• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    สัทธรรมลำดับที่ : 203
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=รูป+อนตฺตา
    บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+เมโส+อตฺตาติ
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/22/44.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๒๘/๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=203
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นอนัตตา สัทธรรมลำดับที่ : 203 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นอนัตตา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นอนัตตา --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=รูป+อนตฺตา บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+เมโส+อตฺตาติ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/22/44. http://etipitaka.com/read/thai/17/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๒๘/๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=203 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    -เบญจขันธ์เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 36 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าการเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง
    สัทธรรมลำดับที่ : 201
    ชื่อบทธรรม :- เห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=201
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยสาวกพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง
    --ภิกษุ ท. ! &​รูป เป็น ทุกข์,
    สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่นไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! &​เวทนา เป็นทุกข์,
    สิ่งใด เป็นทุกข์, สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! &​สัญญา เป็นทุกข์,
    สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! &​สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์,
    สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! &​วิญญาณ เป็นทุกข์,
    สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น #ด้วยปัญญาอันชอบ
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/21/43.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/21/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘/๔๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=201
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=201
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าการเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง สัทธรรมลำดับที่ : 201 ชื่อบทธรรม :- เห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=201 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยสาวกพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง --ภิกษุ ท. ! &​รูป เป็น ทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! &​เวทนา เป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์, สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! &​สัญญา เป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! &​สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! &​วิญญาณ เป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น #ด้วยปัญญาอันชอบ http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/21/43. http://etipitaka.com/read/thai/17/21/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘/๔๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=201 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=201 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภิกษุ ท. ! รูป เป็น ทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    -ภิกษุ ท. ! รูป เป็น ทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่นไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์, สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 74 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเบญจขันธ์ เป็นทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 198
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์ เป็นทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=198
    เนื้อความทั้งหมด :
    --ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=รูป+อนิจฺ
    สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์,
    สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา
    พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;

    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ไม่เที่ยง,
    สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=เวทนา+ทุกฺข
    สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;

    --ภิกษุ ท. ! สัญญา ไม่เที่ยง,
    สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์,
    สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;

    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง,
    สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์,
    สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;

    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ไม่เที่ยง,
    สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์,
    สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=วิญฺญาณ+อนตฺตา
    สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา,
    นั่น ไม่ใช่เรา,
    นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/21/42.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/21/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘/๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=198
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=198
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเบญจขันธ์ เป็นทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 198 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์ เป็นทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=198 เนื้อความทั้งหมด : --ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=รูป+อนิจฺ สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=เวทนา+ทุกฺข สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญา ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=วิญฺญาณ+อนตฺตา สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/21/42. http://etipitaka.com/read/thai/17/21/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘/๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=198 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=198 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    -ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญา ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริง อย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์, สิ่งใด เป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ไม่เที่ยง, สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา, สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงเห็นสิ่งนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 72 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    สัทธรรมลำดับที่ : 147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น,
    ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม,
    หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น.
    ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
    และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป
    ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป
    อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ
    อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม,
    หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน
    ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น.
    ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส).

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา
    อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้แล้ว
    เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์
    ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่
    อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ”
    ดังนี้.
    เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้
    ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย.
    ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า
    ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส)
    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่
    คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก
    ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง.
    อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น
    ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน.

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง
    ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น,
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย
    ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี
    และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
    ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น
    เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา”
    ดังนี้
    แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้
    อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป
    เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า
    อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา

    (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
    อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น).

    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล.
    --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง”
    ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147
    หรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ สัทธรรมลำดับที่ : 147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 ชื่อบทธรรม :- เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ --ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เคหสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลายเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+โสมนสฺสานิ (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +-ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขาย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้ ” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่ คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=เนกฺขมฺมสิตานิ+อุเปกฺขา (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. --ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/302-305/624-630. http://etipitaka.com/read/thai/14/302/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๔๐๒-๔๐๕/๖๒๔-๖๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/14/402/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=147 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=147 หรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์
    -เวทนาคือทางไปแห่งจิตของสัตว์ ภิกษุ ท. ! คำที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวอาศัยหลักเกณฑ์คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการได้ซึ่ง รูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลก ในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนกำลังได้อยู่ก็ตาม, หรือว่าเมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนเคยได้แล้วแต่กาลก่อน ซึ่งล่วงแล้ว ดับสิ้น แปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วย เหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโสมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดความโสมนัสขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกว่า ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโสมนัสเนื่องด้วยการหลีก ออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรามองเห็นการไม่ได้ซึ่งรูป อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ น่ารื่นรมย์ใจ อันเนื่องในความเป็นเหยื่อโลกในทางตา ว่า เป็นสิ่งที่ตนไม่ได้ก็ตาม, หรือว่า เมื่อระลึกถึง รูป เช่นนั้น อันตนยังไม่เคยได้แต่กาลก่อน ซึ่งล่วงลับ ดับสิ้นแปรปรวนไปแล้วก็ตาม แล้วเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่า ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, ความโทมนัสเนื่องด้วย การหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญา อันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อนหรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้นเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้แล้ว เขา ย่อมเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลายว่า “เมื่อไรหนอ ! เราจักเข้าถึงซึ่งอายตนะนั้น แล้วแลอยู่ อันเป็นอายตนะที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย เข้าถึงซึ่งอายตนะนั้นแล้วแลอยู่ ในบัดนี้” ดังนี้. เมื่อเขาเข้าไปตั้งไว้ ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกข์ทั้งหลาย อยู่ดังนี้ ย่อมเกิดความโทมนัสขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเป็นปัจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเช่นนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกว่าความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจาก เหย้าเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ ความโทมนัสเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน (เคหสิตอุเบกขา) ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เพราะเห็นรูปด้วยตาแล้วอุเบกขาก็เกิดขึ้นแก่คนพาล ผู้หลง ผู้เขลา ผู้บุถุชน ผู้ยังไม่ชนะกิเลส ผู้ยังไม่ชนะวิบาก ผู้ไม่เห็นโทษ ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง. อุเบกขาใด ซึ่งเป็นอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่า อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับข้อว่า รูป ผิดกันแต่ ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยเหย้าเรือน ๖ อย่าง. ภิกษุ ท. ! ในเวทนาทั้งหลายเหล่านั้น, อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อคนเรารู้แจ้งถึงความเป็นของไม่เที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกำหนัดยินดี และความดับไม่เหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ ตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “รูปทั้งหลาย ในกาลก่อน หรือในบัดนี้ ก็ตาม รูปทั้งหมดเหล่านั้น เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา” ดังนี้ แล้วเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเช่นนี้ อุเบกขานั้น ไม่อาจจะเป็นไปล่วง ซึ่งวิสัยแห่งรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น ว่าอุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ อีก ๕ อย่าง ก็ตรัสทำนองเดียวกับ ข้อว่า รูป ผิดกันแต่ชื่อเรียกเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้คือ อุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน ๖ อย่างแล. ภิกษุ ท. ! คำใดที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทางไป (แห่งจิต) ของสัตว์ ๓๖ อย่าง” ดังนี้นั้น, คำนั้น เรากล่าวอาศัยความข้อนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 187 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​กหัดศึกษาว่าปราศจากความยึดถือว่าตัวตน
    สัทธรรมลำดับที่ : 579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    ชื่อบทธรรม :- ปราศจากความยึดถือว่าตัวตน อันเป็นมานะเครื่องถือตัวตน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ;
    รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้
    พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !”
    --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ(สิ่งทั้งหมด) เหล่าใด
    ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
    อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี
    เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี
    อริยสาวก

    "ได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า
    นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้
    แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ" ;

    "สพฺพงฺ วิญฺญาณงฺ
    เนตัง มม เนโสหมัสมิ น เมโส อตฺตาติ
    เอวเมตงฺ ยถาภูตงฺ สมฺมปฺปญฺญาย ทิสฺวา
    อนุปาทา วิมุตฺโต โหติ" ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/208/?keywords=วิญฺญาณํ+สมฺมปฺปญฺญาย+วิมุตฺโต

    --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตจึงจะเป็นธรรมชาติ
    ปราศจากความยึดถือว่าเรา #ปราศจากความยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้
    และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้,
    และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/164/319.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/164/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๗/๓๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=579
    หรือ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​กหัดศึกษาว่าปราศจากความยึดถือว่าตัวตน สัทธรรมลำดับที่ : 579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 ชื่อบทธรรม :- ปราศจากความยึดถือว่าตัวตน อันเป็นมานะเครื่องถือตัวตน เนื้อความทั้งหมด :- --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !” --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ(สิ่งทั้งหมด) เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวก "ได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้ แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ" ; "สพฺพงฺ วิญฺญาณงฺ เนตัง มม เนโสหมัสมิ น เมโส อตฺตาติ เอวเมตงฺ ยถาภูตงฺ สมฺมปฺปญฺญาย ทิสฺวา อนุปาทา วิมุตฺโต โหติ" ; http://etipitaka.com/read/pali/17/208/?keywords=วิญฺญาณํ+สมฺมปฺปญฺญาย+วิมุตฺโต --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตจึงจะเป็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา #ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้, และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/164/319. http://etipitaka.com/read/thai/17/164/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๗/๓๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=579 หรือ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีอวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !”
    -“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะเห็นธรรมชาติ ปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีอวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ; รู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จิตใจจึงจะก้าวล่วงมานะเสียด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไป ? พระเจ้าข้า !” กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงขึ้นว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้แล้วหลุดพ้นไปเพราะไม่ยึดมั่นนั่นแหละ ; กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จิตใจจึงจะเป็นธรรมชาติปราศจากความยึดถือว่าเรา ปราศจากความยึดถือว่าของเรา อันเป็นมานะเครื่องถือตัว ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดทั้งสิ้นได้, และจิตใจจะก้าวล่วงมานะเสียได้ด้วยดี สงบระงับได้ พ้นวิเศษไปด้วยดี, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 269 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    สัทธรรมลำดับที่ : 578
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578
    ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ
    ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !”
    --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด
    ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
    อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี
    หยาบหรือละเอียดก็ดี
    เลวหรือประณีตก็ดี
    อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี
    อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า
    นั้นไม่ใช่ตัวของเรา (เนตํ มม)
    นั่นไม่ใช่ตนเป็นเรา (เนโสหมสฺมิ)
    นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา)
    http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=เนตํ+เนโสหมสฺมิ+อตฺตา
    ดังนี้นั่นแหละ ;

    --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึง
    ไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีมโนวิญญาณนี้ และ
    ในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/163/318.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/163/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๖/๓๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/206/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=578
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหมดตัวตน ก็หมดอหังการ สัทธรรมลำดับที่ : 578 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578 ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดอหังการ เนื้อความทั้งหมด :- --หมดตัวตน ก็หมดอหังการ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !” --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า นั้นไม่ใช่ตัวของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่ตนเป็นเรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=เนตํ+เนโสหมสฺมิ+อตฺตา ดังนี้นั่นแหละ ; --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึง ไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีมโนวิญญาณนี้ และ ในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/163/318. http://etipitaka.com/read/thai/17/163/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๖/๓๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/206/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=578 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    -หมดตัวตน ก็หมดอหังการ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !” กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า นั้นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เป็นเรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) ดังนี้นั่นแหละ ; กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.
    0 Comments 0 Shares 196 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    สัทธรรมลำดับที่ : 560
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    ...
    --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก
    เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา
    เป็นผู้รับใช้พระราชา
    ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม.
    ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ
    ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล
    ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ
    ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ
    ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย
    ว่า
    “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น
    ภายในหรือภายนอกก็ดี
    หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี
    ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น
    #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ
    ดังนี้ ;

    (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น
    : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “นี้ทุกข์
    นี้ทุกขสมุทัย
    นี้ทุกขนิโรธ
    นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้.
    --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด
    อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น :
    อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ
    ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.-

    #สัมมาทิฏฐิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36
    ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สัทธรรมลำดับที่ : 560 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 ชื่อบทธรรม :- ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร ... --สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ ๑.เป็นผู้ยิงได้ไกล ๒.เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ ๓.เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกล เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=ยถาภูตํ+สมฺมปฺปญฺญาย ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น #ไม่ใช่ของเรา #ไม่ใช่เป็นเรา #ไม่ใช่อัตตาของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+น+เมโส+อตฺตาติ ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. --สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มี #สัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.- #สัมมาทิฏฐิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. 21/190/196. http://etipitaka.com/read/thai/21/190/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จกตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๗๔/๑๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/274/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=560 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=560 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36 ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร
    -ผู้ปฏิบัติเปรียบด้วยนักรบผู้เชี่ยวชาญการยิงศร สาฬ๎หะ ! เปรียบเหมือน ถ้านักรบรู้จักการใช้ลูกศรชั้นเลิศเป็นอันมาก เขาเป็นผู้ควรแก่พระราชา เป็นผู้รับใช้พระราชา ถึงการนับว่าเป็นอังคาพยพแห่งพระราชา โดยฐานะสาม. ฐานะสามอย่างไรกันเล่า ? ฐานะสาม คือ เป็นผู้ยิงได้ไกล เป็นผู้ยิงได้แม่นยำ เป็นผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้ไกลเป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาสมาธิก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มีสัมมาสมาธิ ย่อมเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบัน ที่เป็น ภายในหรือภายนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี ไกลหรือใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เป็นเรา ไม่ใช่อัตตาของเรา” ดังนี้ ; (ในกรณีแห่งเวทนาสัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). สาฬ๎หะ ! นักรบผู้ยิงได้แม่นยำเป็นฉันใด อริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้มี สัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. สาฬ๎หะ ! นักรบผู้สามารถทำลายหมู่พลอันใหญ่ได้ เป็นฉันใดอริยสาวกเป็นผู้มีสัมมาวิมุตติ ก็เป็นฉันนั้น : อริยสาวกผู้ มีสัมมาวิมุตติ ย่อมทำลายกองแห่งอวิชชาอันใหญ่ได้.
    0 Comments 0 Shares 624 Views 0 Reviews