : " ใช่พระพุทธเจ้าข้า "🌸 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสถามว่า : " สัมพเกษี บารมีแปลว่าอะไร.? ”* ตอนนี้ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ขอได้โปรดทราบว่า.. ถ้าอาตมาสอนถูก พระองค์จะไม่ตรัสแบบนั้น อาตมารู้ทันรู้เท่าเข้าใจทันทีว่า.. การสอนวันนี้ผิดพุทธพจน์บทพระบาลี..🌼 นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท การสอนนี้ ไม่ใช่ว่ามันจะถูกเสมอไป มันก็ผิดได้เหมือนกัน เมื่อองค์สมเด็จพระจอมไตร มีพระพุทธฎีกาตรัสถามแบบนั้น อาตมาก็ทราบ..🌼 จึงได้กราบทูลพระพุทธองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้าไม่แน่ใจนัก พระพุทธเจ้าข้า แต่ที่เรียนกันมา ครูสอนว่า บารมี แปลว่า เต็ม "🌼 พระพุทธองค์ จึงตรัสถามว่า : " อะไรมันเต็ม และมันเต็มแบบไหน สมมุติว่า เธอจะปฏิบัติในทานบารมี.. ทำยังไง ทานบารมีมันถึงจะเต็ม ถ้าหากว่า จะนำของมาให้เต็มโลก เธอจะไปขนมาจากไหน.. ถ้าเราไม่นำของมาให้ ทำยังไงทานบารมีมันจึงจะเต็ม "🌼 แบบนี้มันก็อยู่ด้วยกันทั้งนั้นแหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้าคนอย่างอาตมา ถ้าหากว่า ท่านที่เป็นนักปราชญ์ ดีกว่าอาตมาก็ไม่เป็นไร ท่านไปได้ เพราะท่านมีความเข้าใจ ท่านมีความฉลาด อาตมาบอกแล้วนี่ ว่า.. อาตมามีความรู้ไม่เท่าหางอึ่ง คือยาวไม่เท่าหางอึ่ง หรือไม่แค่หางอึ่ง เพราะความโง่มันมาก..🌼 เมื่อองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสแบบนั้น..🌼 ก็ทูลถามพระองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้า ไม่เข้าใจในบารมีพระพุทธเจ้าข้า "🌺 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษี เธอเข้าใจ ไม่ใช่ไม่เข้าใจ แต่ว่าเธอดีแต่เฉพาะบริโภคเองเท่านั้น แต่การที่จะแบ่งปันให้บุคคลอื่นน่ะ เธอไม่มีความฉลาด การที่เธอตั้งกำลังใจในบารมี ๑๐ ทัศ เป็น ๓๐ ทัศ ด้วยกัน ๓ ชั้น เธอทำได้ แต่ว่าวันนี้ เธอสอนท่านบรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย เธอทำไม่ถูก เธอจงมีความเข้าใจเสียใหม่ว่า.. คำว่า บารมี มันแปลว่า เต็ม แต่อะไรมันเต็ม ตถาคตจะบอกให้ว่า.. บารมีนี่ควรจะแปลว่า "กำลังใจเต็ม "* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท จำไว้ให้ดีว่า.. คำว่า บารมี ก็คือกำลังใจ ทำกำลังใจให้เต็ม..🌺 ตอนนี้ซิ ชักจะฉลาดขึ้นมาทันที มานึกในใจว่า เรานี่มันแสนจะโง่เสียมาก🌺 กำลังใจเต็ม ตอนไหน บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านก็ทรงให้ทวนเรื่องบารมี ๑๐ ทัศ ว่ามีอะไรบ้าง อาตมาก็ถวายคำตอบแก่พระองค์ว่า..๑. ทานบารมี๒. ศีลบารมี๓. เนกขัมมบารมี๔. ปัญญาบารมี๕. วิริยบารมี๖. ขันติบารมี๗. สัจจบารมี๘. อธิษฐานบารมี๙. เมตตาบารมี๑๐. อุเบกขาบารมี* องค์สมเด็จพระชินสีห์ จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษีถูกแล้ว บารมีทั้งหมดนี้ใช้กำลังใจ สร้างกำลังใจให้มันทรงอยู่ในใจทั้งหมด ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ ไม่มีอะไรบกพร่องคือ..๑. จิตของเรา พร้อมที่จะให้ทานเป็นปกติ.๒. จิตพร้อมในการทรงศีล..🌻 นี่ซิ บรรดาท่านพุทธบริษัท พร้อมในการทรงศีลเป็นปกติ ไม่ใช่ปล่อยให้ศีลมันหล่นหายไป..๓. จิตพร้อมในการทรง เนกขัมมะ เป็นปกติ..🌻 เนกขัมมะ ก็แปลว่า การถือบวช บวชผมยาว บวชผมสั้น บวชโกนหัว ไม่โกนหัวได้ทั้งนั้น..๔. จิตพร้อมที่จะใช้ ปัญญา เป็นเครื่องประหัตประหารอุปาทานให้พินาศไป..๕. วิริยะ มีความเพียรทุกขณะ ควบคุมใจไว้เสมอ..๖. ขันติ มีทั้งอดทั้งทน อดกลั้นต่อสิ่งที่เป็นปฏิปักษ์..๗. สัจจะ ทรงตัวไว้ตลอดเวลาว่า เราจะจริงทุกอย่าง ไม่มีอะไรในคำว่าไม่จริงสำหรับเรา ในด้านของการทำความดี..๘. อธิษฐานบารมี ตั้งใจไว้ให้ตรงโดยเฉพาะพระนิพพาน๙. เมตตาบารมี สร้างอารมณ์ความดี ไม่เป็นศัตรูกับใคร มีความรักตน เสมอด้วยบุคคลอื่น๑๐. อุเบกขาบารมี วางเฉยเข้าไว้ ในเมื่อร่างกายมันไม่ทรงตัว อย่างที่เธอเป็นในวันนี้..💎 อุเบกขาบารมี ตัวนี้ พระองค์ทรงตรัสว่า : ตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันเป็นปกติว่า " ช่างมัน " ขันติบารมีนี่ก็เหมือนกัน ใช้คำว่า " ช่างมัน " ตรงตัวดี..* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ทั้งหลายโดยถ้วนหน้า วันนี้ยังไม่สอนอะไรบรรดาท่านพุทธบริษัท เรามาคุยกันในคำว่า " บารมี " เสียก่อน เพื่อที่จะให้บรรดาพระโยคาวจรทั้งหลาย ได้ทราบชัดว่า.. บารมีที่องค์สมเด็จพระทรงสวัสดิโสภาคย์ ให้เราสร้างให้มันเต็มนั้น ก็คือ สร้างกำลังใจ ปลูกฝังกำลังใจ ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์สมบูรณ์.. 💎 ไม่ใช่ว่า เราจะมานั่งคิด จะมานอนคิด เราจะมาทรงจิตว่า เอ๊..! บารมีของเรามันไม่มีนี่ ชาติก่อนบารมีของเรามันไม่พอ บารมีของเรายังไม่เต็ม เราจะเป็นพระโสดาบัน สกิทาคา อนาคา อรหันต์ ยังไงได้..* ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย มีความเข้าใจตามนี้ พอยังจะรู้รึยังว่า.. เราจะสามารถะสร้างบารมีได้ ด้วยอาศัยกำลังใจ 💎 ความดีของบรรดาท่านพุทธบริษัท มีกำลังใจอย่างเดียวเท่านั้น ที่เราจะสามารถทำมันให้ดีหรือไม่ดี อันนี้ก็ตรงกับพระบาลีที่องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ในเรื่อง พระจักขุบาล ว่า.." มโนปุพพังคมา ธัมมา มโนเสฏฐา มโนมยา "" ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจประเสริฐสุด สำเร็จด้วยใจ " 💎 นี่ความจริง เรื่องนี้ก็เรียนกันมาแล้วท่านบรรดาพุทธบริษัท แต่เวลาปฏิบัติจริง ๆ ทำไมมันถึงลืมก็ไม่ทราบ..💎 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย หวังว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน คงจะเข้าใจคำว่า บารมี แล้วอย่าลืม บารมี แปลว่าเต็ม แต่ส่วนที่เราจะทำให้เต็มนั้นก็คือ กำลังใจ ให้กำลังใจมันพร้อม พร้อมที่จะทรงความดีในด้านบารมีไว้..💎 ถ้ากำลังใจของเราพร้อมทรงบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ครบถ้วนเพียงใด บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ความเป็นพระอริยเจ้าเป็นของง่าย..* ที่นำบารมีทั้ง ๑๐ ประการ มากล่าวในตอนนี้ ก็เพราะว่า.. ในตอนต้น พูดเรื่องพระโสดาบันเข้าไว้ เห็นว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายอาจจะคิดว่า.. แหม.. มันยากเกินไป ถ้ากำลังใจในการสร้างตนเป็นพระโสดาบัน มันยังครบถ้วนไม่ได้ ก็หันมาจัดการกับบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ให้มันครบถ้วนบริบูรณ์..* ทาน การให้ เป็นการตัดความโลภ.* ศีล เราก็ตัดความโกรธ* เนกขัมมะ ตัดอารมณ์ของกามคุณ* ปัญญา ตัดความโง่* วิริยะ ตัดความขี้เกียจ* ขันติ ตัดความไม่รู้จักการอดทน* สัจจะ ตัดความไม่จริงใจ มีอารมณ์ใจกลับกลอก* อธิษฐาน ทรงกำลังไว้ให้สมบูรณ์บริบูรณ์* เมตตา สร้างความเยือกเย็นของจิตใจ* อุเบกขา วางเฉยเข้าไว้ในเรื่องของกาย เราไม่ปรารภ🌺 เท่านี้แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัทสมบูรณ์เพียงใด คำว่า.. พระโสดาบัน นั้น บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย จะรู้สึกว่าง่ายเกินไปสำหรับบรรดาท่านพุทธบริษัท..🌼 ทำไมจึงว่าอย่างนั้น.. ก็เพราะว่า คนที่มีบารมีเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ มีกำลังใจเต็มทุกอย่างใน ๑๐ ประการนี้ องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่เรียกว่า "พระโสดาบัน" แล้ว ท่านเรียกว่าอะไร.. ท่านเรียกว่า "พระขีณาสพ" แปลว่า ผู้มีอาสวะอันสิ้นไปแล้ว หรือเรียกว่า "พระอรหัตผล" เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาอันดับสูงสุด เข้าถึงซึ่งพระนิพพานได้..🌸 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย วันนี้ก็ขอยุติไว้แต่เพียงเท่านี้..🌷 ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลสมบูรณ์พูนผล จงมีแด่บรรดาท่านพุทธศาสนิกชนทุกท่าน สวัสดี..."( จากหนังสือ *บารมี ๑๐* โดย พระราชพรหมยานฯ หน้าที่ ๘-๑๖ ของวัดท่าซุง จ.อุทัยธานี) #ที่มานิพพานังปรมังสุขัง.
    #เรื่องหลวงพ่อฤาษีขึ้นไปบนนิพพาน #ฟังพระพุทธองค์ทรงสอนบารมี๑๐ทัศ..." วันนี้ต้องสอนบรรดาท่านพุทธบริษัท เรียกว่าเอากันเฉือนขั้นสุดท้ายเลย เรียกว่าทิ้งทวนหรือทิ้งไพ่ใบสุดท้าย และพุ่งทวนเล่มใหญ่ท้ายสุดที่มีอยู่..🌸นั่นคือคำแนะนำขององค์สมเด็จพระบรมครู ที่เรียกว่า.. บารมี ๑๐ ทัศ* วันนั้นสอนบารมี ๑๐ ทัศ แก่บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านทั้งหลายจะมีความเข้าใจหรือไม่เข้าใจเพียงใด อาตมาก็ไม่ทราบ เพราะสอนไม่ค่อยตรงเป้าหมาย..🌸 เมื่อสอนเสร็จ เวลาผ่านไปก็ดับไฟ สั่งให้บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายพากันเจริญพระกรรมฐาน ทรงสติสัมปชัญญะ คือว่า.. ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติให้มั่น กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนา หรือพิจารณาตามอัธยาศัย เพราะการภาวนาก็ดี พิจารณาก็ดี นี่ อาตมาไม่ขัดใจใคร ใครเคยทำแบบไหนคล่องมาแล้ว ให้ทำอย่างนั้นไม่เปลี่ยนแปลง เพราะอะไร..🌼 เพราะว่า.. การภาวนาหรือพิจารณาที่ทำมาแล้ว ถ้าไม่ผิดก็ไม่ควรจะเปลี่ยน เพราะแบบปฏิบัติมีมากด้วยกัน ไม่จำเป็นว่าจะต้องทำอย่างนั้นทำอย่างนี้ จึงจะถูก ทำอย่างไรก็ตาม ถ้าปรารภจิตเป็นสมาธิระงับจากนิวรณ์ หรือปรารภจิตเป็นปฏิปักษ์กับขันธ์ ๕ ใช้ได้หมด ถ้าตรงกับแนวคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระบรมสุคตแล้ว อาตมาไม่ปฏิเสธการปฏิบัติของบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน..* เมื่อบรรดาท่านพุทธบริษัทเริ่มปฏิบัติ อาตมาก็คิดในใจว่า.. ร่างกายไม่ดีแบบนี้ เราจะทนมันอยู่ทำไม ไปเสียจากร่างกายดีกว่า ปล่อยให้มันนั่งอยู่ตรงนี้ พอสัญญาณบอกเวลาปรากฏเราจึงจะกลับมา.* ฉะนั้น จึงไปได้เสียจากกาย ไปไหว้พระ จะไปแบบไหนอันนี้บรรดาท่านพุทธบริษัท อาตมาไม่บอก บอกไม่ได้.. ไปอย่างไร ไปโดยวิธีไหน อยากรู้ก็ปฏิบัติกันเอาเอง.🌼 แต่ความจริงมันก็ไม่ใช่ของดีเด่นอะไรนัก การไปได้ มาได้ ถ้าใจเหลิงเกินไปก็ลงนรกได้ ไม่ใช่ของพิเศษ เมื่อออกไปแล้วก็พบองค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์* นี่ขวางกับชาวบ้านเขาแล้ว เขาบอกว่า.. พระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว จะพบได้ยังไง นั่นมันเรื่องของเขา บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย นี่มันเรื่องของอาตมา อาตมาพบกันได้ก็แล้วกัน.🌸 เมื่อพบแล้ว ก็เข้าไปนมัสการองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว พอเงยหน้าขึ้นมา..🌸 พระองค์ก็ทรงตรัสถามว่า : " สัมพเกษี วันนี้เธอสอนบารมี ๑๐ ทัศใช่ไหม.?"🌸 ก็กราบทูลพระองค์ท่านว่า : " ใช่พระพุทธเจ้าข้า "🌸 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสถามว่า : " สัมพเกษี บารมีแปลว่าอะไร.? ”* ตอนนี้ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ขอได้โปรดทราบว่า.. ถ้าอาตมาสอนถูก พระองค์จะไม่ตรัสแบบนั้น อาตมารู้ทันรู้เท่าเข้าใจทันทีว่า.. การสอนวันนี้ผิดพุทธพจน์บทพระบาลี..🌼 นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท การสอนนี้ ไม่ใช่ว่ามันจะถูกเสมอไป มันก็ผิดได้เหมือนกัน เมื่อองค์สมเด็จพระจอมไตร มีพระพุทธฎีกาตรัสถามแบบนั้น อาตมาก็ทราบ..🌼 จึงได้กราบทูลพระพุทธองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้าไม่แน่ใจนัก พระพุทธเจ้าข้า แต่ที่เรียนกันมา ครูสอนว่า บารมี แปลว่า เต็ม "🌼 พระพุทธองค์ จึงตรัสถามว่า : " อะไรมันเต็ม และมันเต็มแบบไหน สมมุติว่า เธอจะปฏิบัติในทานบารมี.. ทำยังไง ทานบารมีมันถึงจะเต็ม ถ้าหากว่า จะนำของมาให้เต็มโลก เธอจะไปขนมาจากไหน.. ถ้าเราไม่นำของมาให้ ทำยังไงทานบารมีมันจึงจะเต็ม "🌼 แบบนี้มันก็อยู่ด้วยกันทั้งนั้นแหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้าคนอย่างอาตมา ถ้าหากว่า ท่านที่เป็นนักปราชญ์ ดีกว่าอาตมาก็ไม่เป็นไร ท่านไปได้ เพราะท่านมีความเข้าใจ ท่านมีความฉลาด อาตมาบอกแล้วนี่ ว่า.. อาตมามีความรู้ไม่เท่าหางอึ่ง คือยาวไม่เท่าหางอึ่ง หรือไม่แค่หางอึ่ง เพราะความโง่มันมาก..🌼 เมื่อองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสแบบนั้น..🌼 ก็ทูลถามพระองค์ว่า : " ข้าพระพุทธเจ้า ไม่เข้าใจในบารมีพระพุทธเจ้าข้า "🌺 พระองค์จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษี เธอเข้าใจ ไม่ใช่ไม่เข้าใจ แต่ว่าเธอดีแต่เฉพาะบริโภคเองเท่านั้น แต่การที่จะแบ่งปันให้บุคคลอื่นน่ะ เธอไม่มีความฉลาด การที่เธอตั้งกำลังใจในบารมี ๑๐ ทัศ เป็น ๓๐ ทัศ ด้วยกัน ๓ ชั้น เธอทำได้ แต่ว่าวันนี้ เธอสอนท่านบรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย เธอทำไม่ถูก เธอจงมีความเข้าใจเสียใหม่ว่า.. คำว่า บารมี มันแปลว่า เต็ม แต่อะไรมันเต็ม ตถาคตจะบอกให้ว่า.. บารมีนี่ควรจะแปลว่า "กำลังใจเต็ม "* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท จำไว้ให้ดีว่า.. คำว่า บารมี ก็คือกำลังใจ ทำกำลังใจให้เต็ม..🌺 ตอนนี้ซิ ชักจะฉลาดขึ้นมาทันที มานึกในใจว่า เรานี่มันแสนจะโง่เสียมาก🌺 กำลังใจเต็ม ตอนไหน บรรดาท่านพุทธบริษัท ท่านก็ทรงให้ทวนเรื่องบารมี ๑๐ ทัศ ว่ามีอะไรบ้าง อาตมาก็ถวายคำตอบแก่พระองค์ว่า..๑. ทานบารมี๒. ศีลบารมี๓. เนกขัมมบารมี๔. ปัญญาบารมี๕. วิริยบารมี๖. ขันติบารมี๗. สัจจบารมี๘. อธิษฐานบารมี๙. เมตตาบารมี๑๐. อุเบกขาบารมี* องค์สมเด็จพระชินสีห์ จึงได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า : " สัมพเกษีถูกแล้ว บารมีทั้งหมดนี้ใช้กำลังใจ สร้างกำลังใจให้มันทรงอยู่ในใจทั้งหมด ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ ไม่มีอะไรบกพร่องคือ..๑. จิตของเรา พร้อมที่จะให้ทานเป็นปกติ.๒. จิตพร้อมในการทรงศีล..🌻 นี่ซิ บรรดาท่านพุทธบริษัท พร้อมในการทรงศีลเป็นปกติ ไม่ใช่ปล่อยให้ศีลมันหล่นหายไป..๓. จิตพร้อมในการทรง เนกขัมมะ เป็นปกติ..🌻 เนกขัมมะ ก็แปลว่า การถือบวช บวชผมยาว บวชผมสั้น บวชโกนหัว ไม่โกนหัวได้ทั้งนั้น..๔. จิตพร้อมที่จะใช้ ปัญญา เป็นเครื่องประหัตประหารอุปาทานให้พินาศไป..๕. วิริยะ มีความเพียรทุกขณะ ควบคุมใจไว้เสมอ..๖. ขันติ มีทั้งอดทั้งทน อดกลั้นต่อสิ่งที่เป็นปฏิปักษ์..๗. สัจจะ ทรงตัวไว้ตลอดเวลาว่า เราจะจริงทุกอย่าง ไม่มีอะไรในคำว่าไม่จริงสำหรับเรา ในด้านของการทำความดี..๘. อธิษฐานบารมี ตั้งใจไว้ให้ตรงโดยเฉพาะพระนิพพาน๙. เมตตาบารมี สร้างอารมณ์ความดี ไม่เป็นศัตรูกับใคร มีความรักตน เสมอด้วยบุคคลอื่น๑๐. อุเบกขาบารมี วางเฉยเข้าไว้ ในเมื่อร่างกายมันไม่ทรงตัว อย่างที่เธอเป็นในวันนี้..💎 อุเบกขาบารมี ตัวนี้ พระองค์ทรงตรัสว่า : ตรงกับภาษาไทยที่ใช้กันเป็นปกติว่า " ช่างมัน " ขันติบารมีนี่ก็เหมือนกัน ใช้คำว่า " ช่างมัน " ตรงตัวดี..* นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ทั้งหลายโดยถ้วนหน้า วันนี้ยังไม่สอนอะไรบรรดาท่านพุทธบริษัท เรามาคุยกันในคำว่า " บารมี " เสียก่อน เพื่อที่จะให้บรรดาพระโยคาวจรทั้งหลาย ได้ทราบชัดว่า.. บารมีที่องค์สมเด็จพระทรงสวัสดิโสภาคย์ ให้เราสร้างให้มันเต็มนั้น ก็คือ สร้างกำลังใจ ปลูกฝังกำลังใจ ให้มันเต็มครบถ้วนบริบูรณ์สมบูรณ์.. 💎 ไม่ใช่ว่า เราจะมานั่งคิด จะมานอนคิด เราจะมาทรงจิตว่า เอ๊..! บารมีของเรามันไม่มีนี่ ชาติก่อนบารมีของเรามันไม่พอ บารมีของเรายังไม่เต็ม เราจะเป็นพระโสดาบัน สกิทาคา อนาคา อรหันต์ ยังไงได้..* ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย มีความเข้าใจตามนี้ พอยังจะรู้รึยังว่า.. เราจะสามารถะสร้างบารมีได้ ด้วยอาศัยกำลังใจ 💎 ความดีของบรรดาท่านพุทธบริษัท มีกำลังใจอย่างเดียวเท่านั้น ที่เราจะสามารถทำมันให้ดีหรือไม่ดี อันนี้ก็ตรงกับพระบาลีที่องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ในเรื่อง พระจักขุบาล ว่า.." มโนปุพพังคมา ธัมมา มโนเสฏฐา มโนมยา "" ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจประเสริฐสุด สำเร็จด้วยใจ " 💎 นี่ความจริง เรื่องนี้ก็เรียนกันมาแล้วท่านบรรดาพุทธบริษัท แต่เวลาปฏิบัติจริง ๆ ทำไมมันถึงลืมก็ไม่ทราบ..💎 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย หวังว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน คงจะเข้าใจคำว่า บารมี แล้วอย่าลืม บารมี แปลว่าเต็ม แต่ส่วนที่เราจะทำให้เต็มนั้นก็คือ กำลังใจ ให้กำลังใจมันพร้อม พร้อมที่จะทรงความดีในด้านบารมีไว้..💎 ถ้ากำลังใจของเราพร้อมทรงบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ครบถ้วนเพียงใด บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ความเป็นพระอริยเจ้าเป็นของง่าย..* ที่นำบารมีทั้ง ๑๐ ประการ มากล่าวในตอนนี้ ก็เพราะว่า.. ในตอนต้น พูดเรื่องพระโสดาบันเข้าไว้ เห็นว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายอาจจะคิดว่า.. แหม.. มันยากเกินไป ถ้ากำลังใจในการสร้างตนเป็นพระโสดาบัน มันยังครบถ้วนไม่ได้ ก็หันมาจัดการกับบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ให้มันครบถ้วนบริบูรณ์..* ทาน การให้ เป็นการตัดความโลภ.* ศีล เราก็ตัดความโกรธ* เนกขัมมะ ตัดอารมณ์ของกามคุณ* ปัญญา ตัดความโง่* วิริยะ ตัดความขี้เกียจ* ขันติ ตัดความไม่รู้จักการอดทน* สัจจะ ตัดความไม่จริงใจ มีอารมณ์ใจกลับกลอก* อธิษฐาน ทรงกำลังไว้ให้สมบูรณ์บริบูรณ์* เมตตา สร้างความเยือกเย็นของจิตใจ* อุเบกขา วางเฉยเข้าไว้ในเรื่องของกาย เราไม่ปรารภ🌺 เท่านี้แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัท ถ้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัทสมบูรณ์เพียงใด คำว่า.. พระโสดาบัน นั้น บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย จะรู้สึกว่าง่ายเกินไปสำหรับบรรดาท่านพุทธบริษัท..🌼 ทำไมจึงว่าอย่างนั้น.. ก็เพราะว่า คนที่มีบารมีเต็มครบถ้วนบริบูรณ์ มีกำลังใจเต็มทุกอย่างใน ๑๐ ประการนี้ องค์สมเด็จพระชินสีห์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่เรียกว่า "พระโสดาบัน" แล้ว ท่านเรียกว่าอะไร.. ท่านเรียกว่า "พระขีณาสพ" แปลว่า ผู้มีอาสวะอันสิ้นไปแล้ว หรือเรียกว่า "พระอรหัตผล" เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาอันดับสูงสุด เข้าถึงซึ่งพระนิพพานได้..🌸 เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย วันนี้ก็ขอยุติไว้แต่เพียงเท่านี้..🌷 ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลสมบูรณ์พูนผล จงมีแด่บรรดาท่านพุทธศาสนิกชนทุกท่าน สวัสดี..."( จากหนังสือ *บารมี ๑๐* โดย พระราชพรหมยานฯ หน้าที่ ๘-๑๖ ของวัดท่าซุง จ.อุทัยธานี) #ที่มานิพพานังปรมังสุขัง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 524 มุมมอง 0 รีวิว
  • ถ้าจะถามว่า พระอินทร์ มีจริงไหม อาตมาขอยืนยันว่า พระอินทร์ มีจริง เทวดาทั้งหลายก็มีจริง พรหมมีจริง ท้าวมหาราช ทั้ง ๔ ก็มีจริง ถ้าใครไม่มั่นใจว่ามีจริงหรือไม่จริง เอาคำแนะนำขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปลองปฏิบัติดูบ้าง ทำให้ได้ ๒ ใน วิชชาสาม ๕ ใน อภิญญาหก ก็จะปรากฏผลตามที่พระพุทธเจ้าตรัสทุกอย่าง อย่ามานั่งวิพากษ์วิจารณ์กันแต่แค่ตำรา อันนี้มันไม่ถูกต้อง คนที่เรียนวิชาทำอาหาร ดูแต่หนังสือดูแค่ตำรา เขาว่ามาอย่างไรก็ว่าตามเขา แต่ก็ไม่เคยปรุงอาหารบริโภคเลย ดีไม่ดีก็ไปนั่งติตำราว่าทำไม่ถูก มันไม่อร่อย ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะตัวไม่เคยกินอาหาร อ่านมาอ่านไป ศึกษามาศึกษาไป หนักเข้าก็สงสัยว่า เอ๊ะ นี่มันจะกินได้หรือไม่ได้ ดีไม่ดีเขาบอกว่า ไอ้หน่อไม้ในป่านี่มันกินอร่อย ไปยืนมอง ๆ ว่าอพิโธ่เอ๋ย ไอ้หน่อไม้ประเภทนี้ กินเข้าแล้วมันไม่มีประโยชน์ รสชาติมันไม่อร่อย ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะความโง่เขลาเบาปัญญาไม่ลองเอาหน่อไม้มาทำอย่างที่ชาวบ้านเขาสอน อย่างที่ชาวบ้านเขากินกัน ข้อนี้มีอุปมาฉันใด เรื่องสวรรค์ พรหม นิพพาน นรก เปรต อสุรกายก็เช่นเดียวกัน ถ้ามานั่งอ่านแต่หนังสือก็มานั่งวิพากษ์วิจารณ์ ก็ไม่ต่างอะไรกับ กัณฑหาลพราหมณ์ นี่แหละ จากหนังสือ โอวาทหลวงพ่อวัดท่าซุง เล่ม ๓ หน้าที่ ๑๕๑ โดย...หลวงพ่อพระราชพรหมยาน คัดลอกโดย ด.ญ.ปุณยนุช ขจรนิธิพร
    ถ้าจะถามว่า พระอินทร์ มีจริงไหม อาตมาขอยืนยันว่า พระอินทร์ มีจริง เทวดาทั้งหลายก็มีจริง พรหมมีจริง ท้าวมหาราช ทั้ง ๔ ก็มีจริง ถ้าใครไม่มั่นใจว่ามีจริงหรือไม่จริง เอาคำแนะนำขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปลองปฏิบัติดูบ้าง ทำให้ได้ ๒ ใน วิชชาสาม ๕ ใน อภิญญาหก ก็จะปรากฏผลตามที่พระพุทธเจ้าตรัสทุกอย่าง อย่ามานั่งวิพากษ์วิจารณ์กันแต่แค่ตำรา อันนี้มันไม่ถูกต้อง คนที่เรียนวิชาทำอาหาร ดูแต่หนังสือดูแค่ตำรา เขาว่ามาอย่างไรก็ว่าตามเขา แต่ก็ไม่เคยปรุงอาหารบริโภคเลย ดีไม่ดีก็ไปนั่งติตำราว่าทำไม่ถูก มันไม่อร่อย ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะตัวไม่เคยกินอาหาร อ่านมาอ่านไป ศึกษามาศึกษาไป หนักเข้าก็สงสัยว่า เอ๊ะ นี่มันจะกินได้หรือไม่ได้ ดีไม่ดีเขาบอกว่า ไอ้หน่อไม้ในป่านี่มันกินอร่อย ไปยืนมอง ๆ ว่าอพิโธ่เอ๋ย ไอ้หน่อไม้ประเภทนี้ กินเข้าแล้วมันไม่มีประโยชน์ รสชาติมันไม่อร่อย ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะความโง่เขลาเบาปัญญาไม่ลองเอาหน่อไม้มาทำอย่างที่ชาวบ้านเขาสอน อย่างที่ชาวบ้านเขากินกัน ข้อนี้มีอุปมาฉันใด เรื่องสวรรค์ พรหม นิพพาน นรก เปรต อสุรกายก็เช่นเดียวกัน ถ้ามานั่งอ่านแต่หนังสือก็มานั่งวิพากษ์วิจารณ์ ก็ไม่ต่างอะไรกับ กัณฑหาลพราหมณ์ นี่แหละ จากหนังสือ โอวาทหลวงพ่อวัดท่าซุง เล่ม ๓ หน้าที่ ๑๕๑ โดย...หลวงพ่อพระราชพรหมยาน คัดลอกโดย ด.ญ.ปุณยนุช ขจรนิธิพร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 0 รีวิว
  • รู้ตื่นรู้เบิกบาน ตื่นรู้ในธรรมะพระพุทธเจ้า เบิกบานคำสอนของพระพุทธเจ้า ตื่นรู้ในบาปบุญ เชื่อในบาปบุญ ตื่นรับศิล รับธรรม
    รู้ตื่นรู้เบิกบาน ตื่นรู้ในธรรมะพระพุทธเจ้า เบิกบานคำสอนของพระพุทธเจ้า ตื่นรู้ในบาปบุญ เชื่อในบาปบุญ ตื่นรับศิล รับธรรม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว
  • ธรรมะก็มีมาเนินนาน จะมีพุทธเจ้าหรือไม่มีมีธรรมะก็มาก่อนแล้ว พระปัจเจกพระพุทธเจ้าท่านก็ไม่ได้สอนได้จนมาถึงพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ท่านได้พบเห็นธรรมะ ได้ตรัสรู้ ท่านจึงได้นำมาสอนสามโลกธาตุ
    _สิ่งแรกท่านได้พบความเบื่อหน่ายใน กามราคะ อันที่สองได้พบเห็น การ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
    ธรรมะก็มีมาเนินนาน จะมีพุทธเจ้าหรือไม่มีมีธรรมะก็มาก่อนแล้ว พระปัจเจกพระพุทธเจ้าท่านก็ไม่ได้สอนได้จนมาถึงพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ท่านได้พบเห็นธรรมะ ได้ตรัสรู้ ท่านจึงได้นำมาสอนสามโลกธาตุ _สิ่งแรกท่านได้พบความเบื่อหน่ายใน กามราคะ อันที่สองได้พบเห็น การ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 78 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทรัพย์สมบัติส่วนบุคคล ตอนที่ 2

    เรื่องของทรัพย์สมบัติในตอนที่แล้ว มันช่างสร้างปัญหาในการดำรงชีวิตมากมาย รวมไปถึงการส่งผลต่อสุขภาพจิตด้วยและการดำเนินชีวิตด้วย

    หากแต่ภูมิปัญหาของพระพุทธเจ้า ได้สอนและจำแนกไว้เป็นอย่างดีและชัดเจนมากๆแล้วว่า ทรัพย์สมบัติแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ ทรัพย์สมบัติภายนอก และทรัพย์สมบัติภายใน

    ตอนนี้เราจะมาลงรายละเอียดของทรัพย์สมบัติภายนอกกันครับ

    ทรัพย์สมบัติภายนอก มีอะไรบ้าง… เงิน , ทอง , บ้าน , รถยนต์ , โทรศัพท์มือถือ , รองเท้า , ปากกา, นาฬิกา หรือพูดง่ายๆว่าสิ่งที่เรามองออกไปรอบๆตัวที่เห็นทั้งหมด แต่ในความเป็นจริงแล้วยังมีทรัพย์สมบัติภายนอกที่เรายึดเอาไว้ว่าเป็นของตัวเอง อีกหลายๆอย่างซึ่งไม่ใช่อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้น ยกตัวอย่างเช่น ประเทศ(ของเรา) , โรงเรียน(ของเรา) , พ่อแม่(ของเรา) , ลูก(ของเรา) หรือ สามี/ภรรยา(ของเรา) สิ่งเหล่านี้จะเรียกว่าเป็นทรัพย์สมบัติได้หรือเปล่า…ไม่แน่ใจ แต่เราก็ยึดไปแล้วว่าเป็นของเรา

    ยิ่งไปกว่านั้นยังมีสิ่งที่จับต้องไม่ได้ที่เราเรียกว่าเป็นของเราอีกเช่น ร่างกาย(ของเรา) , ชื่อเสียงเกียรติยศ(ของเรา) , รูปร่างหน้าตา(ของเรา) , ทรงผม(ของเรา) , ความสวย/หล่อ(ของเรา) , ศักดิ์ศรี(ของเรา) หรือภูมิหลัง(ของเรา)

    สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็นของเราจริงๆหรือเปล่า? ถ้าเป็นของเราจริงๆเราต้องบังคับมันได้ เช่นบังคับให้จำนวนเพิ่มขึ้นหรือลดลง , บังคับให้(เขา)ทำแบบนั้นแบบนี้ตามใจเรา หรือบังคับไม่ให้มันเสื่อมสภาพไป ซึ่งเราไม่สามารถบังคับอะไรไม่ได้เลย ดังนั้นจะเรียกว่าเป็นของของเราได้ไหม

    สินทรัพย์ภายนอก เราต้องแลกมา หามา ได้มา ด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ซึ่งเรายังคงต้องได้มาจากผู้อื่น ในมุมมองของการหาสินทรัพย์ภายนอกที่เป็นเงิน เราก็ต้องแลกด้วยแรง แลกด้วยส่วนต่างของกำไร แล้วเอาเงินจากอีกคนหรืออีกฝ่ายหนึ่งมา ซึ่งเงินก้อนนี้ก็ถูกดึงมากจากอีกฝ่าย และพวกเขาก็ดึงมากจากผู้อื่นๆ รวมไปถึงเงินของเราก็ยังต้องจับจ่าย ใช้มันออกไปให้คนอื่นเช่นกัน ทรัพย์เหล่านี้สูญเสียไปง่าย เสื่อมค่าก็ง่าย เหมือนว่าวัฎจักรนี้ไม่มีที่สิ้นสุดเลย

    ปัญหาหลักของคนเราทุกคนคือการสะสมและการปรียบเทียบทรัพย์สมบัติกับผู้อื่น สมบัติที่ว่าก็คือโดยเฉพาะทรัพย์สมบัติภายนอก ทรัพย์สมบัติภายนอกอย่างที่กล่าวมานั้น เป็นสิ่งของที่เหมือนๆกันทั้งหมด ทั้งเงิน สิ่งของ และอื่นๆ ซึ่งทำให้เกิดการเปรียบเทียบกันง่าย เช่น ฉันเงินเยอะกว่า บ้านหลังใหญ่กว่า รถยนต์พึ่งออกใหม่ โทรศัพท์รุ่นใหม่ พวกเราอยู่ในวังวนนี้มาโดยตลอด

    แล้วจะเกิดอะไรขึ้นอีก เมื่อมีความเชื่อและความยึดถือว่าคนรวย คนมีทรัพย์มาก เป็นคนเก่ง เป็นคนที่น่านับหน้าถือตา รวมไปถึงอาจจะมีอำนาจวาสนาสูงด้วย ทำให้คนเราต้องไข่วคว้าหาเงินทอง ทรัพย์สมบัติมากขึ้น มากขึ้น ไปเรื่อยๆ นอกจากต้องการมากแล้ว ยังต้องการให้มีมากขึ้นอย่างรวดเร็วด้วย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วทรัพย์สินเหล่านอกจากหลายๆคนมีมากมายมาตั้งแต่กำเนิดได้จากมรดกตกทอดมาจากคุณปู่คุณย่า คุณตาคุณยาย หรือจากคุณพ่อคุณแม่ด้วย บางคนหามาได้จากความมานะพยายาม บางคนสติปัญญาดี บางคนดวงดี ซึ่งในคนปกติอย่างเราๆ การหาทรัพย์สมบัติมาด้วยความสุจริตนั้นไม่ได้หามาได้ง่ายๆเลย

    การที่ต้องนำทรัพย์สมบัติสะสมมาเทียบเท่ากับคนอื่นๆเป็นเรื่องที่ยากและเป็นไปได้ยาก แต่ถ้าหากทำได้เมื่อเทียบกับตัวเทียบที่หนึ่งแล้วยังไงต่อ คนที่เราคิดว่าเราไปเทียบด้วยนั้นรวยแล้วแต่ที่จริงก็ยังมีคนที่รวยกว่าและรวยมากกว่าอีก คนที่จ้องจะเปรียบเทียบก็ต้องเปรียบเทียบกับคู่เปรียบที่รวยกว่าเดิม และเมื่อทำได้มากกว่าคนนี้ก็มองหาคนที่อยู่สูงขึ้นไปอีก ถ้าพิจารณาดีๆจากคนรวยในโลกแล้วเราจะเห็นว่าคนที่รวยนั้นเขามีความรวยแบบไม่มีที่สิ้นสุดจริงๆ รวยมหารวย ถ้าเปรียบเทียบกันไปแบบนี้ กว่าเราจะตายไปก็คงจะไม่สามารถเป็นคนที่รวยชนะทุกคนในประเทศได้ รวมไปถึงเป็นที่หนึ่งของโลกด้วยเช่นกัน

    คนที่เห็นคนอื่นมีมาก มีสิ่งของชิ้นใหม่ อยากเป็นคนมีสมบัติมากๆ แต่ความสามารถ ความมีโชค ความขยัน และความอดทน ไม่เท่ากับคนอื่น ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้จะได้สมบัติมามากๆได้ยังไง เขาก็ต้องหาทางที่ไม่ตรงไปตรงมา เช่น โกง ปล้น ยักยอก หรือบังคับขู่เข็น และนั่นเป็นวิธีที่ไม่ถูกต้อง เป็นบาป สร้างความทุกข์ให้กับผู้อื่น อ่านที่ได้กล่าวไว้แล้วว่าทรัพย์สมบัติภายนอกมันต้องได้จากคนอื่นมา เหตุการณ์เหล่านี้สามารถเห็นได้ตามหน้าสื่อต่างๆมากมาย ผู้กระทำก็ถูกจับติดคุก ติดตาราง บางคนถึงขั้นวางยาพิษผู้เสียหาย

    เรื่องราวของทรัพย์สมบัติภายนอกยังไม่จบ รออ่านตอนที่ 3 นะครับ
    ทรัพย์สมบัติส่วนบุคคล ตอนที่ 2 เรื่องของทรัพย์สมบัติในตอนที่แล้ว มันช่างสร้างปัญหาในการดำรงชีวิตมากมาย รวมไปถึงการส่งผลต่อสุขภาพจิตด้วยและการดำเนินชีวิตด้วย หากแต่ภูมิปัญหาของพระพุทธเจ้า ได้สอนและจำแนกไว้เป็นอย่างดีและชัดเจนมากๆแล้วว่า ทรัพย์สมบัติแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ ทรัพย์สมบัติภายนอก และทรัพย์สมบัติภายใน ตอนนี้เราจะมาลงรายละเอียดของทรัพย์สมบัติภายนอกกันครับ ทรัพย์สมบัติภายนอก มีอะไรบ้าง… เงิน , ทอง , บ้าน , รถยนต์ , โทรศัพท์มือถือ , รองเท้า , ปากกา, นาฬิกา หรือพูดง่ายๆว่าสิ่งที่เรามองออกไปรอบๆตัวที่เห็นทั้งหมด แต่ในความเป็นจริงแล้วยังมีทรัพย์สมบัติภายนอกที่เรายึดเอาไว้ว่าเป็นของตัวเอง อีกหลายๆอย่างซึ่งไม่ใช่อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้น ยกตัวอย่างเช่น ประเทศ(ของเรา) , โรงเรียน(ของเรา) , พ่อแม่(ของเรา) , ลูก(ของเรา) หรือ สามี/ภรรยา(ของเรา) สิ่งเหล่านี้จะเรียกว่าเป็นทรัพย์สมบัติได้หรือเปล่า…ไม่แน่ใจ แต่เราก็ยึดไปแล้วว่าเป็นของเรา ยิ่งไปกว่านั้นยังมีสิ่งที่จับต้องไม่ได้ที่เราเรียกว่าเป็นของเราอีกเช่น ร่างกาย(ของเรา) , ชื่อเสียงเกียรติยศ(ของเรา) , รูปร่างหน้าตา(ของเรา) , ทรงผม(ของเรา) , ความสวย/หล่อ(ของเรา) , ศักดิ์ศรี(ของเรา) หรือภูมิหลัง(ของเรา) สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็นของเราจริงๆหรือเปล่า? ถ้าเป็นของเราจริงๆเราต้องบังคับมันได้ เช่นบังคับให้จำนวนเพิ่มขึ้นหรือลดลง , บังคับให้(เขา)ทำแบบนั้นแบบนี้ตามใจเรา หรือบังคับไม่ให้มันเสื่อมสภาพไป ซึ่งเราไม่สามารถบังคับอะไรไม่ได้เลย ดังนั้นจะเรียกว่าเป็นของของเราได้ไหม สินทรัพย์ภายนอก เราต้องแลกมา หามา ได้มา ด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ซึ่งเรายังคงต้องได้มาจากผู้อื่น ในมุมมองของการหาสินทรัพย์ภายนอกที่เป็นเงิน เราก็ต้องแลกด้วยแรง แลกด้วยส่วนต่างของกำไร แล้วเอาเงินจากอีกคนหรืออีกฝ่ายหนึ่งมา ซึ่งเงินก้อนนี้ก็ถูกดึงมากจากอีกฝ่าย และพวกเขาก็ดึงมากจากผู้อื่นๆ รวมไปถึงเงินของเราก็ยังต้องจับจ่าย ใช้มันออกไปให้คนอื่นเช่นกัน ทรัพย์เหล่านี้สูญเสียไปง่าย เสื่อมค่าก็ง่าย เหมือนว่าวัฎจักรนี้ไม่มีที่สิ้นสุดเลย ปัญหาหลักของคนเราทุกคนคือการสะสมและการปรียบเทียบทรัพย์สมบัติกับผู้อื่น สมบัติที่ว่าก็คือโดยเฉพาะทรัพย์สมบัติภายนอก ทรัพย์สมบัติภายนอกอย่างที่กล่าวมานั้น เป็นสิ่งของที่เหมือนๆกันทั้งหมด ทั้งเงิน สิ่งของ และอื่นๆ ซึ่งทำให้เกิดการเปรียบเทียบกันง่าย เช่น ฉันเงินเยอะกว่า บ้านหลังใหญ่กว่า รถยนต์พึ่งออกใหม่ โทรศัพท์รุ่นใหม่ พวกเราอยู่ในวังวนนี้มาโดยตลอด แล้วจะเกิดอะไรขึ้นอีก เมื่อมีความเชื่อและความยึดถือว่าคนรวย คนมีทรัพย์มาก เป็นคนเก่ง เป็นคนที่น่านับหน้าถือตา รวมไปถึงอาจจะมีอำนาจวาสนาสูงด้วย ทำให้คนเราต้องไข่วคว้าหาเงินทอง ทรัพย์สมบัติมากขึ้น มากขึ้น ไปเรื่อยๆ นอกจากต้องการมากแล้ว ยังต้องการให้มีมากขึ้นอย่างรวดเร็วด้วย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วทรัพย์สินเหล่านอกจากหลายๆคนมีมากมายมาตั้งแต่กำเนิดได้จากมรดกตกทอดมาจากคุณปู่คุณย่า คุณตาคุณยาย หรือจากคุณพ่อคุณแม่ด้วย บางคนหามาได้จากความมานะพยายาม บางคนสติปัญญาดี บางคนดวงดี ซึ่งในคนปกติอย่างเราๆ การหาทรัพย์สมบัติมาด้วยความสุจริตนั้นไม่ได้หามาได้ง่ายๆเลย การที่ต้องนำทรัพย์สมบัติสะสมมาเทียบเท่ากับคนอื่นๆเป็นเรื่องที่ยากและเป็นไปได้ยาก แต่ถ้าหากทำได้เมื่อเทียบกับตัวเทียบที่หนึ่งแล้วยังไงต่อ คนที่เราคิดว่าเราไปเทียบด้วยนั้นรวยแล้วแต่ที่จริงก็ยังมีคนที่รวยกว่าและรวยมากกว่าอีก คนที่จ้องจะเปรียบเทียบก็ต้องเปรียบเทียบกับคู่เปรียบที่รวยกว่าเดิม และเมื่อทำได้มากกว่าคนนี้ก็มองหาคนที่อยู่สูงขึ้นไปอีก ถ้าพิจารณาดีๆจากคนรวยในโลกแล้วเราจะเห็นว่าคนที่รวยนั้นเขามีความรวยแบบไม่มีที่สิ้นสุดจริงๆ รวยมหารวย ถ้าเปรียบเทียบกันไปแบบนี้ กว่าเราจะตายไปก็คงจะไม่สามารถเป็นคนที่รวยชนะทุกคนในประเทศได้ รวมไปถึงเป็นที่หนึ่งของโลกด้วยเช่นกัน คนที่เห็นคนอื่นมีมาก มีสิ่งของชิ้นใหม่ อยากเป็นคนมีสมบัติมากๆ แต่ความสามารถ ความมีโชค ความขยัน และความอดทน ไม่เท่ากับคนอื่น ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้จะได้สมบัติมามากๆได้ยังไง เขาก็ต้องหาทางที่ไม่ตรงไปตรงมา เช่น โกง ปล้น ยักยอก หรือบังคับขู่เข็น และนั่นเป็นวิธีที่ไม่ถูกต้อง เป็นบาป สร้างความทุกข์ให้กับผู้อื่น อ่านที่ได้กล่าวไว้แล้วว่าทรัพย์สมบัติภายนอกมันต้องได้จากคนอื่นมา เหตุการณ์เหล่านี้สามารถเห็นได้ตามหน้าสื่อต่างๆมากมาย ผู้กระทำก็ถูกจับติดคุก ติดตาราง บางคนถึงขั้นวางยาพิษผู้เสียหาย เรื่องราวของทรัพย์สมบัติภายนอกยังไม่จบ รออ่านตอนที่ 3 นะครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 301 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🍁อย่าลืมว่าเราเกิดมาเป็นมนุษย์ได้เพราะอาศัยความดีหลายอย่างธ​รรมทาน #หลวงคำสอนหลวงพ่อ ๑.​ เราเคยมีศีล ๕ บริสุทธิ์ หรือมีกรรมบถ ๑๐ บริสุทธิ์ เราจึงเป็นมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์ได้๒.​ เรามีทรัพย์สินเพราะเราเคยให้ทาน๓.​ เรามีปัญญาคิดอะไรได้บ้าง เพราะเราเคยอบรมในด้านความดี ในด้านธรรมมาก่อน🔸️เราต้องคำนึงของ ๓ อย่างนี้ เพราะมันเป็นความดีเดิมในเมื่อเราเป็นมนุษย์ได้แล้ว เราจะกลับไปเป็นสัตว์นรกอีกไหม​ ถ้าเราทำลายศีลข้อใดข้อหนึ่ง นั่นแสดงว่ามันจะกลับไปนรกอีก ประการที่ ๒ เราเกิดมาเป็นคนตระหนี่ เป็นคนดี​พอกลับไปเราก็ต้องกลับไปแก้กันใหม่ และประการที่ ๓ เราทำลายสติสัมปชัญญะของเราให้มันเสื่อมทรามลง เป็นการทำลายของเดิมที่เราก่อมาแล้วให้สลายตัวไป ถ้าเราคิดอย่างนี้แล้วจะดีขึ้น​ ฉะนั้น พระพุทธเจ้าท่านจึงทรงสั่งสอน ✅️#อย่าตามนึกถึงสิ่งที่ล่วงมาแล้ว ✅️#และจงอย่าคำนึงถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง✅️#พยายามรักษาความดีปัจจุบัน​ ⭕️ ถ้าปัจจุบันของเราดี เพราะอารมณ์ของเราจริงๆไม่มีอดีตไม่มีอนาคตหรอก มันมีแต่ปัจจุบันคือ ให้มีความรู้สึกว่าเดี่ยวนี้อยู่เสมอ คือ อารมณ์ทำเป็นอาจิณกรรม ถึงแม้ว่าครั้งละเล็กละน้อยมันก็ชิน อาจิณกรรมถ้าเป็นฝ่ายอกุศล มันมีโทษถึงอนันตริยกรรมได้ แต่ถ้าอาจิณกรรมฝ่ายกุศลมันก็มีผลมหันต์เหมือนกัน ถ้าเราไม่ตามนึกถึงมัน เรามุ่งหน้าทำแต่ความดี อันดับเลวที่สุดถ้าเราเป็นพระโสดาบัน กรรมที่ไม่ดีนั้นจะให้ผลลงอบายภูมิไม่ได้ มันจะให้ผลแต่เพียงว่าเราเกิดมาเป็นมนุษย์ใหม่เท่านั้น มันตัดอบายภูมิ ใช่ไหม​ ได้กำไรตั้งเยอะ ดีไม่ดีเป็นอรหันต์เสียชาตินี้หมดเรื่องหมดราวไปเลย เพราะมันเหลือแค่เศษกรรม ใช่ไหม​ ดอกเบี้ยมันนิดหน่อย เอาอย่างนั้นนะ จำไว้แค่นี้ก็แล้วกันนะ #เอาเวลานี้ให้มันดีอยู่เสมอ อย่าไปเอาเวลาอื่นนะ เวลาปัจจุบันนี้เมื่อความรู้สึกยังมีอยู่ #ให้จิตมันว่างจากอารมณ์ที่เป็นอกุศล ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ #ทรงอนุสสติ​ 🔺️ #อนุสสติ แปลว่า #การตามนึกถึง คือให้นึกถึงความดีอยู่เสมอ​ อนุสสติ ก็มี พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ จาคานุสสติ เทวตานุสสติ มรณานุสสติ กายคตานุสสติ อุปสมานุสสติ และ อานาปานุสสติ ถ้าเราตามนึกถึงอนุสสติอย่างใดอย่างหนึ่ง มันเป็นเรื่องของความดี ทีนี้ความดีที่เราจะไปชำระหนี้ความชั่วเดิมให้หมดไป ถ้าจะไปนิพพานรับรองไม่ได้ไปแน่เพราะอะไร เกิดทุกชาติก็สร้างเรื่อยเสริมความชั่วอยู่เสมอ ทีนี้ทางพระพุทธศาสนาเราไม่มีการล้างบาป แต่ว่าในทางพุทธศาสนาให้สร้างกำลังจิตในด้านความดีให้มีกำลังสูงเพื่อหนีบาปให้พ้นไป====================== จากหนังสือหลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่ม ๓ หน้า ๔๘-๕๘
    🍁อย่าลืมว่าเราเกิดมาเป็นมนุษย์ได้เพราะอาศัยความดีหลายอย่างธ​รรมทาน #หลวงคำสอนหลวงพ่อ ๑.​ เราเคยมีศีล ๕ บริสุทธิ์ หรือมีกรรมบถ ๑๐ บริสุทธิ์ เราจึงเป็นมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์ได้๒.​ เรามีทรัพย์สินเพราะเราเคยให้ทาน๓.​ เรามีปัญญาคิดอะไรได้บ้าง เพราะเราเคยอบรมในด้านความดี ในด้านธรรมมาก่อน🔸️เราต้องคำนึงของ ๓ อย่างนี้ เพราะมันเป็นความดีเดิมในเมื่อเราเป็นมนุษย์ได้แล้ว เราจะกลับไปเป็นสัตว์นรกอีกไหม​ ถ้าเราทำลายศีลข้อใดข้อหนึ่ง นั่นแสดงว่ามันจะกลับไปนรกอีก ประการที่ ๒ เราเกิดมาเป็นคนตระหนี่ เป็นคนดี​พอกลับไปเราก็ต้องกลับไปแก้กันใหม่ และประการที่ ๓ เราทำลายสติสัมปชัญญะของเราให้มันเสื่อมทรามลง เป็นการทำลายของเดิมที่เราก่อมาแล้วให้สลายตัวไป ถ้าเราคิดอย่างนี้แล้วจะดีขึ้น​ ฉะนั้น พระพุทธเจ้าท่านจึงทรงสั่งสอน ✅️#อย่าตามนึกถึงสิ่งที่ล่วงมาแล้ว ✅️#และจงอย่าคำนึงถึงสิ่งที่ยังไม่มาถึง✅️#พยายามรักษาความดีปัจจุบัน​ ⭕️ ถ้าปัจจุบันของเราดี เพราะอารมณ์ของเราจริงๆไม่มีอดีตไม่มีอนาคตหรอก มันมีแต่ปัจจุบันคือ ให้มีความรู้สึกว่าเดี่ยวนี้อยู่เสมอ คือ อารมณ์ทำเป็นอาจิณกรรม ถึงแม้ว่าครั้งละเล็กละน้อยมันก็ชิน อาจิณกรรมถ้าเป็นฝ่ายอกุศล มันมีโทษถึงอนันตริยกรรมได้ แต่ถ้าอาจิณกรรมฝ่ายกุศลมันก็มีผลมหันต์เหมือนกัน ถ้าเราไม่ตามนึกถึงมัน เรามุ่งหน้าทำแต่ความดี อันดับเลวที่สุดถ้าเราเป็นพระโสดาบัน กรรมที่ไม่ดีนั้นจะให้ผลลงอบายภูมิไม่ได้ มันจะให้ผลแต่เพียงว่าเราเกิดมาเป็นมนุษย์ใหม่เท่านั้น มันตัดอบายภูมิ ใช่ไหม​ ได้กำไรตั้งเยอะ ดีไม่ดีเป็นอรหันต์เสียชาตินี้หมดเรื่องหมดราวไปเลย เพราะมันเหลือแค่เศษกรรม ใช่ไหม​ ดอกเบี้ยมันนิดหน่อย เอาอย่างนั้นนะ จำไว้แค่นี้ก็แล้วกันนะ #เอาเวลานี้ให้มันดีอยู่เสมอ อย่าไปเอาเวลาอื่นนะ เวลาปัจจุบันนี้เมื่อความรู้สึกยังมีอยู่ #ให้จิตมันว่างจากอารมณ์ที่เป็นอกุศล ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ #ทรงอนุสสติ​ 🔺️ #อนุสสติ แปลว่า #การตามนึกถึง คือให้นึกถึงความดีอยู่เสมอ​ อนุสสติ ก็มี พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ จาคานุสสติ เทวตานุสสติ มรณานุสสติ กายคตานุสสติ อุปสมานุสสติ และ อานาปานุสสติ ถ้าเราตามนึกถึงอนุสสติอย่างใดอย่างหนึ่ง มันเป็นเรื่องของความดี ทีนี้ความดีที่เราจะไปชำระหนี้ความชั่วเดิมให้หมดไป ถ้าจะไปนิพพานรับรองไม่ได้ไปแน่เพราะอะไร เกิดทุกชาติก็สร้างเรื่อยเสริมความชั่วอยู่เสมอ ทีนี้ทางพระพุทธศาสนาเราไม่มีการล้างบาป แต่ว่าในทางพุทธศาสนาให้สร้างกำลังจิตในด้านความดีให้มีกำลังสูงเพื่อหนีบาปให้พ้นไป====================== จากหนังสือหลวงพ่อตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่ม ๓ หน้า ๔๘-๕๘
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 339 มุมมอง 0 รีวิว
  • เชื่อในธรรมของพระพุทธเจ้า..เชื่อในบาปกรรม
    เชื่อในธรรมของพระพุทธเจ้า..เชื่อในบาปกรรม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 111 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสัจคือธรรมะที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้และทรงแสดง
    ทุกขอริยสัจ คือ ความเกิดเป็นทุกข์ ความแก่เป็นทุกข์ ความเจ็บเป็นทุกข์ ความตายเป็นทุกข์ ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักเป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักเป็นทุกข์ ความไม่ได้สิ่งที่ตนปรารถนาเป็นทุกข์ ว่าโดยย่อ ความยึดมั่นขันธ์ ๕ เป็นทุกข์
    อริยสัจคือธรรมะที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้และทรงแสดง ทุกขอริยสัจ คือ ความเกิดเป็นทุกข์ ความแก่เป็นทุกข์ ความเจ็บเป็นทุกข์ ความตายเป็นทุกข์ ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักเป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักเป็นทุกข์ ความไม่ได้สิ่งที่ตนปรารถนาเป็นทุกข์ ว่าโดยย่อ ความยึดมั่นขันธ์ ๕ เป็นทุกข์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 96 มุมมอง 0 รีวิว
  • คําถามอื่นๆ
    พระพุทธเจ้ากับพระปัจเจกพุทธเจ้าต่างกันอย่างไร
    ปัจเจกพระพุทธเจ้ามีใครบ้าง
    ผลการวิจัยพบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้า หมายถึงพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้เฉพาะตัว โดยมิได้อาศัยคำสอนจากผู้อื่น อยู่อย่างสันโดษ เข้าถึงนิพพานโดยปราศจากการประกาศธรรมแก่สรรพสัตว์ พระปัจเจกพุทธเจ้า จะต้องมีคุณสมบัติ 5 ประการ คือ 1) ความเป็นมนุษย์ 2) ความถึงพร้อมด้วยเพศชาย 3) การได้พบเห็นท่านผู้ปราศจากอาสวะ 4) การได้ทำบุญ อันยิ่งใหญ่ ...
    คําถามอื่นๆ พระพุทธเจ้ากับพระปัจเจกพุทธเจ้าต่างกันอย่างไร ปัจเจกพระพุทธเจ้ามีใครบ้าง ผลการวิจัยพบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้า หมายถึงพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้เฉพาะตัว โดยมิได้อาศัยคำสอนจากผู้อื่น อยู่อย่างสันโดษ เข้าถึงนิพพานโดยปราศจากการประกาศธรรมแก่สรรพสัตว์ พระปัจเจกพุทธเจ้า จะต้องมีคุณสมบัติ 5 ประการ คือ 1) ความเป็นมนุษย์ 2) ความถึงพร้อมด้วยเพศชาย 3) การได้พบเห็นท่านผู้ปราศจากอาสวะ 4) การได้ทำบุญ อันยิ่งใหญ่ ...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 133 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ทักษิณ' ตั้งตัวเอง ตำแหน่ง สทร. เสือกทุกเรื่อง
    .
    เวทีปราศรัยหาเสียงของพรรคเพื่อไทยที่จังหวัดอุดรธานี เพื่อช่วยนายศราวุธ เพชรพนมพร ผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ในนามพรรคเพื่อไทย ถือเป็นเวทีแรกในรอบ 17 ปีที่นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งระหว่างการปราศรัยของนายใหญ่รายนี้แวดล้อมไปด้วยขุนพลรู้ใจแทบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น นางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ น้องสาวนายทักษิณ, นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช อดีต รมว.การท่องเที่ยวและกีฬา เป็นต้น
    .
    โดยก่อนขึ้นเวทีปราศรัยนั้น ได้มีมวลชนคนเสื้อแดงมารอรับนำโดยนายขวัญชัย ไพรพนา อดีตประธานชมรมคนรักอุดร โดยมีการชูป้ายข้อความ คิดฮอดพ่อใหญ่ทักษิณ, ฮักเพื่อไทย ฮักทักษิณ…อุดรยังฮัก รวมถึงป้ายผ้าที่ระบุข้อความว่า 18 ปีที่รอคอยท่านทักษิณ, ด้วยรักและคิดถึงท่านทักษิณ และเราชาวอุดร คิดถึงท่านทักษิณ ขณะที่บางคนนำภาพที่เคยถ่ายกับนายทักษิณมาด้วย
    .
    ส่วนเนื้อหาสาระของปราศรัยนั้นเป็นการยืนยันว่ารัฐบาลชุดนี้จะทำให้ประชาชนกินดีอยู่ดีมากว่าที่เป็นอยู่ และไม่เคยครอบงำใครมีแต่เพียงลูกสาวครอบงำพ่อ โดยทักษิณ ระบุว่า "อยู่เมืองนอก 17 ปี ที่อยู่ได้เพราะยึดหลักธรรมคำสั่งสอนพระพุทธเจ้า รู้จักจิตปล่อยวางและไม่ไปลุ่มหลง แต่เมื่อไปเห็นอะไร ก็จะพยายามนึกถึงประเทศไทยและคนไทยตลอด 17 ปีไม่รู้ว่าได้กลับเมื่อไหร่ แต่ในใจคิดอย่างเดียวว่ากูต้องกลับ กลับยังไงหรือกลับเมื่อไหร่ ไม่รู้ ก็สู้ไปเรื่อยๆ แล้ววันนี้ได้กลับมา ได้กราบพระเจ้าอยู่หัว ได้กราบพระพุทธศาสนา และได้กลับมาเจอพี่น้องคนไทยทั้งหมดเป็นความสุขของชีวิต
    .
    "ผมไม่มีสิทธิ์ครอบงำลูก เพราะผมรักลูกแบบเกรงใจมาก เพราะฉะนั้นต้องให้ลูกครอบงำแทน บางทีลูกนั่งปรึกษาผม แต่สั่งผม ซึ่งสิ่งที่นายกฯ เป็นห่วงคือหนี้สินของชาวบ้านและเรื่องของรายได้ ซึ่งเบื้องต้นการให้เงินคนละหมื่นเป็นสิ่งจำเป็น ให้เริ่มต้น ให้ตั้งหลักก่อน และพร้อมกันนั้นก็ลดหนี้ และจะพยายามเพิ่มรายได้ให้กับประชาชน ไม่ว่าจะเป็นรายได้ทางการเกษตร หรือโอกาสของประชาชน"
    .
    นายทักษิณ กล่าวอีกว่า "พี่น้องจำได้หรือไม่ว่าผมให้ทำบัญชีครัวเรือน อยากให้ทำต่อไป แล้วเราจะเห็นชัดไม่มีใครมาหลอกเราได้ว่าเรามีหรือไม่มีเงิน และตอนเลือกตั้งปี 70 ผมมาอีกทีจะเห็นพี่น้องอุดรฯ หน้าตาผ่อง เพราะตังค์มีใช้แล้ว ไม่แห้งแบบนี้ ยิ้มไม่ค่อยหวาน และตอนเลือกตั้งปี 70 ต้องยิ้มหวาน อย่าลืมผม ผมกลับมาแล้ว แล้วอย่าลืมกาเบอร์สอง หากไม่รู้ว่าเบอร์สองชื่ออะไร ชื่อทักษิณแล้วกัน กาทักษิณแล้วกัน"
    .
    "ตอนนี้พรรคร่วมรัฐบาลก็สามัคคีกันดีอยู่ ขอให้เบาใจได้ว่าผมกลับมาแล้ว ผมอยู่ทั้งคน ทนเห็นพี่น้องลำบากไม่ได้ ซึ่งวันนี้ผมได้ตั้งตำแหน่งให้ตัวเองหลังจากที่ได้เงินเดือนเดือนละ 700 คือ สทร. แปลว่า เสือก ทุก เรื่อง ที่เห็นอะไร น่ารำคาญก็ต้องตะโกนโวยวายในฐานะประชาชนคนชรา คนแก่ขี้บ่น ไม่มีใครฟังก็บ่นให้ลูกสาวฟังก็ได้" นายทักษิณกล่าว
    ..............
    Sondhi X
    'ทักษิณ' ตั้งตัวเอง ตำแหน่ง สทร. เสือกทุกเรื่อง . เวทีปราศรัยหาเสียงของพรรคเพื่อไทยที่จังหวัดอุดรธานี เพื่อช่วยนายศราวุธ เพชรพนมพร ผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ในนามพรรคเพื่อไทย ถือเป็นเวทีแรกในรอบ 17 ปีที่นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งระหว่างการปราศรัยของนายใหญ่รายนี้แวดล้อมไปด้วยขุนพลรู้ใจแทบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น นางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ น้องสาวนายทักษิณ, นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช อดีต รมว.การท่องเที่ยวและกีฬา เป็นต้น . โดยก่อนขึ้นเวทีปราศรัยนั้น ได้มีมวลชนคนเสื้อแดงมารอรับนำโดยนายขวัญชัย ไพรพนา อดีตประธานชมรมคนรักอุดร โดยมีการชูป้ายข้อความ คิดฮอดพ่อใหญ่ทักษิณ, ฮักเพื่อไทย ฮักทักษิณ…อุดรยังฮัก รวมถึงป้ายผ้าที่ระบุข้อความว่า 18 ปีที่รอคอยท่านทักษิณ, ด้วยรักและคิดถึงท่านทักษิณ และเราชาวอุดร คิดถึงท่านทักษิณ ขณะที่บางคนนำภาพที่เคยถ่ายกับนายทักษิณมาด้วย . ส่วนเนื้อหาสาระของปราศรัยนั้นเป็นการยืนยันว่ารัฐบาลชุดนี้จะทำให้ประชาชนกินดีอยู่ดีมากว่าที่เป็นอยู่ และไม่เคยครอบงำใครมีแต่เพียงลูกสาวครอบงำพ่อ โดยทักษิณ ระบุว่า "อยู่เมืองนอก 17 ปี ที่อยู่ได้เพราะยึดหลักธรรมคำสั่งสอนพระพุทธเจ้า รู้จักจิตปล่อยวางและไม่ไปลุ่มหลง แต่เมื่อไปเห็นอะไร ก็จะพยายามนึกถึงประเทศไทยและคนไทยตลอด 17 ปีไม่รู้ว่าได้กลับเมื่อไหร่ แต่ในใจคิดอย่างเดียวว่ากูต้องกลับ กลับยังไงหรือกลับเมื่อไหร่ ไม่รู้ ก็สู้ไปเรื่อยๆ แล้ววันนี้ได้กลับมา ได้กราบพระเจ้าอยู่หัว ได้กราบพระพุทธศาสนา และได้กลับมาเจอพี่น้องคนไทยทั้งหมดเป็นความสุขของชีวิต . "ผมไม่มีสิทธิ์ครอบงำลูก เพราะผมรักลูกแบบเกรงใจมาก เพราะฉะนั้นต้องให้ลูกครอบงำแทน บางทีลูกนั่งปรึกษาผม แต่สั่งผม ซึ่งสิ่งที่นายกฯ เป็นห่วงคือหนี้สินของชาวบ้านและเรื่องของรายได้ ซึ่งเบื้องต้นการให้เงินคนละหมื่นเป็นสิ่งจำเป็น ให้เริ่มต้น ให้ตั้งหลักก่อน และพร้อมกันนั้นก็ลดหนี้ และจะพยายามเพิ่มรายได้ให้กับประชาชน ไม่ว่าจะเป็นรายได้ทางการเกษตร หรือโอกาสของประชาชน" . นายทักษิณ กล่าวอีกว่า "พี่น้องจำได้หรือไม่ว่าผมให้ทำบัญชีครัวเรือน อยากให้ทำต่อไป แล้วเราจะเห็นชัดไม่มีใครมาหลอกเราได้ว่าเรามีหรือไม่มีเงิน และตอนเลือกตั้งปี 70 ผมมาอีกทีจะเห็นพี่น้องอุดรฯ หน้าตาผ่อง เพราะตังค์มีใช้แล้ว ไม่แห้งแบบนี้ ยิ้มไม่ค่อยหวาน และตอนเลือกตั้งปี 70 ต้องยิ้มหวาน อย่าลืมผม ผมกลับมาแล้ว แล้วอย่าลืมกาเบอร์สอง หากไม่รู้ว่าเบอร์สองชื่ออะไร ชื่อทักษิณแล้วกัน กาทักษิณแล้วกัน" . "ตอนนี้พรรคร่วมรัฐบาลก็สามัคคีกันดีอยู่ ขอให้เบาใจได้ว่าผมกลับมาแล้ว ผมอยู่ทั้งคน ทนเห็นพี่น้องลำบากไม่ได้ ซึ่งวันนี้ผมได้ตั้งตำแหน่งให้ตัวเองหลังจากที่ได้เงินเดือนเดือนละ 700 คือ สทร. แปลว่า เสือก ทุก เรื่อง ที่เห็นอะไร น่ารำคาญก็ต้องตะโกนโวยวายในฐานะประชาชนคนชรา คนแก่ขี้บ่น ไม่มีใครฟังก็บ่นให้ลูกสาวฟังก็ได้" นายทักษิณกล่าว .............. Sondhi X
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 974 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันพระบิดาแห่งฝนหลวง
    วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ของทุกปี
    🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏
    ******************************
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๙ พระบรมราชจักรีวงศ์
    กรุงรัตนโกสินทร์ ราชอาณาจักรไทย
    วันพระบิดาแห่งฝนหลวง วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ของทุกปี 🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏 ****************************** พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๙ พระบรมราชจักรีวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ ราชอาณาจักรไทย
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 66 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๙
    🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏
    น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้
    พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๙ 🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏 น้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 79 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 286
    วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 286 วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 300 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 286
    วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 286 วันอังคาร: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (12 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 92 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 266 มุมมอง 0 รีวิว
  • #จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ

    #แต่ว่าถ้าสมัยนี้บรรดาท่านพุทธบริษัทคนใดมีจิตใจมุ่งหวังพระนิพพานเป็นอารมณ์ #หากว่าท่านเป็นพระโสดาบันก็ดีหรือยังไม่เป็นพระโสดาบันก็ตาม #พยายามมีความเคารพพระพุทธเจ้า #พระธรรม #พระอริยสงฆ์ #ให้มั่นคงนึกถึงความตายไว้เป็นปกติ #ว่าชีวิตมันต้องตายแต่ว่าถ้าตายเมื่อไรขอไปนิพพานเมื่อนั้น #จิตใจรักพระนิพพานเป็นอารมณ์ ถึงแม้ศีลหรือกรรมบถ ๑๐ จะบกพร่องบ้างก็ตาม ถ้าจิตคิดอย่างนี้อยู่ ตายแล้วไม่ลงอบายภูมิแน่ ก็ไปสวรรค์ ถ้าไปสวรรค์แล้วภายในไม่ช้าถ้าไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เทวดาหรือนางฟ้าชั้นดาวดึงส์นี่มีอายุ ๑๐๐๐ ปีทิพย์ จะมีอายุในดาวดึงส์ไม่ถึง ๓๐๐ปีทิพย์ #พระศรีอาริย์ฯก็จะตรัสเป็นพระพุทธเจ้า ตอนนั้นขณะที่ท่านเป็นเทวดาเป็นนางฟ้า ได้ฟังเทศน์เพียงครั้งเดียวในชีวิตก็สามารถเป็นพระอรหันต์ได้

    นี่ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ ถ้าไม่มีบุญจริงๆ ญาติโยมทั้งหลายมานั่งอยู่ตรงนี้ไม่ได้ ทนไม่ได้เพราะมันเมื่อย เหยียดแข้งเหยียดขาก็ไม่ออก นังก็แสนจะลำบาก อาศัยบุญบารมีเก่าของท่านดีมากจึงสามารถมาทนนั่งอย่างนี้ได้ และตั้งใจโดยเฉพาะว่าเราต้องการบุญกุศล โดยเฉพาะอย่างยิ่งวันนี้พูดเรื่องพระโสดาบันและนิพพาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง #สำหรับบุคคลใดยังต้องเกิดพระศรีอาริย์ฯท่านเคยบอกฝากไว้ #บอกว่าคนของผมอยู่ในระหว่างของท่านหลายแสนคน #คนที่เกิดทันสมัยท่านบำเพ็ญบารมีมาด้วยกันนะประมาณ๓แสนคน #ผมฝากด้วยขอให้ทุกคนรักษากรรมบถ ๑๐ให้ครบถ้วนทุกวัน

    ถ้าเป็นการบังเอิญครบถ้วนทุกวันไม่ได้ วันปกติบกพร่องบ้างก็ตาม แต่ว่าวันพระอย่าให้บกพร่อง วันพระต้องเต็ม อย่างนี้คนพวกนั้นจะเกิดทันสมัยผม และฟังเทศน์เพียงครั้งเดียว ถ้าอย่างอ่อนฟังเทศน์ครั้งแรกก็เป็นพระโสดาบัน ถ้ารักษากรรมบถ ๑๐ ได้ครบถ้วนตลอดวันทุกวัน ทั้งวันดีวันพระอย่างนี้ฟังเทศน์จบจะเป็นพระอรหันต์ทันที ก็รวมความว่าบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายโดยทั่วหน้า ที่มานั่งวันนี้ตรงนี้ทุกคนก็เป็นคนมีบุญ บุญเก่าทำมาแล้วมากจึงสามารถมานั่งได้ ต่อไปก็ตั้งใจหวังโดยเฉพาะว่าเราต้องการพระนิพพาน

    เอาล่ะบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย เสียงก็ไปไม่ไหว ขอทุกท่านตั้งใจสมาทานศีล สมาทานพระกรรมฐาน

    จากหนังสือธรรมปฏิบัติ ๓๘ หน้าที่๘๒~๘๓
    #จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ #แต่ว่าถ้าสมัยนี้บรรดาท่านพุทธบริษัทคนใดมีจิตใจมุ่งหวังพระนิพพานเป็นอารมณ์ #หากว่าท่านเป็นพระโสดาบันก็ดีหรือยังไม่เป็นพระโสดาบันก็ตาม #พยายามมีความเคารพพระพุทธเจ้า #พระธรรม #พระอริยสงฆ์ #ให้มั่นคงนึกถึงความตายไว้เป็นปกติ #ว่าชีวิตมันต้องตายแต่ว่าถ้าตายเมื่อไรขอไปนิพพานเมื่อนั้น #จิตใจรักพระนิพพานเป็นอารมณ์ ถึงแม้ศีลหรือกรรมบถ ๑๐ จะบกพร่องบ้างก็ตาม ถ้าจิตคิดอย่างนี้อยู่ ตายแล้วไม่ลงอบายภูมิแน่ ก็ไปสวรรค์ ถ้าไปสวรรค์แล้วภายในไม่ช้าถ้าไปเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เทวดาหรือนางฟ้าชั้นดาวดึงส์นี่มีอายุ ๑๐๐๐ ปีทิพย์ จะมีอายุในดาวดึงส์ไม่ถึง ๓๐๐ปีทิพย์ #พระศรีอาริย์ฯก็จะตรัสเป็นพระพุทธเจ้า ตอนนั้นขณะที่ท่านเป็นเทวดาเป็นนางฟ้า ได้ฟังเทศน์เพียงครั้งเดียวในชีวิตก็สามารถเป็นพระอรหันต์ได้ นี่ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย จงอย่าคิดว่าคนอย่างเราไม่มีบุญ ถ้าไม่มีบุญจริงๆ ญาติโยมทั้งหลายมานั่งอยู่ตรงนี้ไม่ได้ ทนไม่ได้เพราะมันเมื่อย เหยียดแข้งเหยียดขาก็ไม่ออก นังก็แสนจะลำบาก อาศัยบุญบารมีเก่าของท่านดีมากจึงสามารถมาทนนั่งอย่างนี้ได้ และตั้งใจโดยเฉพาะว่าเราต้องการบุญกุศล โดยเฉพาะอย่างยิ่งวันนี้พูดเรื่องพระโสดาบันและนิพพาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง #สำหรับบุคคลใดยังต้องเกิดพระศรีอาริย์ฯท่านเคยบอกฝากไว้ #บอกว่าคนของผมอยู่ในระหว่างของท่านหลายแสนคน #คนที่เกิดทันสมัยท่านบำเพ็ญบารมีมาด้วยกันนะประมาณ๓แสนคน #ผมฝากด้วยขอให้ทุกคนรักษากรรมบถ ๑๐ให้ครบถ้วนทุกวัน ถ้าเป็นการบังเอิญครบถ้วนทุกวันไม่ได้ วันปกติบกพร่องบ้างก็ตาม แต่ว่าวันพระอย่าให้บกพร่อง วันพระต้องเต็ม อย่างนี้คนพวกนั้นจะเกิดทันสมัยผม และฟังเทศน์เพียงครั้งเดียว ถ้าอย่างอ่อนฟังเทศน์ครั้งแรกก็เป็นพระโสดาบัน ถ้ารักษากรรมบถ ๑๐ ได้ครบถ้วนตลอดวันทุกวัน ทั้งวันดีวันพระอย่างนี้ฟังเทศน์จบจะเป็นพระอรหันต์ทันที ก็รวมความว่าบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายโดยทั่วหน้า ที่มานั่งวันนี้ตรงนี้ทุกคนก็เป็นคนมีบุญ บุญเก่าทำมาแล้วมากจึงสามารถมานั่งได้ ต่อไปก็ตั้งใจหวังโดยเฉพาะว่าเราต้องการพระนิพพาน เอาล่ะบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย เสียงก็ไปไม่ไหว ขอทุกท่านตั้งใจสมาทานศีล สมาทานพระกรรมฐาน จากหนังสือธรรมปฏิบัติ ๓๘ หน้าที่๘๒~๘๓
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 404 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 285
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (11 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 93 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 285 วันจันทร์: ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (11 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 93 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 253 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 285
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (11 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 93 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 285 วันจันทร์: ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (11 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 93 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 262 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชาวพุทธส่วนหนึ่ง มีความเห็นผิดๆ เพราะเข้าไม่ถึงความจริงของชีวิตตามหลักคำสอนของพระตถาคต ซึ่งเป็นศาสดาของตน เพราะเหตุใด ??

    การปกปิดคำสอนของพระศาสดา ให้พิจารณาดูจาก ตำรา "มนต์พิธี" ซึ่งเคยอ่านตอนพรรพชา แค่คำว่ามนต์พิธีก็จบสิ้นสงสัยแล้ว เพราะมันหมายถึงพิธีกรรมของปริพาชกเหล่าอื่น มิใช่พิธีกรรมของพุทธศาสนา

    การบูชาน้ำ บูชาไฟ พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ปฏิบัติ..ท่านสอนให้หาสถานที่สงบ วิเวก ให้ใช้สติ ตามรู้ลมหายใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่ต้องมีพิธีกรรมใด ๆ ให้ยุ้งยากและสิ้นเปลืองงบประมาณ

    ศาสนาพุทธถูกครอบงำด้วยมนต์พิธีมานานแล้ว ในนั้น ส่วนใหญ่เป็นคำสวดแต่งใหม่ มีคาถาโน้นนี้นั้น แต่ไม่มีบทสัชฌายะ "ปฏิจจสมปบาท" ซึ่งเป็นบทสำคัญของพระศาสดา และพระองค์ได้สั่งให้สาวกนำไปศึกษาเล่าเรียนด้วยพระองค์เอง

    เหตุจากศาสนาพุทธถูกครอบงำด้วยดงพิธีกรรมของปริพาชกเหล่าอื่น นอกจากทำให้พุทธบริษัทเข้าไม่ถึงคำสอนของพระศาสดาโดยตรงแล้ว ยังกระทบถึงระบบการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

    หากเห็นว่า จิตวิญญาณของคน เป็นปัจจัยต้นเหตุของเศรษฐกิจและสังคมไทย สถาบันศาสนาควรจะเป็นสถาบันแรกที่ควรได้รับการแก้ไข..มิใช่แก้รัฐธรรมนูญ !
    ชาวพุทธส่วนหนึ่ง มีความเห็นผิดๆ เพราะเข้าไม่ถึงความจริงของชีวิตตามหลักคำสอนของพระตถาคต ซึ่งเป็นศาสดาของตน เพราะเหตุใด ?? การปกปิดคำสอนของพระศาสดา ให้พิจารณาดูจาก ตำรา "มนต์พิธี" ซึ่งเคยอ่านตอนพรรพชา แค่คำว่ามนต์พิธีก็จบสิ้นสงสัยแล้ว เพราะมันหมายถึงพิธีกรรมของปริพาชกเหล่าอื่น มิใช่พิธีกรรมของพุทธศาสนา การบูชาน้ำ บูชาไฟ พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ปฏิบัติ..ท่านสอนให้หาสถานที่สงบ วิเวก ให้ใช้สติ ตามรู้ลมหายใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่ต้องมีพิธีกรรมใด ๆ ให้ยุ้งยากและสิ้นเปลืองงบประมาณ ศาสนาพุทธถูกครอบงำด้วยมนต์พิธีมานานแล้ว ในนั้น ส่วนใหญ่เป็นคำสวดแต่งใหม่ มีคาถาโน้นนี้นั้น แต่ไม่มีบทสัชฌายะ "ปฏิจจสมปบาท" ซึ่งเป็นบทสำคัญของพระศาสดา และพระองค์ได้สั่งให้สาวกนำไปศึกษาเล่าเรียนด้วยพระองค์เอง เหตุจากศาสนาพุทธถูกครอบงำด้วยดงพิธีกรรมของปริพาชกเหล่าอื่น นอกจากทำให้พุทธบริษัทเข้าไม่ถึงคำสอนของพระศาสดาโดยตรงแล้ว ยังกระทบถึงระบบการศึกษา ประเพณี วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจและสังคมไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ หากเห็นว่า จิตวิญญาณของคน เป็นปัจจัยต้นเหตุของเศรษฐกิจและสังคมไทย สถาบันศาสนาควรจะเป็นสถาบันแรกที่ควรได้รับการแก้ไข..มิใช่แก้รัฐธรรมนูญ !
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 176 มุมมอง 36 0 รีวิว
  • ช่วงนี้ ทั้งสมมุติสงฆ์ ทั้งฆราวาส...ออกมาอ้างอิง คำสอนของพระพุทธเจ้า กันเป็นแถว...
    ...ส่วนตัวเคารพนับถือพระพุทธเจ้าแน่นอน...
    แต่ ....หลักคิดส่วนตัว....บางอย่าง...ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้าจริงไหม? .....มาดูความเป็นจริงกัน....พระไตรปิฎก ถูกสังคายนา 9-10 ครั้ง....ซึ่งในแต่ละครั้ง..มีเรื่อง อำนาจ ชนชั้น และสิ่งแวดล้อมอื่นมาเจอปน..เช่น ความเห็น มุมมอง ทัศนคติ ไม่นับถึงการตีความที่อาจไม่ถูกต้อง ของคณะผู้สังคายนา....เราจะรู้ได้อย่างไร...ว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าจริง.....พระพุทธศาสนา หายไปจากอินเดีย จนต้องไปเอาบันทึกเก่าจากจีน มาคัดลอก...และสังคายนาขึ้นมาใหม่... (จีนเป็นชาติเดียวในโลก ที่คงความเป็นชาติ และมีบันทึกสืบต่อกันมาหลายพันปี อารยธรรมที่ร่วมยุคกัน เช่น กรีก โรมัน ไอยคุปต์ ล้วนเปลี่ยนแปลงไปแล้ว) .....
    ...ฉะนั้น (ส่วนตัวผู้เขียน) ไม่ต้องถกเถียงกัน...เอาความคิดเราเข้าไปประมวลผลดู ..ถ้าสิ่งนั้น ดำเนินไปควบคู่กับชีวิตเราได้...แบบไม่ลำบาก ...ก็เลือกเอาสิ่งนี้น...
    ....ชีวิตคนหนึ่งคน...ไม่ใช่มีแค่ปลายทาง..เท่านั้น.ว่าจะไปไหน...ระหว่างทางก็สำคัญ........
    #เชื่อในกรรมทั้งดีและชั่วให้ผลแน่นอน#
    ช่วงนี้ ทั้งสมมุติสงฆ์ ทั้งฆราวาส...ออกมาอ้างอิง คำสอนของพระพุทธเจ้า กันเป็นแถว... ...ส่วนตัวเคารพนับถือพระพุทธเจ้าแน่นอน... แต่ ....หลักคิดส่วนตัว....บางอย่าง...ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้าจริงไหม? .....มาดูความเป็นจริงกัน....พระไตรปิฎก ถูกสังคายนา 9-10 ครั้ง....ซึ่งในแต่ละครั้ง..มีเรื่อง อำนาจ ชนชั้น และสิ่งแวดล้อมอื่นมาเจอปน..เช่น ความเห็น มุมมอง ทัศนคติ ไม่นับถึงการตีความที่อาจไม่ถูกต้อง ของคณะผู้สังคายนา....เราจะรู้ได้อย่างไร...ว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าจริง.....พระพุทธศาสนา หายไปจากอินเดีย จนต้องไปเอาบันทึกเก่าจากจีน มาคัดลอก...และสังคายนาขึ้นมาใหม่... (จีนเป็นชาติเดียวในโลก ที่คงความเป็นชาติ และมีบันทึกสืบต่อกันมาหลายพันปี อารยธรรมที่ร่วมยุคกัน เช่น กรีก โรมัน ไอยคุปต์ ล้วนเปลี่ยนแปลงไปแล้ว) ..... ...ฉะนั้น (ส่วนตัวผู้เขียน) ไม่ต้องถกเถียงกัน...เอาความคิดเราเข้าไปประมวลผลดู ..ถ้าสิ่งนั้น ดำเนินไปควบคู่กับชีวิตเราได้...แบบไม่ลำบาก ...ก็เลือกเอาสิ่งนี้น... ....ชีวิตคนหนึ่งคน...ไม่ใช่มีแค่ปลายทาง..เท่านั้น.ว่าจะไปไหน...ระหว่างทางก็สำคัญ........ #เชื่อในกรรมทั้งดีและชั่วให้ผลแน่นอน#
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 245 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 284
    วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 94 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 284 วันอาทิตย์: ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (10 November 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 94 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 284 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts