• #เล่าเรื่อง# #วัดวรเชษฐ นอกเกาะ ...ประสบการณ์ตรงของผู้เขียนเอง...เริ่มจาก 10 ปีก่อน ผู้เขียนได้อ่านหนังสือ ของ ริชชี่ และบทความของ ดร .พระมหาสิงทน...ว่า ที่นี่คือที่ บรรจุพระบรมอัฐิ ของพระนเรศวรจริง...จึงเดินทางไป..ครั้งแรก มุ่งหน้าไปกุฏิพระมหาสิงทนก่อน ไปสนทนากับท่าน...ท่านเล่าว่า ผู้มีญาณ ไม่ใช่แค่คนไทย มาจากหลายประเทศเลย ..มาพิสูจน์ และนืนยันว่า จริง ..ดังที่กล่าว...ครั้งแรกผู้เขียนก็สักการะปกติ ได้แต่เอา 2 มือ สัมผัสองค์พระปรางค์ในภาพ แล้วตั้งจิตว่า ถ้าข้าพเจ้าเคยเป็นบริวารของท่าน ช่วยสื่อสารให้ข้าพเจ้ารับทราบมีด้วย...พอเอามือออก..ลมพัดแรงซะงั้น...ซึ่งก่อนหน้านี้เงียบสงบ..เป็นสักประมาณครึ่งนาที..แล้วก็สงบ...ก็ไม่ได้คิดอะไร....ครั้งที่ 2 มาหา พระมหาอีก ท่านแนะนำว่า ใบเสมาหน้าวิหารนะ มีพลัง ไปขอเอาสิ....พอลงจากกุฏิ..กำลังจะเดินขึ้นพระปรางค์ ก่อนเดินเข้า ยกมือไหว้..บอกท่านครับ ลูกมาแล้วครับ...ลมจากสงบ..พัดแรงขึ้นมาแบบคราวที่แล้วเลย...แล้วขนเราก็ลุกแบบไม่มีสาเหตุ...สักไม่เกินครึ่งนาที ลมก็สงบ...ก็เดินไปขึ้นพระปรางค์ในภาพแบบเดิม ก็สักการะปกติ ...ลงมา ไปหน้าพระวิหารร้าง..ที่ พระมหาบอก...ให้ไปขอพลัง....เราก็จุดธูป เอาพวงมาลัยวาง ...และเอามือ 2 มือ จับที่ใบเสมาหินทรายนั้น...แล้วตั้งจิตว่า ขอให้มือคู่นี้ ทำอะไรก็สำเร็จ ถ้าไม่ผิดศีลธรรม...สิ่งที่ไม่น่าเชื่อเกิดขึ้น....ไฟดูด...!! ..ชักมือกลับอย่างเร็ว...ตั้งสติได้ เอ ไฟมันรั่วตรงไหน ก้มเงยหายสายไฟ...จนทั่ว...ไม่มี....แล้วเมื่อครู่คืออ่ะไร? ...ข้ามไปครั้งต่อมาเลย ผู้เขียนมีนิสัยที่ดี หรือแย่ ก็ไม่ทราบ แต่ชอบชาเล้นจ์แทบทุกอย่างในชีวิต...อยุธยาผีดุเหรอ..มาๆ อยากรู้...ไปกลางคืนเลย..ไปนั่งสมาธิในวิหารร้างมืดๆ.ผี.มาสิ อยากเจอ...อ้อ สักพักภรรยา เลื่อนรถเอาไฟหน้าส่องมา บอกกลัวงู.เราก็บอกไม่เป็นไรหรอกนั่งรอในรถนั่นแหละ...ผ่านไปสัก 30 นาที ก็เข้าสมาธิไม่ได้ เนื่องจากเสียงเครื่องยนต์..ทำให้ไม่สงบ...ภรรยาจึงเดินมาบอก กลับเถอะ ...กลัวงูกัด...เราก็ไปก็ไป ..และผู้เขียนก็แวะเวียนไปตลอด ..และคำบอกกล่าวก่อนเข้าก็ทำแบบเดิม ลมก็มาแบบเดิม แปลกดีไหม?..ท่านผู้อ่านสนใจ เชิญครับ วัดวรเชษฐมีในเกาะ กับนอกเกาะ ..ที่เขียนคือ นอกเกาะครับ.
    #เล่าเรื่อง# #วัดวรเชษฐ นอกเกาะ ...ประสบการณ์ตรงของผู้เขียนเอง...เริ่มจาก 10 ปีก่อน ผู้เขียนได้อ่านหนังสือ ของ ริชชี่ และบทความของ ดร .พระมหาสิงทน...ว่า ที่นี่คือที่ บรรจุพระบรมอัฐิ ของพระนเรศวรจริง...จึงเดินทางไป..ครั้งแรก มุ่งหน้าไปกุฏิพระมหาสิงทนก่อน ไปสนทนากับท่าน...ท่านเล่าว่า ผู้มีญาณ ไม่ใช่แค่คนไทย มาจากหลายประเทศเลย ..มาพิสูจน์ และนืนยันว่า จริง ..ดังที่กล่าว...ครั้งแรกผู้เขียนก็สักการะปกติ ได้แต่เอา 2 มือ สัมผัสองค์พระปรางค์ในภาพ แล้วตั้งจิตว่า ถ้าข้าพเจ้าเคยเป็นบริวารของท่าน ช่วยสื่อสารให้ข้าพเจ้ารับทราบมีด้วย...พอเอามือออก..ลมพัดแรงซะงั้น...ซึ่งก่อนหน้านี้เงียบสงบ..เป็นสักประมาณครึ่งนาที..แล้วก็สงบ...ก็ไม่ได้คิดอะไร....ครั้งที่ 2 มาหา พระมหาอีก ท่านแนะนำว่า ใบเสมาหน้าวิหารนะ มีพลัง ไปขอเอาสิ....พอลงจากกุฏิ..กำลังจะเดินขึ้นพระปรางค์ ก่อนเดินเข้า ยกมือไหว้..บอกท่านครับ ลูกมาแล้วครับ...ลมจากสงบ..พัดแรงขึ้นมาแบบคราวที่แล้วเลย...แล้วขนเราก็ลุกแบบไม่มีสาเหตุ...สักไม่เกินครึ่งนาที ลมก็สงบ...ก็เดินไปขึ้นพระปรางค์ในภาพแบบเดิม ก็สักการะปกติ ...ลงมา ไปหน้าพระวิหารร้าง..ที่ พระมหาบอก...ให้ไปขอพลัง....เราก็จุดธูป เอาพวงมาลัยวาง ...และเอามือ 2 มือ จับที่ใบเสมาหินทรายนั้น...แล้วตั้งจิตว่า ขอให้มือคู่นี้ ทำอะไรก็สำเร็จ ถ้าไม่ผิดศีลธรรม...สิ่งที่ไม่น่าเชื่อเกิดขึ้น....ไฟดูด...!! ..ชักมือกลับอย่างเร็ว...ตั้งสติได้ เอ ไฟมันรั่วตรงไหน ก้มเงยหายสายไฟ...จนทั่ว...ไม่มี....แล้วเมื่อครู่คืออ่ะไร? ...ข้ามไปครั้งต่อมาเลย ผู้เขียนมีนิสัยที่ดี หรือแย่ ก็ไม่ทราบ แต่ชอบชาเล้นจ์แทบทุกอย่างในชีวิต...อยุธยาผีดุเหรอ..มาๆ อยากรู้...ไปกลางคืนเลย..ไปนั่งสมาธิในวิหารร้างมืดๆ.ผี.มาสิ อยากเจอ...อ้อ สักพักภรรยา เลื่อนรถเอาไฟหน้าส่องมา บอกกลัวงู.เราก็บอกไม่เป็นไรหรอกนั่งรอในรถนั่นแหละ...ผ่านไปสัก 30 นาที ก็เข้าสมาธิไม่ได้ เนื่องจากเสียงเครื่องยนต์..ทำให้ไม่สงบ...ภรรยาจึงเดินมาบอก กลับเถอะ ...กลัวงูกัด...เราก็ไปก็ไป ..และผู้เขียนก็แวะเวียนไปตลอด ..และคำบอกกล่าวก่อนเข้าก็ทำแบบเดิม ลมก็มาแบบเดิม แปลกดีไหม?..ท่านผู้อ่านสนใจ เชิญครับ วัดวรเชษฐมีในเกาะ กับนอกเกาะ ..ที่เขียนคือ นอกเกาะครับ.
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 242 มุมมอง 0 รีวิว
  • #เล่าเรื่อง# #วัดวรเชษฐ นอกเกาะ ...ประสบการณ์ตรงของผู้เขียนเอง...เริ่มจาก 10 ปีก่อน ผู้เขียนได้อ่านหนังสือ ของ ริชชี่ และบทความของ ดร .พระมหาสิงทน...ว่า ที่นี่คือที่ บรรจุพระบรมอัฐิ ของพระนเรศวรจริง...จึงเดินทางไป..ครั้งแรก มุ่งหน้าไปกุฏิพระมหาสิงทนก่อน ไปสนทนากับท่าน...ท่านเล่าว่า ผู้มีญาณ ไม่ใช่แค่คนไทย มาจากหลายประเทศเลย ..มาพิสูจน์ และนืนยันว่า จริง ..ดังที่กล่าว...ครั้งแรกผู้เขียนก็สักการะปกติ ได้แต่เอา 2 มือ สัมผัสองค์พระปรางค์ในภาพ แล้วตั้งจิตว่า ถ้าข้าพเจ้าเคยเป็นบริวารของท่าน ช่วยสื่อสารให้ข้าพเจ้ารับทราบมีด้วย...พอเอามือออก..ลมพัดแรงซะงั้น...ซึ่งก่อนหน้านี้เงียบสงบ..เป็นสักประมาณครึ่งนาที..แล้วก็สงบ...ก็ไม่ได้คิดอะไร....ครั้งที่ 2 มาหา พระมหาอีก ท่านแนะนำว่า ใบเสมาหน้าวิหารนะ มีพลัง ไปขอเอาสิ....พอลงจากกุฏิ..กำลังจะเดินขึ้นพระปรางค์ ก่อนเดินเข้า ยกมือไหว้..บอกท่านครับ ลูกมาแล้วครับ...ลมจากสงบ..พัดแรงขึ้นมาแบบคราวที่แล้วเลย...แล้วขนเราก็ลุกแบบไม่มีสาเหตุ...สักไม่เกินครึ่งนาที ลมก็สงบ...ก็เดินไปขึ้นพระปรางค์ในภาพแบบเดิม ก็สักการะปกติ ...ลงมา ไปหน้าพระวิหารร้าง..ที่ พระมหาบอก...ให้ไปขอพลัง....เราก็จุดธูป เอาพวงมาลัยวาง ...และเอามือ 2 มือ จับที่ใบเสมาหินทรายนั้น...แล้วตั้งจิตว่า ขอให้มือคู่นี้ ทำอะไรก็สำเร็จ ถ้าไม่ผิดศีลธรรม...สิ่งที่ไม่น่าเชื่อเกิดขึ้น....ไฟดูด...!! ..ชักมือกลับอย่างเร็ว...ตั้งสติได้ เอ ไฟมันรั่วตรงไหน ก้มเงยหายสายไฟ...จนทั่ว...ไม่มี....แล้วเมื่อครู่คืออ่ะไร? ...ข้ามไปครั้งต่อมาเลย ผู้เขียนมีนิสัยที่ดี หรือแย่ ก็ไม่ทราบ แต่ชอบชาเล้นจ์แทบทุกอย่างในชีวิต...อยุธยาผีดุเหรอ..มาๆ อยากรู้...ไปกลางคืนเลย..ไปนั่งสมาธิในวิหารร้างมืดๆ.ผี.มาสิ อยากเจอ...อ้อ สักพักภรรยา เลื่อนรถเอาไฟหน้าส่องมา บอกกลัวงู.เราก็บอกไม่เป็นไรหรอกนั่งรอในรถนั่นแหละ...ผ่านไปสัก 30 นาที ก็เข้าสมาธิไม่ได้ เนื่องจากเสียงเครื่องยนต์..ทำให้ไม่สงบ...ภรรยาจึงเดินมาบอก กลับเถอะ ...กลัวงูกัด...เราก็ไปก็ไป ..และผู้เขียนก็แวะเวียนไปตลอด ..และคำบอกกล่าวก่อนเข้าก็ทำแบบเดิม ลมก็มาแบบเดิม แปลกดีไหม?..ท่านผู้อ่านสนใจ เชิญครับ วัดวรเชษฐมีในเกาะ กับนอกเกาะ ..ที่เขียนคือ นอกเกาะครับ.
    #เล่าเรื่อง# #วัดวรเชษฐ นอกเกาะ ...ประสบการณ์ตรงของผู้เขียนเอง...เริ่มจาก 10 ปีก่อน ผู้เขียนได้อ่านหนังสือ ของ ริชชี่ และบทความของ ดร .พระมหาสิงทน...ว่า ที่นี่คือที่ บรรจุพระบรมอัฐิ ของพระนเรศวรจริง...จึงเดินทางไป..ครั้งแรก มุ่งหน้าไปกุฏิพระมหาสิงทนก่อน ไปสนทนากับท่าน...ท่านเล่าว่า ผู้มีญาณ ไม่ใช่แค่คนไทย มาจากหลายประเทศเลย ..มาพิสูจน์ และนืนยันว่า จริง ..ดังที่กล่าว...ครั้งแรกผู้เขียนก็สักการะปกติ ได้แต่เอา 2 มือ สัมผัสองค์พระปรางค์ในภาพ แล้วตั้งจิตว่า ถ้าข้าพเจ้าเคยเป็นบริวารของท่าน ช่วยสื่อสารให้ข้าพเจ้ารับทราบมีด้วย...พอเอามือออก..ลมพัดแรงซะงั้น...ซึ่งก่อนหน้านี้เงียบสงบ..เป็นสักประมาณครึ่งนาที..แล้วก็สงบ...ก็ไม่ได้คิดอะไร....ครั้งที่ 2 มาหา พระมหาอีก ท่านแนะนำว่า ใบเสมาหน้าวิหารนะ มีพลัง ไปขอเอาสิ....พอลงจากกุฏิ..กำลังจะเดินขึ้นพระปรางค์ ก่อนเดินเข้า ยกมือไหว้..บอกท่านครับ ลูกมาแล้วครับ...ลมจากสงบ..พัดแรงขึ้นมาแบบคราวที่แล้วเลย...แล้วขนเราก็ลุกแบบไม่มีสาเหตุ...สักไม่เกินครึ่งนาที ลมก็สงบ...ก็เดินไปขึ้นพระปรางค์ในภาพแบบเดิม ก็สักการะปกติ ...ลงมา ไปหน้าพระวิหารร้าง..ที่ พระมหาบอก...ให้ไปขอพลัง....เราก็จุดธูป เอาพวงมาลัยวาง ...และเอามือ 2 มือ จับที่ใบเสมาหินทรายนั้น...แล้วตั้งจิตว่า ขอให้มือคู่นี้ ทำอะไรก็สำเร็จ ถ้าไม่ผิดศีลธรรม...สิ่งที่ไม่น่าเชื่อเกิดขึ้น....ไฟดูด...!! ..ชักมือกลับอย่างเร็ว...ตั้งสติได้ เอ ไฟมันรั่วตรงไหน ก้มเงยหายสายไฟ...จนทั่ว...ไม่มี....แล้วเมื่อครู่คืออ่ะไร? ...ข้ามไปครั้งต่อมาเลย ผู้เขียนมีนิสัยที่ดี หรือแย่ ก็ไม่ทราบ แต่ชอบชาเล้นจ์แทบทุกอย่างในชีวิต...อยุธยาผีดุเหรอ..มาๆ อยากรู้...ไปกลางคืนเลย..ไปนั่งสมาธิในวิหารร้างมืดๆ.ผี.มาสิ อยากเจอ...อ้อ สักพักภรรยา เลื่อนรถเอาไฟหน้าส่องมา บอกกลัวงู.เราก็บอกไม่เป็นไรหรอกนั่งรอในรถนั่นแหละ...ผ่านไปสัก 30 นาที ก็เข้าสมาธิไม่ได้ เนื่องจากเสียงเครื่องยนต์..ทำให้ไม่สงบ...ภรรยาจึงเดินมาบอก กลับเถอะ ...กลัวงูกัด...เราก็ไปก็ไป ..และผู้เขียนก็แวะเวียนไปตลอด ..และคำบอกกล่าวก่อนเข้าก็ทำแบบเดิม ลมก็มาแบบเดิม แปลกดีไหม?..ท่านผู้อ่านสนใจ เชิญครับ วัดวรเชษฐมีในเกาะ กับนอกเกาะ ..ที่เขียนคือ นอกเกาะครับ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 238 มุมมอง 0 รีวิว
  • อนาคตสถานีลพบุรี

    โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี-ปากน้ำโพ ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ระยะทาง 145 กิโลเมตร มูลค่าโครงการ 21,467 ล้านบาท เริ่มก่อสร้างตั้งแต่กลางปี 2561 ในที่สุดสัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ-โคกกะเทียม (ทางรถไฟยกระดับ) ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อเดือน ก.ย. 2567 ส่วนสัญญาที่ 2 ท่าแค-ปากน้ำโพ คืบหน้า 98.26% คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือน พ.ย. 2567 และสัญญาที่ 3 งานระบบอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม (ST8) คืบหน้า 49.59% คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือน ก.ค. 2568

    สำหรับไฮไลต์ของโครงการอยู่ที่สัญญาที่ 1 เป็นการก่อสร้างทางรถไฟทางคู่ใหม่ ระยะทาง 29 กิโลเมตร เพื่อป้องกันผลกระทบต่อโบราณสถานอย่างพระปรางค์สามยอด มีจุดเริ่มต้นทางทิศใต้ของสถานีบ้านกลับ เบี่ยงออกทางด้านทิศตะวันตกของเมืองลพบุรี และยกระดับบนแนวเกาะกลางถนนของทางหลวงหมายเลข 366 (ถนนเลี่ยงเมืองลพบุรี) ระยะทาง 19 กิโลเมตร ก่อนลดระดับลง บรรจบแนวเส้นทางรถไฟเดิม ระหว่างสถานีท่าแค และสถานีโคกกะเทียม

    พร้อมปรับปรุงสถานีรถไฟบ้านกลับ โดยอนุรักษ์อาคารเดิมไว้ และก่อสร้างสถานีรถไฟลพบุรี 2 บริเวณถนนเลี่ยงเมืองลพบุรี ก่อนถึงแยกสนามไชย ต.โพลาดแก้ว อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี เป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ 3 ชั้น ประกอบด้วยชั้น 1 ที่จอดรถ ชั้น 2 พื้นที่จำหน่ายตั๋วและรองรับผู้โดยสาร ชั้น 3 ชานชาลา

    อย่างไรก็ตาม เนื่องจากที่ตั้งสถานีรถไฟลพบุรี 2 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟลพบุรี ต.ท่าหิน อ.เมืองฯ จ.ลพบุรี ประมาณ 9 กิโลเมตร ตามแผนของกระทรวงคมนาคม จะให้รถไฟชานเมือง กรุงเทพ (หัวลำโพง)-ลพบุรี และรถไฟท้องถิ่น พิษณุโลก-ลพบุรี ทั้งไปและกลับ จอดที่สถานีเดิม นอกนั้นทั้งรถไฟธรรมดา รถเร็ว รถด่วน รถด่วนพิเศษ ย้ายไปให้บริการที่สถานีลพบุรี 2 แห่งใหม่

    แน่นอนว่าย่อมมีผู้ไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่ต้องอาศัยรถไฟธรรมดา สายพิษณุโลก สายตะพานหิน สายนครสวรรค์ และสายบ้านตาคลี มายังสถานีลพบุรี ไม่นับรวมกรณีรถไฟทางไกลสายเหนือ ต้องไปใช้บริการที่สถานีลพบุรี 2 มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอหรือไม่ มีรถรับส่งผู้โดยสารไปยังตัวเมืองลพบุรีหรือไม่ บริการฟรีหรือเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม ภาระตกอยู่กับผู้โดยสารเพิ่มขึ้น

    ขณะนี้สถานีรถไฟลพบุรี ได้ทำทำแบบสำรวจเพื่อประกอบการจัดทำแผนในการเดินขบวนรถไฟโดยสาร ที่ให้บริการระหว่างสถานีลพบุรี (เดิม) และสถานีลพบุรี 2 เพื่อรับทราบถึงความคิดเห็น ความต้องการ ข้อดีข้อเสีย และผลกระทบที่ได้รับ สามารถแสดงความคิดเห็นได้ที่ Google Form https://forms.gle/8HG7zhG7gheZBaSW6 หรือที่ช่องจำหน่ายตั๋วโดยสาร สถานีรถไฟลพบุรี

    #Newskit #สถานีลพบุรี #รถไฟทางคู่
    อนาคตสถานีลพบุรี โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี-ปากน้ำโพ ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ระยะทาง 145 กิโลเมตร มูลค่าโครงการ 21,467 ล้านบาท เริ่มก่อสร้างตั้งแต่กลางปี 2561 ในที่สุดสัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ-โคกกะเทียม (ทางรถไฟยกระดับ) ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อเดือน ก.ย. 2567 ส่วนสัญญาที่ 2 ท่าแค-ปากน้ำโพ คืบหน้า 98.26% คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือน พ.ย. 2567 และสัญญาที่ 3 งานระบบอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม (ST8) คืบหน้า 49.59% คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือน ก.ค. 2568 สำหรับไฮไลต์ของโครงการอยู่ที่สัญญาที่ 1 เป็นการก่อสร้างทางรถไฟทางคู่ใหม่ ระยะทาง 29 กิโลเมตร เพื่อป้องกันผลกระทบต่อโบราณสถานอย่างพระปรางค์สามยอด มีจุดเริ่มต้นทางทิศใต้ของสถานีบ้านกลับ เบี่ยงออกทางด้านทิศตะวันตกของเมืองลพบุรี และยกระดับบนแนวเกาะกลางถนนของทางหลวงหมายเลข 366 (ถนนเลี่ยงเมืองลพบุรี) ระยะทาง 19 กิโลเมตร ก่อนลดระดับลง บรรจบแนวเส้นทางรถไฟเดิม ระหว่างสถานีท่าแค และสถานีโคกกะเทียม พร้อมปรับปรุงสถานีรถไฟบ้านกลับ โดยอนุรักษ์อาคารเดิมไว้ และก่อสร้างสถานีรถไฟลพบุรี 2 บริเวณถนนเลี่ยงเมืองลพบุรี ก่อนถึงแยกสนามไชย ต.โพลาดแก้ว อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี เป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ 3 ชั้น ประกอบด้วยชั้น 1 ที่จอดรถ ชั้น 2 พื้นที่จำหน่ายตั๋วและรองรับผู้โดยสาร ชั้น 3 ชานชาลา อย่างไรก็ตาม เนื่องจากที่ตั้งสถานีรถไฟลพบุรี 2 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟลพบุรี ต.ท่าหิน อ.เมืองฯ จ.ลพบุรี ประมาณ 9 กิโลเมตร ตามแผนของกระทรวงคมนาคม จะให้รถไฟชานเมือง กรุงเทพ (หัวลำโพง)-ลพบุรี และรถไฟท้องถิ่น พิษณุโลก-ลพบุรี ทั้งไปและกลับ จอดที่สถานีเดิม นอกนั้นทั้งรถไฟธรรมดา รถเร็ว รถด่วน รถด่วนพิเศษ ย้ายไปให้บริการที่สถานีลพบุรี 2 แห่งใหม่ แน่นอนว่าย่อมมีผู้ไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่ต้องอาศัยรถไฟธรรมดา สายพิษณุโลก สายตะพานหิน สายนครสวรรค์ และสายบ้านตาคลี มายังสถานีลพบุรี ไม่นับรวมกรณีรถไฟทางไกลสายเหนือ ต้องไปใช้บริการที่สถานีลพบุรี 2 มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอหรือไม่ มีรถรับส่งผู้โดยสารไปยังตัวเมืองลพบุรีหรือไม่ บริการฟรีหรือเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม ภาระตกอยู่กับผู้โดยสารเพิ่มขึ้น ขณะนี้สถานีรถไฟลพบุรี ได้ทำทำแบบสำรวจเพื่อประกอบการจัดทำแผนในการเดินขบวนรถไฟโดยสาร ที่ให้บริการระหว่างสถานีลพบุรี (เดิม) และสถานีลพบุรี 2 เพื่อรับทราบถึงความคิดเห็น ความต้องการ ข้อดีข้อเสีย และผลกระทบที่ได้รับ สามารถแสดงความคิดเห็นได้ที่ Google Form https://forms.gle/8HG7zhG7gheZBaSW6 หรือที่ช่องจำหน่ายตั๋วโดยสาร สถานีรถไฟลพบุรี #Newskit #สถานีลพบุรี #รถไฟทางคู่
    Like
    8
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 398 มุมมอง 0 รีวิว
  • ใบสมัครกิจกรรมถ่ายภาพ Phojam Thailand ร่วมกับ Malaysia and Singarproe พระปรางค์สามยอด จ,ลพบุรี จ.สระบุรี รถไฟลอยน้ำ เขื่อนป่าศักชลสิทธิ์ ทุ่งทานตะวัน 2 วัน หนึ่งคืน อาหาร 3 มื้อ พร้อมนางแบบสาวสวย กว่า 10 คน จัดหลายแบบ หลายสไตล์ โดย อ.วิเชษ รุญเจริญ พร้มทีมงาน อุปกรณ์ ประกอบ และไฟแสงสีครบ
    https://forms.gle/rkdWYfneecvx1tLf9
    ใบสมัครกิจกรรมถ่ายภาพ Phojam Thailand ร่วมกับ Malaysia and Singarproe พระปรางค์สามยอด จ,ลพบุรี จ.สระบุรี รถไฟลอยน้ำ เขื่อนป่าศักชลสิทธิ์ ทุ่งทานตะวัน 2 วัน หนึ่งคืน อาหาร 3 มื้อ พร้อมนางแบบสาวสวย กว่า 10 คน จัดหลายแบบ หลายสไตล์ โดย อ.วิเชษ รุญเจริญ พร้มทีมงาน อุปกรณ์ ประกอบ และไฟแสงสีครบ https://forms.gle/rkdWYfneecvx1tLf9
    FORMS.GLE
    ใบสมัครภ่ายภาพ Photojam Thailand
    สำหรับช่างภาพไทย ประสงค์จะร่วมถ่ายภาพ ร่วมคณะ Photojam จากประเทศ มาเลเซ๊ย และ สิงค์โปร ในส่วน 2 วันแรกของโปรแกรมซึ่งจะเป็นการถ่าย พระปรางค์สามยอด รถไฟลอยน้ำและทุ่งทานตะวัน 2 วัน 1 คืน อาหาร 3 มื้อ นางแบบมากกว่า 10 คน ค่าใช้จ่ายต่อท่านละ 2,900.- บาทโดยโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาพัทยาใต้ เลขบัญชี 221-1-15276-7 ชื่อ นายวิเชียร ตั้งธรรมสถิตย์ แล้วส่งสลิปเข้าที่ไลน์ กลุ่ม Photojam Thailand
    2 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 97 มุมมอง 0 รีวิว
  • โครงการ “เรารักษ์พระปรางค์”
    พระพรหมวัชรเมธี เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร และ กองงานเลขานุการวัดอรุณฯ
    ร่วมกับประชาชนประชาชน และ พุทธศาสนิกชน ร่วมโครงการ “เรารักษ์พระปรางค์” ด้วยการทำความสะอาดล้างพระปรางค์ และบริเวณโดยรอบ รวมถึงรอบพระอุโบสถโดยรอบ รวมทั้งล้างห้องน้ำวัด
    ซึ่งจะทำทุกๆ วันที่ 15 ของทุกเดือน

    ด้วยนโยบายของพระพรหมวัชรเมธี เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม ในการทำความสะอาดวัด ฟื้นฟูระบบสาธารณูปโภคทั้งพระอาราม รวมทั้งงานบูรณปฏิสังขรณ์ ฌาปนสถาน วัดอรุณราชวราราม เพื่อธำรงรักษาโบราณสถานของพระอาราม ให้สวยงาม และมั่นคงถาวรอยู่คู่กับชาติ คู่กับพระศาสนาสืบไป

    #จิตอาสา #วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร #พระปรางค์ #ทําความสะอาด #thaitimes #thaitimesอาสา #สยามโสภา
    โครงการ “เรารักษ์พระปรางค์” พระพรหมวัชรเมธี เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร และ กองงานเลขานุการวัดอรุณฯ ร่วมกับประชาชนประชาชน และ พุทธศาสนิกชน ร่วมโครงการ “เรารักษ์พระปรางค์” ด้วยการทำความสะอาดล้างพระปรางค์ และบริเวณโดยรอบ รวมถึงรอบพระอุโบสถโดยรอบ รวมทั้งล้างห้องน้ำวัด ซึ่งจะทำทุกๆ วันที่ 15 ของทุกเดือน ด้วยนโยบายของพระพรหมวัชรเมธี เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม ในการทำความสะอาดวัด ฟื้นฟูระบบสาธารณูปโภคทั้งพระอาราม รวมทั้งงานบูรณปฏิสังขรณ์ ฌาปนสถาน วัดอรุณราชวราราม เพื่อธำรงรักษาโบราณสถานของพระอาราม ให้สวยงาม และมั่นคงถาวรอยู่คู่กับชาติ คู่กับพระศาสนาสืบไป #จิตอาสา #วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร #พระปรางค์ #ทําความสะอาด #thaitimes #thaitimesอาสา #สยามโสภา
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1719 มุมมอง 726 0 รีวิว
  • “อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย” อีกหนึ่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของไทย

    อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ตั้งอยู่ในเขตตำบลศรีสัชนาลัย ตำบลสารจิตร ตำบลหนองอ้อ และตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตัวเมืองโบราณศรีสัชนาลัย อยู่ในเขตหมู่บ้านพระปรางค์ ตำบลศรีสัชนาลัย โดยอยู่ไม่สุภาพงจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือ ประมาณ 550 กิโลเมตร เมืองโบราณศรีสัชนาลัยมีสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองเป็นที่ราบเชิงเขาพระศรี และ เขาใหญ่ ทางด้านทิศตะวันตก และมี ลำน้ำยมอยู่ทางด้านทิศตะวันออก กรมศิลปากรได้กำหนดเขตที่ดินโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ประมาณ 28,217 ไร่

    ความสำคัญทางประวัติศาสตร์😍
    เนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองศรีสัชนาลัย มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน คือมีทั้งที่ราบลุ่มริมแม่น้ำยมและที่ลาด เชิงเขาพระศรี และเขาใหญ่ ทำให้มีทั้งความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่และสิ่งป้องกันทางธรรมชาติที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกศัตรู ได้อย่างดีด้วย จากหลักฐานที่สำรวจพบ พวกขวานหินขัด (เครื่องมือ เครื่องใช้ ของคนสมัยโบราณ) ที่พบที่ตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย รวมทั้งจาก หลักฐานการขุดค้นทางโบราณคดีที่วัดชมชื่น แสดงว่ามีชุมชน เข้ามาอยู่อาศัยตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 9 (พ.ศ.800) เป็นต้นมาเป็นชุมชนร่วมสมัย ทวารวดีในภาคกลางถัด ขึ้นมาเป็นหลักฐานของวัฒนธรรมร่วมสมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 18, พ.ศ. 1700) ปรากฏหลักฐานที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง ในระยะนั้นเมืองศรีสัชนาลัยมีชื่อว่าเมืองเชลียง ตามหลักฐานที่ปรากฏ ในศิลาจารึก ตำนานและพงศาวดารที่ยืนยันว่ามีเมืองโบราณ 2 เมือง อยู่ในลุ่มน้ำยมก่อนแล้ว คือ เมืองสุโขทัย และเมืองเชลียง ต่อมาได้มีการก่อสร้างเมืองศรีสัชนาลัยขึ้นทางด้านทิศเหนือของเมืองเชลียงไม่สุภาพงออกไปประมาณ 1.5 กิโลเมตร เมืองศรีสัชนาลัย มีความสำคัญควบคู่กันมากับเมือง สุโขทัย โดยจากหลักฐานได้กล่าวถึงพ่อขุนศรีนาวนำถม ว่าเป็นกษัตริย์ครอง 2 นคร คือ เสวยราชย์ ทั้งเมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัย (ก่อน พ.ศ. 1781) ต่อมาจนถึงพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ.1781 - 1822) ทรงโปรดให้พ่อขุนบาลเมือง ไปครองเมืองศรีสัชนาลัย ส่วนพ่อขุนรามคำแหง พระยาลิไทก็เคยครองเมืองศรีสัชนาลัย ก่อนขึ้นเสวยราชย์เป็นกษัตริย์ปกครอง อาณาจักรสุโขทัย เมืองศรีสัชนาลัยมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวงของสุโขทัย ต่อมาจนแม้กระทั่งสุโขทัยตกอยู่ภายใต้อำนาจของกรุงศรีอยุธยา และได้ เปลี่ยนชื่อเรียกว่า เมืองสวรรคโลก เมืองศรีสัชนาลัยหรือเมืองสวรรคโลกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นเมืองสำคัญที่ผลิตภาชนะเครื่องเคลือบสังคโลกให้แก่ กรุงศรีอยุธยา ในสมัยต่อมาเมื่อมีการจัดระบบการปกครองปรับปรุงเรื่องเชื้อสายราชวงศ์ให้เข้าอยู่ในระบบราชการเรียบร้อยแล้ว กรุงศรี อยุธยา ได้เป็นผู้แต่งตั้งเจ้าเมืองเข้ามา ปกครองเมืองสวรรคโลกมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นนอกระดับเมืองโท หลังเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 เมืองศรีสัชนาลัยหรือ สวรรคโลกถูก ทิ้งร้าง ต่อมาเมืองสวรรคโลกได้จัดตั้ง ขึ้นใหม่ ที่บ้านท่าชัยอยู่ด้านทิศใต้ของเมืองเดิม และในสมัยรัตนโกสินทร์ได้ย้ายไปอยู่ที่บ้านวังไม้ขอน ซึ่งคือที่ตั้งของอำเภอ สวรรคโลกในปัจจุบัน ส่วนชื่อเมืองศรีสัชนาลัยถูกนำไปตั้งเป็นชื่อของอำเภอศรีสัชนาลัย ซึ่งได้รวมเอาเขตพื้นที่เมืองศรีสัชนาลัย โบราณไว้ด้วย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรใน พ.ศ.2534 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฏแสดงให้เห็นถึงผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น นับเป็นตัวแทนของศิลปกรรมไทยยุคแรกและเป็นต้นกำเนิดของการสร้างประเทศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2533

    โบราณสถานที่สำคัญ😇
    เมืองโบราณศรีสัชนาลัย มีขอบเขตของผังเมืองที่ก่อสร้างทับซ้อนอยู่บนบริเวณ เมืองเชลียงเดิม กล่าวคือ แนวกำแพงเมืองเชลียง เดิม ทำเป็นคันดินยาวขนานไปตามลำน้ำยมโดยเริ่มจาก บริเวณวัดมหาธาตุเชลียงขนานลำน้ำยมเลยผ่านเขาพนมเพลิงออกไป ซึ่งยังคงปรากฎหลักฐานคันดินให้เห็นอยู่เป็นระยะ ๆ ต่อมาเมื่อมีการก่อสร้างเมืองศรีสัชนาลัยขึ้น จึงได้พิจารณาเลือกบริเวณที่มีสภาพ ภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขา กำหนดขอบเขต การก่อสร้างกำแพงเมืองจากศิลาแลง ลักษณะผังเมืองเป็น รูปหลายเหลี่ยมไม่สม่ำเสมอตามทิศทางของแม่น้ำยม ในช่วงนี้ ลักษณะของกำแพงเมืองศรีสัชนาลัยมี หลายแนวเพราะคงมีการผสมผสานเอาแนวกำแพงคันดินในสมัยที่เป็นเมืองเชลียงเข้ามา ใช้ประโยชน์ด้วย โบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย มีทั้งภายในและภายนอกกำแพงเมือง ซึ่งรวมทั้งหมดมีไม่น้อย กว่า 215 แห่งโบราณสถานที่สำคัญมีดังนี้
    -โบราณสถานภายในกำแพงเมือง สำรวจพบแล้วมีทั้งสิ้น 28 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดช้างล้อม วัดเจดีย์เจ็ดแถว วัดนางพญา วัดสวนแก้วอุทยานใหญ่ วัดสวนแก้ว เป็นต้น
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศเหนือ สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 35 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดกุฎีราย เตาทุเรียงบ้านป่ายาง เตา ทุเรียงบ้านเกาะน้อย ซึ่งเป็น แหล่งผลิต ภาชนะดินเผา “เครื่องสังคโลก” ที่สำคัญของเมืองศรีสัชนาลัย
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันออก สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 10 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดสวนสัก วัดป่าแก้ว เป็นต้น
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศใต้ สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 24 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดชมชื่น วัดเจ้าจันทร์ และวัดโคกสิงคาราม เป็นต้น
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันตก สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 19 แห่ง ที่สำคัญ คือ วัดพญาดำ วัดราหู วัดสระประทุม วัดพรหมสี่หน้า วัดยายตา เป็นต้น
    -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองบนภูเขา สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 15 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดเขาใหญ่บน วัดเจดีย์เจ็ดยอด วัดเจดีย์รอบ และวัดเขาใหญ่ล่าง เป็นต้น อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ร่วมกันกับ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ในปี พ.ศ. 2534 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฎแสดงให้เห็นถึงผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น นับเป็นตัวแทนของศิลปกรรมไทย ยุคแรก และเป็นต้นกำเนิดของการสร้างประเทศ

    บทความหน้า เพจเทพชวนเที่ยว จะพาไปเที่ยวที่ไหน กดติดตาม กดไลค์กดแชร์เป็นกำลังใจให้แอดมินด้วยนะครับ🥰
    “อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย” อีกหนึ่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของไทย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ตั้งอยู่ในเขตตำบลศรีสัชนาลัย ตำบลสารจิตร ตำบลหนองอ้อ และตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตัวเมืองโบราณศรีสัชนาลัย อยู่ในเขตหมู่บ้านพระปรางค์ ตำบลศรีสัชนาลัย โดยอยู่ไม่สุภาพงจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือ ประมาณ 550 กิโลเมตร เมืองโบราณศรีสัชนาลัยมีสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองเป็นที่ราบเชิงเขาพระศรี และ เขาใหญ่ ทางด้านทิศตะวันตก และมี ลำน้ำยมอยู่ทางด้านทิศตะวันออก กรมศิลปากรได้กำหนดเขตที่ดินโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ประมาณ 28,217 ไร่ ความสำคัญทางประวัติศาสตร์😍 เนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่ตั้งของเมืองศรีสัชนาลัย มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน คือมีทั้งที่ราบลุ่มริมแม่น้ำยมและที่ลาด เชิงเขาพระศรี และเขาใหญ่ ทำให้มีทั้งความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่และสิ่งป้องกันทางธรรมชาติที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกศัตรู ได้อย่างดีด้วย จากหลักฐานที่สำรวจพบ พวกขวานหินขัด (เครื่องมือ เครื่องใช้ ของคนสมัยโบราณ) ที่พบที่ตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย รวมทั้งจาก หลักฐานการขุดค้นทางโบราณคดีที่วัดชมชื่น แสดงว่ามีชุมชน เข้ามาอยู่อาศัยตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 9 (พ.ศ.800) เป็นต้นมาเป็นชุมชนร่วมสมัย ทวารวดีในภาคกลางถัด ขึ้นมาเป็นหลักฐานของวัฒนธรรมร่วมสมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 18, พ.ศ. 1700) ปรากฏหลักฐานที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง ในระยะนั้นเมืองศรีสัชนาลัยมีชื่อว่าเมืองเชลียง ตามหลักฐานที่ปรากฏ ในศิลาจารึก ตำนานและพงศาวดารที่ยืนยันว่ามีเมืองโบราณ 2 เมือง อยู่ในลุ่มน้ำยมก่อนแล้ว คือ เมืองสุโขทัย และเมืองเชลียง ต่อมาได้มีการก่อสร้างเมืองศรีสัชนาลัยขึ้นทางด้านทิศเหนือของเมืองเชลียงไม่สุภาพงออกไปประมาณ 1.5 กิโลเมตร เมืองศรีสัชนาลัย มีความสำคัญควบคู่กันมากับเมือง สุโขทัย โดยจากหลักฐานได้กล่าวถึงพ่อขุนศรีนาวนำถม ว่าเป็นกษัตริย์ครอง 2 นคร คือ เสวยราชย์ ทั้งเมืองสุโขทัยและเมืองศรีสัชนาลัย (ก่อน พ.ศ. 1781) ต่อมาจนถึงพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ.1781 - 1822) ทรงโปรดให้พ่อขุนบาลเมือง ไปครองเมืองศรีสัชนาลัย ส่วนพ่อขุนรามคำแหง พระยาลิไทก็เคยครองเมืองศรีสัชนาลัย ก่อนขึ้นเสวยราชย์เป็นกษัตริย์ปกครอง อาณาจักรสุโขทัย เมืองศรีสัชนาลัยมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวงของสุโขทัย ต่อมาจนแม้กระทั่งสุโขทัยตกอยู่ภายใต้อำนาจของกรุงศรีอยุธยา และได้ เปลี่ยนชื่อเรียกว่า เมืองสวรรคโลก เมืองศรีสัชนาลัยหรือเมืองสวรรคโลกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นเมืองสำคัญที่ผลิตภาชนะเครื่องเคลือบสังคโลกให้แก่ กรุงศรีอยุธยา ในสมัยต่อมาเมื่อมีการจัดระบบการปกครองปรับปรุงเรื่องเชื้อสายราชวงศ์ให้เข้าอยู่ในระบบราชการเรียบร้อยแล้ว กรุงศรี อยุธยา ได้เป็นผู้แต่งตั้งเจ้าเมืองเข้ามา ปกครองเมืองสวรรคโลกมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นนอกระดับเมืองโท หลังเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 เมืองศรีสัชนาลัยหรือ สวรรคโลกถูก ทิ้งร้าง ต่อมาเมืองสวรรคโลกได้จัดตั้ง ขึ้นใหม่ ที่บ้านท่าชัยอยู่ด้านทิศใต้ของเมืองเดิม และในสมัยรัตนโกสินทร์ได้ย้ายไปอยู่ที่บ้านวังไม้ขอน ซึ่งคือที่ตั้งของอำเภอ สวรรคโลกในปัจจุบัน ส่วนชื่อเมืองศรีสัชนาลัยถูกนำไปตั้งเป็นชื่อของอำเภอศรีสัชนาลัย ซึ่งได้รวมเอาเขตพื้นที่เมืองศรีสัชนาลัย โบราณไว้ด้วย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรใน พ.ศ.2534 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฏแสดงให้เห็นถึงผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น นับเป็นตัวแทนของศิลปกรรมไทยยุคแรกและเป็นต้นกำเนิดของการสร้างประเทศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2533 โบราณสถานที่สำคัญ😇 เมืองโบราณศรีสัชนาลัย มีขอบเขตของผังเมืองที่ก่อสร้างทับซ้อนอยู่บนบริเวณ เมืองเชลียงเดิม กล่าวคือ แนวกำแพงเมืองเชลียง เดิม ทำเป็นคันดินยาวขนานไปตามลำน้ำยมโดยเริ่มจาก บริเวณวัดมหาธาตุเชลียงขนานลำน้ำยมเลยผ่านเขาพนมเพลิงออกไป ซึ่งยังคงปรากฎหลักฐานคันดินให้เห็นอยู่เป็นระยะ ๆ ต่อมาเมื่อมีการก่อสร้างเมืองศรีสัชนาลัยขึ้น จึงได้พิจารณาเลือกบริเวณที่มีสภาพ ภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขา กำหนดขอบเขต การก่อสร้างกำแพงเมืองจากศิลาแลง ลักษณะผังเมืองเป็น รูปหลายเหลี่ยมไม่สม่ำเสมอตามทิศทางของแม่น้ำยม ในช่วงนี้ ลักษณะของกำแพงเมืองศรีสัชนาลัยมี หลายแนวเพราะคงมีการผสมผสานเอาแนวกำแพงคันดินในสมัยที่เป็นเมืองเชลียงเข้ามา ใช้ประโยชน์ด้วย โบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย มีทั้งภายในและภายนอกกำแพงเมือง ซึ่งรวมทั้งหมดมีไม่น้อย กว่า 215 แห่งโบราณสถานที่สำคัญมีดังนี้ -โบราณสถานภายในกำแพงเมือง สำรวจพบแล้วมีทั้งสิ้น 28 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดช้างล้อม วัดเจดีย์เจ็ดแถว วัดนางพญา วัดสวนแก้วอุทยานใหญ่ วัดสวนแก้ว เป็นต้น -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศเหนือ สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 35 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดกุฎีราย เตาทุเรียงบ้านป่ายาง เตา ทุเรียงบ้านเกาะน้อย ซึ่งเป็น แหล่งผลิต ภาชนะดินเผา “เครื่องสังคโลก” ที่สำคัญของเมืองศรีสัชนาลัย -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันออก สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 10 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดสวนสัก วัดป่าแก้ว เป็นต้น -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศใต้ สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 24 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดชมชื่น วัดเจ้าจันทร์ และวัดโคกสิงคาราม เป็นต้น -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันตก สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 19 แห่ง ที่สำคัญ คือ วัดพญาดำ วัดราหู วัดสระประทุม วัดพรหมสี่หน้า วัดยายตา เป็นต้น -โบราณสถานนอกกำแพงเมืองบนภูเขา สำรวจพบแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 15 แห่ง ที่สำคัญคือ วัดเขาใหญ่บน วัดเจดีย์เจ็ดยอด วัดเจดีย์รอบ และวัดเขาใหญ่ล่าง เป็นต้น อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของโลก ร่วมกันกับ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ในปี พ.ศ. 2534 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฎแสดงให้เห็นถึงผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น นับเป็นตัวแทนของศิลปกรรมไทย ยุคแรก และเป็นต้นกำเนิดของการสร้างประเทศ บทความหน้า เพจเทพชวนเที่ยว จะพาไปเที่ยวที่ไหน กดติดตาม กดไลค์กดแชร์เป็นกำลังใจให้แอดมินด้วยนะครับ🥰
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 690 มุมมอง 0 รีวิว