• น้อมกราบสักการะบูชาหลวงพ่อวัดไร่ขิง..🙏🙏🙏
    มีประสบการณ์เรื่องจริงของตนเองกับความศักดิ์สิทธิ์ความศรัทธาหลวงพ่อวัดไร่ขิง..🙏🙏🙏

    สมัยวัยรุ่น บ้านอยู่หน้าประตู 4 รร.นายร้อยตำรวจสามพราน ช่วงงานวัดไร่ขิงทุกๆปี จะเป็นช่วงที่พวกเราต้องไปเที่ยวโชว์พลังวัยรุ่นสามพรานเจ้าถิ่นทุกคืน เงินทองที่พ่อแม่ให้มาก็มารวมกันลงขวดหมด ก็เข้ากราบไหว้บูชาหลวงพ่อด้วยมือเปล่าในโบสถ์ ไม่ได้บูชาดอกไม้และพระเครื่องใดเลย คงได้แต่นำผ้าเหลืองห่มหลวงพ่อมาผูกข้อมือ ช่วงปี 2519 มีวันหนึ่งไปร่วมงานศพพี่สาวที่นับถือที่วัดบางช้างเหนือ พี่สาวบอกก่อนจะเสียให้มีดนตรีมาเล่นในงานด้วย งานนี้ก็มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับเด็กหอมเกร็ด มันมีปืนยิงในระยะประชิดเข้ามาที่ท้องข้างขวา 1 นัด เราทรุดตัวลงด้วยแรงลูกกระสุนปืนนึกว่าตายแน่แล้ว มันยังยิงนัดต่อๆมาอีกแต่ปืนมันยิงไม่ออกขัดลำกล้อง พอดีเพื่อนอี๊ด มือมีดมาช่วย ชุลมุนกัน สุดท้ายก็ถูกตำรวจจับทั้งสองฝ่าย ตำรวจเห็นว่าเราถูกยิงก็นำตัวมาส่งรพ.สามพราน หมอตรวจดูแล้วใช้คีมที่คีบผ้าก๊อตถางแยกแผลที่เป็นจุดแดงไหม้ดู ก็ไม่เห็นมีรูที่ลูกปืนยิงเข้า จึงรู้ว่ายิงไม่เข้า ตำรวจ หมอ พยาบาล เพื่อนๆ และชาวบ้าน มาขอดูว่าในตัวมีของดีอะไร ดูแล้วก็มีแต่ผ้าเหลืองผูกข้อมือของหลวงพ่อวัดไร่ขิง (นี่แหละของดี) ตำรวจก็นำตัวไปดำเนินคดี สุดท้ายพ่อเรา (ตร.เมืองกาญจน์ย้ายมาสามพราน) กับพ่อคนยิงรู้จักกัน ดคีก็เลยจบไป..
    กรรมดีที่เคยทำในอดีตชาติคงปรารถนาให้มีชีวิตอยู่เติบโตต่อไปเพื่อสะสมบุญกุศลกรรมปฏิบัติธรรมให้พบกับพระธรรมของพระพุทธองค์ทั้งในชาตินี้และชาติต่อๆไปจนกว่าจะพบมรรคผลพระนิพพานในกาลอันควรด้วยเทอญฯ..🙏🙏🙏
    น้อมกราบสักการะบูชาหลวงพ่อวัดไร่ขิง..🙏🙏🙏 มีประสบการณ์เรื่องจริงของตนเองกับความศักดิ์สิทธิ์ความศรัทธาหลวงพ่อวัดไร่ขิง..🙏🙏🙏 สมัยวัยรุ่น บ้านอยู่หน้าประตู 4 รร.นายร้อยตำรวจสามพราน ช่วงงานวัดไร่ขิงทุกๆปี จะเป็นช่วงที่พวกเราต้องไปเที่ยวโชว์พลังวัยรุ่นสามพรานเจ้าถิ่นทุกคืน เงินทองที่พ่อแม่ให้มาก็มารวมกันลงขวดหมด ก็เข้ากราบไหว้บูชาหลวงพ่อด้วยมือเปล่าในโบสถ์ ไม่ได้บูชาดอกไม้และพระเครื่องใดเลย คงได้แต่นำผ้าเหลืองห่มหลวงพ่อมาผูกข้อมือ ช่วงปี 2519 มีวันหนึ่งไปร่วมงานศพพี่สาวที่นับถือที่วัดบางช้างเหนือ พี่สาวบอกก่อนจะเสียให้มีดนตรีมาเล่นในงานด้วย งานนี้ก็มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับเด็กหอมเกร็ด มันมีปืนยิงในระยะประชิดเข้ามาที่ท้องข้างขวา 1 นัด เราทรุดตัวลงด้วยแรงลูกกระสุนปืนนึกว่าตายแน่แล้ว มันยังยิงนัดต่อๆมาอีกแต่ปืนมันยิงไม่ออกขัดลำกล้อง พอดีเพื่อนอี๊ด มือมีดมาช่วย ชุลมุนกัน สุดท้ายก็ถูกตำรวจจับทั้งสองฝ่าย ตำรวจเห็นว่าเราถูกยิงก็นำตัวมาส่งรพ.สามพราน หมอตรวจดูแล้วใช้คีมที่คีบผ้าก๊อตถางแยกแผลที่เป็นจุดแดงไหม้ดู ก็ไม่เห็นมีรูที่ลูกปืนยิงเข้า จึงรู้ว่ายิงไม่เข้า ตำรวจ หมอ พยาบาล เพื่อนๆ และชาวบ้าน มาขอดูว่าในตัวมีของดีอะไร ดูแล้วก็มีแต่ผ้าเหลืองผูกข้อมือของหลวงพ่อวัดไร่ขิง (นี่แหละของดี) ตำรวจก็นำตัวไปดำเนินคดี สุดท้ายพ่อเรา (ตร.เมืองกาญจน์ย้ายมาสามพราน) กับพ่อคนยิงรู้จักกัน ดคีก็เลยจบไป.. กรรมดีที่เคยทำในอดีตชาติคงปรารถนาให้มีชีวิตอยู่เติบโตต่อไปเพื่อสะสมบุญกุศลกรรมปฏิบัติธรรมให้พบกับพระธรรมของพระพุทธองค์ทั้งในชาตินี้และชาติต่อๆไปจนกว่าจะพบมรรคผลพระนิพพานในกาลอันควรด้วยเทอญฯ..🙏🙏🙏
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 182 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมาธิ…ไม่ใช่แค่พักใจ แต่คือก้าวแรกของการหลุดพ้น

    หลายคนอยากมีสมาธิ
    แต่ไม่รู้เลยว่า “สมาธิที่ใช่”
    จะพาให้ชีวิตเปลี่ยนจากโลกที่ผูกพัน
    ไปสู่โลกที่ใจเบาสบายไร้พันธนาการ

    ---

    คนทั่วไป…มีแต่จิตฟุ้งซ่าน

    เราถูกสอนให้ใช้สมองคิด
    แต่ไม่เคยถูกสอนให้รู้ว่า “สมองที่คิดเรื่อยเปื่อย”
    ก็คือ จิตฟุ้งซ่าน รูปแบบหนึ่ง

    คนจำนวนมาก
    เข้าใจว่าการมีชีวิตคือการไขว่คว้า
    จิตจึงไม่รู้จักนิ่ง ไม่รู้จักหยุด
    วิ่งตาม “ความอยาก” โดยไม่มีวันถึงฝั่ง

    ---

    แต่ถ้าจิตรวมเป็นสมาธิเมื่อใด…โลกใหม่จะเปิดออกทันที

    สมาธิที่แท้ คือจิตที่นิ่ง เด่น ดวงเดียว
    ตั้งมั่นพอจนไม่ไหลตามความอยาก
    ไม่ฟุ้งตามความกลัว
    ไม่เหวี่ยงไปตามเรื่องเล่าในหัว

    สมาธิไม่ใช่การ “คิดให้น้อยลง”
    แต่คือการ “คิดแบบมีทิศทาง”
    คือคิดแบบเห็นโลกตามที่มันเป็น
    ไม่ใช่แบบที่เราอยากให้มันเป็น

    ---

    พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในมหาจัตตารีสกสูตรว่า

    สมาธิที่เป็นสัมมาสมาธิ
    ต้องมี สัมมาทิฏฐิ เป็นประธาน
    ไม่ใช่สมาธิแบบคิดจะใช้จิตไปทำร้ายใคร
    หรือสมาธิเพื่อขอพลังพิเศษเอาชนะคนอื่น

    ---

    สัมมาทิฏฐิ คือหัวใจของการปฏิบัติธรรม

    ถ้าคุณนั่งสมาธิ แล้วใจยังเชื่อว่า

    ทำดีไม่มีผล

    ตายแล้วสูญ

    กรรมไม่มีผล

    พระพุทธเจ้าไม่มีจริง

    โลกหน้าคือเรื่องหลอกเด็ก

    สมาธิของคุณจะเหมือนปลูกต้นไม้ในดินเค็ม
    ไม่มีวันเติบโตไปถึงนิพพานได้

    ---

    แต่ถ้าคุณนั่งสมาธิแล้วเห็นว่า...

    โลกนี้มีผลแห่งกรรมจริง

    สิ่งที่เกิดล้วนเป็นผลของเหตุ

    กายใจนี้ไม่ใช่ของเราจริง

    ทุกสิ่งล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป

    และแม้ความคิดในหัว…ก็แค่แวบหนึ่งของกระแสธรรมดา

    คุณจะเริ่มเข้าใจว่า “ภพ” ไม่ได้อยู่ที่ไหน
    ภพอยู่ตรงที่คุณยึดติดกับกายนี้ ใจนี้ ความคิดนี้ว่าเป็น “ตัวเรา”

    ---

    สมาธิที่แท้…จึงไม่ใช่แค่หลบความเครียด

    แต่คือการค่อยๆ

    ถอดออกจากอุปาทาน

    ปลดจากพันธนาการของความเชื่อผิด

    ปลุกตนให้ตื่นจากภวังค์ของความเป็นตัวตน

    เมื่อสมาธิมาพร้อมสัมมาทิฏฐิ
    แม้กระทั่งความคิดที่ผ่านสมอง
    ก็จะกลายเป็นแค่ “ภาพมายา” ที่มาแล้วไป
    ไม่ใช่คำสั่งสุดท้ายของชีวิตอีกต่อไป

    ---

    ชาตินี้…กายใจนี้ อาจกลายเป็นกุญแจปลดล็อกทุกภพชาติ

    สมาธิแบบนี้
    คือสมาธิที่พระพุทธเจ้ารับรอง
    ว่าเป็นทางเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้จริง

    ไม่ใช่สมาธิที่มีไว้แค่พักใจ
    แต่คือ “ลูกไฟที่เผาผลาญกิเลส”
    พร้อมเปิดทางให้คุณเป็นอิสระจากทุกภพทุกชาติ
    สมาธิ…ไม่ใช่แค่พักใจ แต่คือก้าวแรกของการหลุดพ้น หลายคนอยากมีสมาธิ แต่ไม่รู้เลยว่า “สมาธิที่ใช่” จะพาให้ชีวิตเปลี่ยนจากโลกที่ผูกพัน ไปสู่โลกที่ใจเบาสบายไร้พันธนาการ --- คนทั่วไป…มีแต่จิตฟุ้งซ่าน เราถูกสอนให้ใช้สมองคิด แต่ไม่เคยถูกสอนให้รู้ว่า “สมองที่คิดเรื่อยเปื่อย” ก็คือ จิตฟุ้งซ่าน รูปแบบหนึ่ง คนจำนวนมาก เข้าใจว่าการมีชีวิตคือการไขว่คว้า จิตจึงไม่รู้จักนิ่ง ไม่รู้จักหยุด วิ่งตาม “ความอยาก” โดยไม่มีวันถึงฝั่ง --- แต่ถ้าจิตรวมเป็นสมาธิเมื่อใด…โลกใหม่จะเปิดออกทันที สมาธิที่แท้ คือจิตที่นิ่ง เด่น ดวงเดียว ตั้งมั่นพอจนไม่ไหลตามความอยาก ไม่ฟุ้งตามความกลัว ไม่เหวี่ยงไปตามเรื่องเล่าในหัว สมาธิไม่ใช่การ “คิดให้น้อยลง” แต่คือการ “คิดแบบมีทิศทาง” คือคิดแบบเห็นโลกตามที่มันเป็น ไม่ใช่แบบที่เราอยากให้มันเป็น --- พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในมหาจัตตารีสกสูตรว่า สมาธิที่เป็นสัมมาสมาธิ ต้องมี สัมมาทิฏฐิ เป็นประธาน ไม่ใช่สมาธิแบบคิดจะใช้จิตไปทำร้ายใคร หรือสมาธิเพื่อขอพลังพิเศษเอาชนะคนอื่น --- สัมมาทิฏฐิ คือหัวใจของการปฏิบัติธรรม ถ้าคุณนั่งสมาธิ แล้วใจยังเชื่อว่า ทำดีไม่มีผล ตายแล้วสูญ กรรมไม่มีผล พระพุทธเจ้าไม่มีจริง โลกหน้าคือเรื่องหลอกเด็ก สมาธิของคุณจะเหมือนปลูกต้นไม้ในดินเค็ม ไม่มีวันเติบโตไปถึงนิพพานได้ --- แต่ถ้าคุณนั่งสมาธิแล้วเห็นว่า... โลกนี้มีผลแห่งกรรมจริง สิ่งที่เกิดล้วนเป็นผลของเหตุ กายใจนี้ไม่ใช่ของเราจริง ทุกสิ่งล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป และแม้ความคิดในหัว…ก็แค่แวบหนึ่งของกระแสธรรมดา คุณจะเริ่มเข้าใจว่า “ภพ” ไม่ได้อยู่ที่ไหน ภพอยู่ตรงที่คุณยึดติดกับกายนี้ ใจนี้ ความคิดนี้ว่าเป็น “ตัวเรา” --- สมาธิที่แท้…จึงไม่ใช่แค่หลบความเครียด แต่คือการค่อยๆ ถอดออกจากอุปาทาน ปลดจากพันธนาการของความเชื่อผิด ปลุกตนให้ตื่นจากภวังค์ของความเป็นตัวตน เมื่อสมาธิมาพร้อมสัมมาทิฏฐิ แม้กระทั่งความคิดที่ผ่านสมอง ก็จะกลายเป็นแค่ “ภาพมายา” ที่มาแล้วไป ไม่ใช่คำสั่งสุดท้ายของชีวิตอีกต่อไป --- ชาตินี้…กายใจนี้ อาจกลายเป็นกุญแจปลดล็อกทุกภพชาติ สมาธิแบบนี้ คือสมาธิที่พระพุทธเจ้ารับรอง ว่าเป็นทางเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้จริง ไม่ใช่สมาธิที่มีไว้แค่พักใจ แต่คือ “ลูกไฟที่เผาผลาญกิเลส” พร้อมเปิดทางให้คุณเป็นอิสระจากทุกภพทุกชาติ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 131 มุมมอง 0 รีวิว
  • กายหยาบของเราปรุงแต่งง่ายศัลยกรรมง่าย..น่ำปรุงน้ำหอมพรมลงไป
    ที่ยากก็ตัวจิตข้างใน ปรุงแต่งยาก ศัลยกรรมยาก หากจิตมีแต่ความสกปรก หยาบคาย ร้ายกาจ ก็หมดกัน ตัวแก้ตัวช่วยให้จิตดีงามคือ ศิลธรรม การปฏิบัติธรรม ฟังเทศน์
    กายหยาบของเราปรุงแต่งง่ายศัลยกรรมง่าย..น่ำปรุงน้ำหอมพรมลงไป ที่ยากก็ตัวจิตข้างใน ปรุงแต่งยาก ศัลยกรรมยาก หากจิตมีแต่ความสกปรก หยาบคาย ร้ายกาจ ก็หมดกัน ตัวแก้ตัวช่วยให้จิตดีงามคือ ศิลธรรม การปฏิบัติธรรม ฟังเทศน์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ใช้หลักธรรมะ” สานต่อพลังธรรม รุ่น 3

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2568 ที่ สถานปฏิบัติธรรมบ้านธรรมะชาติ อ.วังน้ำเขียว #นายวีระชาติ ทุ่งไผ่แหลม รองนายก อบจ.นครราชสีมา เป็นประธานเปิดการอบรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเพื่อคุณภาพการปฏิบัติงานและคุณภาพชีวิตบุคลากรในสังกัด รุ่นที่ 3 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร อบจ. นำหลักธรรมคำสอน ตามหลักพุทธศาสนาไปสู่การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง สามารถปรับใช้ในการปฏิบัติงาน พัฒนาจิตใจด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์

    #นายกหน่อย #อบจโคราช
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    #prkoratpao
    “ใช้หลักธรรมะ” สานต่อพลังธรรม รุ่น 3 วันที่ 20 พฤษภาคม 2568 ที่ สถานปฏิบัติธรรมบ้านธรรมะชาติ อ.วังน้ำเขียว #นายวีระชาติ ทุ่งไผ่แหลม รองนายก อบจ.นครราชสีมา เป็นประธานเปิดการอบรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเพื่อคุณภาพการปฏิบัติงานและคุณภาพชีวิตบุคลากรในสังกัด รุ่นที่ 3 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร อบจ. นำหลักธรรมคำสอน ตามหลักพุทธศาสนาไปสู่การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง สามารถปรับใช้ในการปฏิบัติงาน พัฒนาจิตใจด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ #นายกหน่อย #อบจโคราช #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช #prkoratpao
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 196 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    สัทธรรมลำดับที่ : 993
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค

    (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
    ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ
    ๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92

    (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
    ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    ๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93

    (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    แต่เขา
    หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน
    อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง
    ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง.
    +-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94

    (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    +++ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
    และทั้ง
    ๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95

    (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่เขา
    ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่
    และทั้งเขา
    ๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96

    (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่เขา
    ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ
    ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขา
    ๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97

    (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
    +-+ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ
    ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    แต่เขา
    ๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย
    แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่
    และทั้งเขา
    ๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98

    (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
    และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่ว่าเขา
    ๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    และทั้งเขา
    ๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑.
    +-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99

    (องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ
    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้
    ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค สัทธรรมลำดับที่ : 993 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93 (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. +-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +++ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่ และทั้งเขา ๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา ๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +-+ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา ๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขา ๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. +-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.- http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 (องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159. http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    -มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หา เป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้ สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่ง ชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขามีปกติใคร่ครวญ เนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขาสามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 0 รีวิว
  • “เมื่อคุณน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์…ให้รู้ว่านั่นคือสัญญาณว่าได้เวลาเป็นผู้ใหญ่ทางใจแล้ว”

    บางครั้ง คนที่ศรัทธาในสิ่งศักดิ์สิทธิ์
    ก็เผลอรู้สึกน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์เสียเอง
    โดยเฉพาะเมื่อไหว้วอนมาก
    แต่สิ่งที่หวัง…กลับยังไม่มาถึงสักที

    > “ทำไมถึงไม่ช่วยกันเลย?”
    “ทำไมปล่อยให้เราลำบากคนเดียว?”
    “เราทำดีขนาดนี้แล้วนะ…”

    เสียงแบบนี้เคยเกิดในใจใครหลายคน
    โดยเฉพาะกับผู้ที่พยายามฝึกตน
    แต่ยังไม่เห็นผลชัด
    ราวกับพยายามเดินเท้าเปล่าในทางหมื่นไมล์
    ที่ไม่มีใครอุ้ม ไม่มีลมส่ง
    ไม่มีปาฏิหาริย์ใดมารับขึ้นรถ

    ---

    แต่ในทางพุทธ…พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ “น้อยใจท่าน”

    พระองค์ตรัสไว้ชัดว่า

    > “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน”
    ไม่ใช่เพื่อปล่อยให้เราต่อสู้อย่างเดียวดาย
    แต่เพื่อเตือนว่า
    “อิสรภาพจากทุกข์ต้องเริ่มที่ใจตนเองก่อน”

    หากคุณเชื่อเรื่องกรรม
    แล้วชีวิตยังไม่ดี
    ให้กลับมาถามใจว่า

    > “เราทำกรรมดีพอหรือยัง?”
    ถ้าสู้เพื่อสิ่งที่หวัง ยังรู้สึกไม่พอใจตัวเอง
    ให้ยอมรับความจริงว่า
    “เรายังไม่ได้ทำเต็มที่พอให้รู้สึกภูมิใจ”
    ไม่ใช่ไปโทษว่า “สิ่งศักดิ์สิทธิ์ไม่ช่วย”

    ---

    แม้แต่นักภาวนาก็เคยน้อยใจพระพุทธเจ้าได้

    แต่คนที่ปฏิบัติทางตรงจริง
    จะเริ่มเห็นว่าแม้ “อารมณ์น้อยใจ”
    ก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น
    แล้ว “ดับไป”
    บนลมหายใจเข้าออกนี่เอง

    และเมื่อจิตมองเห็นความจริงอย่างนี้บ่อยขึ้น
    ก็จะเลิกยึดแม้แต่ความรู้สึกว่าตัวเองน่าสงสาร
    เลิกคาดหวังปาฏิหาริย์
    แล้วตั้งหน้าทำสิ่งที่ควรทำ
    ด้วยความเข้าใจว่าทางพ้นทุกข์ไม่ใช่สิ่งที่ใครให้ได้
    นอกจากคุณจะสร้างเอง

    ---

    การเป็นผู้ใหญ่ทางใจ…เริ่มต้นเมื่อหยุดน้อยใจ

    หยุดน้อยใจโชคชะตา
    หยุดน้อยใจพระ
    หยุดน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์

    แล้วเปลี่ยนเป็น

    > “หายใจเข้าให้เต็มที่เพื่อเริ่มต้นใหม่”
    “หายใจออกเพื่อปล่อยทุกข์ที่แบกอยู่ไปทีละชั้น”
    “มองเห็นอารมณ์ แล้วปล่อยให้อารมณ์นั้นไปทางของมัน”

    ---

    บทสรุปของคนที่ไม่รอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์มาอุ้ม

    > ถ้าคุณยังน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้
    แสดงว่าคุณยังมองไม่ตรงทาง
    แต่ถ้าคุณมองเห็นแม้ความน้อยใจ
    ก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น…แล้วดับไป
    วันนั้นแหละ คุณจะรู้ว่า
    คุณกำลังปฏิบัติธรรมอยู่ในทางตรงของพุทธศาสนาแล้ว
    “เมื่อคุณน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์…ให้รู้ว่านั่นคือสัญญาณว่าได้เวลาเป็นผู้ใหญ่ทางใจแล้ว” บางครั้ง คนที่ศรัทธาในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ก็เผลอรู้สึกน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์เสียเอง โดยเฉพาะเมื่อไหว้วอนมาก แต่สิ่งที่หวัง…กลับยังไม่มาถึงสักที > “ทำไมถึงไม่ช่วยกันเลย?” “ทำไมปล่อยให้เราลำบากคนเดียว?” “เราทำดีขนาดนี้แล้วนะ…” เสียงแบบนี้เคยเกิดในใจใครหลายคน โดยเฉพาะกับผู้ที่พยายามฝึกตน แต่ยังไม่เห็นผลชัด ราวกับพยายามเดินเท้าเปล่าในทางหมื่นไมล์ ที่ไม่มีใครอุ้ม ไม่มีลมส่ง ไม่มีปาฏิหาริย์ใดมารับขึ้นรถ --- แต่ในทางพุทธ…พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ “น้อยใจท่าน” พระองค์ตรัสไว้ชัดว่า > “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน” ไม่ใช่เพื่อปล่อยให้เราต่อสู้อย่างเดียวดาย แต่เพื่อเตือนว่า “อิสรภาพจากทุกข์ต้องเริ่มที่ใจตนเองก่อน” หากคุณเชื่อเรื่องกรรม แล้วชีวิตยังไม่ดี ให้กลับมาถามใจว่า > “เราทำกรรมดีพอหรือยัง?” ถ้าสู้เพื่อสิ่งที่หวัง ยังรู้สึกไม่พอใจตัวเอง ให้ยอมรับความจริงว่า “เรายังไม่ได้ทำเต็มที่พอให้รู้สึกภูมิใจ” ไม่ใช่ไปโทษว่า “สิ่งศักดิ์สิทธิ์ไม่ช่วย” --- แม้แต่นักภาวนาก็เคยน้อยใจพระพุทธเจ้าได้ แต่คนที่ปฏิบัติทางตรงจริง จะเริ่มเห็นว่าแม้ “อารมณ์น้อยใจ” ก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น แล้ว “ดับไป” บนลมหายใจเข้าออกนี่เอง และเมื่อจิตมองเห็นความจริงอย่างนี้บ่อยขึ้น ก็จะเลิกยึดแม้แต่ความรู้สึกว่าตัวเองน่าสงสาร เลิกคาดหวังปาฏิหาริย์ แล้วตั้งหน้าทำสิ่งที่ควรทำ ด้วยความเข้าใจว่าทางพ้นทุกข์ไม่ใช่สิ่งที่ใครให้ได้ นอกจากคุณจะสร้างเอง --- การเป็นผู้ใหญ่ทางใจ…เริ่มต้นเมื่อหยุดน้อยใจ หยุดน้อยใจโชคชะตา หยุดน้อยใจพระ หยุดน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แล้วเปลี่ยนเป็น > “หายใจเข้าให้เต็มที่เพื่อเริ่มต้นใหม่” “หายใจออกเพื่อปล่อยทุกข์ที่แบกอยู่ไปทีละชั้น” “มองเห็นอารมณ์ แล้วปล่อยให้อารมณ์นั้นไปทางของมัน” --- บทสรุปของคนที่ไม่รอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์มาอุ้ม > ถ้าคุณยังน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้ แสดงว่าคุณยังมองไม่ตรงทาง แต่ถ้าคุณมองเห็นแม้ความน้อยใจ ก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น…แล้วดับไป วันนั้นแหละ คุณจะรู้ว่า คุณกำลังปฏิบัติธรรมอยู่ในทางตรงของพุทธศาสนาแล้ว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 248 มุมมอง 0 รีวิว
  • ค่ายปฏิบัติธรรม พัฒนาสื่อสารอย่างสร้างสรรค์

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2568 ที่ วันใหม่สันติ อ.สูงเนิน #นางประกายมาศ กิริวัฒนศักดิ์ เลขานุการนายก อบจ.นครราชสีมา มาเยี่ยมให้กำลังใจ นักเรียน ม 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา เข้าค่ายปฏิบัติธรรม ค่ายพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ปีการศึกษา 2568 ระหว่างวันที่ 10 - 11 เรื่องของ สติ กับชีวิตที่สงบสุข ตื่นรู้ สู่สุขภาพดี สื่อสารอย่างสร้างสรรค์

    #นายกหน่อย
    #อบจโคราชโฉมใหม่
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    #prkoratpao
    ค่ายปฏิบัติธรรม พัฒนาสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ วันที่ 10 พฤษภาคม 2568 ที่ วันใหม่สันติ อ.สูงเนิน #นางประกายมาศ กิริวัฒนศักดิ์ เลขานุการนายก อบจ.นครราชสีมา มาเยี่ยมให้กำลังใจ นักเรียน ม 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา เข้าค่ายปฏิบัติธรรม ค่ายพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ปีการศึกษา 2568 ระหว่างวันที่ 10 - 11 เรื่องของ สติ กับชีวิตที่สงบสุข ตื่นรู้ สู่สุขภาพดี สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ #นายกหน่อย #อบจโคราชโฉมใหม่ #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช #prkoratpao
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 303 มุมมอง 0 รีวิว
  • "กองทัพภาคที่ 2 จัดพิธีพุทธาภิเษก สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) และทอดผ้าป่าสามัคคี"

    📌กองทัพภาคที่ 2 ร่วมบุญอันยิ่งใหญ่ จัดสร้างสมเด็จพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี)และทอดผ้าป่าสามัคคี ✨ โดยมี พลโทบุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 และคุณสุพางค์พรรณ พาดกลาง ประธานสมาคมแม่บ้านทหารบก สาขากองทัพภาคที่ 2 เป็นประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมผู้มีจิตศรัทธา ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ และประชาชนชาวจังหวัดนครราชสีมา ณ สโมสรร่วมเริงชัย ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา🎉

    🌟ได้รับพระเมตตา จาก "4 ดอกบัวบานแดนอีสาน"👍
    🙏หลวงปู่ศิลา วัดพระธาตุหมื่นหิน
    🙏หลวงพ่อสุริยันต์ วัดป่าวังน้ำเย็น
    🙏พระอาจารย์ต้อม วัดท่าสะแบง
    🙏พระอาจารย์สุริยัณ วัดป่าฉัพพรรณรังสี

    ในพิธีมหาพุทธาภิเษก และทอดผ้าป่าสามัคคีมหากุศล สมทบทุนสร้าง “สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ” หรือ “หลวงพ่อใหญ่โชคดี” เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน และเป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา โดยพระพุทธปฏิมา สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) มีขนาดหน้าตักกว้าง 7 เมตร ความสูง 9 เมตร ซึ่งจะประดิษฐาน ณ วัดป่าศรีคุณาราม อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี

    📌วัดป่าศรีคุณารามเป็นวัดป่าสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อันสงบ ร่มรื่น เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม การสร้างพระพุทธปฏิมาองค์ใหญ่ ณ วัดแห่งนี้ จึงเป็นการส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางแห่งการศึกษา ปฏิบัติธรรม และเป็นที่พักพิงทางใจของพุทธศาสนิกชนสืบไป🌟👍💂

    #หลวงพ่อใหญ่โชคดี
    #หลวงปู่ศิลา
    #กองทัพภาคที่2
    #วัดป่าศรีคุณาราม
    #มณฑลทหารบกที่21
    #ศูนย์ประชาสัมพันธ์กองทัพภาคที่2
    "กองทัพภาคที่ 2 จัดพิธีพุทธาภิเษก สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) และทอดผ้าป่าสามัคคี" 📌กองทัพภาคที่ 2 ร่วมบุญอันยิ่งใหญ่ จัดสร้างสมเด็จพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี)และทอดผ้าป่าสามัคคี ✨ โดยมี พลโทบุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 และคุณสุพางค์พรรณ พาดกลาง ประธานสมาคมแม่บ้านทหารบก สาขากองทัพภาคที่ 2 เป็นประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมผู้มีจิตศรัทธา ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ และประชาชนชาวจังหวัดนครราชสีมา ณ สโมสรร่วมเริงชัย ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา🎉 🌟ได้รับพระเมตตา จาก "4 ดอกบัวบานแดนอีสาน"👍 🙏หลวงปู่ศิลา วัดพระธาตุหมื่นหิน 🙏หลวงพ่อสุริยันต์ วัดป่าวังน้ำเย็น 🙏พระอาจารย์ต้อม วัดท่าสะแบง 🙏พระอาจารย์สุริยัณ วัดป่าฉัพพรรณรังสี ในพิธีมหาพุทธาภิเษก และทอดผ้าป่าสามัคคีมหากุศล สมทบทุนสร้าง “สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ” หรือ “หลวงพ่อใหญ่โชคดี” เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน และเป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา โดยพระพุทธปฏิมา สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) มีขนาดหน้าตักกว้าง 7 เมตร ความสูง 9 เมตร ซึ่งจะประดิษฐาน ณ วัดป่าศรีคุณาราม อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี 📌วัดป่าศรีคุณารามเป็นวัดป่าสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อันสงบ ร่มรื่น เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม การสร้างพระพุทธปฏิมาองค์ใหญ่ ณ วัดแห่งนี้ จึงเป็นการส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางแห่งการศึกษา ปฏิบัติธรรม และเป็นที่พักพิงทางใจของพุทธศาสนิกชนสืบไป🌟👍💂 #หลวงพ่อใหญ่โชคดี #หลวงปู่ศิลา #กองทัพภาคที่2 #วัดป่าศรีคุณาราม #มณฑลทหารบกที่21 #ศูนย์ประชาสัมพันธ์กองทัพภาคที่2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 475 มุมมอง 0 รีวิว
  • “จากเข้าใจ…สู่เข้าถึง”
    บทเรียนสำคัญของผู้เดินทางในทางธรรม

    ในเส้นทางแห่งการลดกิเลส ไม่มีใครข้ามจากศูนย์ไปถึงปลายทางได้ภายในวันเดียว

    ธรรมะจึงไม่ใช่สิ่งที่จะ “เชื่อไว้ก่อน” แล้วได้ผลทันที

    แต่เป็นสิ่งที่ต้อง เรียนรู้-เข้าใจ-เข้าถึง-และกลายเป็นทีละลมหายใจ ทีละขณะจิต อย่างชัดเจน

    ---

    พุทธิปัญญา มี 3 ระดับ

    1. ได้ยินรู้เรื่อง – เรียนจากครูบาอาจารย์ ฟังแล้วเข้าหัว

    2. เข้าใจอย่างมีเหตุผล – ใช้การคิดพิจารณา เห็นด้วยใจบางๆ

    3. เข้าถึงความจริงตรงหน้า – ไม่ใช่แค่คิด แต่จิตเห็นแจ้งเอง

    ---

    “เข้าใจ” – คือจุดเริ่มต้นที่สำคัญ

    ผู้ที่เพียง “เข้าใจ” ว่าชีวิตไม่มีอะไรเป็นของเรา
    รู้ว่าทุกข์มีเหตุ ทุกข์ดับได้
    รู้ว่ากายใจไม่เที่ยง ไม่ควรยึด
    แม้แค่นี้ ก็ถือว่าเริ่ม “ต่อยกิเลสให้ถลอก” ได้แล้ว

    ยามทุกข์ ก็น้อมจิตระลึกว่า

    > “มันผ่านมาแล้ว ก็แล้วไป”
    “ทุกข์แค่ช่วงกลางวัน กลางคืนก็หลุดได้”

    นี่คือการคิดปลอบใจตนด้วยธรรม
    แม้ยังไม่พ้น แต่ก็ไม่หลงฟูมฟายอีก
    นี่แหละ “การเข้าใจ” ที่ลดพลังของกิเลสลงได้ระดับหนึ่ง

    ---

    “เข้าถึง” – คือจุดที่กิเลสเริ่มแตกจริง

    แต่หากวันหนึ่ง เรา
    – ให้จิตเป็นทาน
    – วางใจไว้ในศีล
    – ตั้งจิตอยู่กับความสงบ
    – แล้ว “รู้ตามความจริง” อย่างเงียบๆ ไม่คิด ไม่แปล

    จิตจะเริ่มเห็นว่า...

    > “อารมณ์แย่ๆ เกิดขึ้นตรงลมหายใจไหน”
    “ความดี ความสงบ เข้ามาแทนที่ตรงลมหายใจไหน”
    “นี่คือตัวรู้ – และสิ่งอื่นล้วนเป็นสิ่งถูกรู้”

    เมื่อเห็นว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร
    เป็นของชั่วคราว ไม่ใช่ของเรา
    อุปาทานจะถูกกะเทาะออก
    ไม่ใช่เพราะเชื่อครู หรือเพราะใช้เหตุผล
    แต่เพราะ “จิตเห็นเอง” อย่างประจักษ์

    ---

    **เมื่อ ‘รู้’ เกิดจากความว่าง

    นิพพานจึงอยู่ตรงนั้นเอง**

    ทุกครั้งที่เราเข้าถึงความจริงได้ด้วยใจที่สงบ
    นั่นคือการลดตัวตน ลดการยึด
    และทุกครั้งที่ไม่มีตัวตน
    จิตจะแตะนิพพานชั่วขณะ
    แม้เพียงวินาทีเดียว ก็มีค่ากว่ารู้โลกทั้งโลก

    ---

    บทสรุปของผู้ปฏิบัติธรรม

    > – ฟังธรรม = ใส่เชื้อดี
    – คิดธรรม = ประคบใจให้อบอุ่น
    – เห็นธรรม = เผากิเลสตรงหน้าได้จริง

    เมื่อปัญญาเดินทางจาก “เข้าใจ” สู่ “เข้าถึง”
    จะไม่ใช่แค่หัวที่เบา
    แต่คือ ใจที่เป็นอิสระจริงๆ
    จากสิ่งที่เคยครอบงำ…มาทั้งชีวิต
    “จากเข้าใจ…สู่เข้าถึง” บทเรียนสำคัญของผู้เดินทางในทางธรรม ในเส้นทางแห่งการลดกิเลส ไม่มีใครข้ามจากศูนย์ไปถึงปลายทางได้ภายในวันเดียว ธรรมะจึงไม่ใช่สิ่งที่จะ “เชื่อไว้ก่อน” แล้วได้ผลทันที แต่เป็นสิ่งที่ต้อง เรียนรู้-เข้าใจ-เข้าถึง-และกลายเป็นทีละลมหายใจ ทีละขณะจิต อย่างชัดเจน --- พุทธิปัญญา มี 3 ระดับ 1. ได้ยินรู้เรื่อง – เรียนจากครูบาอาจารย์ ฟังแล้วเข้าหัว 2. เข้าใจอย่างมีเหตุผล – ใช้การคิดพิจารณา เห็นด้วยใจบางๆ 3. เข้าถึงความจริงตรงหน้า – ไม่ใช่แค่คิด แต่จิตเห็นแจ้งเอง --- “เข้าใจ” – คือจุดเริ่มต้นที่สำคัญ ผู้ที่เพียง “เข้าใจ” ว่าชีวิตไม่มีอะไรเป็นของเรา รู้ว่าทุกข์มีเหตุ ทุกข์ดับได้ รู้ว่ากายใจไม่เที่ยง ไม่ควรยึด แม้แค่นี้ ก็ถือว่าเริ่ม “ต่อยกิเลสให้ถลอก” ได้แล้ว ยามทุกข์ ก็น้อมจิตระลึกว่า > “มันผ่านมาแล้ว ก็แล้วไป” “ทุกข์แค่ช่วงกลางวัน กลางคืนก็หลุดได้” นี่คือการคิดปลอบใจตนด้วยธรรม แม้ยังไม่พ้น แต่ก็ไม่หลงฟูมฟายอีก นี่แหละ “การเข้าใจ” ที่ลดพลังของกิเลสลงได้ระดับหนึ่ง --- “เข้าถึง” – คือจุดที่กิเลสเริ่มแตกจริง แต่หากวันหนึ่ง เรา – ให้จิตเป็นทาน – วางใจไว้ในศีล – ตั้งจิตอยู่กับความสงบ – แล้ว “รู้ตามความจริง” อย่างเงียบๆ ไม่คิด ไม่แปล จิตจะเริ่มเห็นว่า... > “อารมณ์แย่ๆ เกิดขึ้นตรงลมหายใจไหน” “ความดี ความสงบ เข้ามาแทนที่ตรงลมหายใจไหน” “นี่คือตัวรู้ – และสิ่งอื่นล้วนเป็นสิ่งถูกรู้” เมื่อเห็นว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร เป็นของชั่วคราว ไม่ใช่ของเรา อุปาทานจะถูกกะเทาะออก ไม่ใช่เพราะเชื่อครู หรือเพราะใช้เหตุผล แต่เพราะ “จิตเห็นเอง” อย่างประจักษ์ --- **เมื่อ ‘รู้’ เกิดจากความว่าง นิพพานจึงอยู่ตรงนั้นเอง** ทุกครั้งที่เราเข้าถึงความจริงได้ด้วยใจที่สงบ นั่นคือการลดตัวตน ลดการยึด และทุกครั้งที่ไม่มีตัวตน จิตจะแตะนิพพานชั่วขณะ แม้เพียงวินาทีเดียว ก็มีค่ากว่ารู้โลกทั้งโลก --- บทสรุปของผู้ปฏิบัติธรรม > – ฟังธรรม = ใส่เชื้อดี – คิดธรรม = ประคบใจให้อบอุ่น – เห็นธรรม = เผากิเลสตรงหน้าได้จริง เมื่อปัญญาเดินทางจาก “เข้าใจ” สู่ “เข้าถึง” จะไม่ใช่แค่หัวที่เบา แต่คือ ใจที่เป็นอิสระจริงๆ จากสิ่งที่เคยครอบงำ…มาทั้งชีวิต
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 276 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระผงโภคทรัพย์หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง
    พระผงโภคทรัพย์ หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง // ยอดพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากองค์หนึ่งแห่งเมืองอ่างทอง และเป็นเคารพนับถือและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุดองค์หนึ่ง // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเข้มขลัง เรียกเงิน บันดาลโชคลาภ ค้าขายดี โภคทรัพย์ รับโชค รับทรัพย์ เมตตามหานิยม ส่งเสริมความรักความเมตตา เป็นมหาโภคทรัพย์เจริญในโชคลาภ แคล้วคลาดปลอดภัย ป้องกันภูติผีวิญญาณร้าย >>

    ** หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง ยอดพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากองค์หนึ่งแห่งเมืองอ่างทอง และเป็นเคารพนับถือและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุดองค์หนึ่ง ท่านได้อุปสมบท ณ วัดนางใน โดยมีหลวงพ่อชม เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านเป็นพระที่เคร่งครัดพระธรรมวินัยและมีความชำนาญด้านวิปัสสนากรรมฐาน และยังเป็นผู้ชำนาญด้านเทศนาปาฐกถาอีกด้วย และท่านยังชอบจาริกธุดงธ์ทั้งใกล้และไกล เมื่อวันที่8ธ.ค.2525 ท่านได้ธุดงค์มา ณ สถานที่นี้และได้ปักกลดเห็นว่าบริเวณนี้เคยเป็นวัดร้าง เป็นสถานที่เงียบสงบน่าปฏิบัติธรรมยิ่งนัก และมีอยู่คืนหนึ่งขณะปฏิบัติธรรมได้ปรากฏนิมิตเห็นองค์หลวงปู่ขาวและหลวงปู่แดง มาบอกว่าให้ท่านช่วยบูรณะก่อสร้างวัดม่วงขึ้นมาใหม่ จึงเป็นจุดเริ่มต้น ตั้งแต่นั้นมาจนมีความเจริญรุ่งเรืองมาถึงปัจจุบัน ท่านได้สร้างวัตถุมงคลล้วนได้รัยความนิยมและมีพุทธคุณ >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    พระผงโภคทรัพย์หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง พระผงโภคทรัพย์ หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง // ยอดพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากองค์หนึ่งแห่งเมืองอ่างทอง และเป็นเคารพนับถือและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุดองค์หนึ่ง // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเข้มขลัง เรียกเงิน บันดาลโชคลาภ ค้าขายดี โภคทรัพย์ รับโชค รับทรัพย์ เมตตามหานิยม ส่งเสริมความรักความเมตตา เป็นมหาโภคทรัพย์เจริญในโชคลาภ แคล้วคลาดปลอดภัย ป้องกันภูติผีวิญญาณร้าย >> ** หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง ยอดพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากองค์หนึ่งแห่งเมืองอ่างทอง และเป็นเคารพนับถือและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุดองค์หนึ่ง ท่านได้อุปสมบท ณ วัดนางใน โดยมีหลวงพ่อชม เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านเป็นพระที่เคร่งครัดพระธรรมวินัยและมีความชำนาญด้านวิปัสสนากรรมฐาน และยังเป็นผู้ชำนาญด้านเทศนาปาฐกถาอีกด้วย และท่านยังชอบจาริกธุดงธ์ทั้งใกล้และไกล เมื่อวันที่8ธ.ค.2525 ท่านได้ธุดงค์มา ณ สถานที่นี้และได้ปักกลดเห็นว่าบริเวณนี้เคยเป็นวัดร้าง เป็นสถานที่เงียบสงบน่าปฏิบัติธรรมยิ่งนัก และมีอยู่คืนหนึ่งขณะปฏิบัติธรรมได้ปรากฏนิมิตเห็นองค์หลวงปู่ขาวและหลวงปู่แดง มาบอกว่าให้ท่านช่วยบูรณะก่อสร้างวัดม่วงขึ้นมาใหม่ จึงเป็นจุดเริ่มต้น ตั้งแต่นั้นมาจนมีความเจริญรุ่งเรืองมาถึงปัจจุบัน ท่านได้สร้างวัตถุมงคลล้วนได้รัยความนิยมและมีพุทธคุณ >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 238 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้นยิ่งใหญ่และครอบคลุม เป็นจุดหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ประโยชน์หลักๆ ได้แก่:

    - การหลุดพ้นจากทุกข์: นี่คือประโยชน์ที่สำคัญที่สุด นิพพานคือการดับทุกข์ทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นทุกข์ทางกาย ทุกข์ทางใจ หรือทุกข์จากการเวียนว่ายตายเกิด ความทุกข์ทั้งหลายที่เกิดจากกิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่นจะหมดสิ้นไป
    - ความสงบสุขที่แท้จริง: ผู้บรรลุนิพพานจะได้รับความสงบสุขอย่างแท้จริง เป็นความสงบที่ไม่ใช่เพียงแค่ความสงบชั่วคราว แต่เป็นความสงบที่ยั่งยืน ปราศจากความกังวล ความกลัว และความไม่แน่นอน
    - ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ: การบรรลุนิพพานหมายถึงการหลุดพ้นจากวงจรแห่งการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป เป็นการสิ้นสุดของการทนทุกข์ทรมานจากการเกิดใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
    - ความรู้แจ้งในธรรมชาติของความจริง: ผู้บรรลุนิพพานจะเข้าใจธรรมชาติของความจริงอย่างลึกซึ้ง เข้าใจไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) อย่างถ่องแท้ และสามารถมองโลกได้อย่างถูกต้อง ปราศจากอคติ และความยึดมั่นถือมั่น
    - ความอิสระอย่างแท้จริง: ไม่ถูกผูกมัดด้วยกิเลส ตัณหา หรือความยึดติดใดๆ เป็นอิสระอย่างแท้จริง ทั้งทางกาย และทางใจ
    - ความสุขนิรันดร์: ความสุขที่ได้จากการบรรลุนิพพานเป็นความสุขที่ยั่งยืน ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นความสุขที่แท้จริง ที่เหนือกว่าความสุขใดๆ ในโลก

    โดยสรุป ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้น เป็นประโยชน์ที่สูงสุด เป็นเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ ที่ผู้ปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาต่างแสวงหา เพื่อให้หลุดพ้นจากทุกข์ และบรรลุสภาวะแห่งความสุข ความสงบ และความอิสระอย่างแท้จริง
    ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้นยิ่งใหญ่และครอบคลุม เป็นจุดหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ประโยชน์หลักๆ ได้แก่: - การหลุดพ้นจากทุกข์: นี่คือประโยชน์ที่สำคัญที่สุด นิพพานคือการดับทุกข์ทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นทุกข์ทางกาย ทุกข์ทางใจ หรือทุกข์จากการเวียนว่ายตายเกิด ความทุกข์ทั้งหลายที่เกิดจากกิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่นจะหมดสิ้นไป - ความสงบสุขที่แท้จริง: ผู้บรรลุนิพพานจะได้รับความสงบสุขอย่างแท้จริง เป็นความสงบที่ไม่ใช่เพียงแค่ความสงบชั่วคราว แต่เป็นความสงบที่ยั่งยืน ปราศจากความกังวล ความกลัว และความไม่แน่นอน - ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ: การบรรลุนิพพานหมายถึงการหลุดพ้นจากวงจรแห่งการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป เป็นการสิ้นสุดของการทนทุกข์ทรมานจากการเกิดใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า - ความรู้แจ้งในธรรมชาติของความจริง: ผู้บรรลุนิพพานจะเข้าใจธรรมชาติของความจริงอย่างลึกซึ้ง เข้าใจไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) อย่างถ่องแท้ และสามารถมองโลกได้อย่างถูกต้อง ปราศจากอคติ และความยึดมั่นถือมั่น - ความอิสระอย่างแท้จริง: ไม่ถูกผูกมัดด้วยกิเลส ตัณหา หรือความยึดติดใดๆ เป็นอิสระอย่างแท้จริง ทั้งทางกาย และทางใจ - ความสุขนิรันดร์: ความสุขที่ได้จากการบรรลุนิพพานเป็นความสุขที่ยั่งยืน ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นความสุขที่แท้จริง ที่เหนือกว่าความสุขใดๆ ในโลก โดยสรุป ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้น เป็นประโยชน์ที่สูงสุด เป็นเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ ที่ผู้ปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาต่างแสวงหา เพื่อให้หลุดพ้นจากทุกข์ และบรรลุสภาวะแห่งความสุข ความสงบ และความอิสระอย่างแท้จริง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 237 มุมมอง 0 รีวิว
  • ท่านมีบุญกุศลให้เราได้ทำ มีเทศน์ให้ฟัง ปฏิบัติธรรมก็รีบทำกันไว้ ตากโลกนี้ไปแล้วไม่มีให้ทำนะ
    ท่านมีบุญกุศลให้เราได้ทำ มีเทศน์ให้ฟัง ปฏิบัติธรรมก็รีบทำกันไว้ ตากโลกนี้ไปแล้วไม่มีให้ทำนะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 103 มุมมอง 0 รีวิว
  • ครอบครัวผมถวายข้าวสารหอมมะลิ30กก.น้ำดื่ม30แพค น้อมถวายหลสงปู่ชัยยะ พระแม่ ณ.สถานปฏิบัติธรรมเต็มสิบ เพชรบูรณ์ ประจำเดือนเมษายน2568 สาธุ
    ครอบครัวผมถวายข้าวสารหอมมะลิ30กก.น้ำดื่ม30แพค น้อมถวายหลสงปู่ชัยยะ พระแม่ ณ.สถานปฏิบัติธรรมเต็มสิบ เพชรบูรณ์ ประจำเดือนเมษายน2568 สาธุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 221 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 950
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=950
    ชื่อบทธรรม :- แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้
    (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้
    ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น
    และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง
    กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง
    ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมาจากน้ำบ้าง
    จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป
    หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว
    ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น
    : ในสมัยใด ภิกษุ*--๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วย
    ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์
    และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย;
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า
    “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
    ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย.
    ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด”
    ดังนี้.
    --ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้
    ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง.
    เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม
    นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า,
    เธอ
    ๑--ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่;
    ๒--ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ๓--ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่;
    ๔--ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่;
    ๕--ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่.
    --ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง
    อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม #เข้าถึงปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=ปฐมชฺฌานํ
    อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    ภิกษุนั้น #บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน.

    *--๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง
    รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน,
    ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว.

    (ในกรณีแห่งการบรรลุ
    &ทุติยฌาน...
    &ตติยฌาน...
    &จตุตถฌาน...
    &อากาสานัญจายตนะ... กระทั่งถึง
    &เนวสัญญานาสัญญายตนะ...
    ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน.
    ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ
    สัญญาเวทยิตนิโรธ...นั้น
    ตรัสว่า :-
    )
    --ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง
    จึง เข้าถึง &​สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป.
    เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน
    แล.

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/351 - 354/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/351/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๕๓ - ๔๕๖/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=950
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคาย สัทธรรมลำดับที่ : 950 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=950 ชื่อบทธรรม :- แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ เนื้อความทั้งหมด :- --แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้ ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมาจากน้ำบ้าง จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :- ) --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุ*--๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย; --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย. ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด” ดังนี้. --ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ๑--ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่; ๒--ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ๓--ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ๔--ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่; ๕--ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่. --ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม #เข้าถึงปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=ปฐมชฺฌานํ อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้น #บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน. *--๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน, ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว. (ในกรณีแห่งการบรรลุ &ทุติยฌาน... &ตติยฌาน... &จตุตถฌาน... &อากาสานัญจายตนะ... กระทั่งถึง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ... ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน. ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ สัญญาเวทยิตนิโรธ...นั้น ตรัสว่า :- ) --ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง จึง เข้าถึง &​สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป. เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน แล. #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/351 - 354/244. http://etipitaka.com/read/thai/23/351/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๕๓ - ๔๕๖/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=950 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว).
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว). แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้ ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมา จากน้ำบ้าง จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :- ) ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุ๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย; ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย. ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด” ดังนี้. ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่; ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่; ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่. ๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน, ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว. ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌานอันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน. (ในกรณีแห่งการบรรลุ ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ กระทั่งถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน. ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ สัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ตรัสว่า :- ) ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป. เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 402 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกในจำนวนประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป

    จากข้อมูลปี 2024 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปถึง 42,845 คน ติดอันดับที่ 5 ของโลก แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน

    สาเหตุที่ทำให้คนไทยอายุยืน

    1. อาหารและโภชนาการ

    อาหารไทยอุดมไปด้วยสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ

    การบริโภคผักและผลไม้สด รวมถึงอาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลาและข้าวกล้อง

    2. วัฒนธรรมและวิถีชีวิต

    สังคมไทยให้ความสำคัญกับครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุมีการดูแลและได้รับความรักจากลูกหลาน

    การทำบุญและปฏิบัติธรรมช่วยให้จิตใจสงบ ลดความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของอายุยืน

    3. การแพทย์และสาธารณสุข

    ระบบสาธารณสุขของไทยเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะโครงการ "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" หรือ "บัตรทอง"

    มีแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่ทำงานร่วมกัน ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง

    แนวโน้มของประเทศไทยในอนาคต

    ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งหมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมากกว่า 20% ของประชากรทั้งหมด ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวในหลายด้าน เช่น

    การพัฒนาระบบสาธารณสุขให้รองรับผู้สูงวัย

    การออกแบบเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ

    การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยสามารถทำงานหรือมีกิจกรรมที่เสริมสร้างสุขภาพ

    จากสถิตินี้ทำให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีคนอายุยืนมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับอนาคตของประเทศ

    ที่มา: VGraps
    ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกในจำนวนประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป จากข้อมูลปี 2024 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปถึง 42,845 คน ติดอันดับที่ 5 ของโลก แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน สาเหตุที่ทำให้คนไทยอายุยืน 1. อาหารและโภชนาการ อาหารไทยอุดมไปด้วยสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ การบริโภคผักและผลไม้สด รวมถึงอาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลาและข้าวกล้อง 2. วัฒนธรรมและวิถีชีวิต สังคมไทยให้ความสำคัญกับครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุมีการดูแลและได้รับความรักจากลูกหลาน การทำบุญและปฏิบัติธรรมช่วยให้จิตใจสงบ ลดความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของอายุยืน 3. การแพทย์และสาธารณสุข ระบบสาธารณสุขของไทยเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะโครงการ "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" หรือ "บัตรทอง" มีแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่ทำงานร่วมกัน ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง แนวโน้มของประเทศไทยในอนาคต ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งหมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมากกว่า 20% ของประชากรทั้งหมด ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวในหลายด้าน เช่น การพัฒนาระบบสาธารณสุขให้รองรับผู้สูงวัย การออกแบบเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยสามารถทำงานหรือมีกิจกรรมที่เสริมสร้างสุขภาพ จากสถิตินี้ทำให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีคนอายุยืนมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับอนาคตของประเทศ ที่มา: VGraps
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 868 มุมมอง 0 รีวิว
  • คืนวันพระ ธรรมมะ การปฏิบัติธรรม ใครชอบก็ทำให้ต่อเนื่อง ยกจิตให้สูงให้งาม.
    คืนวันพระ ธรรมมะ การปฏิบัติธรรม ใครชอบก็ทำให้ต่อเนื่อง ยกจิตให้สูงให้งาม.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 176 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 935
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=935
    ชื่อบทธรรม :- ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง ไม่ประพฤติความเสมอกัน
    ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น
    http://etipitaka.com/read/pali/22/15/?keywords=อาภิสมาจาริกํ+ธมฺมํ
    : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;*--๑
    +--ครั้นไม่ทำ #อาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป )
    ให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น
    : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;
    +--ครั้นไม่ทำ เสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;
    +--ครั้นไม่ทำ ศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;
    +--ครั้นไม่ทำ สัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ มีความเคารพ มีความยำเกรง ประพฤติความเสมอกัน
    ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้ บริบูรณ์ ดังนี้ นั้น
    : นั่นเป็นฐานะที่มีได้;*--๑
    ๑--ครั้นทำอาภิสมาจาริกธรรม ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่น เป็นฐานะที่มีได้.
    ๒--ครั้นทำเสขธรรม ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่นเป็นฐานะที่มีได้;
    ๓--ครั้นทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น
    : นั่น เป็นฐานะที่มีได้;
    ๔--ครั้นทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์แล้ว #จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ดังนี้นั้น
    : นั่น เป็นฐานะที่มีได้.-

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า &​อาภิสมาจาริกธรรม
    กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน
    เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่สิ่งเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง;
    กล่าวสรุปสั้น ๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา.
    ขอให้ทุกคนทำการ &​ชำระสะสางอาภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าจะทำได้เป็นเรื่องแรกเสียก่อน

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/15-16/21.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๕-๑๖/๒๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=935
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=935
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79
    ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 935 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=935 ชื่อบทธรรม :- ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง ไม่ประพฤติความเสมอกัน ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น http://etipitaka.com/read/pali/22/15/?keywords=อาภิสมาจาริกํ+ธมฺมํ : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;*--๑ +--ครั้นไม่ทำ #อาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป ) ให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; +--ครั้นไม่ทำ เสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; +--ครั้นไม่ทำ ศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; +--ครั้นไม่ทำ สัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ มีความเคารพ มีความยำเกรง ประพฤติความเสมอกัน ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้ บริบูรณ์ ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้;*--๑ ๑--ครั้นทำอาภิสมาจาริกธรรม ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่น เป็นฐานะที่มีได้. ๒--ครั้นทำเสขธรรม ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้; ๓--ครั้นทำศีลทั้งหลาย ให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่น เป็นฐานะที่มีได้; ๔--ครั้นทำสัมมาทิฏฐิ ให้บริบูรณ์แล้ว #จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ดังนี้นั้น : นั่น เป็นฐานะที่มีได้.- *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า &​อาภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่สิ่งเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง; กล่าวสรุปสั้น ๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการ &​ชำระสะสางอาภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าจะทำได้เป็นเรื่องแรกเสียก่อน #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/15-16/21. http://etipitaka.com/read/thai/22/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๕-๑๖/๒๑. http://etipitaka.com/read/pali/22/15/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=935 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=935 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79 ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ
    -ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของสัมมาสมาธิ ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ ไม่มีความเคารพ ไม่มีความยำเกรง ไม่ประพฤติความเสมอกัน ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้;๑ ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า อาภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่สิ่งเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง; กล่าวสรุปสั้น ๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการชำระสะสางอาภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าจะทำได้เป็นเรื่องแรกเสียก่อน. ครั้นไม่ทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป ) ให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; ครั้นไม่ทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; ครั้นไม่ทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้; ครั้นไม่ทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ดังนี้ นั้น : นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ มีความเคารพ มีความยำเกรง ประพฤติความเสมอกัน ในเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้ว จักทำอาภิสมาจาริกธรรมให้ บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้; ครั้นทำอาภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำเสขธรรมให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้. ครั้นทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้; ครั้นทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้; ครั้นทำสัมมาทิฏฐิให้บริบูรณ์แล้ว จักทำสัมมาสมาธิให้บริบูรณ์ดังนี้นั้น : นั่นเป็นฐานะที่มีได้.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 421 มุมมอง 0 รีวิว
  • 📣📣To Gen-Y ,Gen X เตรียมตัวรับมือแล้วหรือยัง❓️
    ✅️การป้องกัน ดีกว่า การแก้ไข
    ✅️ป้ายยา:: มีผลิตภัณฑ์บำรุง ดูแลร่างกาย หลายอย่าง เลือกช๊อป ตามสบายเลยค่ะ
    📌ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกในจำนวนประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป

    จากข้อมูลปี 2024 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปถึง 42,845 คน ติดอันดับที่ 5 ของโลก แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน

    สาเหตุที่ทำให้คนไทยอายุยืน

    1. อาหารและโภชนาการ

    อาหารไทยอุดมไปด้วยสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ

    การบริโภคผักและผลไม้สด รวมถึงอาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลาและข้าวกล้อง

    2. วัฒนธรรมและวิถีชีวิต

    สังคมไทยให้ความสำคัญกับครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุมีการดูแลและได้รับความรักจากลูกหลาน

    การทำบุญและปฏิบัติธรรมช่วยให้จิตใจสงบ ลดความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของอายุยืน

    3. การแพทย์และสาธารณสุข

    ระบบสาธารณสุขของไทยเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะโครงการ "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" หรือ "บัตรทอง"

    มีแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่ทำงานร่วมกัน ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง

    แนวโน้มของประเทศไทยในอนาคต

    ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งหมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมากกว่า 20% ของประชากรทั้งหมด ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวในหลายด้าน เช่น

    การพัฒนาระบบสาธารณสุขให้รองรับผู้สูงวัย

    การออกแบบเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ

    การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยสามารถทำงานหรือมีกิจกรรมที่เสริมสร้างสุขภาพ

    จากสถิตินี้ทำให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีคนอายุยืนมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับอนาคตของประเทศ

    ที่มา: VGraps

    Cr.FB: โต๊ะป้าศรี CH Table
    📣📣To Gen-Y ,Gen X เตรียมตัวรับมือแล้วหรือยัง❓️ ✅️การป้องกัน ดีกว่า การแก้ไข ✅️ป้ายยา:: มีผลิตภัณฑ์บำรุง ดูแลร่างกาย หลายอย่าง เลือกช๊อป ตามสบายเลยค่ะ 📌ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกในจำนวนประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป จากข้อมูลปี 2024 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปถึง 42,845 คน ติดอันดับที่ 5 ของโลก แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน สาเหตุที่ทำให้คนไทยอายุยืน 1. อาหารและโภชนาการ อาหารไทยอุดมไปด้วยสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ การบริโภคผักและผลไม้สด รวมถึงอาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลาและข้าวกล้อง 2. วัฒนธรรมและวิถีชีวิต สังคมไทยให้ความสำคัญกับครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุมีการดูแลและได้รับความรักจากลูกหลาน การทำบุญและปฏิบัติธรรมช่วยให้จิตใจสงบ ลดความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของอายุยืน 3. การแพทย์และสาธารณสุข ระบบสาธารณสุขของไทยเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะโครงการ "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" หรือ "บัตรทอง" มีแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่ทำงานร่วมกัน ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง แนวโน้มของประเทศไทยในอนาคต ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งหมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมากกว่า 20% ของประชากรทั้งหมด ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวในหลายด้าน เช่น การพัฒนาระบบสาธารณสุขให้รองรับผู้สูงวัย การออกแบบเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยสามารถทำงานหรือมีกิจกรรมที่เสริมสร้างสุขภาพ จากสถิตินี้ทำให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีคนอายุยืนมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับอนาคตของประเทศ ที่มา: VGraps Cr.FB: โต๊ะป้าศรี CH Table
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 847 มุมมอง 0 รีวิว
  • 📣📣To Gen-Y ,Gen X เตรียมตัวรับมือแล้วหรือยัง❓️
    ✅️การป้องกัน ดีกว่า การแก้ไข
    ✅️ป้ายยา:: มีผลิตภัณฑ์บำรุง ดูแลร่างกาย หลายอย่าง เลือกช๊อป ตามสบายเลยค่ะ
    📌ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกในจำนวนประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป

    จากข้อมูลปี 2024 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปถึง 42,845 คน ติดอันดับที่ 5 ของโลก แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน

    สาเหตุที่ทำให้คนไทยอายุยืน

    1. อาหารและโภชนาการ

    อาหารไทยอุดมไปด้วยสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ

    การบริโภคผักและผลไม้สด รวมถึงอาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลาและข้าวกล้อง

    2. วัฒนธรรมและวิถีชีวิต

    สังคมไทยให้ความสำคัญกับครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุมีการดูแลและได้รับความรักจากลูกหลาน

    การทำบุญและปฏิบัติธรรมช่วยให้จิตใจสงบ ลดความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของอายุยืน

    3. การแพทย์และสาธารณสุข

    ระบบสาธารณสุขของไทยเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะโครงการ "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" หรือ "บัตรทอง"

    มีแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่ทำงานร่วมกัน ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง

    แนวโน้มของประเทศไทยในอนาคต

    ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งหมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมากกว่า 20% ของประชากรทั้งหมด ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวในหลายด้าน เช่น

    การพัฒนาระบบสาธารณสุขให้รองรับผู้สูงวัย

    การออกแบบเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ

    การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยสามารถทำงานหรือมีกิจกรรมที่เสริมสร้างสุขภาพ

    จากสถิตินี้ทำให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีคนอายุยืนมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับอนาคตของประเทศ

    ที่มา: VGraps

    Cr.FB: โต๊ะป้าศรี CH Table
    📣📣To Gen-Y ,Gen X เตรียมตัวรับมือแล้วหรือยัง❓️ ✅️การป้องกัน ดีกว่า การแก้ไข ✅️ป้ายยา:: มีผลิตภัณฑ์บำรุง ดูแลร่างกาย หลายอย่าง เลือกช๊อป ตามสบายเลยค่ะ 📌ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกในจำนวนประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป จากข้อมูลปี 2024 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปถึง 42,845 คน ติดอันดับที่ 5 ของโลก แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน สาเหตุที่ทำให้คนไทยอายุยืน 1. อาหารและโภชนาการ อาหารไทยอุดมไปด้วยสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ การบริโภคผักและผลไม้สด รวมถึงอาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลาและข้าวกล้อง 2. วัฒนธรรมและวิถีชีวิต สังคมไทยให้ความสำคัญกับครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุมีการดูแลและได้รับความรักจากลูกหลาน การทำบุญและปฏิบัติธรรมช่วยให้จิตใจสงบ ลดความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของอายุยืน 3. การแพทย์และสาธารณสุข ระบบสาธารณสุขของไทยเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะโครงการ "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" หรือ "บัตรทอง" มีแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่ทำงานร่วมกัน ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง แนวโน้มของประเทศไทยในอนาคต ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งหมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมากกว่า 20% ของประชากรทั้งหมด ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวในหลายด้าน เช่น การพัฒนาระบบสาธารณสุขให้รองรับผู้สูงวัย การออกแบบเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยสามารถทำงานหรือมีกิจกรรมที่เสริมสร้างสุขภาพ จากสถิตินี้ทำให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีคนอายุยืนมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับอนาคตของประเทศ ที่มา: VGraps Cr.FB: โต๊ะป้าศรี CH Table
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 842 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญเม็ดแตงหลวงพ่อบุญ วัดสารวัน จ.ปัตตานี ปี2535
    เหรียญเม็ดแตงหลวงพ่อบุญ วัดสารวัน อำเภอไม้แก่น จ.ปัตตานี ปี2535 //พระเกจิ ปลายด้ามขวาน ที่ศพแข็งเหมือนหิน พระดีมีประสบการณ์มาก //พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระดูง่าย หายากกครับ >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด ไล่ภูตผี และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >>

    ** หลวงพ่อบุญ ติสสโร เป็นพระภิกษุที่ประพฤติปฏิบัติพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นแบบอย่างที่ดีของพระสงฆ์ และท่านทบทวนบทสวดมนต์สม่ำเสมอ โดยใช้เวลานั่งสวดมนต์หน้าพระประธานบนกุฏิหลังใหญ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมท่านพระครูบุณยโสภณ และสนทนาธรรม พระองค์มีความเลื่อมใส ในการปฏิบัติธรรมของ ท่านพระครูบุณยโสภณ จึงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ เป็นค่าภัตตาหารประจำทุกปีๆ ละ 10,000 บาท

    เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2536 สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จวันสารวัน และมีกระแสรับสั่งผ่านผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี นายพลากร สุวรรณรัฐ และท่านเจ้าคุณสุนทรราชมานิตเถระวัดในวัง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ให้ฌาปนกิจศพท่าน พระครูบุณยโสภณ ซึ่งญาติโยมไม่กล้าทำพิธีฌาปนกิจ เพราะศพท่านมีลักษณะ แข็งเหมือนหิน ไม่เน่าเปื่อย เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ ควรเก็บไว้บูชาต่อไป หลังจากนั้น ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ได้ประชุมชี้แจงชาวบ้านญาติโยมสารวัน จนเป็นที่เข้าใจตรงกันในพระมหากรุณาธิคุณ และท่านเจ้าคุณสุนทรราชมานิตเถระได้ประชุมชาวบ้านสารวันและใกล้เคียง แล้วกำหนดวัน พระราชทานเพิลงศพท่านพระครูบุณยโสภณ ตรงกับวันที่ 10 เมษายน 2537 >>


    ** พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระดูง่าย หายากกครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญเม็ดแตงหลวงพ่อบุญ วัดสารวัน จ.ปัตตานี ปี2535 เหรียญเม็ดแตงหลวงพ่อบุญ วัดสารวัน อำเภอไม้แก่น จ.ปัตตานี ปี2535 //พระเกจิ ปลายด้ามขวาน ที่ศพแข็งเหมือนหิน พระดีมีประสบการณ์มาก //พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระดูง่าย หายากกครับ >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด ไล่ภูตผี และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >> ** หลวงพ่อบุญ ติสสโร เป็นพระภิกษุที่ประพฤติปฏิบัติพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นแบบอย่างที่ดีของพระสงฆ์ และท่านทบทวนบทสวดมนต์สม่ำเสมอ โดยใช้เวลานั่งสวดมนต์หน้าพระประธานบนกุฏิหลังใหญ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมท่านพระครูบุณยโสภณ และสนทนาธรรม พระองค์มีความเลื่อมใส ในการปฏิบัติธรรมของ ท่านพระครูบุณยโสภณ จึงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ เป็นค่าภัตตาหารประจำทุกปีๆ ละ 10,000 บาท เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2536 สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จวันสารวัน และมีกระแสรับสั่งผ่านผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี นายพลากร สุวรรณรัฐ และท่านเจ้าคุณสุนทรราชมานิตเถระวัดในวัง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา ให้ฌาปนกิจศพท่าน พระครูบุณยโสภณ ซึ่งญาติโยมไม่กล้าทำพิธีฌาปนกิจ เพราะศพท่านมีลักษณะ แข็งเหมือนหิน ไม่เน่าเปื่อย เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ ควรเก็บไว้บูชาต่อไป หลังจากนั้น ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ได้ประชุมชี้แจงชาวบ้านญาติโยมสารวัน จนเป็นที่เข้าใจตรงกันในพระมหากรุณาธิคุณ และท่านเจ้าคุณสุนทรราชมานิตเถระได้ประชุมชาวบ้านสารวันและใกล้เคียง แล้วกำหนดวัน พระราชทานเพิลงศพท่านพระครูบุณยโสภณ ตรงกับวันที่ 10 เมษายน 2537 >> ** พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระดูง่าย หายากกครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 742 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปิดตำนาน เริงสวาทสีกา คาดาดฟ้า เรือเดินสมุทร “ยันตระ” เสียชีวิตที่อเมริกา หลังปลอมพาสปอร์ต หนีคดีจนหมดอายุความ 🚢⚖️

    🔵 อวสานตำนานพระชื่อดัง กับชีวิตที่กลับกลายเป็นประวัติศาสตร์สังคมไทย เมื่อเอ่ยถึงชื่อ "ยันตระ อมโร" หรือนายวินัย ละอองสุวรรณ เชื่อว่าคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องรู้จัก ไม่ใช่เพียงเพราะเคยเป็น พระภิกษุชื่อดัง ผู้มีผู้ศรัทธามากมาย ทั้งในไทยและต่างประเทศ หากแต่เพราะชีวิตของยันตระ เต็มไปด้วยเรื่องราวดราม่า ฉาวโฉ่ และคดีความที่สั่นสะเทือนวงการสงฆ์ไทย ในยุคหนึ่ง โดยเฉพาะกรณี อาบัติปาราชิก จากข้อกล่าวหาล่วงละเมิดสีกา รวมถึงภาพลักษณ์ ที่แวดล้อมไปด้วยความศรัทธา และความขัดแย้งทางความคิด ซึ่งยังคงตามหลอกหลอน จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตในต่างแดน ✨

    🔵 จากลูกชาวบ้าน สู่พระนักปฏิบัติชื่อดัง นายวินัย ละอองสุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2494 ที่อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในครอบครัวชาวบ้านธรรมดา ก่อนอุปสมบท ได้ใช้ชีวิตเป็นนักพรตฤๅษีอยู่หลายปี ได้รับการยกย่องว่าเป็น นักปฏิบัติธรรมผู้ทรงภูมิ ทำให้มีผู้คนเลื่อมใสมากมาย

    ต่อมาในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 จึงอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในธรรมยุติกนิกาย ที่วัดรัตนาราม จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมตั้งนามให้ตัวเองว่า "ยันตระ อมโรภิกขุ" แปลว่า ผู้ไกลจากกิเลส ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้มานาน ตั้งแต่เมื่อครั้งยังเป็นนักพรตฤาษี 🧘‍♂️

    "วัดสุญญตาราม" อาณาจักรแห่งความว่าง หลังจากนั้น พระยันตระได้รับการนิมนต์ ไปเผยแผ่ธรรมในหลายประเทศ มีการจัดตั้ง "สำนักวัดสุญญตาราม" ทั้งในไทยและต่างแดนหลายแห่ง เช่น
    ✅ วัดป่าสุญญตาราม กาญจนบุรี
    ✅ วัดป่าสุญญตาราม เมืองบันดานูน ออสเตรเลีย
    ✅ วัดสุญญตาราม เอสคอนดิโด้ แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา

    บทสวดและคำสอน แนวกรรมฐานของพระยันตระ ถูกตีพิมพ์และเผยแพร่ไปในวงกว้าง หลายคนมองว่ายันตระเป็นพระที่มีความรู้ในพระไตรปิฎก และการปฏิบัติที่เข้มขลัง ✨

    🔵 คดีอื้อฉาว ที่กลายเป็นจุดเปลี่ยนของพระยันตระ ด้วยข้อกล่าวหาเรื่องเพศสัมพันธ์ และพฤติกรรมไม่เหมาะสม ในปี พ.ศ. 2537 วงการสงฆ์สะเทือน เมื่อสีกากลุ่มหนึ่ง ยื่นคำร้องต่อสมเด็จพระสังฆราช และอธิบดีกรมการศาสนา กล่าวหาพระยันตระว่า มีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศ กับสีกาหลายคน โดยมีพยานหลักฐานสนับสนุนมากมาย 📂

    ข้อกล่าวหาที่โด่งดัง
    🚢 เหตุการณ์บนเรือเดินสมุทร กล่าวหาว่า ยันตระมีเพศสัมพันธ์กับสีกา บนดาดฟ้าเรือ ระหว่างเดินทางจากสวีเดนไปฟินแลนด์

    🏡 กุฏิริมน้ำในออสเตรเลีย กล่าวหาว่า ยันตระมีพฤติกรรมจับต้องกายสตรี ด้วยความกำหนัด

    🚐 เหตุการณ์ในรถตู้ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีหลักฐานว่า ยันตระเข้าไปหาสีกาในรถตู้ และมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม

    📞 บทสนทนาทางโทรศัพท์ พร่ำพูดถึงความรัก และมีหลักฐานเทปเสียง

    👧 ข้อกล่าวหาการมีบุตรสาว นางจันทิมา มายะรังษี นำเด็กหญิงที่อ้างว่า เป็นบุตรสาวของยันตระ มาแสดงตัว พร้อมภาพถ่ายที่แสดงถึงความสัมพันธ์ ฉันท์สามีภรรยา

    💳 หลักฐานบัตรเครดิต รายการใช้จ่ายในสถานบริการทางเพศ ในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์

    🔵 มติของมหาเถรสมาคม หลังการสืบสวนสอบสวน และตรวจสอบพยานหลักฐาน มหาเถรสมาคมมีมติให้ "พระยันตระ อมโรภิกขุ" ต้องอาบัติปาราชิก ขาดจากความเป็นพระภิกษุ โดยปริยาย ❌

    แต่แทนที่จะยอมรับคำตัดสิน ยันตระกลับประกาศไม่ยอมรับมติ และอ้างว่ายังเป็นพระภิกษุอยู่ โดยเปลี่ยนจีวรเป็นสีเขียว จนได้รับฉายาใหม่จากสื่อว่า

    🦎 "จิ้งเขียว"
    🦹‍♂️ "สมียันดะ"
    🧘‍♂️ "ยันดะ"

    🔵 ปลอมพาสปอร์ต หนีคดีข้ามโลก เมื่อพ้นจากสมณเพศ ยันตระได้ทำพาสปอร์ตปลอม หลบหนีออกจากประเทศไทยไปสหรัฐอเมริกา ในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง

    📜 ตลอด 20 ปี ยันตระใช้ชีวิตที่วัดสุญญตาราม เอสคอนดิโด้ แคลิฟอร์เนีย

    ⏳ ระยะเวลาผ่านไป คดีต่าง ๆ หมดอายุความ ทำให้ยันตระาสามารถกลับประเทศไทยได้อีกครั้ง

    🔵 กลับมาเยือนเมืองไทย
    🗓️ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ยันตระเดินทางกลับประเทศไทยอีกครั้ง ที่สนามบินสุวรรณภูมิ มีลูกศิษย์รอต้อนรับจำนวนมาก

    🏠 ยันตระได้พบปะกับลูกศิษย์ตามสถานที่ต่าง ๆ รวมถึงเดินทางไปสักการะพระบรมสารีริกธาตุ หรือพระเขี้ยวแก้ว ที่ท้องสนามหลวง

    📍 จากนั้นได้กลับไปยังบ้านเกิดที่อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อกราบอดีตพระอุปัชฌาย์

    บั้นปลายที่แคลิฟอร์เนีย สุดท้ายแล้ว ยันตระกลับไปยังวัดสุญญตาราม เอสคอนดิโด้ แคลิฟอร์เนีย และเสียชีวิตในวันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2568 สิริรวมอายุ 73 ปี 51 พรรษา 🕊️

    🔵 เสียงสะท้อนจากสังคม และศรัทธาที่ไม่เสื่อมคลาย แม้จะมีข้อกล่าวหาฉาวโฉ่ แต่ก็ยังมีศิษยานุศิษย์ที่ศรัทธาในคำสอน และการปฏิบัติธรรม องพระยันตระ

    🧎‍♂️ หลายคนยังคงกราบไหว้และนับถือ 👉 แต่ในโลกโซเชียลมีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า เหมาะสมหรือไม่ที่พระรูปอื่นๆ ยังคงกราบไหว้บุคคลที่ถูกถอดจากสมณเพศ 💬

    🔵 สรุปเรื่องราวชีวิต "ยันตระ อมโร"
    1️⃣ จากนักพรตสู่พระภิกษุผู้ยิ่งใหญ่
    2️⃣ คำสอนและแนวปฏิบัติที่มีผู้ศรัทธาทั่วโลก
    3️⃣ คดีอื้อฉาวที่ทำลายชื่อเสียงและนำไปสู่การถอดถอน
    4️⃣ การหลบหนีและใช้ชีวิตในฐานะผู้ลี้ภัย
    5️⃣ การกลับบ้านเกิดหลังคดีหมดอายุความ
    6️⃣ จบบั้นปลายชีวิตในแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา

    🔵 ชีวิตของ "ยันตระ อมโร" เปรียบเหมือนนิยาย ที่มีทั้งช่วงรุ่งเรืองและตกต่ำ ด้วยพฤติกรรมและการกระทำ ที่นำไปสู่ข้อกล่าวหาหนัก แต่ก็ยังคงมีคนศรัทธาไม่เสื่อมคลาย 💔✨

    👉 เรื่องราวของยันตระ จึงเป็นบทเรียนสำหรับสังคมไทย ในเรื่องศรัทธา ปัญญา และความรับผิดชอบต่อการกระทำ

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 101152 มี.ค. 2568

    🔵 #ยันตระอมโร #ข่าวดราม่า #ประวัติพระดัง #วัดสุญญตาราม #สีกาคาดาดฟ้า #ข่าวไทยวันนี้ #เรื่องเล่าพระดัง #ข่าวพระดัง #ยันตระเสียชีวิต #ข่าวด่วนไทย
    ปิดตำนาน เริงสวาทสีกา คาดาดฟ้า เรือเดินสมุทร “ยันตระ” เสียชีวิตที่อเมริกา หลังปลอมพาสปอร์ต หนีคดีจนหมดอายุความ 🚢⚖️ 🔵 อวสานตำนานพระชื่อดัง กับชีวิตที่กลับกลายเป็นประวัติศาสตร์สังคมไทย เมื่อเอ่ยถึงชื่อ "ยันตระ อมโร" หรือนายวินัย ละอองสุวรรณ เชื่อว่าคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องรู้จัก ไม่ใช่เพียงเพราะเคยเป็น พระภิกษุชื่อดัง ผู้มีผู้ศรัทธามากมาย ทั้งในไทยและต่างประเทศ หากแต่เพราะชีวิตของยันตระ เต็มไปด้วยเรื่องราวดราม่า ฉาวโฉ่ และคดีความที่สั่นสะเทือนวงการสงฆ์ไทย ในยุคหนึ่ง โดยเฉพาะกรณี อาบัติปาราชิก จากข้อกล่าวหาล่วงละเมิดสีกา รวมถึงภาพลักษณ์ ที่แวดล้อมไปด้วยความศรัทธา และความขัดแย้งทางความคิด ซึ่งยังคงตามหลอกหลอน จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตในต่างแดน ✨ 🔵 จากลูกชาวบ้าน สู่พระนักปฏิบัติชื่อดัง นายวินัย ละอองสุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2494 ที่อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในครอบครัวชาวบ้านธรรมดา ก่อนอุปสมบท ได้ใช้ชีวิตเป็นนักพรตฤๅษีอยู่หลายปี ได้รับการยกย่องว่าเป็น นักปฏิบัติธรรมผู้ทรงภูมิ ทำให้มีผู้คนเลื่อมใสมากมาย ต่อมาในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 จึงอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในธรรมยุติกนิกาย ที่วัดรัตนาราม จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมตั้งนามให้ตัวเองว่า "ยันตระ อมโรภิกขุ" แปลว่า ผู้ไกลจากกิเลส ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้มานาน ตั้งแต่เมื่อครั้งยังเป็นนักพรตฤาษี 🧘‍♂️ "วัดสุญญตาราม" อาณาจักรแห่งความว่าง หลังจากนั้น พระยันตระได้รับการนิมนต์ ไปเผยแผ่ธรรมในหลายประเทศ มีการจัดตั้ง "สำนักวัดสุญญตาราม" ทั้งในไทยและต่างแดนหลายแห่ง เช่น ✅ วัดป่าสุญญตาราม กาญจนบุรี ✅ วัดป่าสุญญตาราม เมืองบันดานูน ออสเตรเลีย ✅ วัดสุญญตาราม เอสคอนดิโด้ แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา บทสวดและคำสอน แนวกรรมฐานของพระยันตระ ถูกตีพิมพ์และเผยแพร่ไปในวงกว้าง หลายคนมองว่ายันตระเป็นพระที่มีความรู้ในพระไตรปิฎก และการปฏิบัติที่เข้มขลัง ✨ 🔵 คดีอื้อฉาว ที่กลายเป็นจุดเปลี่ยนของพระยันตระ ด้วยข้อกล่าวหาเรื่องเพศสัมพันธ์ และพฤติกรรมไม่เหมาะสม ในปี พ.ศ. 2537 วงการสงฆ์สะเทือน เมื่อสีกากลุ่มหนึ่ง ยื่นคำร้องต่อสมเด็จพระสังฆราช และอธิบดีกรมการศาสนา กล่าวหาพระยันตระว่า มีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศ กับสีกาหลายคน โดยมีพยานหลักฐานสนับสนุนมากมาย 📂 ข้อกล่าวหาที่โด่งดัง 🚢 เหตุการณ์บนเรือเดินสมุทร กล่าวหาว่า ยันตระมีเพศสัมพันธ์กับสีกา บนดาดฟ้าเรือ ระหว่างเดินทางจากสวีเดนไปฟินแลนด์ 🏡 กุฏิริมน้ำในออสเตรเลีย กล่าวหาว่า ยันตระมีพฤติกรรมจับต้องกายสตรี ด้วยความกำหนัด 🚐 เหตุการณ์ในรถตู้ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีหลักฐานว่า ยันตระเข้าไปหาสีกาในรถตู้ และมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม 📞 บทสนทนาทางโทรศัพท์ พร่ำพูดถึงความรัก และมีหลักฐานเทปเสียง 👧 ข้อกล่าวหาการมีบุตรสาว นางจันทิมา มายะรังษี นำเด็กหญิงที่อ้างว่า เป็นบุตรสาวของยันตระ มาแสดงตัว พร้อมภาพถ่ายที่แสดงถึงความสัมพันธ์ ฉันท์สามีภรรยา 💳 หลักฐานบัตรเครดิต รายการใช้จ่ายในสถานบริการทางเพศ ในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ 🔵 มติของมหาเถรสมาคม หลังการสืบสวนสอบสวน และตรวจสอบพยานหลักฐาน มหาเถรสมาคมมีมติให้ "พระยันตระ อมโรภิกขุ" ต้องอาบัติปาราชิก ขาดจากความเป็นพระภิกษุ โดยปริยาย ❌ แต่แทนที่จะยอมรับคำตัดสิน ยันตระกลับประกาศไม่ยอมรับมติ และอ้างว่ายังเป็นพระภิกษุอยู่ โดยเปลี่ยนจีวรเป็นสีเขียว จนได้รับฉายาใหม่จากสื่อว่า 🦎 "จิ้งเขียว" 🦹‍♂️ "สมียันดะ" 🧘‍♂️ "ยันดะ" 🔵 ปลอมพาสปอร์ต หนีคดีข้ามโลก เมื่อพ้นจากสมณเพศ ยันตระได้ทำพาสปอร์ตปลอม หลบหนีออกจากประเทศไทยไปสหรัฐอเมริกา ในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง 📜 ตลอด 20 ปี ยันตระใช้ชีวิตที่วัดสุญญตาราม เอสคอนดิโด้ แคลิฟอร์เนีย ⏳ ระยะเวลาผ่านไป คดีต่าง ๆ หมดอายุความ ทำให้ยันตระาสามารถกลับประเทศไทยได้อีกครั้ง 🔵 กลับมาเยือนเมืองไทย 🗓️ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ยันตระเดินทางกลับประเทศไทยอีกครั้ง ที่สนามบินสุวรรณภูมิ มีลูกศิษย์รอต้อนรับจำนวนมาก 🏠 ยันตระได้พบปะกับลูกศิษย์ตามสถานที่ต่าง ๆ รวมถึงเดินทางไปสักการะพระบรมสารีริกธาตุ หรือพระเขี้ยวแก้ว ที่ท้องสนามหลวง 📍 จากนั้นได้กลับไปยังบ้านเกิดที่อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อกราบอดีตพระอุปัชฌาย์ บั้นปลายที่แคลิฟอร์เนีย สุดท้ายแล้ว ยันตระกลับไปยังวัดสุญญตาราม เอสคอนดิโด้ แคลิฟอร์เนีย และเสียชีวิตในวันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2568 สิริรวมอายุ 73 ปี 51 พรรษา 🕊️ 🔵 เสียงสะท้อนจากสังคม และศรัทธาที่ไม่เสื่อมคลาย แม้จะมีข้อกล่าวหาฉาวโฉ่ แต่ก็ยังมีศิษยานุศิษย์ที่ศรัทธาในคำสอน และการปฏิบัติธรรม องพระยันตระ 🧎‍♂️ หลายคนยังคงกราบไหว้และนับถือ 👉 แต่ในโลกโซเชียลมีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า เหมาะสมหรือไม่ที่พระรูปอื่นๆ ยังคงกราบไหว้บุคคลที่ถูกถอดจากสมณเพศ 💬 🔵 สรุปเรื่องราวชีวิต "ยันตระ อมโร" 1️⃣ จากนักพรตสู่พระภิกษุผู้ยิ่งใหญ่ 2️⃣ คำสอนและแนวปฏิบัติที่มีผู้ศรัทธาทั่วโลก 3️⃣ คดีอื้อฉาวที่ทำลายชื่อเสียงและนำไปสู่การถอดถอน 4️⃣ การหลบหนีและใช้ชีวิตในฐานะผู้ลี้ภัย 5️⃣ การกลับบ้านเกิดหลังคดีหมดอายุความ 6️⃣ จบบั้นปลายชีวิตในแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา 🔵 ชีวิตของ "ยันตระ อมโร" เปรียบเหมือนนิยาย ที่มีทั้งช่วงรุ่งเรืองและตกต่ำ ด้วยพฤติกรรมและการกระทำ ที่นำไปสู่ข้อกล่าวหาหนัก แต่ก็ยังคงมีคนศรัทธาไม่เสื่อมคลาย 💔✨ 👉 เรื่องราวของยันตระ จึงเป็นบทเรียนสำหรับสังคมไทย ในเรื่องศรัทธา ปัญญา และความรับผิดชอบต่อการกระทำ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 101152 มี.ค. 2568 🔵 #ยันตระอมโร #ข่าวดราม่า #ประวัติพระดัง #วัดสุญญตาราม #สีกาคาดาดฟ้า #ข่าวไทยวันนี้ #เรื่องเล่าพระดัง #ข่าวพระดัง #ยันตระเสียชีวิต #ข่าวด่วนไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1481 มุมมอง 0 รีวิว
  • สภาวธรรม หมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งทางกายและทางใจ ในขณะปฏิบัติธรรมให้ผู้ปฏิบัติธรรมรับรู้ได้ บางครั้งก็เรียกว่าอารมณ์ของกรรมฐาน หรือสภาพธรรมที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงของรูปนาม
    สภาวธรรม หมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งทางกายและทางใจ ในขณะปฏิบัติธรรมให้ผู้ปฏิบัติธรรมรับรู้ได้ บางครั้งก็เรียกว่าอารมณ์ของกรรมฐาน หรือสภาพธรรมที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงของรูปนาม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 229 มุมมอง 0 รีวิว
  • 28/2/68

    เนื้อหายาวมาก แต่คุ้มค่าแก่การอ่านค่ะ

    หมอพจนีย์ #ไม่เชื่อว่าพระพุทธเจ้ามีจริง
    แล้ววันหนึ่ง....

    แพทย์หญิงพจนีย์ พงษ์ประภาพันธ์....เรียนจบมัธยมปลายที่เตรียมอุดมฯ
    จบแพทย์ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ต่อแพทย์เฉพาะทางด้านสูตินรีเวช

    อยู่กับครอบครัวที่อบอุ่น
    มีนิสัยร่าเริงสนุกสนาน
    มีเพื่อนฝูงรักชอบหมอมากมาย

    หมอเล่าว่า เมื่อก่อนเคยใช้ชีวิตฟุ่มเฟือย เที่ยวทุกคืน อาศัยเข้าไปกินบรรยากาศ
    ดื่มพอมึน ๆ ฟังพวกเพื่อนที่กินเหล้าคุยกัน มันรู้สึกสนุก บ้าๆ บอๆ สะใจ หัวเราะกันได้ทั้งคืน
    บ่อยครั้งที่ดื่มจนถึงเช้าแล้วค่อยแยกจากกัน

    มันก็แปลกเหมือนกันที่หมอเองเป็นผู้หญิงคนเดียวที่อยู่ในเพื่อนผู้ชายกลุ่มใหญ่
    แต่ก็ไม่รู้สึกกลัวอะไร กลับรู้สึกว่า ทำแบบนี้ เก๋มาก ภูมิใจ เป็นการเข้าสังคมกลุ่มพี่น้องหมอด้วยกัน

    ก่อนหน้านั้น หมอเป็นคนห่างไกลศาสนา มองไม่เห็นความจำเป็นว่า ศาสนาจะเข้ามาช่วยชีวิตให้สมบูรณ์ได้อย่างไร
    เพราะที่เราเป็นอยู่ทุกวันนี้ ก็ดีอยู่แล้ว ทำบุญวันเกิดปีละครั้งตามประเพณี
    ก็น่าจะเพียงพอแล้ว

    ยิ่งมาเรียนจบหมอก็ยิ่งเชื่อมั่นในความเห็นของตนยิ่ง ขึ้นไปอีก คือ ไม่เชื่อว่าพระพุทธเจ้ามีจริง

    ยิ่งเรียนสูติฯ ด้วยก็ไม่เคยเห็นเด็กที่คลอดออกมาแล้วเดินได้ 7 ก้าวเลย
    มันไม่น่าจะเป็นไปได้ที่ว่าพระพุทธเจ้าพอคลอดออกมาก็เดินได้ 7 ก้าว

    ยังนั่งคุยกับเพื่อน ๆ เลยว่า
    สมัยก่อนคงมีนักคิดที่เก่ง ๆ ที่คิดจัดระเบียบทางสังคมให้ดีขึ้น จึงแต่งเรื่องพระพุทธเจ้าขึ้นมา แล้วก็ใส่ปาฏิหาริย์ เพื่อเพิ่มความศรัทธาไปเท่านั้น

    ตอนนั้นหมอคิดว่า อะไรที่พิสูจน์ด้วยวิทยาศาสตร์ไม่ได้ หรือจับต้องไม่ได้
    เราก็ไม่ควรเชื่อ

    ในที่สุด วันร้ายคืนร้ายก็มาถึง หมอล้มป่วยลงอย่างกะทันหัน ด้วยโรคหมอนรองกระดูกแตก โดยไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
    ซึ่งเจ็บปวดทรมานมาก ถึงขั้นเดินไม่ได้ หมอต้องเข้ารับการผ่าตัดและนอนพักฟื้นอย่างยาวนาน

    ฉีดยาเข้าไขสันหลังเพื่อบรรเทาปวด ก็ยังไม่หาย แม้แต่อาจารย์หมอที่ว่าเก่ง ๆ ที่เชี่ยวชาญมาก ๆ ทั่วทั้งโรงพยาบาลมารุมวินิจฉัยดูอาการ ก็ยังไม่มีใครรักษาเราได้

    ได้รักษาทุกวิถีทางแล้ว จนรู้สึกท้อแท้ หมดหวังเหมือนหมดหวังทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต กินยา ก็กินไม่ได้ ทรมานอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน น้ำหนักลดจาก 47 กิโลกรัม เหลือ 42 กิโลกรัม
    ภายใน 2-3 วัน จนอาจารย์หมอมาพูดกับเราว่า ให้ทนอย่างนี้อีก 10 ปี ทนอีก 10 ปีนะ แล้วเราก็จะชินไปเอง…

    ได้ยินประโยคนี้ เรารับไม่ได้ เลยหันมาตั้งสติใหม่ มาคิดว่า มันเกิดอะไรขึ้นกับชีวิตนี่…ผ่าตัดก็ไม่หาย ฉีดยาเข้าช่องไขสันหลัง
    น้ำไขสันหลังก็รั่ว กินยาก็แพ้

    อาจารย์หมอทุกคนและเพื่อนหมอด้วยกัน ก็มาช่วยดูแลรักษาอาการของเราทั้งหมด แต่เราก็ยังไม่หาย เราเองก็เป็นหมอด้วย
    มันช่างไม่ตรงไปตรงมาเสียเลย หมอเก่ง ๆ ก็น่าจะรักษาให้หายได้ แต่ทำไมไม่หาย…ทำไมเรื่องแบบนี้
    ต้องมาเกิดขึ้นกับเราเล่า…
    ทำไมต้องเป็นเราด้วย…

    วิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีที่ว่าแน่ๆ
    วิชาหมอที่เรียนมาเกือบ 10 ปี ก็ไม่สามารถหาสาเหตุที่แท้จริงของการป่วยของเราเองได้ ซ้ำถูกบอกได้แค่ว่าให้ทนรออีก 10 ปี แล้วจะชินไปเอง……

    มันน่าจะมีอะไร ที่อยู่เบื้องหน้าเบื้องหลังที่ยิ่งใหญ่มากกว่านี้ แล้วสิ่งนั้นคืออะไรกันแน่……

    ความรู้สึกเชื่อมั่นในทางวิทยาศาสตร์ตอนนั้น
    ได้ลดลงไปเลย เพราะเราสู้มาทุกทาง ใช้เทคโนโลยีที่ว่าทันสมัยทุกอย่างรักษามาหมด กลับสู้ไม่ได้…..

    โชคดีที่ช่วงนั้น คุณน้าแนะนำให้เราใช้พุทธศาสตร์เข้ามาช่วย
    ก็ในเมื่อเราลองมาทุกทางแล้วนี่ แต่ไม่เห็นว่าจะมีอะไรดีขึ้น ก็เลยหันมาศึกษาธรรมะ

    ลองหัดทำสมาธิ หัดทำใจให้สงบ ขยันฟังธรรมะทุกวัน…รู้สึกโปร่งโล่งเบากายเบาใจขึ้น รู้สึกเริ่มเข้าใจ
    ในเบื้องหน้าเบื้องหลังของชีวิตมากขึ้น จนทำให้รู้ว่า เบื้องหลังของการป่วยของเรา มันคือวิบากกรรมที่เราเคยทำไว้ในอดีตนั่นเอง

    ก่อนหน้านั้น มีแต่คนบอกว่า คนเราเกิดมาเพื่อใช้กรรม มาชดใช้วิบากกรรมที่เคยทำไว้ฟังแล้วก็รู้สึกว่ามันไม่น่าเกิดมาเลยนะ
    เหมือนเกิดมาเพื่อโดนลงโทษ ก็รู้สึกห่อเหี่ยว คิดว่าเราจะไม่สามารถมีโอกาส หรือหาหนทางแก้ไขได้เลยหรือ ?

    แต่พอมาศึกษาคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรงเน้นย้ำว่าเราเกิดมาเพื่อทำพระนิพพานให้แจ้ง…… พอรู้เป้าหมายอย่างนี้ ก็รู้สึกชุ่มใจ
    เกิดมาเหมือนชีวิตมีโอกาสที่จะแก้ไขและปรับปรุงในสิ่งที่เรายังบกพร่องได้

    มีคำถามในใจว่า...
    “ การรู้เพียงว่ามันคือวิบากกรรม มันจะช่วยให้อะไรดีขึ้นได้บ้างล่ะ หากยังไม่รู้ถึงวิธีการแก้ไข ”

    ด้วยคำถามนี้เอง ทำให้หมอประทับใจในคำสอนของพระพุทธเจ้าเพิ่มมากขึ้น เพราะพระพุทธเจ้าทรงสอนให้รู้ถึงวิธีแก้ไขวิบากกรรม จากหนักให้เป็นเบา
    จากเบาก็จะหาย ถ้าจะตายก็จะไปดี ด้วยการบำเพ็ญบุญกุศลให้ถึงพร้อม

    หมอขอยืนยันเลยว่า วิทยาศาสตร์และวิชาหมอไม่ได้สอนไว้เลย ซึ่งหมอได้พิสูจน์จุดนี้อย่างเด่นชัด
    ด้วยตัวเองแล้ว

    ทั้งนี้เพราะอาการของหมอหมดหนทาง
    ที่จะเยียวยาแล้ว แม้กินยา ก็ยังไม่ได้ เพราะแพ้ยา หมอจึงหันมารักษาด้วยการศึกษาและปฏิบัติธรรม
    ทำบุญทำทาน รักษาศีล ทำสมาธิ และอธิษฐานจิต...

    ในที่สุด หมอก็พบว่าอาการของหมอดีขึ้นตามลำดับอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งสามารถทำงานเป็นหมอได้ดังเดิม

    เมื่อก่อน หมอไม่เคยคิดเลยว่า พุทธศาสตร์จะเป็นศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่และมหัศจรรย์ถึงขนาดนี้ คิดแต่ว่าเป็นสิ่งเหลือเชื่อ งมงาย แต่พอมาได้ศึกษาปฏิบัติแล้ว ก็พบว่าวิทยาศาสตร์เป็นศาสตร์ที่
    ยังล้าหลังพุทธศาสตร์อยู่มาก

    อย่างเราเองเรียนหมอ วิชาแพทย์ ก็อธิบายได้แค่การเกิดของคนจนถึงตาย
    แต่ก่อนที่จะเกิด และหลังจากความตายเป็นอย่างไรนั้น วิทยาศาสตร์ตอบไม่ได้…

    การเจ็บป่วย เช่น โรคมะเร็ง ความดัน เบาหวาน หัวใจ สารพัดโรค ทางการแพทย์เองก็ไม่สามารถบอกได้แน่ชัด บอกได้แต่สมมติฐาน และพยาธิสภาพรวมๆว่า มาจากหลายสาเหตุ ยังหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้

    แต่พอมาศึกษาพุทธศาสตร์ มาหยั่งใจใคร่ครวญด้วยสมาธิ
    ในเรื่องกฎของกรรม ก็สามารถตอบได้หมด
    ถึงสาเหตุและต้นตอของโรคว่าที่เป็นโรคนี้ เพราะกรรมอะไร จากชาติไหน
    และต้องแก้ไขอย่างไร ซึ่งตัวเราเองก็อัศจรรย์ใจมาก

    ทุกวันนี้ หมอเชื่อมั่นถึงการมีจริงของพระพุทธเจ้า เชื่อว่าพระพุทธเจ้าประสูติแล้วสามารถเดินได้ 7 ก้าวจริง ๆ

    พอมาถึงทุกวันนี้ เมื่อหมอย้อนไปในอดีต ก็อดนึกขำตัวเองไม่หายว่าทำไมเราหลงคิดผิด ๆด้วยมานะทิฐิอยู่ได้ตั้งนาน ไม่ยอมเปิดโอกาสให้กับตัวเองได้ลองศึกษาก่อน จนเกือบจะสายเกินไป หรือหมดโอกาสไปเสียเลย

    แต่พอมาศึกษาจริง ๆ จึงได้เข้าใจ
    และเห็นพระคุณของพุทธศาสตร์อย่างลึกซึ้ง
    จนต่อให้วิชาทางโลก ที่ว่าเจ๋ง ๆ นั้น แม้จะไม่รู้ก็ยังไม่เป็นไร แต่หากไม่มาเรียนรู้พุทธศาสตร์แล้ว ก็จะไม่สามารถเอาตัวรอดอย่างปลอดภัยในวัฏสงสารได้เลย

    พุทธศาสตร์นั้น จะสอนให้เรารู้จักเลือกและเลี่ยงได้ สอนให้เรารู้ว่าตอนที่เรา
    ยังมีชีวิตอยู่นั้น เราควรดำเนินชีวิตอย่างไร จึงจะมีชีวิตที่ดีและมีคุณค่า ตลอดจนวิธีการที่จะกำจัดกิเลสอาสวะให้หมดสิ้นไปได้อย่างไร

    การที่จะไม่เกิดอีกนั้น ต้องทำอย่างไร ซึ่งสิ่งนี้เราสามารถเรียนรู้จากการศึกษาปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา เมื่อเราได้ศึกษาไป ปฏิบัติไป เราก็จะเข้าใจชีวิตและโลกเพิ่มมากขึ้นๆ แล้วจะมีชีวิตที่ดีขึ้นอย่างเห็นความแตกต่างได้ชัด อย่างที่ตัวของหมอเองได้ประสบมา…

    สังคมทุกวันนี้ หมอสังเกตเห็นชัดว่าเด็กที่ฝากท้องกับหมอ จำนวนของเด็กวัยรุ่น 16 – 17 ปี ที่กำลังเป็นวัยเรียนได้เพิ่มสูงขึ้นกว่าเมื่อก่อนมาก บางคนมาขอให้หมอทำแท้งให้ ซึ่งเราก็ให้ความรู้เขาไปว่ามันเป็นบาปนะ มันจะกลับมาเป็นเวรกรรมให้กับตัวเองด้วย

    ปัญหาเด็กและเยาวชนเพิ่มมากขึ้น เพราะสื่อทุกอย่างเป็นสื่อของกระแสกาม
    พ่อแม่เลี้ยงลูกด้วยรายการทีวี เด็กซึมซับพฤติกรรมอะไร ๆ โดยได้รับอิทธิลจากทีวีสูงมาก

    สังคมที่ยังขาดความรู้ทางพุทธศาสตร์ จะแก้ปัญหาให้เกิดความสันติสุขไม่ได้เลย แผนพัฒนาประเทศชาติควรต้องคำนึงถึง
    เรื่องนี้ให้มาก

    หมอคิดว่า แม้ว่าเราจะมีความรู้สูง ฉลาด ก็อย่าฉลาดอย่างงมงายอย่างที่หมอเคยเป็นมาก่อน คือ
    ไม่เปิดโอกาสให้ตัวเองได้มาศึกษาก่อน แถมยังปิดกั้นสิ่งที่ดีนั้นไว้ นั่นจะทำให้เราไม่ได้รับประโยชน์จากสิ่งที่ดีที่สุดไปตลอดชีวิตเลย

    คนเราอาจผิดพลาดในชีวิต คิดผิดด้วยความยึดมั่นในความรู้และความพร้อมของตัวเองได้ก็จริง
    แต่สิ่งที่เราไม่ควรผิดพลาดเลยสำหรับชีวิตนี้
    ก็คือ การปิดกั้นตัวเองจากสิ่งที่ยังไม่ได้ลองศึกษา
    แล้วด่วนสรุปด้วยตัวเองแทนการลงมือพิสูจน์ด้วยตัวเอง

    การเปิดโอกาส ให้ตัวเองได้ศึกษาธรรมะ เป็นการเปิดโอกาสให้เราได้ศึกษา
    วิชาที่สำคัญและจำเป็นที่สุดในชีวิต ที่มิใช่เป็นเพียงทางเลือก แต่เป็นสิ่งที่ต้องรู้ ถ้าไม่รู้ ก็เสียชาติเกิด…

    /////////

    ขอขอบคุณและอนุโมทนาบุญกับแพทย์หญิงพจนีย์ พงษ์ประภาพันธ์ ที่ให้ประสบการณ์ชีวิตเป็นธรรมทานค่ะ

    สำหรับผู้ได้อ่านแล้วเห็นว่าเป็นธรรมะที่ดีช่วยกันแชร์เป็นธรรมทานนะคะ 😊🙏✨
    28/2/68 เนื้อหายาวมาก แต่คุ้มค่าแก่การอ่านค่ะ หมอพจนีย์ #ไม่เชื่อว่าพระพุทธเจ้ามีจริง แล้ววันหนึ่ง.... แพทย์หญิงพจนีย์ พงษ์ประภาพันธ์....เรียนจบมัธยมปลายที่เตรียมอุดมฯ จบแพทย์ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ต่อแพทย์เฉพาะทางด้านสูตินรีเวช อยู่กับครอบครัวที่อบอุ่น มีนิสัยร่าเริงสนุกสนาน มีเพื่อนฝูงรักชอบหมอมากมาย หมอเล่าว่า เมื่อก่อนเคยใช้ชีวิตฟุ่มเฟือย เที่ยวทุกคืน อาศัยเข้าไปกินบรรยากาศ ดื่มพอมึน ๆ ฟังพวกเพื่อนที่กินเหล้าคุยกัน มันรู้สึกสนุก บ้าๆ บอๆ สะใจ หัวเราะกันได้ทั้งคืน บ่อยครั้งที่ดื่มจนถึงเช้าแล้วค่อยแยกจากกัน มันก็แปลกเหมือนกันที่หมอเองเป็นผู้หญิงคนเดียวที่อยู่ในเพื่อนผู้ชายกลุ่มใหญ่ แต่ก็ไม่รู้สึกกลัวอะไร กลับรู้สึกว่า ทำแบบนี้ เก๋มาก ภูมิใจ เป็นการเข้าสังคมกลุ่มพี่น้องหมอด้วยกัน ก่อนหน้านั้น หมอเป็นคนห่างไกลศาสนา มองไม่เห็นความจำเป็นว่า ศาสนาจะเข้ามาช่วยชีวิตให้สมบูรณ์ได้อย่างไร เพราะที่เราเป็นอยู่ทุกวันนี้ ก็ดีอยู่แล้ว ทำบุญวันเกิดปีละครั้งตามประเพณี ก็น่าจะเพียงพอแล้ว ยิ่งมาเรียนจบหมอก็ยิ่งเชื่อมั่นในความเห็นของตนยิ่ง ขึ้นไปอีก คือ ไม่เชื่อว่าพระพุทธเจ้ามีจริง ยิ่งเรียนสูติฯ ด้วยก็ไม่เคยเห็นเด็กที่คลอดออกมาแล้วเดินได้ 7 ก้าวเลย มันไม่น่าจะเป็นไปได้ที่ว่าพระพุทธเจ้าพอคลอดออกมาก็เดินได้ 7 ก้าว ยังนั่งคุยกับเพื่อน ๆ เลยว่า สมัยก่อนคงมีนักคิดที่เก่ง ๆ ที่คิดจัดระเบียบทางสังคมให้ดีขึ้น จึงแต่งเรื่องพระพุทธเจ้าขึ้นมา แล้วก็ใส่ปาฏิหาริย์ เพื่อเพิ่มความศรัทธาไปเท่านั้น ตอนนั้นหมอคิดว่า อะไรที่พิสูจน์ด้วยวิทยาศาสตร์ไม่ได้ หรือจับต้องไม่ได้ เราก็ไม่ควรเชื่อ ในที่สุด วันร้ายคืนร้ายก็มาถึง หมอล้มป่วยลงอย่างกะทันหัน ด้วยโรคหมอนรองกระดูกแตก โดยไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง ซึ่งเจ็บปวดทรมานมาก ถึงขั้นเดินไม่ได้ หมอต้องเข้ารับการผ่าตัดและนอนพักฟื้นอย่างยาวนาน ฉีดยาเข้าไขสันหลังเพื่อบรรเทาปวด ก็ยังไม่หาย แม้แต่อาจารย์หมอที่ว่าเก่ง ๆ ที่เชี่ยวชาญมาก ๆ ทั่วทั้งโรงพยาบาลมารุมวินิจฉัยดูอาการ ก็ยังไม่มีใครรักษาเราได้ ได้รักษาทุกวิถีทางแล้ว จนรู้สึกท้อแท้ หมดหวังเหมือนหมดหวังทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต กินยา ก็กินไม่ได้ ทรมานอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน น้ำหนักลดจาก 47 กิโลกรัม เหลือ 42 กิโลกรัม ภายใน 2-3 วัน จนอาจารย์หมอมาพูดกับเราว่า ให้ทนอย่างนี้อีก 10 ปี ทนอีก 10 ปีนะ แล้วเราก็จะชินไปเอง… ได้ยินประโยคนี้ เรารับไม่ได้ เลยหันมาตั้งสติใหม่ มาคิดว่า มันเกิดอะไรขึ้นกับชีวิตนี่…ผ่าตัดก็ไม่หาย ฉีดยาเข้าช่องไขสันหลัง น้ำไขสันหลังก็รั่ว กินยาก็แพ้ อาจารย์หมอทุกคนและเพื่อนหมอด้วยกัน ก็มาช่วยดูแลรักษาอาการของเราทั้งหมด แต่เราก็ยังไม่หาย เราเองก็เป็นหมอด้วย มันช่างไม่ตรงไปตรงมาเสียเลย หมอเก่ง ๆ ก็น่าจะรักษาให้หายได้ แต่ทำไมไม่หาย…ทำไมเรื่องแบบนี้ ต้องมาเกิดขึ้นกับเราเล่า… ทำไมต้องเป็นเราด้วย… วิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีที่ว่าแน่ๆ วิชาหมอที่เรียนมาเกือบ 10 ปี ก็ไม่สามารถหาสาเหตุที่แท้จริงของการป่วยของเราเองได้ ซ้ำถูกบอกได้แค่ว่าให้ทนรออีก 10 ปี แล้วจะชินไปเอง…… มันน่าจะมีอะไร ที่อยู่เบื้องหน้าเบื้องหลังที่ยิ่งใหญ่มากกว่านี้ แล้วสิ่งนั้นคืออะไรกันแน่…… ความรู้สึกเชื่อมั่นในทางวิทยาศาสตร์ตอนนั้น ได้ลดลงไปเลย เพราะเราสู้มาทุกทาง ใช้เทคโนโลยีที่ว่าทันสมัยทุกอย่างรักษามาหมด กลับสู้ไม่ได้….. โชคดีที่ช่วงนั้น คุณน้าแนะนำให้เราใช้พุทธศาสตร์เข้ามาช่วย ก็ในเมื่อเราลองมาทุกทางแล้วนี่ แต่ไม่เห็นว่าจะมีอะไรดีขึ้น ก็เลยหันมาศึกษาธรรมะ ลองหัดทำสมาธิ หัดทำใจให้สงบ ขยันฟังธรรมะทุกวัน…รู้สึกโปร่งโล่งเบากายเบาใจขึ้น รู้สึกเริ่มเข้าใจ ในเบื้องหน้าเบื้องหลังของชีวิตมากขึ้น จนทำให้รู้ว่า เบื้องหลังของการป่วยของเรา มันคือวิบากกรรมที่เราเคยทำไว้ในอดีตนั่นเอง ก่อนหน้านั้น มีแต่คนบอกว่า คนเราเกิดมาเพื่อใช้กรรม มาชดใช้วิบากกรรมที่เคยทำไว้ฟังแล้วก็รู้สึกว่ามันไม่น่าเกิดมาเลยนะ เหมือนเกิดมาเพื่อโดนลงโทษ ก็รู้สึกห่อเหี่ยว คิดว่าเราจะไม่สามารถมีโอกาส หรือหาหนทางแก้ไขได้เลยหรือ ? แต่พอมาศึกษาคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรงเน้นย้ำว่าเราเกิดมาเพื่อทำพระนิพพานให้แจ้ง…… พอรู้เป้าหมายอย่างนี้ ก็รู้สึกชุ่มใจ เกิดมาเหมือนชีวิตมีโอกาสที่จะแก้ไขและปรับปรุงในสิ่งที่เรายังบกพร่องได้ มีคำถามในใจว่า... “ การรู้เพียงว่ามันคือวิบากกรรม มันจะช่วยให้อะไรดีขึ้นได้บ้างล่ะ หากยังไม่รู้ถึงวิธีการแก้ไข ” ด้วยคำถามนี้เอง ทำให้หมอประทับใจในคำสอนของพระพุทธเจ้าเพิ่มมากขึ้น เพราะพระพุทธเจ้าทรงสอนให้รู้ถึงวิธีแก้ไขวิบากกรรม จากหนักให้เป็นเบา จากเบาก็จะหาย ถ้าจะตายก็จะไปดี ด้วยการบำเพ็ญบุญกุศลให้ถึงพร้อม หมอขอยืนยันเลยว่า วิทยาศาสตร์และวิชาหมอไม่ได้สอนไว้เลย ซึ่งหมอได้พิสูจน์จุดนี้อย่างเด่นชัด ด้วยตัวเองแล้ว ทั้งนี้เพราะอาการของหมอหมดหนทาง ที่จะเยียวยาแล้ว แม้กินยา ก็ยังไม่ได้ เพราะแพ้ยา หมอจึงหันมารักษาด้วยการศึกษาและปฏิบัติธรรม ทำบุญทำทาน รักษาศีล ทำสมาธิ และอธิษฐานจิต... ในที่สุด หมอก็พบว่าอาการของหมอดีขึ้นตามลำดับอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งสามารถทำงานเป็นหมอได้ดังเดิม เมื่อก่อน หมอไม่เคยคิดเลยว่า พุทธศาสตร์จะเป็นศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่และมหัศจรรย์ถึงขนาดนี้ คิดแต่ว่าเป็นสิ่งเหลือเชื่อ งมงาย แต่พอมาได้ศึกษาปฏิบัติแล้ว ก็พบว่าวิทยาศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ ยังล้าหลังพุทธศาสตร์อยู่มาก อย่างเราเองเรียนหมอ วิชาแพทย์ ก็อธิบายได้แค่การเกิดของคนจนถึงตาย แต่ก่อนที่จะเกิด และหลังจากความตายเป็นอย่างไรนั้น วิทยาศาสตร์ตอบไม่ได้… การเจ็บป่วย เช่น โรคมะเร็ง ความดัน เบาหวาน หัวใจ สารพัดโรค ทางการแพทย์เองก็ไม่สามารถบอกได้แน่ชัด บอกได้แต่สมมติฐาน และพยาธิสภาพรวมๆว่า มาจากหลายสาเหตุ ยังหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้ แต่พอมาศึกษาพุทธศาสตร์ มาหยั่งใจใคร่ครวญด้วยสมาธิ ในเรื่องกฎของกรรม ก็สามารถตอบได้หมด ถึงสาเหตุและต้นตอของโรคว่าที่เป็นโรคนี้ เพราะกรรมอะไร จากชาติไหน และต้องแก้ไขอย่างไร ซึ่งตัวเราเองก็อัศจรรย์ใจมาก ทุกวันนี้ หมอเชื่อมั่นถึงการมีจริงของพระพุทธเจ้า เชื่อว่าพระพุทธเจ้าประสูติแล้วสามารถเดินได้ 7 ก้าวจริง ๆ พอมาถึงทุกวันนี้ เมื่อหมอย้อนไปในอดีต ก็อดนึกขำตัวเองไม่หายว่าทำไมเราหลงคิดผิด ๆด้วยมานะทิฐิอยู่ได้ตั้งนาน ไม่ยอมเปิดโอกาสให้กับตัวเองได้ลองศึกษาก่อน จนเกือบจะสายเกินไป หรือหมดโอกาสไปเสียเลย แต่พอมาศึกษาจริง ๆ จึงได้เข้าใจ และเห็นพระคุณของพุทธศาสตร์อย่างลึกซึ้ง จนต่อให้วิชาทางโลก ที่ว่าเจ๋ง ๆ นั้น แม้จะไม่รู้ก็ยังไม่เป็นไร แต่หากไม่มาเรียนรู้พุทธศาสตร์แล้ว ก็จะไม่สามารถเอาตัวรอดอย่างปลอดภัยในวัฏสงสารได้เลย พุทธศาสตร์นั้น จะสอนให้เรารู้จักเลือกและเลี่ยงได้ สอนให้เรารู้ว่าตอนที่เรา ยังมีชีวิตอยู่นั้น เราควรดำเนินชีวิตอย่างไร จึงจะมีชีวิตที่ดีและมีคุณค่า ตลอดจนวิธีการที่จะกำจัดกิเลสอาสวะให้หมดสิ้นไปได้อย่างไร การที่จะไม่เกิดอีกนั้น ต้องทำอย่างไร ซึ่งสิ่งนี้เราสามารถเรียนรู้จากการศึกษาปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา เมื่อเราได้ศึกษาไป ปฏิบัติไป เราก็จะเข้าใจชีวิตและโลกเพิ่มมากขึ้นๆ แล้วจะมีชีวิตที่ดีขึ้นอย่างเห็นความแตกต่างได้ชัด อย่างที่ตัวของหมอเองได้ประสบมา… สังคมทุกวันนี้ หมอสังเกตเห็นชัดว่าเด็กที่ฝากท้องกับหมอ จำนวนของเด็กวัยรุ่น 16 – 17 ปี ที่กำลังเป็นวัยเรียนได้เพิ่มสูงขึ้นกว่าเมื่อก่อนมาก บางคนมาขอให้หมอทำแท้งให้ ซึ่งเราก็ให้ความรู้เขาไปว่ามันเป็นบาปนะ มันจะกลับมาเป็นเวรกรรมให้กับตัวเองด้วย ปัญหาเด็กและเยาวชนเพิ่มมากขึ้น เพราะสื่อทุกอย่างเป็นสื่อของกระแสกาม พ่อแม่เลี้ยงลูกด้วยรายการทีวี เด็กซึมซับพฤติกรรมอะไร ๆ โดยได้รับอิทธิลจากทีวีสูงมาก สังคมที่ยังขาดความรู้ทางพุทธศาสตร์ จะแก้ปัญหาให้เกิดความสันติสุขไม่ได้เลย แผนพัฒนาประเทศชาติควรต้องคำนึงถึง เรื่องนี้ให้มาก หมอคิดว่า แม้ว่าเราจะมีความรู้สูง ฉลาด ก็อย่าฉลาดอย่างงมงายอย่างที่หมอเคยเป็นมาก่อน คือ ไม่เปิดโอกาสให้ตัวเองได้มาศึกษาก่อน แถมยังปิดกั้นสิ่งที่ดีนั้นไว้ นั่นจะทำให้เราไม่ได้รับประโยชน์จากสิ่งที่ดีที่สุดไปตลอดชีวิตเลย คนเราอาจผิดพลาดในชีวิต คิดผิดด้วยความยึดมั่นในความรู้และความพร้อมของตัวเองได้ก็จริง แต่สิ่งที่เราไม่ควรผิดพลาดเลยสำหรับชีวิตนี้ ก็คือ การปิดกั้นตัวเองจากสิ่งที่ยังไม่ได้ลองศึกษา แล้วด่วนสรุปด้วยตัวเองแทนการลงมือพิสูจน์ด้วยตัวเอง การเปิดโอกาส ให้ตัวเองได้ศึกษาธรรมะ เป็นการเปิดโอกาสให้เราได้ศึกษา วิชาที่สำคัญและจำเป็นที่สุดในชีวิต ที่มิใช่เป็นเพียงทางเลือก แต่เป็นสิ่งที่ต้องรู้ ถ้าไม่รู้ ก็เสียชาติเกิด… ///////// ขอขอบคุณและอนุโมทนาบุญกับแพทย์หญิงพจนีย์ พงษ์ประภาพันธ์ ที่ให้ประสบการณ์ชีวิตเป็นธรรมทานค่ะ สำหรับผู้ได้อ่านแล้วเห็นว่าเป็นธรรมะที่ดีช่วยกันแชร์เป็นธรรมทานนะคะ 😊🙏✨
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1385 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🍼 "ธรรมะของคุณพ่อลูกอ่อน" – ปฏิบัติได้ 24 ชั่วโมง 🍼

    การเป็นพ่อแม่ลูกอ่อนคือ การฝึกธรรมะรูปแบบหนึ่ง
    ✔ ไม่มีเวลาเข้าวัด? ไม่เป็นไร
    ✔ ไม่มีเวลาเดินจงกรม? ไม่เป็นไร
    ✔ ไม่มีเวลาเข้าฌานลึก? ไม่เป็นไร
    เพราะ ชีวิตจริงของคุณ คือห้องฝึกธรรมที่แท้จริง!


    ---

    📌 เปลี่ยนมุมมอง → การเลี้ยงลูกเป็น "การปฏิบัติธรรม"

    ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีเวลา" → เปลี่ยนเป็น "ได้เวลาปฏิบัติตลอด 24 ชั่วโมง"
    ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีสมาธิ" → เปลี่ยนเป็น "สมาธิแบบคุณพ่อ"
    ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีโอกาสภาวนา" → เปลี่ยนเป็น "หยอดกระปุกสติไปเรื่อยๆ"

    💡 หัวใจคือ สติ!
    ✔ เราไม่ได้ปฏิบัติธรรมเพื่อแค่ "มีสมาธิ"
    ✔ แต่ปฏิบัติเพื่อให้ "มีสติรู้กาย รู้ใจ"

    🎯 "ลูก = กระจกสะท้อนจิตเราเอง"

    เวลาลูกร้อง = ใจเราร้องตามไปด้วยไหม?

    เวลาลูกงอแง = เราอดทนหรือรำคาญ?

    เวลาลูกทำผิด = เราสอนด้วยเมตตาหรืออารมณ์?


    👶 ลูกไม่ได้มาทำให้เราลำบาก
    👶 ลูกมาทดสอบว่าเรามีธรรมะพอหรือยัง!


    ---

    🌱 วิธีปฏิบัติธรรมแบบ "หยอดกระปุกสติ"

    1️⃣ เปลี่ยน "การรำคาญ" → เป็น "การรู้ตัว"

    ✅ เวลาลูกร้องดังๆ → ดูว่า "ใจเราเป็นยังไง?"
    ✅ ถ้าหงุดหงิด = รู้ตัวว่าหงุดหงิด
    ✅ ถ้าหัวเสีย = รู้ตัวว่าหัวเสีย

    🎯 "รู้ทันความรู้สึก" ก็คือ สติ แล้ว!
    🎯 ยิ่งรู้ทัน = ใจยิ่งสงบเร็ว


    ---

    2️⃣ เปลี่ยน "การถูกบังคับ" → เป็น "การยอมรับ"

    ✅ เปลี่ยนจาก "ต้องทำ" → เป็น "ได้ทำ"
    ✅ เปลี่ยนจาก "จำใจเลี้ยงลูก" → เป็น "ขอบคุณที่มีโอกาสดูแลลูก"

    💡 ใจที่ "ยอมรับ" → คือ ใจที่ไม่ทุกข์!


    ---

    3️⃣ เปลี่ยน "อารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ" → เป็น "สมาธิระหว่างวัน"

    ✅ ใช้ลมหายใจช่วย → ลูกร้อง = หายใจเข้า - หายใจออกให้ยาวขึ้น
    ✅ ทำแบบนี้ทุกครั้ง → จะค่อยๆ สร้างสมาธิในชีวิตประจำวันได้เอง

    💡 "สมาธิ" ไม่ต้องนั่งหลับตาเสมอไป
    💡 "สมาธิ" คือ การที่ใจเราสงบขึ้นระหว่างเลี้ยงลูก!


    ---

    4️⃣ เปลี่ยน "ความเหนื่อย" → เป็น "การฝึกขันติ"

    ✅ เลี้ยงลูกคือ "การฝึกความอดทนที่ดีที่สุด"
    ✅ คนที่อดทนได้กับลูก จะอดทนกับชีวิตได้ทุกเรื่อง

    💡 "ขันติ" คือ ของขวัญที่ลูกให้เรา
    💡 "ขันติ" คือ กำไรจากการเป็นพ่อแม่!


    ---

    5️⃣ เปลี่ยน "การเลี้ยงลูก" → เป็น "การเจริญเมตตา"

    ✅ ลูกคืองานที่ละเอียดอ่อน → ต้องใช้เมตตาเป็นพื้นฐาน
    ✅ หัดมองลูกด้วย "สายตาแห่งเมตตา" ทุกวัน
    ✅ ไม่ต้องรอให้ลูกโต → ใช้ทุกวินาทีเป็นโอกาสสร้างบุญ!

    💡 "เมตตา" ที่มีต่อลูก = บุญมหาศาล
    💡 ยิ่งเมตตา = ยิ่งทำให้จิตสงบได้เร็ว


    ---

    🔥 สรุป: คุณพ่อคุณแม่ก็ "ปฏิบัติธรรม" ได้ทุกวัน 🔥

    ✔ ทุกการดูแลลูก = ฝึกสติ
    ✔ ทุกการอดทน = ฝึกขันติ
    ✔ ทุกการทำด้วยใจดี = สร้างบุญ
    ✔ ทุกการหายใจรับรู้ = เจริญสมาธิ

    🎯 "ปฏิบัติธรรม ไม่ต้องหนีไปวัด"
    🎯 "แค่ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ก็เป็นทางพุทธแล้ว!"

    🔔 สุดท้าย... เมื่อลูกโตขึ้น → เขาจะซึมซับธรรมะจากเรา
    🔔 เราปฏิบัติ = ลูกได้เห็น = ลูกซึมซับสิ่งดีๆ ไปเอง

    🌱 "ธรรมะที่ดีที่สุด คือ ธรรมะที่ทำให้ชีวิตเราสงบขึ้น ทันทีที่มีสติ!" 🌱

    🍼 "ธรรมะของคุณพ่อลูกอ่อน" – ปฏิบัติได้ 24 ชั่วโมง 🍼 การเป็นพ่อแม่ลูกอ่อนคือ การฝึกธรรมะรูปแบบหนึ่ง ✔ ไม่มีเวลาเข้าวัด? ไม่เป็นไร ✔ ไม่มีเวลาเดินจงกรม? ไม่เป็นไร ✔ ไม่มีเวลาเข้าฌานลึก? ไม่เป็นไร เพราะ ชีวิตจริงของคุณ คือห้องฝึกธรรมที่แท้จริง! --- 📌 เปลี่ยนมุมมอง → การเลี้ยงลูกเป็น "การปฏิบัติธรรม" ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีเวลา" → เปลี่ยนเป็น "ได้เวลาปฏิบัติตลอด 24 ชั่วโมง" ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีสมาธิ" → เปลี่ยนเป็น "สมาธิแบบคุณพ่อ" ✅ เลิกมองว่า "ไม่มีโอกาสภาวนา" → เปลี่ยนเป็น "หยอดกระปุกสติไปเรื่อยๆ" 💡 หัวใจคือ สติ! ✔ เราไม่ได้ปฏิบัติธรรมเพื่อแค่ "มีสมาธิ" ✔ แต่ปฏิบัติเพื่อให้ "มีสติรู้กาย รู้ใจ" 🎯 "ลูก = กระจกสะท้อนจิตเราเอง" เวลาลูกร้อง = ใจเราร้องตามไปด้วยไหม? เวลาลูกงอแง = เราอดทนหรือรำคาญ? เวลาลูกทำผิด = เราสอนด้วยเมตตาหรืออารมณ์? 👶 ลูกไม่ได้มาทำให้เราลำบาก 👶 ลูกมาทดสอบว่าเรามีธรรมะพอหรือยัง! --- 🌱 วิธีปฏิบัติธรรมแบบ "หยอดกระปุกสติ" 1️⃣ เปลี่ยน "การรำคาญ" → เป็น "การรู้ตัว" ✅ เวลาลูกร้องดังๆ → ดูว่า "ใจเราเป็นยังไง?" ✅ ถ้าหงุดหงิด = รู้ตัวว่าหงุดหงิด ✅ ถ้าหัวเสีย = รู้ตัวว่าหัวเสีย 🎯 "รู้ทันความรู้สึก" ก็คือ สติ แล้ว! 🎯 ยิ่งรู้ทัน = ใจยิ่งสงบเร็ว --- 2️⃣ เปลี่ยน "การถูกบังคับ" → เป็น "การยอมรับ" ✅ เปลี่ยนจาก "ต้องทำ" → เป็น "ได้ทำ" ✅ เปลี่ยนจาก "จำใจเลี้ยงลูก" → เป็น "ขอบคุณที่มีโอกาสดูแลลูก" 💡 ใจที่ "ยอมรับ" → คือ ใจที่ไม่ทุกข์! --- 3️⃣ เปลี่ยน "อารมณ์ขึ้นๆ ลงๆ" → เป็น "สมาธิระหว่างวัน" ✅ ใช้ลมหายใจช่วย → ลูกร้อง = หายใจเข้า - หายใจออกให้ยาวขึ้น ✅ ทำแบบนี้ทุกครั้ง → จะค่อยๆ สร้างสมาธิในชีวิตประจำวันได้เอง 💡 "สมาธิ" ไม่ต้องนั่งหลับตาเสมอไป 💡 "สมาธิ" คือ การที่ใจเราสงบขึ้นระหว่างเลี้ยงลูก! --- 4️⃣ เปลี่ยน "ความเหนื่อย" → เป็น "การฝึกขันติ" ✅ เลี้ยงลูกคือ "การฝึกความอดทนที่ดีที่สุด" ✅ คนที่อดทนได้กับลูก จะอดทนกับชีวิตได้ทุกเรื่อง 💡 "ขันติ" คือ ของขวัญที่ลูกให้เรา 💡 "ขันติ" คือ กำไรจากการเป็นพ่อแม่! --- 5️⃣ เปลี่ยน "การเลี้ยงลูก" → เป็น "การเจริญเมตตา" ✅ ลูกคืองานที่ละเอียดอ่อน → ต้องใช้เมตตาเป็นพื้นฐาน ✅ หัดมองลูกด้วย "สายตาแห่งเมตตา" ทุกวัน ✅ ไม่ต้องรอให้ลูกโต → ใช้ทุกวินาทีเป็นโอกาสสร้างบุญ! 💡 "เมตตา" ที่มีต่อลูก = บุญมหาศาล 💡 ยิ่งเมตตา = ยิ่งทำให้จิตสงบได้เร็ว --- 🔥 สรุป: คุณพ่อคุณแม่ก็ "ปฏิบัติธรรม" ได้ทุกวัน 🔥 ✔ ทุกการดูแลลูก = ฝึกสติ ✔ ทุกการอดทน = ฝึกขันติ ✔ ทุกการทำด้วยใจดี = สร้างบุญ ✔ ทุกการหายใจรับรู้ = เจริญสมาธิ 🎯 "ปฏิบัติธรรม ไม่ต้องหนีไปวัด" 🎯 "แค่ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ก็เป็นทางพุทธแล้ว!" 🔔 สุดท้าย... เมื่อลูกโตขึ้น → เขาจะซึมซับธรรมะจากเรา 🔔 เราปฏิบัติ = ลูกได้เห็น = ลูกซึมซับสิ่งดีๆ ไปเอง 🌱 "ธรรมะที่ดีที่สุด คือ ธรรมะที่ทำให้ชีวิตเราสงบขึ้น ทันทีที่มีสติ!" 🌱
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 663 มุมมอง 0 รีวิว
  • 86 ปี สิ้น “ครูบาเจ้าศรีวิชัย” เจ้าตนบุญแห่งล้านนา คณะสงฆ์ลำพูนขยาดบารมี ยัดอธิกรณ์ 8 ข้อ ความขัดแย้งที่บานปลาย

    📌 ย้อนรอยประวัติศาสตร์ ไปสู่เรื่องราวของ “ครูบาเจ้าศรีวิชัย” เจ้าตนบุญแห่งล้านนา ผู้เป็นศูนย์รวมศรัทธาของชาวเหนือ แม้กระทั่งเจ้าคณะสงฆ์ในยุคสมัยนั้น ยังต้องหวั่นเกรงในบารมี จนเกิดการตั้งอธิกรณ์ถึง 8 ข้อ นำไปสู่การควบคุมตัว และขัดแย้งกันอย่างรุนแรง ในหมู่คณะสงฆ์ล้านนา

    🔎 86 ปี แห่งการมรณภาพ ของครูบาเจ้าศรีวิชัย
    หากย้อนเวลากลับไปเมื่อ 86 ปี ที่ผ่านมา ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 (เมื่อก่อนนับศักราชใหม่ ในวันสงกรานต์ ถ้าเทียบปัจจุบันจะเป็นต้นปี พ.ศ. 2482) นับเป็นปีที่พุทธศาสนิกชนไทย ต้องโศกเศร้าอย่างใหญ่หลวง เพราะเป็นวันมรณภาพของ "ครูบาเจ้าศรีวิชัย" พระเกจิชื่อดังแห่งล้านนา ผู้มีบทบาทสำคัญในการสร้าง และบูรณะพุทธศาสนสถาน ทั่วภาคเหนือของไทย

    ครูบาเจ้าศรีวิชัยละสังขาร ที่วัดบ้านปาง อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน สิริอายุได้ 60 ปี ก่อนที่ศพจะถูกตั้งไว้ ที่วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน เป็นเวลาหลายปี กระทั่งวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2489 มีการพระราชทานเพลิงศพ โดยมีประชาชนจำนวนมหาศาลเข้าร่วมพิธี และเหตุการณ์ที่น่าตกใจคือ มีผู้แย่งชิงอัฐิของครูบาเจ้าศรีวิชัย ตั้งแต่เปลวไฟยังไม่มอดสนิท

    ✨ แม้แต่ดินตรงที่ถวายพระเพลิงศพ ยังถูกขุดเอาไปบูชา แสดงให้เห็นถึงแรงศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัย

    👶 วัยเยาว์ ชาติกำเนิดของตนบุญ
    ครูบาเจ้าศรีวิชัย เกิดเมื่อวันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2421 ปีขาล ขณะที่เกิด มีพายุฟ้าร้องรุนแรง จึงถูกตั้งชื่อว่า อินตาเฟือน หรืออ้ายฟ้าร้อง บิดาชื่อ นายควาย มีเชื้อสายกะเหรี่ยงแดง มารดาชื่อ นางอุสา บ้างว่าเป็นชาวเชียงใหม่ บ้างว่าเป็นชาวเมืองลี้

    เมื่ออายุได้ 18 ปี มีความคิดว่าความยากจนของตน เกิดจากกรรมในอดีต จึงตัดสินใจออกบวช เพื่อสร้างบุญกุศล และตอบแทนบุญคุณบิดามารดา

    📌 ครูบาศรีวิชัยบรรพชาเป็นสามเณร ที่วัดบ้านปาง ก่อนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในวัย 21 ปี ที่วัดบ้านโฮ่งหลวง จังหวัดลำพูน ได้รับฉายาทางธรรมว่า "พระศรีวิชัย"

    🏯 บทบาทของครูบาเจ้าศรีวิชัย ในการพัฒนาพุทธศาสนาในล้านนา
    ครูบาเจ้าศรีวิชัย ไม่ได้เป็นเพียงพระนักปฏิบัติธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นพระนักพัฒนา สร้างและบูรณะวัดมากมาย รวมถึงเส้นทางคมนาคมสำคัญ เช่น

    ✔️ สร้างถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ
    ✔️ บูรณะวัดพระธาตุหริภุญชัย วัดจามเทวี วัดสวนดอก ฯลฯ
    ✔️ เป็นผู้นำพุทธศาสนิกชน ร่วมแรงร่วมใจ ในการก่อสร้างศาสนสถาน

    ✨ ศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัยสูงส่ง ถึงขนาดที่ว่า ชาวบ้านเดินทางมาจากทั่วทุกสารทิศ เพียงเพื่อจะได้พบหน้า

    ⚖️ ถูกตั้งอธิกรณ์ 8 ข้อ?
    การที่ครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้รับความศรัทธามาก ทำให้คณะสงฆ์ล้านนาบางกลุ่ม โดยเฉพาะเจ้าคณะจัวงหวัดลำพูน เริ่มไม่พอใจ และหวาดกลัวอิทธิพล

    ในที่สุด เจ้าคณะจังหวัดลำพูน ได้นำการตั้งอธิกรณ์ หรือข้อกล่าวหา ต่อครูบาเจ้าศรีวิชัยถึง 8 ข้อ โดยกล่าวหาว่า

    ❌ ทำตัวเป็น “ผีบุญ” อวดอิทธิฤทธิ์เหนือธรรมชาติ
    ❌ ซ่องสุมกำลังประชาชน เสมือนเป็นผู้นำลัทธิใหม่
    ❌ ขัดขืนอำนาจคณะสงฆ์ฝ่ายปกครอง
    ❌ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบสงฆ์ ของสยามประเทศ
    ❌ จัดพิธีกรรมโดยไม่ได้รับอนุญาต
    ❌ มีพฤติกรรมเสมือนเป็นผู้นำทางการเมือง

    📌 ผลจากข้อกล่าวหาเหล่านี้ ทำให้ครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกควบคุมตัวส่งไปไต่สวนที่กรุงเทพฯ

    ⚔️ ความขัดแย้งระหว่างครูบาเจ้าศรีวิชัย กับคณะสงฆ์ล้านนา
    1️⃣ คณะสงฆ์ล้านนาแบ่งเป็น 3 กลุ่ม
    ✔️ กลุ่มที่ยอมรับอำนาจของกรุงเทพฯ สนับสนุนการปกครองสงฆ์แบบรวมศูนย์
    ✔️ กลุ่มประนีประนอม ไม่ต่อต้าน แต่ก็ไม่ได้ร่วมมือเต็มที่
    ✔️ กลุ่มต่อต้านกรุงเทพฯ ต้องการคงจารีตล้านนาแบบดั้งเดิม

    📌 ครูบาศรีวิชัยถูกมองว่า เป็นผู้นำของกลุ่มที่สาม ซึ่งเป็นเหตุผลหลัก ที่ทำให้เกิดความขัดแย้งอย่างหนัก

    - สร้างถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ ครูบาศรีวิชัยเป็นผู้ริเริ่มโครงการ โดยไม่ได้ปรึกษาคณะสงฆ์ ฝ่ายปกครอง
    - พระสงฆ์กว่า 50 วัด ลาออกจากการขึ้นตรง กับคณะสงฆ์กรุงเทพฯ
    - คณะสงฆ์ฝ่ายปกครองมองว่า เป็นการกระด้างกระเดื่องต่ออำนาจ

    ⚖️ สุดท้าย ครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกส่งตัวไปกรุงเทพฯ เพื่อพิจารณาคดี และได้รับโทษ ก่อนถูกปล่อยตัวกลับล้านนา

    🙏 เจ้าตนบุญแห่งล้านนา กับแรงศรัทธาที่ไม่มีวันเสื่อมคลาย
    แม้ว่าจะต้องเผชิญกับข้อกล่าวหา และความขัดแย้งมากมาย แต่ศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัย ไม่เคยเสื่อมคลาย

    “ตนบุญ” หรือ “นักบุญ” มีความหมายเชิงยกย่องว่า เป็นนักบวชที่มีคุณสมบัติพิเศษ ในดินแดนล้านนา เป็นคติความเชื่อที่ถูกนำมาใช้ตลอดในประวัติศาสตร์ล้านนา แนวคิดดังกล่าว จะถูกหยิบนำมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การใช้อ้างความชอบธรรม ของสถาบันกษัตริย์ล้านนา จนกระทั่งสามัญชน ที่ใช้คำว่า “ตนบุญ” เพื่อช่วยเหลือชาวบ้านยามทุกข์เข็ญ เผชิญกับสภาพความสงบของบ้านเมือง

    หลังมรณภาพ ประชาชนยังคงเดินทาง มากราบไหว้สรีระ วัดหลายแห่งยังคงยกย่อง และจัดงานรำลึกถึงครูบาเจ้าศรีวิชัย ตำนาน “เจ้าตนบุญแห่งล้านนา” ยังคงถูกกล่าวขานถึงปัจจุบัน

    🛕 ปัจจุบัน รูปปั้นและอนุสรณ์สถาน ของครูบาเจ้าศรีวิชัย มีอยู่ทั่วภาคเหนือ เช่น บริเวณทางขึ้นดอยสุเทพ และวัดบ้านปาง

    ✨ แม้เวลาจะผ่านไปกว่า 86 ปี แต่บารมีของครูบาเจ้าศรีวิชัย ยังคงยิ่งใหญ่ และจะอยู่ในหัวใจ ของชาวล้านนาตลอดไป

    ✅ ครูบาเจ้าศรีวิชัย เป็นพระนักพัฒนา ที่มีบารมีสูงสุดองค์หนึ่งในล้านนา
    ✅ ถูกตั้งอธิกรณ์ 8 ข้อ เนื่องจากความขัดแย้ง กับคณะสงฆ์ฝ่ายปกครอง
    ✅ แม้จะถูกควบคุมตัว แต่ประชาชนยังคงศรัทธา นอย่างเหนียวแน่น
    ✅ ปัจจุบัน ครูบาเจ้าศรีวิชัย ยังคงเป็นสัญลักษณ์แห่งศรัทธา ของชาวล้านนา

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 211017 ก.พ. 2568

    🔖 #ครูบาศรีวิชัย #เจ้าตนบุญล้านนา #ประวัติศาสตร์ล้านนา #วัดบ้านปาง #ศรัทธาพระสงฆ์
    86 ปี สิ้น “ครูบาเจ้าศรีวิชัย” เจ้าตนบุญแห่งล้านนา คณะสงฆ์ลำพูนขยาดบารมี ยัดอธิกรณ์ 8 ข้อ ความขัดแย้งที่บานปลาย 📌 ย้อนรอยประวัติศาสตร์ ไปสู่เรื่องราวของ “ครูบาเจ้าศรีวิชัย” เจ้าตนบุญแห่งล้านนา ผู้เป็นศูนย์รวมศรัทธาของชาวเหนือ แม้กระทั่งเจ้าคณะสงฆ์ในยุคสมัยนั้น ยังต้องหวั่นเกรงในบารมี จนเกิดการตั้งอธิกรณ์ถึง 8 ข้อ นำไปสู่การควบคุมตัว และขัดแย้งกันอย่างรุนแรง ในหมู่คณะสงฆ์ล้านนา 🔎 86 ปี แห่งการมรณภาพ ของครูบาเจ้าศรีวิชัย หากย้อนเวลากลับไปเมื่อ 86 ปี ที่ผ่านมา ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 (เมื่อก่อนนับศักราชใหม่ ในวันสงกรานต์ ถ้าเทียบปัจจุบันจะเป็นต้นปี พ.ศ. 2482) นับเป็นปีที่พุทธศาสนิกชนไทย ต้องโศกเศร้าอย่างใหญ่หลวง เพราะเป็นวันมรณภาพของ "ครูบาเจ้าศรีวิชัย" พระเกจิชื่อดังแห่งล้านนา ผู้มีบทบาทสำคัญในการสร้าง และบูรณะพุทธศาสนสถาน ทั่วภาคเหนือของไทย ครูบาเจ้าศรีวิชัยละสังขาร ที่วัดบ้านปาง อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน สิริอายุได้ 60 ปี ก่อนที่ศพจะถูกตั้งไว้ ที่วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน เป็นเวลาหลายปี กระทั่งวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2489 มีการพระราชทานเพลิงศพ โดยมีประชาชนจำนวนมหาศาลเข้าร่วมพิธี และเหตุการณ์ที่น่าตกใจคือ มีผู้แย่งชิงอัฐิของครูบาเจ้าศรีวิชัย ตั้งแต่เปลวไฟยังไม่มอดสนิท ✨ แม้แต่ดินตรงที่ถวายพระเพลิงศพ ยังถูกขุดเอาไปบูชา แสดงให้เห็นถึงแรงศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัย 👶 วัยเยาว์ ชาติกำเนิดของตนบุญ ครูบาเจ้าศรีวิชัย เกิดเมื่อวันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2421 ปีขาล ขณะที่เกิด มีพายุฟ้าร้องรุนแรง จึงถูกตั้งชื่อว่า อินตาเฟือน หรืออ้ายฟ้าร้อง บิดาชื่อ นายควาย มีเชื้อสายกะเหรี่ยงแดง มารดาชื่อ นางอุสา บ้างว่าเป็นชาวเชียงใหม่ บ้างว่าเป็นชาวเมืองลี้ เมื่ออายุได้ 18 ปี มีความคิดว่าความยากจนของตน เกิดจากกรรมในอดีต จึงตัดสินใจออกบวช เพื่อสร้างบุญกุศล และตอบแทนบุญคุณบิดามารดา 📌 ครูบาศรีวิชัยบรรพชาเป็นสามเณร ที่วัดบ้านปาง ก่อนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในวัย 21 ปี ที่วัดบ้านโฮ่งหลวง จังหวัดลำพูน ได้รับฉายาทางธรรมว่า "พระศรีวิชัย" 🏯 บทบาทของครูบาเจ้าศรีวิชัย ในการพัฒนาพุทธศาสนาในล้านนา ครูบาเจ้าศรีวิชัย ไม่ได้เป็นเพียงพระนักปฏิบัติธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นพระนักพัฒนา สร้างและบูรณะวัดมากมาย รวมถึงเส้นทางคมนาคมสำคัญ เช่น ✔️ สร้างถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ ✔️ บูรณะวัดพระธาตุหริภุญชัย วัดจามเทวี วัดสวนดอก ฯลฯ ✔️ เป็นผู้นำพุทธศาสนิกชน ร่วมแรงร่วมใจ ในการก่อสร้างศาสนสถาน ✨ ศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัยสูงส่ง ถึงขนาดที่ว่า ชาวบ้านเดินทางมาจากทั่วทุกสารทิศ เพียงเพื่อจะได้พบหน้า ⚖️ ถูกตั้งอธิกรณ์ 8 ข้อ? การที่ครูบาเจ้าศรีวิชัย ได้รับความศรัทธามาก ทำให้คณะสงฆ์ล้านนาบางกลุ่ม โดยเฉพาะเจ้าคณะจัวงหวัดลำพูน เริ่มไม่พอใจ และหวาดกลัวอิทธิพล ในที่สุด เจ้าคณะจังหวัดลำพูน ได้นำการตั้งอธิกรณ์ หรือข้อกล่าวหา ต่อครูบาเจ้าศรีวิชัยถึง 8 ข้อ โดยกล่าวหาว่า ❌ ทำตัวเป็น “ผีบุญ” อวดอิทธิฤทธิ์เหนือธรรมชาติ ❌ ซ่องสุมกำลังประชาชน เสมือนเป็นผู้นำลัทธิใหม่ ❌ ขัดขืนอำนาจคณะสงฆ์ฝ่ายปกครอง ❌ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบสงฆ์ ของสยามประเทศ ❌ จัดพิธีกรรมโดยไม่ได้รับอนุญาต ❌ มีพฤติกรรมเสมือนเป็นผู้นำทางการเมือง 📌 ผลจากข้อกล่าวหาเหล่านี้ ทำให้ครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกควบคุมตัวส่งไปไต่สวนที่กรุงเทพฯ ⚔️ ความขัดแย้งระหว่างครูบาเจ้าศรีวิชัย กับคณะสงฆ์ล้านนา 1️⃣ คณะสงฆ์ล้านนาแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ✔️ กลุ่มที่ยอมรับอำนาจของกรุงเทพฯ สนับสนุนการปกครองสงฆ์แบบรวมศูนย์ ✔️ กลุ่มประนีประนอม ไม่ต่อต้าน แต่ก็ไม่ได้ร่วมมือเต็มที่ ✔️ กลุ่มต่อต้านกรุงเทพฯ ต้องการคงจารีตล้านนาแบบดั้งเดิม 📌 ครูบาศรีวิชัยถูกมองว่า เป็นผู้นำของกลุ่มที่สาม ซึ่งเป็นเหตุผลหลัก ที่ทำให้เกิดความขัดแย้งอย่างหนัก - สร้างถนนขึ้นพระธาตุดอยสุเทพ ครูบาศรีวิชัยเป็นผู้ริเริ่มโครงการ โดยไม่ได้ปรึกษาคณะสงฆ์ ฝ่ายปกครอง - พระสงฆ์กว่า 50 วัด ลาออกจากการขึ้นตรง กับคณะสงฆ์กรุงเทพฯ - คณะสงฆ์ฝ่ายปกครองมองว่า เป็นการกระด้างกระเดื่องต่ออำนาจ ⚖️ สุดท้าย ครูบาเจ้าศรีวิชัย ถูกส่งตัวไปกรุงเทพฯ เพื่อพิจารณาคดี และได้รับโทษ ก่อนถูกปล่อยตัวกลับล้านนา 🙏 เจ้าตนบุญแห่งล้านนา กับแรงศรัทธาที่ไม่มีวันเสื่อมคลาย แม้ว่าจะต้องเผชิญกับข้อกล่าวหา และความขัดแย้งมากมาย แต่ศรัทธาของประชาชน ที่มีต่อครูบาเจ้าศรีวิชัย ไม่เคยเสื่อมคลาย “ตนบุญ” หรือ “นักบุญ” มีความหมายเชิงยกย่องว่า เป็นนักบวชที่มีคุณสมบัติพิเศษ ในดินแดนล้านนา เป็นคติความเชื่อที่ถูกนำมาใช้ตลอดในประวัติศาสตร์ล้านนา แนวคิดดังกล่าว จะถูกหยิบนำมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การใช้อ้างความชอบธรรม ของสถาบันกษัตริย์ล้านนา จนกระทั่งสามัญชน ที่ใช้คำว่า “ตนบุญ” เพื่อช่วยเหลือชาวบ้านยามทุกข์เข็ญ เผชิญกับสภาพความสงบของบ้านเมือง หลังมรณภาพ ประชาชนยังคงเดินทาง มากราบไหว้สรีระ วัดหลายแห่งยังคงยกย่อง และจัดงานรำลึกถึงครูบาเจ้าศรีวิชัย ตำนาน “เจ้าตนบุญแห่งล้านนา” ยังคงถูกกล่าวขานถึงปัจจุบัน 🛕 ปัจจุบัน รูปปั้นและอนุสรณ์สถาน ของครูบาเจ้าศรีวิชัย มีอยู่ทั่วภาคเหนือ เช่น บริเวณทางขึ้นดอยสุเทพ และวัดบ้านปาง ✨ แม้เวลาจะผ่านไปกว่า 86 ปี แต่บารมีของครูบาเจ้าศรีวิชัย ยังคงยิ่งใหญ่ และจะอยู่ในหัวใจ ของชาวล้านนาตลอดไป ✅ ครูบาเจ้าศรีวิชัย เป็นพระนักพัฒนา ที่มีบารมีสูงสุดองค์หนึ่งในล้านนา ✅ ถูกตั้งอธิกรณ์ 8 ข้อ เนื่องจากความขัดแย้ง กับคณะสงฆ์ฝ่ายปกครอง ✅ แม้จะถูกควบคุมตัว แต่ประชาชนยังคงศรัทธา นอย่างเหนียวแน่น ✅ ปัจจุบัน ครูบาเจ้าศรีวิชัย ยังคงเป็นสัญลักษณ์แห่งศรัทธา ของชาวล้านนา ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 211017 ก.พ. 2568 🔖 #ครูบาศรีวิชัย #เจ้าตนบุญล้านนา #ประวัติศาสตร์ล้านนา #วัดบ้านปาง #ศรัทธาพระสงฆ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1418 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts