นักวิชาการสายโปรอเมริกา ไม่อยากให้ไทยเข้าเป็นสมาชิก BRICS:
เป็นความคิดเห็นของนักวิชาการสายโปรอเมริกาที่จะต้องเข้าข้างอเมริกาครับ มี ๓ ประเด็นที่ควรพิจารณา
๑.ปรากฎการณ์ deglobalisation ก็ดี ปรากฎการณ์ dedollarisation ก็ดี เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นกระแสหลังจากการที่ผู้นำหลายชาติที่สร้างกลุ่ม BRICS ขึ้นมา โดยเฉพาะรัสเซียและจีนพัฒนาให้เกิดขึ้นโดยตรง แล้วพาชาวโลกที่เป็นสมาชิกหันไปเน้น localisation และ local currencies แทนทั้งนี้เพื่อลดการเป็นศูนย์กลางโลกของอเมริกาและอิทธิพลของกลุ่มทุนยิวไซออนิสต์ที่บงการโลกใบนี้ผ่านรัฐบาลอเมริกาอย่างไม่เป็นธรรมอยู่ตลอดเวลา
๒.จริงอยู่แม้ว่าไทยจะได้ดุลย์การค้าจากอเมริกาและอียูบางประเทศ แต่ต้องไม่ลืมว่าอเมริกาและอียูสามารถใช้ข้ออ้างเท็จ เช่น 'การละเมิดสิทธิมนุษยชน' 'รัฐบาลไทยเผด็จการ' หรือ 'การไร้เสรีภาพสื่อ' มาเป็นมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจของไทย ด้วยวิธีต่างๆ อาทิ ไม่นำเข้าอาหารทะเลจากไทย เป็นต้นได้
ด้วยเหตุนี้ การสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่ม BRICS ทำให้ประเทศไทยยังสามารถมีเอกราชในด้านนโยบายต่างประเทศและสามารถหาตลาดใหม่ๆ มารองรับ พร้อมทั้งลดผลกระทบจากมาตรการคว่ำบาตรจากอเมริกาและอียูอย่างไม่เป็นธรรมได้
๓.ทรรศนคติของอาจารย์คนนี้หากรัฐบาลไทยหลงเชื่อตามจะทำให้ประเทศไทยตกเป็นทาสของอเมริกาและอียูในเชิงนโยบายไปตลอด ผลก็คือแม้จะถูกอเมริกาและอียูคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจอย่างไร ประเทศไทยก็จะต้องก้มหน้าก้มตายอมรับต่อไปโดยไม่มีทางเลือกให้นั่นเองครับ
---------------------------------------------------------
อาจารย์อธิบายว่า วันนี้เรามีคำใหม่คือ “ภาวะถดถอยของโลกาภิวัตน์” หรือ “ภาวะที่โลกาภิวัตน์ถูกหยุด” (Deglobalization) ซึ่งสิ่งที่จะตามมาแน่ๆ คือผลกระทบกับ “ห่วงโซ่อุปทาน” (Supply Chain) ทั่วโลก
โจทย์ตรงนี้อาจจะต้องคิดต่อว่า ไทยในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานนี้ เราจะจัดวางตัวเองอย่างไรกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้
การเข้าเป็นสมาชิก BRICS และ OECD ไม่ใช่ทางเลือกของไทยในช่วงที่สงครามการค้าระลอกใหม่เตรียมปะทุและโลกาภิวัตน์กำลังถดถอย เพราะตลาดของไทยไม่ได้อยู่กับจีนและรัสเซีย แต่ผลประโยชน์ของไทยในทางเศรษฐกิจอยู่กับสหรัฐและสหภาพยุโรป BRICS จึงไม่ใช่คำตอบ และไทยไม่สามารถเล่นบทแบบอินโดนีเซีย อินเดีย หรือแอฟริกาใต้ได้ เพราะไทย “มีต้นทุนต่ำ” คือสถานะทางเศรษฐกิจการเมือง (Political Economy) ของไทยบนเวทีโลกอยู่ในระดับที่ใช้เป็นข้อต่อรองได้ไม่มากนัก การเข้าร่วมกลุ่มกับโลกใต้ (Global South) อาจไม่ได้ตอบโจทย์อย่างที่คิด
https://www.facebook.com/share/p/fVsomH5u1mcYVkPJ/
ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์
นักวิชาการสายโปรอเมริกา ไม่อยากให้ไทยเข้าเป็นสมาชิก BRICS:
เป็นความคิดเห็นของนักวิชาการสายโปรอเมริกาที่จะต้องเข้าข้างอเมริกาครับ มี ๓ ประเด็นที่ควรพิจารณา
๑.ปรากฎการณ์ deglobalisation ก็ดี ปรากฎการณ์ dedollarisation ก็ดี เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นกระแสหลังจากการที่ผู้นำหลายชาติที่สร้างกลุ่ม BRICS ขึ้นมา โดยเฉพาะรัสเซียและจีนพัฒนาให้เกิดขึ้นโดยตรง แล้วพาชาวโลกที่เป็นสมาชิกหันไปเน้น localisation และ local currencies แทนทั้งนี้เพื่อลดการเป็นศูนย์กลางโลกของอเมริกาและอิทธิพลของกลุ่มทุนยิวไซออนิสต์ที่บงการโลกใบนี้ผ่านรัฐบาลอเมริกาอย่างไม่เป็นธรรมอยู่ตลอดเวลา
๒.จริงอยู่แม้ว่าไทยจะได้ดุลย์การค้าจากอเมริกาและอียูบางประเทศ แต่ต้องไม่ลืมว่าอเมริกาและอียูสามารถใช้ข้ออ้างเท็จ เช่น 'การละเมิดสิทธิมนุษยชน' 'รัฐบาลไทยเผด็จการ' หรือ 'การไร้เสรีภาพสื่อ' มาเป็นมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจของไทย ด้วยวิธีต่างๆ อาทิ ไม่นำเข้าอาหารทะเลจากไทย เป็นต้นได้
ด้วยเหตุนี้ การสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่ม BRICS ทำให้ประเทศไทยยังสามารถมีเอกราชในด้านนโยบายต่างประเทศและสามารถหาตลาดใหม่ๆ มารองรับ พร้อมทั้งลดผลกระทบจากมาตรการคว่ำบาตรจากอเมริกาและอียูอย่างไม่เป็นธรรมได้
๓.ทรรศนคติของอาจารย์คนนี้หากรัฐบาลไทยหลงเชื่อตามจะทำให้ประเทศไทยตกเป็นทาสของอเมริกาและอียูในเชิงนโยบายไปตลอด ผลก็คือแม้จะถูกอเมริกาและอียูคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจอย่างไร ประเทศไทยก็จะต้องก้มหน้าก้มตายอมรับต่อไปโดยไม่มีทางเลือกให้นั่นเองครับ
---------------------------------------------------------
อาจารย์อธิบายว่า วันนี้เรามีคำใหม่คือ “ภาวะถดถอยของโลกาภิวัตน์” หรือ “ภาวะที่โลกาภิวัตน์ถูกหยุด” (Deglobalization) ซึ่งสิ่งที่จะตามมาแน่ๆ คือผลกระทบกับ “ห่วงโซ่อุปทาน” (Supply Chain) ทั่วโลก
โจทย์ตรงนี้อาจจะต้องคิดต่อว่า ไทยในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานนี้ เราจะจัดวางตัวเองอย่างไรกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้
การเข้าเป็นสมาชิก BRICS และ OECD ไม่ใช่ทางเลือกของไทยในช่วงที่สงครามการค้าระลอกใหม่เตรียมปะทุและโลกาภิวัตน์กำลังถดถอย เพราะตลาดของไทยไม่ได้อยู่กับจีนและรัสเซีย แต่ผลประโยชน์ของไทยในทางเศรษฐกิจอยู่กับสหรัฐและสหภาพยุโรป BRICS จึงไม่ใช่คำตอบ และไทยไม่สามารถเล่นบทแบบอินโดนีเซีย อินเดีย หรือแอฟริกาใต้ได้ เพราะไทย “มีต้นทุนต่ำ” คือสถานะทางเศรษฐกิจการเมือง (Political Economy) ของไทยบนเวทีโลกอยู่ในระดับที่ใช้เป็นข้อต่อรองได้ไม่มากนัก การเข้าร่วมกลุ่มกับโลกใต้ (Global South) อาจไม่ได้ตอบโจทย์อย่างที่คิด
https://www.facebook.com/share/p/fVsomH5u1mcYVkPJ/
ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์