• “ปานเทพ” ย้ำพระบรมราชโองการ ร.9 ทรงประกาศเขตไหล่ทวีป ปี 2516 ยึดหลักการตามอนุสัญญาเจนีวา 1958 แต่กรมสนธิสัญญาฯ กระทรวงการต่างประเทศ กล้าบังอาจแถลงข่าวตัดตอน กลายเป็นว่าเปิดทางให้ตกลงกันอย่างไรก็ได้ ชี้ MOU44 เท่ากับไทยเปลี่ยนจุดยืนจากการปฏิเสธเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชา กลายเป็นรับรู้และไม่ปฏิเสธ ซ้ำเปลี่ยนหลักการแบ่งเขตไหล่ทวีปจากการใช้บทบัญญัติของอนุสัญญาฯ กลายเป็นใช้มูลฐานอื่น

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106616

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “ปานเทพ” ย้ำพระบรมราชโองการ ร.9 ทรงประกาศเขตไหล่ทวีป ปี 2516 ยึดหลักการตามอนุสัญญาเจนีวา 1958 แต่กรมสนธิสัญญาฯ กระทรวงการต่างประเทศ กล้าบังอาจแถลงข่าวตัดตอน กลายเป็นว่าเปิดทางให้ตกลงกันอย่างไรก็ได้ ชี้ MOU44 เท่ากับไทยเปลี่ยนจุดยืนจากการปฏิเสธเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชา กลายเป็นรับรู้และไม่ปฏิเสธ ซ้ำเปลี่ยนหลักการแบ่งเขตไหล่ทวีปจากการใช้บทบัญญัติของอนุสัญญาฯ กลายเป็นใช้มูลฐานอื่น อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106616 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Angry
    Love
    26
    3 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 764 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣️ หลังจากเรียกพรรคร่วมรัฐบาลมายืนเรียงหน้าแถลงเรื่องเกาะกูด นายกฯอิ๊ง ก็ตั้งคณะกรรมการเจรจาทันที ยึดแนวทางตาม mou44 ที่คนแห่คัดค้าน อาจให้ภูมิธรรม คนคลั่งข้าวเน่าเป็นประธาน
    #7ดอกจิก
    ♣️ หลังจากเรียกพรรคร่วมรัฐบาลมายืนเรียงหน้าแถลงเรื่องเกาะกูด นายกฯอิ๊ง ก็ตั้งคณะกรรมการเจรจาทันที ยึดแนวทางตาม mou44 ที่คนแห่คัดค้าน อาจให้ภูมิธรรม คนคลั่งข้าวเน่าเป็นประธาน #7ดอกจิก
    Like
    Angry
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 90 มุมมอง 0 รีวิว
  • สหราชอาณาจักรที่เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมถดถอยต้องสูญเสียอุตสาหกรรมถ่านหิน, เหล็กกล้า, ยานยนต์ และอื่นๆอีกมากมาย

    ตอนนี้, ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้เพียงพอกับความต้องการด้วยซ้ำ

    🤣หากไม่มีภาคการเงินที่ฉ้อฉลในลอนดอน, สหราชอาณาจักรจะกลายเป็นประเทศโลกที่สาม🤣

    “อังกฤษนำเข้าไฟฟ้าในปริมาณสูงสุดเป็นประวัติการณ์”
    .
    De-industrialized UK lost its coal, steel, automobile industries and so on.

    Now, it cannot even produce enough electricity to meet its needs.

    Without the corrupt financial sector in London, the UK will be a third-world nation.

    “Britain imports record amount of electricity”
    .
    11:41 AM · Nov 5, 2024 · 6,232 Views
    https://x.com/Kanthan2030/status/1853658832704282630
    สหราชอาณาจักรที่เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมถดถอยต้องสูญเสียอุตสาหกรรมถ่านหิน, เหล็กกล้า, ยานยนต์ และอื่นๆอีกมากมาย ตอนนี้, ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้เพียงพอกับความต้องการด้วยซ้ำ 🤣หากไม่มีภาคการเงินที่ฉ้อฉลในลอนดอน, สหราชอาณาจักรจะกลายเป็นประเทศโลกที่สาม🤣 “อังกฤษนำเข้าไฟฟ้าในปริมาณสูงสุดเป็นประวัติการณ์” . De-industrialized UK lost its coal, steel, automobile industries and so on. Now, it cannot even produce enough electricity to meet its needs. Without the corrupt financial sector in London, the UK will be a third-world nation. “Britain imports record amount of electricity” . 11:41 AM · Nov 5, 2024 · 6,232 Views https://x.com/Kanthan2030/status/1853658832704282630
    Haha
    2
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • นายกฯ คาด 2 สัปดาห์ชง ครม.ตั้งคณะกรรมการ JTC ไทย-กัมพูชา ตาม MOU2544 ได้ ส่วนจะมีใครเป็นกรรมการ - "ภูมิธรรม" นั่งประธานหรือไม่ รอบอกทีเดียว

    อ่านต่อ >> https://news1live.com/detail/9670000106497

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    นายกฯ คาด 2 สัปดาห์ชง ครม.ตั้งคณะกรรมการ JTC ไทย-กัมพูชา ตาม MOU2544 ได้ ส่วนจะมีใครเป็นกรรมการ - "ภูมิธรรม" นั่งประธานหรือไม่ รอบอกทีเดียว อ่านต่อ >> https://news1live.com/detail/9670000106497 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Angry
    Like
    Wow
    9
    6 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 827 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ภูมิธรรม" ท่องคำเดิมเกาะกูดเป็นของไทย จะรักษาไว้เท่าชีวิต เชื่อ MOU44 คือกลไกที่ดีที่สุด เป็นการรักษาสิทธิในเขตแดน ยันรัฐบาลอภิสิทธิ์ไม่ได้ยกเลิก ย้อนกลุ่มการเมือง พปชร.ไปถามหัวหน้าพรรคตัวเอง เพราะเป็นคนนำเจรจาในปี 57 ยันไม่เกี่ยว "ทักษิณ" ใกล้ชิดกัมพูชา

    อ่านต่อ >> https://news1live.com/detail/9670000106432

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    "ภูมิธรรม" ท่องคำเดิมเกาะกูดเป็นของไทย จะรักษาไว้เท่าชีวิต เชื่อ MOU44 คือกลไกที่ดีที่สุด เป็นการรักษาสิทธิในเขตแดน ยันรัฐบาลอภิสิทธิ์ไม่ได้ยกเลิก ย้อนกลุ่มการเมือง พปชร.ไปถามหัวหน้าพรรคตัวเอง เพราะเป็นคนนำเจรจาในปี 57 ยันไม่เกี่ยว "ทักษิณ" ใกล้ชิดกัมพูชา อ่านต่อ >> https://news1live.com/detail/9670000106432 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Angry
    Like
    Wow
    7
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 824 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำไมกระทรวงการต่างประเทศ ถึงบังอาจแถลงข่าวตัดตอนพระบรมราชโองการสมัย รัชกาลที่ 9?/ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    จากเอกสารของกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ ได้แถลงข่าวเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2567 ในประเด็นพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน

    น่าประหลาดใจตรงที่มีการนำเสนอสไลด์ลำดับที่ 12 ในหัวข้อภาพว่า “พระบรมราชโองการการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของไทย พ.ศ. 2516“

    โดยทั้งข้อความมีการขีดเส้นว่า “สิทธิอธิปไตย” ในตอนต้นของพระบรมราชโองการ และมีการนำเสนอพระบรมราชโองการย่อหน้าที่ 3 โดยการ “เน้น”เป็นกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงว่า “จุดเริ่มต้นของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน“

    อีกทั้งยังได้มีแถบไฮไลท์สีเหลืองเพื่อเน้นย้ำว่า “เป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน”ด้วย

    การเขียนข้อความดังกล่าวอาจทำให้สังคมหรือคณะรัฐมนตรี “หลงประเด็น“ไปว่า พระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปอาจเปิดทางให้ตกลงกันอย่างไรก็ได้ อันเป็นการดำเนินการตามในรูปแบบของ MOU 2544 ก็ได้

    แต่ความจริงแล้วการนำเสนอของกระทรวงการต่างประเทศในภาพนี้ มีเจตนานำเสนอ ”เน้นไม่ครบคำ“ ตามพระบรมราชโองการที่มีข้อความในฉบับเต็มว่า

    ”จุดเริ่มต้นของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“

    ดังนั้นพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของไทย พ.ศ. 2516 จึงมีความหมายคือ

    1.ราชอาณาจักรไทย “ปฏิเสธ” การประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ที่ไม่ได้ยึดกฎหมายทะเลสากล เพราะรุกล้ำทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูดไทย รุกล้ำเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูดไทย และรุกล้ำเส้นมัธยะ (Median Line) ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุม ระหว่างเกาะกูดของไทยกับ เกาะกงของกัมพูชา ซึ่งไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958

    2.ราชอาณาจักรไทย ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปโดยยึดกฎหมายทะเลสากลในเวลานั้นคือ บทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งราชอาณาจักรไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้ว เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511

    3.หาก “จะ” มีการเจรจาเรื่องเส้นเขตไหล่ทวีปกับประเทศใกล้เคียงใน “อนาคต” จะต้องยึดมูลฐานจากฎหมายทะเลสากลเท่านั้น คือ บทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และย่อมไม่ใช่การเส้นเขตแดนตามประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ในปี พ.ศ. 2515

    และมีความหมายด้วยว่าไม่ได้เปิดโอกาสให้นักการเมืองไปเจรจากับชาติใดตามอำเภอใจ โดยไม่ยึดมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958

    การลงนามใน MOU 2544 จึงแตกต่างจาก 3 หลักการเดิมของพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของไทย พ.ศ. 2516 ดังนี้

    1.MOU 2544 ได้ทำให้พื้นที่ซึ่งเป็นของราชอาณาจักรไทยตั้งแต่ปี 2516 ซึ่ง “เคยปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ให้กลายเป็น “รับรู้” โดย “ไม่ปฏิเสธ”เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ใน MOU 2544 ซึ่งกลายเป็นพื้นที่ทับซ้อนเกินจริงไปอย่างมหาศาล และเท่ากับ

    1.1 รัฐบาลไทย “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การรุกล้ำทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูดไทย “รับรู้”และ“ไม่ปฏิเสธ”การรุกล้ำเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูดไทย และ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การรุกล้ำเส้นกลาง (Median Line) ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุม ระหว่างเกาะกูดของไทยกับ เกาะกงของกัมพูชา

    1.2 รัฐบาลไทย “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การขีดเส้นของกัมพูชาซึ่งไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958

    2. ราชอาณาจักรไทย เปลี่ยนหลักการใหญ่ ให้ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปโดยยึดบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เป็นมูลฐานเดียวในการเจรจา ให้กลายเป็น “มูลฐานอื่น” ที่ใช้การเจรจาตกลงกันระหว่างไทย-กัมพูชา ตาม MOU 2544 ที่มีการขีดเส้นพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนเกินจริง จึงไม่เป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958

    ต่างชาติพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลไทย-มาเลเซีย ที่ต่างเคารพการอ้างอนุสัญญาด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 จึงเป็นการอ้างสิทธิทับซ้อนที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ส่งผลทำให้มีการตกลงกำหนดให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วมกับไทย-มาเลเซียเป็นผลสำเร็จ

    ส่งผลทำให้พื้นที่ซึ่งแน่ชัดตามพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ว่าเป็น ทะเลอาณาเขตของราชอาณาจักรไทย เขตทะเลต่อเนื่องของราชอาณาจักรไทย และเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทย กลายเป็นพื้นที่ซึ่งยังไม่แน่ชัดว่าเป็นของราชอาณาจักรไทยหรือกัมพูชา มีจำนวนมากถึง 26,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงสิทธิการประมง สิทธิการเดินทาง และการสำรวจและการแสวงหาใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่เคยเป็นของไทย กลายเป็นพื้นที่ซึ่งของไทยหรือกัมพูชา หรือไม่ก็ให้ถอยออกจากพื้นที่ทั้ง 2 ประเทศ

    การขีดเส้นแบบนี้ โดยรับรู้และไม่ปฏิเสธ แม้อ้างว่าเกาะกูดเป็นของไทย แต่ต่อไปใครไปนั่งที่ด้านทิศใต้เกาะกูด ใครเอาเท้าจุ่มในทะเล ก็จะเกิดข้อพิพาทว่าที่เท้าจุ่มลงไปนั้น อยู่ในทะเลไทยหรือทะเลกัมพูชา

    จนเกิดข้อสงสัยว่าภาพแถลงกรมสนธิสัญญา กระทรวงการต่างประเทศ บังอาจแถลงข่าวเน้นตัดตอนพระบรมราชโองการสมัย รัชกาลที่ 9 นั้น กำลังทำตัวเป็นกรมสนธิสัญญาเพื่อประโยชน์ของรัฐบาลชาติใดกันแน่?

    ด้วยจิตคารวะ
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    5 พฤศจิกายน 2567

    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1088203086006724/?
    ทำไมกระทรวงการต่างประเทศ ถึงบังอาจแถลงข่าวตัดตอนพระบรมราชโองการสมัย รัชกาลที่ 9?/ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ จากเอกสารของกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ ได้แถลงข่าวเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2567 ในประเด็นพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน น่าประหลาดใจตรงที่มีการนำเสนอสไลด์ลำดับที่ 12 ในหัวข้อภาพว่า “พระบรมราชโองการการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของไทย พ.ศ. 2516“ โดยทั้งข้อความมีการขีดเส้นว่า “สิทธิอธิปไตย” ในตอนต้นของพระบรมราชโองการ และมีการนำเสนอพระบรมราชโองการย่อหน้าที่ 3 โดยการ “เน้น”เป็นกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงว่า “จุดเริ่มต้นของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน“ อีกทั้งยังได้มีแถบไฮไลท์สีเหลืองเพื่อเน้นย้ำว่า “เป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน”ด้วย การเขียนข้อความดังกล่าวอาจทำให้สังคมหรือคณะรัฐมนตรี “หลงประเด็น“ไปว่า พระบรมราชโองการประกาศเขตไหล่ทวีปอาจเปิดทางให้ตกลงกันอย่างไรก็ได้ อันเป็นการดำเนินการตามในรูปแบบของ MOU 2544 ก็ได้ แต่ความจริงแล้วการนำเสนอของกระทรวงการต่างประเทศในภาพนี้ มีเจตนานำเสนอ ”เน้นไม่ครบคำ“ ตามพระบรมราชโองการที่มีข้อความในฉบับเต็มว่า ”จุดเริ่มต้นของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“ ดังนั้นพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของไทย พ.ศ. 2516 จึงมีความหมายคือ 1.ราชอาณาจักรไทย “ปฏิเสธ” การประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ที่ไม่ได้ยึดกฎหมายทะเลสากล เพราะรุกล้ำทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูดไทย รุกล้ำเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูดไทย และรุกล้ำเส้นมัธยะ (Median Line) ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุม ระหว่างเกาะกูดของไทยกับ เกาะกงของกัมพูชา ซึ่งไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 2.ราชอาณาจักรไทย ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปโดยยึดกฎหมายทะเลสากลในเวลานั้นคือ บทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งราชอาณาจักรไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้ว เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 3.หาก “จะ” มีการเจรจาเรื่องเส้นเขตไหล่ทวีปกับประเทศใกล้เคียงใน “อนาคต” จะต้องยึดมูลฐานจากฎหมายทะเลสากลเท่านั้น คือ บทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และย่อมไม่ใช่การเส้นเขตแดนตามประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ในปี พ.ศ. 2515 และมีความหมายด้วยว่าไม่ได้เปิดโอกาสให้นักการเมืองไปเจรจากับชาติใดตามอำเภอใจ โดยไม่ยึดมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 การลงนามใน MOU 2544 จึงแตกต่างจาก 3 หลักการเดิมของพระบรมราชโองการ ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของไทย พ.ศ. 2516 ดังนี้ 1.MOU 2544 ได้ทำให้พื้นที่ซึ่งเป็นของราชอาณาจักรไทยตั้งแต่ปี 2516 ซึ่ง “เคยปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ให้กลายเป็น “รับรู้” โดย “ไม่ปฏิเสธ”เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ใน MOU 2544 ซึ่งกลายเป็นพื้นที่ทับซ้อนเกินจริงไปอย่างมหาศาล และเท่ากับ 1.1 รัฐบาลไทย “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การรุกล้ำทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูดไทย “รับรู้”และ“ไม่ปฏิเสธ”การรุกล้ำเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลรอบเกาะกูดไทย และ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การรุกล้ำเส้นกลาง (Median Line) ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุม ระหว่างเกาะกูดของไทยกับ เกาะกงของกัมพูชา 1.2 รัฐบาลไทย “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การขีดเส้นของกัมพูชาซึ่งไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 2. ราชอาณาจักรไทย เปลี่ยนหลักการใหญ่ ให้ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปโดยยึดบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เป็นมูลฐานเดียวในการเจรจา ให้กลายเป็น “มูลฐานอื่น” ที่ใช้การเจรจาตกลงกันระหว่างไทย-กัมพูชา ตาม MOU 2544 ที่มีการขีดเส้นพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนเกินจริง จึงไม่เป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ต่างชาติพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลไทย-มาเลเซีย ที่ต่างเคารพการอ้างอนุสัญญาด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 จึงเป็นการอ้างสิทธิทับซ้อนที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ส่งผลทำให้มีการตกลงกำหนดให้เป็นพื้นที่พัฒนาร่วมกับไทย-มาเลเซียเป็นผลสำเร็จ ส่งผลทำให้พื้นที่ซึ่งแน่ชัดตามพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ว่าเป็น ทะเลอาณาเขตของราชอาณาจักรไทย เขตทะเลต่อเนื่องของราชอาณาจักรไทย และเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทย กลายเป็นพื้นที่ซึ่งยังไม่แน่ชัดว่าเป็นของราชอาณาจักรไทยหรือกัมพูชา มีจำนวนมากถึง 26,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงสิทธิการประมง สิทธิการเดินทาง และการสำรวจและการแสวงหาใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่เคยเป็นของไทย กลายเป็นพื้นที่ซึ่งของไทยหรือกัมพูชา หรือไม่ก็ให้ถอยออกจากพื้นที่ทั้ง 2 ประเทศ การขีดเส้นแบบนี้ โดยรับรู้และไม่ปฏิเสธ แม้อ้างว่าเกาะกูดเป็นของไทย แต่ต่อไปใครไปนั่งที่ด้านทิศใต้เกาะกูด ใครเอาเท้าจุ่มในทะเล ก็จะเกิดข้อพิพาทว่าที่เท้าจุ่มลงไปนั้น อยู่ในทะเลไทยหรือทะเลกัมพูชา จนเกิดข้อสงสัยว่าภาพแถลงกรมสนธิสัญญา กระทรวงการต่างประเทศ บังอาจแถลงข่าวเน้นตัดตอนพระบรมราชโองการสมัย รัชกาลที่ 9 นั้น กำลังทำตัวเป็นกรมสนธิสัญญาเพื่อประโยชน์ของรัฐบาลชาติใดกันแน่? ด้วยจิตคารวะ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 5 พฤศจิกายน 2567 https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1088203086006724/?
    Like
    Love
    7
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 119 มุมมอง 0 รีวิว
  • คนโกง คิดคดทุรยศต่อชาติ เป็นปัญหาต่อประเทศ มิใช่รัฐธรรมนูญ มิใช่ ม.112

    แต่ MOU 44 ทำในรัฐบาลทักสิน เป็นปัญหา รัฐบาลลูกไม่ยอมแก้ แต่กลับนำมาอ้างเพื่อแบ่งผลประโยชน์กับมะกันและขะแม
    โดยไม่สนใจการเสียสิทธิ์และอธิปไตยทางทะเลอ่าวไทย ตามพระราชโองการของพ่อ ร.๙
    เมื่อ พค. พ.ศ. 2516
    คนโกง คิดคดทุรยศต่อชาติ เป็นปัญหาต่อประเทศ มิใช่รัฐธรรมนูญ มิใช่ ม.112 แต่ MOU 44 ทำในรัฐบาลทักสิน เป็นปัญหา รัฐบาลลูกไม่ยอมแก้ แต่กลับนำมาอ้างเพื่อแบ่งผลประโยชน์กับมะกันและขะแม โดยไม่สนใจการเสียสิทธิ์และอธิปไตยทางทะเลอ่าวไทย ตามพระราชโองการของพ่อ ร.๙ เมื่อ พค. พ.ศ. 2516
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำไมกัมพูชาไม่ยอมรับกฎเกณฑ์ UNCLOS 1982 ที่ประเทศทั่วโลกยอมรับและยึดถือกว่า 160 ประเทศ เป็นกฎหมายจารีตประเพณีที่เป็นหลักในการเจรจาความเมืองใด ๆ เกี่ยวกับทะเล

    ดร.ศุภณัฐ อภิญญาณได้เขียนเรื่อง “ความลับกัมพูชาที่คนไทยทุกคนควรต้องรู้ ”เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2567ไว้ว่า

    “กัมพูชาเป็นเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคแถบนี้ ที่ไม่ยอมเข้าร่วมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรือ United Nations Convention on the Law Of the Sea (UNCLOS) อ่านออกเสียงตัวอักษรย่อ UNCLOS ว่า "อันโคลซ" ซึ่งปัจจุบันนับได้ว่าเป็นอนุสัญญาสหประชาชาติสำคัญ เป็นที่ยอมรับในการแบ่งเขตแดนทางทะเลของแต่ละประเทศอันเป็นหลักสากล โปร่งใส และมีความเป็นธรรม สามารถช่วยแก้ไข ตลอดจนระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างประเทศได้อย่างสันติ

    เหตุผลประการสำคัญที่กัมพูชาไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS เป็นเพราะทางกัมพูชาทราบดีว่าจะเสียเปรียบในการเจรจาแบ่งเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน โดย ดร.วันนาริธ ชเฮียง นักวิชาการชื่อดังชาวกัมพูชาเป็นผู้ยอมรับเอง ยืนยันว่ารัฐบาลกัมพูชากลัวการเข้าร่วมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล UNCLOS จะทำให้กัมพูชาเสียเปรียบในการเจรจากำหนดเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน ดังที่กัมพูชาพยายามอ้างสิทธิ์ตามเส้นเขตแดนที่ลากขึ้นในสมัยที่ยังเป็นรัฐอารักขาของประเทศฝรั่งเศส

    เมื่อทราบความจริงดังนี้ ประเทศไทยของเราจึงไม่ควรเจรจากับกัมพูชาเป็นอย่างยิ่งตราบใดที่กัมพูชายังไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS เพราะไทยจะกลายเป็นฝ่ายเสียเปรียบเสียเองหากยังคงยึดข้อพิพาทเดิมตามแนวทาง MOU 2544 ที่ล้าสมัยไปแล้ว ขนาดรัฐบาลกัมพูชายังไม่ยอมเสียเปรียบไทย ถ้ารัฐบาลไทยยอมเสียเปรียบกัมพูชา ยอมยกผลประโยชน์ของประเทศชาติและปวงชนชาวไทยมูลค่านับล้านล้านบาทให้กับกัมพูชา กล้าเสนอหน้าไปเจรจาโดยที่กัมพูชายังไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS จะเรียกว่า "โง่" หรือ "ขายชาติ" ดีครับ?

    ดังนั้น UNCLOS จึงเป็นหลักสำคัญในการเจรจาระหว่างไทยและกัมพูชา ปัญหาพื้นที่ทับซ้อนจะจบลงทันที เพราะเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาภายใต้ UNCLOS เป็นสากลอยู่แล้ว สิ่งที่เหลือให้ไทยและกัมพูชายังต้องเจรจาตกลงกัน คือ หลุมน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่วางตัวอยู่ในแนวเส้นแบ่งเขตแดนทางทะเลของทั้งสองประเทศ นอกจากไทยเราจะไม่เสียเกาะกูดเป็นแน่แล้ว ยังจะสามารถครองพื้นที่ส่วนใหญ่ที่เป็นข้อพิพาท รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติในท้องทะเล ทั้งน้ำมันดิบและก๊าชธรรมชาติส่วนใหญ่จะตกเป็นของไทย

    ขนาดนักวิชาการกัมพูชายังยืนยันชัดเจนว่ารัฐบาลกัมพูชาไม่เข้าร่วม UNCLOS เพราะกลัวเสียเปรียบ พี่น้องประชาชนคนไทยทุกคนจึงควรตระหนักรู้เกี่ยวกับ UNCLOS เพื่อให้รัฐบาลไทยยื่นข้อเสนอให้กัมพูชาเข้าร่วม UNCLOS เสียก่อนเท่านั้น แล้วจึงค่อยเปิดการเจรจาที่เป็นธรรม!

    ที่มา https://www.facebook.com/share/15FAF2zRds/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    ทำไมกัมพูชาไม่ยอมรับกฎเกณฑ์ UNCLOS 1982 ที่ประเทศทั่วโลกยอมรับและยึดถือกว่า 160 ประเทศ เป็นกฎหมายจารีตประเพณีที่เป็นหลักในการเจรจาความเมืองใด ๆ เกี่ยวกับทะเล ดร.ศุภณัฐ อภิญญาณได้เขียนเรื่อง “ความลับกัมพูชาที่คนไทยทุกคนควรต้องรู้ ”เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2567ไว้ว่า “กัมพูชาเป็นเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคแถบนี้ ที่ไม่ยอมเข้าร่วมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรือ United Nations Convention on the Law Of the Sea (UNCLOS) อ่านออกเสียงตัวอักษรย่อ UNCLOS ว่า "อันโคลซ" ซึ่งปัจจุบันนับได้ว่าเป็นอนุสัญญาสหประชาชาติสำคัญ เป็นที่ยอมรับในการแบ่งเขตแดนทางทะเลของแต่ละประเทศอันเป็นหลักสากล โปร่งใส และมีความเป็นธรรม สามารถช่วยแก้ไข ตลอดจนระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างประเทศได้อย่างสันติ เหตุผลประการสำคัญที่กัมพูชาไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS เป็นเพราะทางกัมพูชาทราบดีว่าจะเสียเปรียบในการเจรจาแบ่งเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน โดย ดร.วันนาริธ ชเฮียง นักวิชาการชื่อดังชาวกัมพูชาเป็นผู้ยอมรับเอง ยืนยันว่ารัฐบาลกัมพูชากลัวการเข้าร่วมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล UNCLOS จะทำให้กัมพูชาเสียเปรียบในการเจรจากำหนดเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน ดังที่กัมพูชาพยายามอ้างสิทธิ์ตามเส้นเขตแดนที่ลากขึ้นในสมัยที่ยังเป็นรัฐอารักขาของประเทศฝรั่งเศส เมื่อทราบความจริงดังนี้ ประเทศไทยของเราจึงไม่ควรเจรจากับกัมพูชาเป็นอย่างยิ่งตราบใดที่กัมพูชายังไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS เพราะไทยจะกลายเป็นฝ่ายเสียเปรียบเสียเองหากยังคงยึดข้อพิพาทเดิมตามแนวทาง MOU 2544 ที่ล้าสมัยไปแล้ว ขนาดรัฐบาลกัมพูชายังไม่ยอมเสียเปรียบไทย ถ้ารัฐบาลไทยยอมเสียเปรียบกัมพูชา ยอมยกผลประโยชน์ของประเทศชาติและปวงชนชาวไทยมูลค่านับล้านล้านบาทให้กับกัมพูชา กล้าเสนอหน้าไปเจรจาโดยที่กัมพูชายังไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS จะเรียกว่า "โง่" หรือ "ขายชาติ" ดีครับ? ดังนั้น UNCLOS จึงเป็นหลักสำคัญในการเจรจาระหว่างไทยและกัมพูชา ปัญหาพื้นที่ทับซ้อนจะจบลงทันที เพราะเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาภายใต้ UNCLOS เป็นสากลอยู่แล้ว สิ่งที่เหลือให้ไทยและกัมพูชายังต้องเจรจาตกลงกัน คือ หลุมน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่วางตัวอยู่ในแนวเส้นแบ่งเขตแดนทางทะเลของทั้งสองประเทศ นอกจากไทยเราจะไม่เสียเกาะกูดเป็นแน่แล้ว ยังจะสามารถครองพื้นที่ส่วนใหญ่ที่เป็นข้อพิพาท รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติในท้องทะเล ทั้งน้ำมันดิบและก๊าชธรรมชาติส่วนใหญ่จะตกเป็นของไทย ขนาดนักวิชาการกัมพูชายังยืนยันชัดเจนว่ารัฐบาลกัมพูชาไม่เข้าร่วม UNCLOS เพราะกลัวเสียเปรียบ พี่น้องประชาชนคนไทยทุกคนจึงควรตระหนักรู้เกี่ยวกับ UNCLOS เพื่อให้รัฐบาลไทยยื่นข้อเสนอให้กัมพูชาเข้าร่วม UNCLOS เสียก่อนเท่านั้น แล้วจึงค่อยเปิดการเจรจาที่เป็นธรรม! ที่มา https://www.facebook.com/share/15FAF2zRds/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Yay
    Angry
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 181 มุมมอง 0 รีวิว
  • นายนิกรเดช พลางกูร อธิบดีกรมสารนิเทศและโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ และนางสุพรรณวษา โชติก็ญาณ ถัง อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) แถลงข่าวเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อน (OCA) ระหว่างไทย – กัมพูชา

    4 พฤศจิกายน 2567- รายงานข่าว NBT CONNEXT เปิดเผยว่า อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กต. กล่าวว่า ไทยได้ประกาศเขตไหล่ทวีปในปี 2516 เนื่องจากเห็นว่าการประเทศของกัมพูชาในปี 2515 เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ เพราะเส้นผ่านเข้าไปในเกาะกูด จึงประกาศเขตไหล่ทวีปของไทย เป็นพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป เมื่อวันที่ 18 พ.ค.2516 ระบุว่าสิทธิอธิปไตยซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้น จะเป็นไปตามที่ได้ตกลงกัน

    ดังนั้นในการประกาศของกัมพูชาและไทย มีพื้นที่ทับซ้อนกัน 26,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งค่อนข้างมีขนาดใหญ่ หรือกว่า 4 เท่าเมื่อเทียบกับกรณีพื้นที่ทับซ้อนของไทยกับมาเลเซีย โดยเป็นเส้นที่ครอบคลุมทะเลอาณาเขต EEZ และไหล่ทวีป
    อย่างไรก็ตาม ไทย-กัมพูชา เริ่มเจรจาเรื่องพื้นที่ดังกล่าวตั้งแต่ปี 2513 แต่เกิดปัญหาว่ากัมพูชาต้องการคุยเพียงการพัฒนาร่วมในเรื่องของทรัพยากร ขณะที่ไทยเห็นว่าเขตทางทะเลมีความสำคัญ รวมถึงความมั่นคง และความเป็นอยู่ของประชาชน โดยยืนยันว่าต้องคุยประเด็นเหล่านี้ด้วย ซึ่งไทยได้ประกาศเส้นด้านใต้ลงมาระหว่างเกาะกูดกับเกาะกง แสดงออกว่าไทยไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่กัมพูชาประกาศ

    หลักสากลเมื่อเกิดพื้นที่ทับซ้อน จึงต้องเจรจากันทั้งสองฝ่ายเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ สำหรับ MOU 2544 แบ่งเป็นพื้นที่เหนือเส้นละติจูด 11 องศาเหนือ เป็นการเจรจาแบ่งเขตทางทะเล และพื้นที่อยู่ใต้เส้นละติจูด 11 องศาเหนือ เป็นการเจรจาพัฒนาพื้นที่ร่วมกัน สิ่งที่ดำเนินการประชาชนทั้งสองฝ่ายต้องยอมรับในข้อตกลง และผลการเจรจาต้องผ่านความเห็นชอบโดยรัฐสภา และสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

    “ ยืนยันว่า MOU 44 ไม่ได้ทำให้ไทยเสียเกาะกูด เพราะสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ส.1907 ระบุชัดเจน เกาะกูด เป็นของไทย เป็นการยืนยันกรรมสิทธิ์เหนือตัวเกาะ และยังใช้อำนาจอธิปไตยเกาะกูด 100% ประเด็นยกเลิก MOU 44 เข้าสู่การพิจารณาของ ครม.ในปี 2552 ซึ่งเสนอให้ยกเลิก เพราะขณะนั้นไม่มีความคืบหน้า และ ครม.รับในหลักการ แต่ขอให้พิจารณาให้รอบคอบและได้หารือกับที่ปรึกษาทีมต่างชาติ และประชุมคณะกรรมการพิเศษที่เป็นภาคี และหน่วยงานด้านความมั่นคง สมช. กระทรวงพลังงาน รวมทั้งกฤษฎีกา โดยปี 2557 ได้ข้อสรุปว่า MOU 44 ยังมีประโยชนที่จะนำไปสู่การเจรจา จึงเสนอ ครม.ให้ทบทวนมติ ครม.ปี 2552 ว่าเรื่องนี้ต้องใช้ MOU 44 ต่อทุกครั้งที่มีรัฐบาลใหม่ยังขอให้กรอบ MOU 44 เป็นพื้นฐานในการเจรจาข้อพิพาทพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลไทย-กัมพูชา เป็นกลไกที่เหมาะสมที่สุด และรักษาผลประโยชน์สูงสุดของประเทศ ซึ่งทุกรัฐบาลก็ยอมรับและหลักการยังเหมือนเดิม” อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ กล่าว

    ที่มา NBT CONNEXT

    #Thaitimes
    นายนิกรเดช พลางกูร อธิบดีกรมสารนิเทศและโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ และนางสุพรรณวษา โชติก็ญาณ ถัง อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) แถลงข่าวเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อน (OCA) ระหว่างไทย – กัมพูชา 4 พฤศจิกายน 2567- รายงานข่าว NBT CONNEXT เปิดเผยว่า อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กต. กล่าวว่า ไทยได้ประกาศเขตไหล่ทวีปในปี 2516 เนื่องจากเห็นว่าการประเทศของกัมพูชาในปี 2515 เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ เพราะเส้นผ่านเข้าไปในเกาะกูด จึงประกาศเขตไหล่ทวีปของไทย เป็นพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป เมื่อวันที่ 18 พ.ค.2516 ระบุว่าสิทธิอธิปไตยซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้น จะเป็นไปตามที่ได้ตกลงกัน ดังนั้นในการประกาศของกัมพูชาและไทย มีพื้นที่ทับซ้อนกัน 26,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งค่อนข้างมีขนาดใหญ่ หรือกว่า 4 เท่าเมื่อเทียบกับกรณีพื้นที่ทับซ้อนของไทยกับมาเลเซีย โดยเป็นเส้นที่ครอบคลุมทะเลอาณาเขต EEZ และไหล่ทวีป อย่างไรก็ตาม ไทย-กัมพูชา เริ่มเจรจาเรื่องพื้นที่ดังกล่าวตั้งแต่ปี 2513 แต่เกิดปัญหาว่ากัมพูชาต้องการคุยเพียงการพัฒนาร่วมในเรื่องของทรัพยากร ขณะที่ไทยเห็นว่าเขตทางทะเลมีความสำคัญ รวมถึงความมั่นคง และความเป็นอยู่ของประชาชน โดยยืนยันว่าต้องคุยประเด็นเหล่านี้ด้วย ซึ่งไทยได้ประกาศเส้นด้านใต้ลงมาระหว่างเกาะกูดกับเกาะกง แสดงออกว่าไทยไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่กัมพูชาประกาศ หลักสากลเมื่อเกิดพื้นที่ทับซ้อน จึงต้องเจรจากันทั้งสองฝ่ายเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ สำหรับ MOU 2544 แบ่งเป็นพื้นที่เหนือเส้นละติจูด 11 องศาเหนือ เป็นการเจรจาแบ่งเขตทางทะเล และพื้นที่อยู่ใต้เส้นละติจูด 11 องศาเหนือ เป็นการเจรจาพัฒนาพื้นที่ร่วมกัน สิ่งที่ดำเนินการประชาชนทั้งสองฝ่ายต้องยอมรับในข้อตกลง และผลการเจรจาต้องผ่านความเห็นชอบโดยรัฐสภา และสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง “ ยืนยันว่า MOU 44 ไม่ได้ทำให้ไทยเสียเกาะกูด เพราะสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ส.1907 ระบุชัดเจน เกาะกูด เป็นของไทย เป็นการยืนยันกรรมสิทธิ์เหนือตัวเกาะ และยังใช้อำนาจอธิปไตยเกาะกูด 100% ประเด็นยกเลิก MOU 44 เข้าสู่การพิจารณาของ ครม.ในปี 2552 ซึ่งเสนอให้ยกเลิก เพราะขณะนั้นไม่มีความคืบหน้า และ ครม.รับในหลักการ แต่ขอให้พิจารณาให้รอบคอบและได้หารือกับที่ปรึกษาทีมต่างชาติ และประชุมคณะกรรมการพิเศษที่เป็นภาคี และหน่วยงานด้านความมั่นคง สมช. กระทรวงพลังงาน รวมทั้งกฤษฎีกา โดยปี 2557 ได้ข้อสรุปว่า MOU 44 ยังมีประโยชนที่จะนำไปสู่การเจรจา จึงเสนอ ครม.ให้ทบทวนมติ ครม.ปี 2552 ว่าเรื่องนี้ต้องใช้ MOU 44 ต่อทุกครั้งที่มีรัฐบาลใหม่ยังขอให้กรอบ MOU 44 เป็นพื้นฐานในการเจรจาข้อพิพาทพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลไทย-กัมพูชา เป็นกลไกที่เหมาะสมที่สุด และรักษาผลประโยชน์สูงสุดของประเทศ ซึ่งทุกรัฐบาลก็ยอมรับและหลักการยังเหมือนเดิม” อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ กล่าว ที่มา NBT CONNEXT #Thaitimes
    Like
    3
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 227 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ธีระชัย” เปิดหลักฐาน กัมพูชาลากเส้นในทะเล ผิดทั้งสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ที่ระบุถึงการเล็งยอดเขาบนเกาะกูดสำหรับแบ่งเขตบนแผ่นดินเท่านั้น และผิดอนุสัญญาเจนีวา 1958 ที่ห้ามมิให้อ้างเหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์ในการประกาศเขตไหล่ทวีป MOU2544 จึงส่อผิดกฎหมายไปด้วย

    4 พฤศจิกายน 2567-นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ โพสต์ข้อความในเฟซบุ๊ก Thirachai Phuvanatnaranubala - - ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล ในหัวข้อด่วน! กัมพูชาไม่อาจอ้างสนธิสัญญาฯ มีรายละเอียดดังนี้

    อาจารย์พนัส ทัศนียานนท์ อดีตอัยการและอดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้กรุณาส่งข้อมูลแจ้งผม ทำให้ผมเห็นว่ากัมพูชาไม่อาจอ้างสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907

    อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วย “ไหล่ทวีป” 1958 ไม่มีการรับรองสิทธิทางประวัติศาสตร์ รับรองไว้เฉพาะกรณีของ “ทะเลอาณาเขต”

    เว็บไซต์ของกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย ระบุว่า
    [“ทะเลอาณาเขต” (territorial sea) มีความกว้างไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเส้นฐานออกไป
    รัฐชายฝั่งมีอำนาจอธิปไตย (sovereignty) เหนือทะเลอาณาเขต

    “ไหล่ทวีป” (continental shelf) หมายถึง พื้นดินท้องทะเลและดินใต้ผิวดินของบริเวณใต้ทะเล ซึ่งขยายเลยทะเลอาณาเขตออกไปตามธรรมชาติของดินแดนจนถึงริมนอกของขอบทวีป หรือจนถึงระยะ 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขต…

    ในบริเวณไหล่ทวีป รัฐชายฝั่งสามารถใช้สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติบน ไหล่ทวีป]

    ดังนั้น พื้นที่ในอ่าวไทย บริเวณที่ระบุอ้างกันว่าเป็นพื้นที่ทับซ้อน ดังปรากฏใน MOU44 นั้น จึงไม่ใช่พื้นที่ “ทะเลอาณาเขต” ที่ครอบคลุมความกว้างเพียง 12 ไมล์ทะเล

    แต่เป็นพื้นที่ “ไหล่ทวีป” ที่ครอบคลุมความกว้างถึง 200 ไมล์ทะเล และเป็นอาณาเขตสำหรับพัฒนาทรัพยากรปิโตรเลียม

    รูป 1-4 ในประกาศ เรื่อง ใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ซึ่งมีพระบรมราชโองการโดยล้นเกล้ารัชกาลที่ 9 รับสนองฯ โดย จอมพล ถนอม กิตติขจร เมื่อวันที่ 29 เม.ย. 2512 ในหัวข้อ ทะเลอาณาเขต ข้อ 12 ข้อย่อย 1 อนุญาตให้ยกเว้นได้สำหรับ “เหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์”

    รูป 5-6 กฤษฎีกาของรัฐบาลกัมพูชา ที่ลากเส้น “ไหล่ทวีป” พาดผ่านเกาะกูดนั้น ระบุชัดเจนว่า เป็นการประกาศพื้นที่ Plateau Continental ซึ่งแปลว่า ไหล่ทวีป และมิใช่อ้างอิงอนุสัญญากรุงเจนีวา 1958 อย่างเดียว แต่อ้างอิงสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 23 มี.ค. ค.ศ. 1907 ประกอบด้วย

    “ สาเหตุที่กัมพูชาอ้างอิงสนธิสัญญาฯ เพื่อลากเส้นผ่านเกาะกูดนั้น เป็นเพราะสนธิสัญญาฯ มีเอกสารแนบที่ระบุข้อความ “ตั้งแต่ชายทะเลที่ตรงข้ามจากยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดเป็นหลัก” จึงได้ลากเส้นจากชายทะเลผ่านยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดไปทางทิศตะวันตกกินแดนเข้ามาในอ่าวไทย

    ** ผิดกฎหมายกระทงที่หนึ่ง
    การกระทำดังกล่าวผิดกฏหมายกระทงที่หนึ่ง เพราะเนื้อความในสนธิสัญญาฯ บรรยายถึงการแบ่งเขตแดนบนแผ่นดิน มิได้เกี่ยวข้องกับการแบ่งเขตแดนในทะเล จึงเป็นการอ้างอิงสนธิสัญญาฯ ที่บิดเบือน

    อีกทั้งเกาะกูดอยู่ห่างชายฝั่ง 44 ไมล์ทะเล จึงอยู่นอก “ทะเลอาณาเขต” อยู่แล้วด้วย

    ** ผิดกฎหมายกระทงที่สอง
    การกำหนดเส้นเขตไหล่ทวีปพาดผ่านเกาะกูดโดยอ้างสนธิสัญญาฯ เป็น “เหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์” นั้น ก็เป็นการบิดเบือน เอาข้อยกเว้นในเรื่องของ “ทะเลอาณาเขต” มาใช้กับเรื่องของ “ไหล่ทวีป”

    สรุปแล้ว กฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ขัดกับอนุสัญญากรุงเจนีวา 1958 โดยสิ้นเชิง

    เป็นการอ้างผิดมาตราอย่างจัง!

    และการที่รัฐบาลไทยในสมัยของอดีตนายกทักษิณ ไปทำ MOU44 โดยไม่ได้คำนึงถึงประเด็นนี้ ผมมีความเห็นว่า อาจเป็นการผิดกฎหมาย

    กัมพูชาจะลากเส้นที่ไม่ตรงกับอนุสัญญากรุงเจนีวา อย่างไรก็ได้ ถ้าไทยไม่รับ ข้ออ้างดังกล่าวก็จะค้างอยู่ในอากาศ แต่การที่รัฐบาลไทยไปรับรู้เส้นที่ไม่ตรงกับอนุสัญญากรุงเจนีวา เป็นเรื่องไม่ถูกต้อง

    จึงขอขอบคุณอาจารย์พนัส ทัศนียานนท์ เป็นอย่างยิ่ง ที่ได้กรุณาให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์มหาศาลแก่ประชาชน”

    ที่มา News1
    https://news1live.com/detail/9670000106288?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR2E5ivC8YLJ80XZFnfxkqNzQw-E48lM3Ly7iYy_GAtAVxhcMf3h4UJzl_o_aem_oBxuft0VBnaCm-WW-Z_8rw

    #Thaitimes
    “ธีระชัย” เปิดหลักฐาน กัมพูชาลากเส้นในทะเล ผิดทั้งสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ที่ระบุถึงการเล็งยอดเขาบนเกาะกูดสำหรับแบ่งเขตบนแผ่นดินเท่านั้น และผิดอนุสัญญาเจนีวา 1958 ที่ห้ามมิให้อ้างเหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์ในการประกาศเขตไหล่ทวีป MOU2544 จึงส่อผิดกฎหมายไปด้วย 4 พฤศจิกายน 2567-นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ โพสต์ข้อความในเฟซบุ๊ก Thirachai Phuvanatnaranubala - - ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล ในหัวข้อด่วน! กัมพูชาไม่อาจอ้างสนธิสัญญาฯ มีรายละเอียดดังนี้ อาจารย์พนัส ทัศนียานนท์ อดีตอัยการและอดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้กรุณาส่งข้อมูลแจ้งผม ทำให้ผมเห็นว่ากัมพูชาไม่อาจอ้างสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วย “ไหล่ทวีป” 1958 ไม่มีการรับรองสิทธิทางประวัติศาสตร์ รับรองไว้เฉพาะกรณีของ “ทะเลอาณาเขต” เว็บไซต์ของกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย ระบุว่า [“ทะเลอาณาเขต” (territorial sea) มีความกว้างไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเส้นฐานออกไป รัฐชายฝั่งมีอำนาจอธิปไตย (sovereignty) เหนือทะเลอาณาเขต “ไหล่ทวีป” (continental shelf) หมายถึง พื้นดินท้องทะเลและดินใต้ผิวดินของบริเวณใต้ทะเล ซึ่งขยายเลยทะเลอาณาเขตออกไปตามธรรมชาติของดินแดนจนถึงริมนอกของขอบทวีป หรือจนถึงระยะ 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐานซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขต… ในบริเวณไหล่ทวีป รัฐชายฝั่งสามารถใช้สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติบน ไหล่ทวีป] ดังนั้น พื้นที่ในอ่าวไทย บริเวณที่ระบุอ้างกันว่าเป็นพื้นที่ทับซ้อน ดังปรากฏใน MOU44 นั้น จึงไม่ใช่พื้นที่ “ทะเลอาณาเขต” ที่ครอบคลุมความกว้างเพียง 12 ไมล์ทะเล แต่เป็นพื้นที่ “ไหล่ทวีป” ที่ครอบคลุมความกว้างถึง 200 ไมล์ทะเล และเป็นอาณาเขตสำหรับพัฒนาทรัพยากรปิโตรเลียม รูป 1-4 ในประกาศ เรื่อง ใช้อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ซึ่งมีพระบรมราชโองการโดยล้นเกล้ารัชกาลที่ 9 รับสนองฯ โดย จอมพล ถนอม กิตติขจร เมื่อวันที่ 29 เม.ย. 2512 ในหัวข้อ ทะเลอาณาเขต ข้อ 12 ข้อย่อย 1 อนุญาตให้ยกเว้นได้สำหรับ “เหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์” รูป 5-6 กฤษฎีกาของรัฐบาลกัมพูชา ที่ลากเส้น “ไหล่ทวีป” พาดผ่านเกาะกูดนั้น ระบุชัดเจนว่า เป็นการประกาศพื้นที่ Plateau Continental ซึ่งแปลว่า ไหล่ทวีป และมิใช่อ้างอิงอนุสัญญากรุงเจนีวา 1958 อย่างเดียว แต่อ้างอิงสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 23 มี.ค. ค.ศ. 1907 ประกอบด้วย “ สาเหตุที่กัมพูชาอ้างอิงสนธิสัญญาฯ เพื่อลากเส้นผ่านเกาะกูดนั้น เป็นเพราะสนธิสัญญาฯ มีเอกสารแนบที่ระบุข้อความ “ตั้งแต่ชายทะเลที่ตรงข้ามจากยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดเป็นหลัก” จึงได้ลากเส้นจากชายทะเลผ่านยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดไปทางทิศตะวันตกกินแดนเข้ามาในอ่าวไทย ** ผิดกฎหมายกระทงที่หนึ่ง การกระทำดังกล่าวผิดกฏหมายกระทงที่หนึ่ง เพราะเนื้อความในสนธิสัญญาฯ บรรยายถึงการแบ่งเขตแดนบนแผ่นดิน มิได้เกี่ยวข้องกับการแบ่งเขตแดนในทะเล จึงเป็นการอ้างอิงสนธิสัญญาฯ ที่บิดเบือน อีกทั้งเกาะกูดอยู่ห่างชายฝั่ง 44 ไมล์ทะเล จึงอยู่นอก “ทะเลอาณาเขต” อยู่แล้วด้วย ** ผิดกฎหมายกระทงที่สอง การกำหนดเส้นเขตไหล่ทวีปพาดผ่านเกาะกูดโดยอ้างสนธิสัญญาฯ เป็น “เหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์” นั้น ก็เป็นการบิดเบือน เอาข้อยกเว้นในเรื่องของ “ทะเลอาณาเขต” มาใช้กับเรื่องของ “ไหล่ทวีป” สรุปแล้ว กฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชา ขัดกับอนุสัญญากรุงเจนีวา 1958 โดยสิ้นเชิง เป็นการอ้างผิดมาตราอย่างจัง! และการที่รัฐบาลไทยในสมัยของอดีตนายกทักษิณ ไปทำ MOU44 โดยไม่ได้คำนึงถึงประเด็นนี้ ผมมีความเห็นว่า อาจเป็นการผิดกฎหมาย กัมพูชาจะลากเส้นที่ไม่ตรงกับอนุสัญญากรุงเจนีวา อย่างไรก็ได้ ถ้าไทยไม่รับ ข้ออ้างดังกล่าวก็จะค้างอยู่ในอากาศ แต่การที่รัฐบาลไทยไปรับรู้เส้นที่ไม่ตรงกับอนุสัญญากรุงเจนีวา เป็นเรื่องไม่ถูกต้อง จึงขอขอบคุณอาจารย์พนัส ทัศนียานนท์ เป็นอย่างยิ่ง ที่ได้กรุณาให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์มหาศาลแก่ประชาชน” ที่มา News1 https://news1live.com/detail/9670000106288?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR2E5ivC8YLJ80XZFnfxkqNzQw-E48lM3Ly7iYy_GAtAVxhcMf3h4UJzl_o_aem_oBxuft0VBnaCm-WW-Z_8rw #Thaitimes
    NEWS1LIVE.COM
    “ธีระชัย” เปิดข้อมูล กัมพูชาลากเส้นในทะเลผิดหลักสากล 2 เด้ง MOU44 ส่อผิดไปด้วย
    “ธีระชัย” เปิดหลักฐาน กัมพูชาลากเส้นในทะเล ผิดทั้งสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ที่ระบุถึงการเล็งยอดเขาบนเกาะกูดสำหรับแบ่งเขตบนแผ่นดินเท่านั้น และผิดอนุสัญญาเจนีวา 1958 ที่ห้ามมิให้อ้างเหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์ในการประกาศเขตไหล่ทวีป
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 321 มุมมอง 0 รีวิว
  • MOU 44 คนคลั่งชาติไม่มีวันขายชาติ : คนเคาะข่าว 04-11-67
    : ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต
    : นงวดี ถนิมมาลย์ ดำเนินรายการ
    MOU 44 คนคลั่งชาติไม่มีวันขายชาติ : คนเคาะข่าว 04-11-67 : ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต : นงวดี ถนิมมาลย์ ดำเนินรายการ
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 63 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • “ธีระชัย” เปิดหลักฐาน กัมพูชาลากเส้นในทะเล ผิดทั้งสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ที่ระบุถึงการเล็งยอดเขาบนเกาะกูดสำหรับแบ่งเขตบนแผ่นดินเท่านั้น และผิดอนุสัญญาเจนีวา 1958 ที่ห้ามมิให้อ้างเหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์ในการประกาศเขตไหล่ทวีป MOU2544 จึงส่อผิดกฎหมายไปด้วย

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106288

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “ธีระชัย” เปิดหลักฐาน กัมพูชาลากเส้นในทะเล ผิดทั้งสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ที่ระบุถึงการเล็งยอดเขาบนเกาะกูดสำหรับแบ่งเขตบนแผ่นดินเท่านั้น และผิดอนุสัญญาเจนีวา 1958 ที่ห้ามมิให้อ้างเหตุแห่งสิทธิทางประวัติศาสตร์ในการประกาศเขตไหล่ทวีป MOU2544 จึงส่อผิดกฎหมายไปด้วย อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106288 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    25
    1 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1266 มุมมอง 1 รีวิว
  • ยืนยันเกาะกูดเป็นของไทย (04/11/67) #news1 #ภูมิธรรม #เกาะกูดเป็นของไทย #MOU44
    ยืนยันเกาะกูดเป็นของไทย (04/11/67) #news1 #ภูมิธรรม #เกาะกูดเป็นของไทย #MOU44
    Like
    Haha
    8
    1 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1009 มุมมอง 394 0 รีวิว
  • กระทรวงการต่างประเทศชี้แจงเรื่องพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา ยืนยัน MOU 2544 เป็นเพียงกรอบการเจรจา และไทยไม่เคยยอมรับการกำหนดเส้นเขตแดนของฝ่ายกัมพูชา

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106205

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    กระทรวงการต่างประเทศชี้แจงเรื่องพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา ยืนยัน MOU 2544 เป็นเพียงกรอบการเจรจา และไทยไม่เคยยอมรับการกำหนดเส้นเขตแดนของฝ่ายกัมพูชา อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106205 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Angry
    Love
    Yay
    9
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1316 มุมมอง 0 รีวิว
  • กระทรวงการต่างประเทศชี้แจงเรื่องพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา ยืนยัน MOU 2544 เป็นเพียงกรอบการเจรจา และไทยไม่เคยยอมรับการกำหนดเส้นเขตแดนของฝ่ายกัมพูชา
    .
    วันนี้ (4 พฤศจิกายน 2567) กระทรวงการต่างประเทศเชิญสื่อมวลชนไทยและต่างประเทศเข้าร่วมรับฟังการบรรยายสรุปข้อมูลภูมิหลัง รวมทั้งสถานะล่าสุดเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน (Overlapping Claims Area: OCA) ระหว่างไทย-กัมพูชา โดยนายนิกรเดช พลางกูร อธิบดีกรมสารนิเทศ และโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ ได้เชิญนางสุพรรณวษา โชติกญาณ ถัง อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย เข้าร่วมให้ข้อมูล
    .
    อธิบดีกรมสนธิสัญญาฯ ได้อธิบายถึงเขตทางทะเล และกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 รวมทั้งชี้แจงที่มาของพื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชา ซึ่งมีขนาดประมาณ 26,000 ตร.กม. ที่เกิดจากการประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยของทั้งไทยและกัมพูชา โดยทั้งสองฝ่ายตกลงที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกันผ่านการจัดทำบันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2544 หรือที่เรียกกันว่า MOU 2544
    .
    MOU 2544 เป็นความตกลงที่กำหนดกรอบและกลไกการเจรจาระหว่างกัน โดยไม่ได้เป็นการยอมรับการอ้างสิทธิทางทะเลของอีกฝ่ายแต่อย่างใด ซึ่งทั้งสองฝ่ายจะต้องเจรจากันต่อไป
    .
    แนวทางร่วมในการแก้ไขปัญหาที่ทั้งไทยและกัมพูชาเห็นสอดคล้องกันทั้งในระดับนโยบายและระดับเทคนิค คือ (1) ประชาชนของทั้งสองประเทศจะต้องยอมรับข้อตกลงได้ (2) จะต้องนำเรื่องให้รัฐสภาของทั้งสองประเทศพิจารณาให้ความเห็นชอบ และ (3) ข้อตกลงจะต้องสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    .
    ต่อกรณีที่มีการเชื่อมโยงเรื่อง “เกาะกูด” จ. ตราด เข้าไปพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา อธิบดีกรมสนธิสัญญาฯ ชี้แจงว่า เกาะกูดเป็นดินแดนของประเทศไทยตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 และปัจจุบันไทยใช้อำนาจอธิปไตยเหนือเกาะกูด 100%
    .
    อธิบดีกรมสนธิสัญญาฯ ยืนยันว่า MOU 2544 เป็นเพียง “กรอบการเจรจา” (Agreement to Negotiate) ประเทศไทยและกัมพูชาไม่ได้ยอมรับเส้นเขตแดนที่แต่ละฝ่ายกำหนดขึ้นเอง และใน MOU ก็ระบุชัดเจนว่า การเจรจาจะไม่มีผลต่อการอ้างสิทธิ์ทางทะเลของประเทศคู่เจรจา
    .
    ในเรื่องของการยกเลิก MOU 2544 ซึ่งคณะรัฐมนตรีของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เคยมีมติให้ยกเลิกเมื่อปี 2552 นั้น กระทรวงการต่างประเทศชี้แจงว่า ในช่วงเวลาดังกล่าวความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชามีปัญหา ทั้งในเรื่องปราสาทพระวิหาร และการปะทะกันที่ชายแดน ทำให้ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจกัน แต่หลังจากนั้น กระทรวงการต่างประเทศได้ปรึกษากับหน่วยงานต่าง ๆ แล้ว เห็นว่า MOU ยังมีความจำเป็น จึงได้เสนอให้รัฐบาลในชุดต่อๆ มาทบทวนมติ ครม. ปี 2552 และทุกรัฐบาลต่อมาก็มีมติให้ใช้ MOU 2544 ต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้.
    ..............
    Sondhi X
    กระทรวงการต่างประเทศชี้แจงเรื่องพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา ยืนยัน MOU 2544 เป็นเพียงกรอบการเจรจา และไทยไม่เคยยอมรับการกำหนดเส้นเขตแดนของฝ่ายกัมพูชา . วันนี้ (4 พฤศจิกายน 2567) กระทรวงการต่างประเทศเชิญสื่อมวลชนไทยและต่างประเทศเข้าร่วมรับฟังการบรรยายสรุปข้อมูลภูมิหลัง รวมทั้งสถานะล่าสุดเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน (Overlapping Claims Area: OCA) ระหว่างไทย-กัมพูชา โดยนายนิกรเดช พลางกูร อธิบดีกรมสารนิเทศ และโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ ได้เชิญนางสุพรรณวษา โชติกญาณ ถัง อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย เข้าร่วมให้ข้อมูล . อธิบดีกรมสนธิสัญญาฯ ได้อธิบายถึงเขตทางทะเล และกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 รวมทั้งชี้แจงที่มาของพื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชา ซึ่งมีขนาดประมาณ 26,000 ตร.กม. ที่เกิดจากการประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยของทั้งไทยและกัมพูชา โดยทั้งสองฝ่ายตกลงที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกันผ่านการจัดทำบันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2544 หรือที่เรียกกันว่า MOU 2544 . MOU 2544 เป็นความตกลงที่กำหนดกรอบและกลไกการเจรจาระหว่างกัน โดยไม่ได้เป็นการยอมรับการอ้างสิทธิทางทะเลของอีกฝ่ายแต่อย่างใด ซึ่งทั้งสองฝ่ายจะต้องเจรจากันต่อไป . แนวทางร่วมในการแก้ไขปัญหาที่ทั้งไทยและกัมพูชาเห็นสอดคล้องกันทั้งในระดับนโยบายและระดับเทคนิค คือ (1) ประชาชนของทั้งสองประเทศจะต้องยอมรับข้อตกลงได้ (2) จะต้องนำเรื่องให้รัฐสภาของทั้งสองประเทศพิจารณาให้ความเห็นชอบ และ (3) ข้อตกลงจะต้องสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง . ต่อกรณีที่มีการเชื่อมโยงเรื่อง “เกาะกูด” จ. ตราด เข้าไปพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา อธิบดีกรมสนธิสัญญาฯ ชี้แจงว่า เกาะกูดเป็นดินแดนของประเทศไทยตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 และปัจจุบันไทยใช้อำนาจอธิปไตยเหนือเกาะกูด 100% . อธิบดีกรมสนธิสัญญาฯ ยืนยันว่า MOU 2544 เป็นเพียง “กรอบการเจรจา” (Agreement to Negotiate) ประเทศไทยและกัมพูชาไม่ได้ยอมรับเส้นเขตแดนที่แต่ละฝ่ายกำหนดขึ้นเอง และใน MOU ก็ระบุชัดเจนว่า การเจรจาจะไม่มีผลต่อการอ้างสิทธิ์ทางทะเลของประเทศคู่เจรจา . ในเรื่องของการยกเลิก MOU 2544 ซึ่งคณะรัฐมนตรีของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เคยมีมติให้ยกเลิกเมื่อปี 2552 นั้น กระทรวงการต่างประเทศชี้แจงว่า ในช่วงเวลาดังกล่าวความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชามีปัญหา ทั้งในเรื่องปราสาทพระวิหาร และการปะทะกันที่ชายแดน ทำให้ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจกัน แต่หลังจากนั้น กระทรวงการต่างประเทศได้ปรึกษากับหน่วยงานต่าง ๆ แล้ว เห็นว่า MOU ยังมีความจำเป็น จึงได้เสนอให้รัฐบาลในชุดต่อๆ มาทบทวนมติ ครม. ปี 2552 และทุกรัฐบาลต่อมาก็มีมติให้ใช้ MOU 2544 ต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้. .............. Sondhi X
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 353 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣ เมื่อจอมฉีก MOU ไม่ยอมฉีก MOU ไทย-กัมพูชา
    #7ดอกจิก
    ♣ เมื่อจอมฉีก MOU ไม่ยอมฉีก MOU ไทย-กัมพูชา #7ดอกจิก
    Angry
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 146 มุมมอง 58 0 รีวิว
  • “ภูมิธรรม” ยืนยันเกาะกูดเป็นของไทยอยู่แล้ว ถ้าจะเจรจาผลประโยชน์ทางทะเลต้องคุยเรื่องเขตแดนควบคู่ไปด้วย ต้องลากเป็นเส้นตรง ไม่อ้อมเกาะกูด ซึ่งยังคุยกันค้างอยู่ ทำมึนคนจุดกระแสต้องการให้ยกเลิกอะไร เผยรัฐบาลอภิสิทธิ์ยังไม่เคยยกเลิก MOU2544 เพราะไม่ใช่มติ ครม.

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106148

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “ภูมิธรรม” ยืนยันเกาะกูดเป็นของไทยอยู่แล้ว ถ้าจะเจรจาผลประโยชน์ทางทะเลต้องคุยเรื่องเขตแดนควบคู่ไปด้วย ต้องลากเป็นเส้นตรง ไม่อ้อมเกาะกูด ซึ่งยังคุยกันค้างอยู่ ทำมึนคนจุดกระแสต้องการให้ยกเลิกอะไร เผยรัฐบาลอภิสิทธิ์ยังไม่เคยยกเลิก MOU2544 เพราะไม่ใช่มติ ครม. อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106148 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Angry
    Like
    Wow
    Sad
    10
    1 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1349 มุมมอง 0 รีวิว
  • "แพทองธาร" พยักหน้ารับ ปม ป.ป.ช.ทวงถามเวชระเบียนรักษาตัว "ทักษิณ" จาก รพ.ตำรวจ แต่ยังไม่ได้รับ ปัดตอบประเด็น MOU2544

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106153

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    "แพทองธาร" พยักหน้ารับ ปม ป.ป.ช.ทวงถามเวชระเบียนรักษาตัว "ทักษิณ" จาก รพ.ตำรวจ แต่ยังไม่ได้รับ ปัดตอบประเด็น MOU2544 อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000106153 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Angry
    Yay
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1341 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣️ นพดลยังด้าน โต้อย่าโจมตีเพื่อไทยด้วยความเท็จ ทั้งที่เพื่อไทยยอมใช้ Mou 44 ที่กัมพูชาลากเส้นเท็จ อ้างอิงเขตแดนเท็จ เพื่อไทยกลับยอมเจรจาบนข้อเรียกร้องเท็จๆ
    #7ดอกจิก
    #นพดล
    #เกาะกูด
    ♣️ นพดลยังด้าน โต้อย่าโจมตีเพื่อไทยด้วยความเท็จ ทั้งที่เพื่อไทยยอมใช้ Mou 44 ที่กัมพูชาลากเส้นเท็จ อ้างอิงเขตแดนเท็จ เพื่อไทยกลับยอมเจรจาบนข้อเรียกร้องเท็จๆ #7ดอกจิก #นพดล #เกาะกูด
    Angry
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • สหายใหญ่… คงยังเคยเจอจ่าดาวเหนือถ้ายังคิดแบ่งแยกเกาะกูดอยู่เรื่อง MOU ห่าเหวนั้น.. กูจะฟ้องจ่าดาวเหนือมาจัดการมึง อย่าคิดว่าเป็นเสนากลาโหมแล้วจะใหญ่ ๆแต่ชื่อแค่นั้นไม่เชื่อก็ลองดู พวกกูไม่ได้คลั่งชาติ แต่พวกกูรักชาติยิ่งชีพ
    สหายใหญ่… คงยังเคยเจอจ่าดาวเหนือถ้ายังคิดแบ่งแยกเกาะกูดอยู่เรื่อง MOU ห่าเหวนั้น.. กูจะฟ้องจ่าดาวเหนือมาจัดการมึง อย่าคิดว่าเป็นเสนากลาโหมแล้วจะใหญ่ ๆแต่ชื่อแค่นั้นไม่เชื่อก็ลองดู พวกกูไม่ได้คลั่งชาติ แต่พวกกูรักชาติยิ่งชีพ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 3 มุมมอง 0 รีวิว
  • คุณถูกหลอกมาตลอดเกี่ยวกับฟลูออไรด์หรือเปล่า?
    ไม่มีอะไรเทียบได้กับน้ำใสๆ เย็นๆ สักแก้วดับกระหายของคุณ แต่คราวหน้าที่คุณเปิดก๊อกน้ำ คุณอาจต้องการตั้งคำถามว่าจริงหรือไม่ น้ำนั้นเป็นพิษเกินกว่าจะดื่มได้ ถ้าน้ำของคุณมีฟลูออไรด์ผสมอยู่ คำตอบน่าจะเป็น "จริง" แม้ว่า "เจ้าหน้าที่" ด้านสุขภาพออกมาประกาศว่า "ปลอดภัย" และ "เป็นธรรมชาติ" ก็ไม่มีอะไรจะมากไปกว่าความจริงได้
    เป็นเวลาหลายทศวรรษแล้วที่เราได้รับคำโกหก คำโกหกที่นำไปสู่การเสียชีวิตของชาวอเมริกันหลายแสนคน และทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลงอีกหลายสิบล้านคน การโกหกนี้เรียกว่า "การผสมฟลูออไรด์" กระบวนการที่เราเชื่อว่าเป็นวิธีการที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการปกป้องฟันจากฟันผุ อันที่จริงแล้วเป็นการฉ้อโกง ในคำพูดของ Dr. Robert Carton อดีตนักวิทยาศาสตร์ของ EPA “ฟลูออไรด์เป็นกรณีที่ใหญ่ที่สุดของการฉ้อโกงทางวิทยาศาสตร์ของศตวรรษนี้ หรือไม่ก็ตลอดกาล”
    “กระบวนการปั่น” เริ่มต้นขึ้น
    ในปี ค.ศ. 1920 การผลิตอะลูมิเนียมซึ่งส่วนใหญ่มาจากอุตสาหกรรมกระป๋องที่กำลังเฟื่องฟู แต่ก็ยังเป็นผู้ผลิตขยะฟลูออไรด์ที่เป็นพิษรายใหญ่ ภาวะที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออกที่ใหญ่ที่สุดคือค่าใช้จ่ายในการกำจัดของเสียอันตรายอย่างปลอดภัยซึ่งแพงมาก อุตสาหกรรมนี้จึงได้ทำการตลาดและขายของเสียที่เป็นพิษ (โซเดียมฟลูออไรด์) เพื่อใช้ผลิตเป็นยาฆ่าแมลงและยาฆ่าหนู แต่ทว่าพวกเขาต้องการตลาดที่ใหญ่กว่านั้น... มนุษย์ไง อย่างไรก็ตาม พวกเขาก็มีอุปสรรคอยู่เล็กน้อย
    ในวารสารสมาคมทันตกรรมอเมริกันวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1944 ADA เตือนว่า “โอกาสที่จะเกิดอันตราย (จากฟลูออไรด์) มีมากกว่าประโยชน์ในทางที่ดี” แต่ในปี 1947 Oscar R. Ewing (ซึ่งเป็นทนายความของ ALCOA มาเป็นเวลานาน) ได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าหน่วยงานความมั่นคงแห่งสหพันธรัฐ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ทำให้เขารับผิดชอบด้านบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา และแล้วภายใต้การนำของเขา แคมเปญ "น้ำผสมฟลูออไรด์" ระดับชาติจึงเริ่มต้นขึ้น
    นักยุทธศาสตร์การประชาสัมพันธ์สำหรับแคมเปญ "น้ำผสมฟลูออไรด์" ไม่ใช่ใครอื่นนอกจาก Edwin L. Bernays หลานชายของ Sigmund Freud หรือที่รู้จักในชื่อ "เจ้าพ่อแห่งการปั่น" Bernays เป็นผู้บุกเบิกการประยุกต์ใช้ทฤษฎีของ Freud มาใช้กับการโฆษณาและ "ความจริงครึ่งเดียวของรัฐบาล"
    ในหนังสือ "โฆษณาชวนเชื่อ" ของเขา Bernays ได้อ้างว่าความคิดเห็นสาธารณะซึ่งใช้วิทยาศาสตร์บงการเป็นกุญแจสำคัญ เขากล่าวว่า "คนกลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่งมีอิทธิพลควบคุมจิตใจของสาธารณชน" แคมเปญฟลูออไรด์ของรัฐบาลเป็นหนึ่งในความสำเร็จที่ยั่งยืนที่สุดของเขา
    เทคนิคของเบอร์เนย์นั้นเรียบง่าย แสร้งทำเป็นว่ามีงานวิจัยที่น่าพอใจโดยใช้วลีเช่น "การศึกษาจำนวนมากแสดงให้เห็น ... " หรือ "การวิจัยพิสูจน์แล้ว ... " หรือ "ผู้วิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้พบ ... " (แต่ไม่เคยพูดอ้างอิงถึงสิ่งใดเลย) พูดให้นานพอและดังพอ แล้วในที่สุดผู้คนจะเชื่อมัน หากใครสงสัยหรือซักไซ้เรื่องโกหกนี้ ก็โจมตีหน้าที่การงานและ/หรือสติปัญญาของพวกเขา
    แล้ว "งานศึกษา" ล่ะ?
    ไม่มี "งานศึกษาทางวิทยาศาสตร์" ที่พิสูจน์แล้วว่าฟลูออไรด์ปลอดภัยเลยหรือ? ในช่วงทศวรรษที่ 1940 นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า ผู้คนจะมีสุขภาพฟันโดยรวมที่ดีขึ้น (โดยส่วนใหญ่เป็นฟันผุน้อยกว่า) หากพวกเขาอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีฟลูออรีนในระดับที่สูงขึ้นตามธรรมชาติ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาก็ได้เกิดคำถามเรื่อง “การศึกษาวิจัย” และมีความกังวลอย่างมากว่าข้อมูลส่วนใหญ่เป็นเพียงการประดิษฐ์ขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์ที่มีความผูกพันกับบริษัทที่มีส่วนได้เสียในการขายฟลูออไรด์ การปั้นแต่งข้อมูลในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่ใช่เรื่องใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมันเกี่ยวข้องกับสุขภาพ มีบริษัทจำนวนหนึ่งที่จะได้รับผลประโยชน์จากสุขภาพที่ย่ำแย่ของสาธารณชน
    ตรงกันข้ามกับความเห็นส่วนใหญ่ ฟลูออไรด์กลับไม่ได้หยุดฟันผุเลย จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์แล้วว่าฟลูออไรด์เป็นพิษต่อระบบประสาทและทำให้เกิดความพิการแต่กำเนิด และโรคกระดูกพรุน ฟลูออไรด์ยังทำลายระบบภูมิคุ้มกัน ระบบย่อยอาหารและระบบทางเดินหายใจ รวมถึงตับไตและสมอง และอาจนำไปสู่ความบกพร่องทางการเรียนรู้ ซึ่งรวมถึงผู้ที่มีความบกพร่องในการอ่าน สมาธิสั้น และออทิสติก
    ในปี 2012 นักวิจัยของฮาร์วาร์ดรายงานว่าการศึกษา 26 จาก 27 ชิ้นที่พวกเขาทบทวนพบว่าไอคิวในวัยเด็กลดลงเมื่อความเข้มข้นของฟลูออไรด์เพิ่มขึ้น รายงานปี 2006 จากสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติได้ทบทวนการศึกษาหลายร้อยชิ้นที่เชื่อมโยงน้ำดื่มที่มีฟลูออไรด์กับความเสียหายทางระบบประสาท ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ และ … ใช่แล้ว …. โรคมะเร็ง
    ในปี 1955 วารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์รายงานว่าจำนวนผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์เพิ่มขึ้น 400% ในช่วงหลายปีหลังจากที่น้ำในซานฟรานซิสโกเริ่มได้รับการผสมฟลูออไรด์ ต่อมาในปี 1977 สภาคองเกรสได้สั่งให้หน่วยงานบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกาดำเนินการศึกษาในสัตว์เพื่อพิจารณาว่าฟลูออไรด์ทำให้เกิดมะเร็งหรือไม่ หลังจากวิเคราะห์ผลการศึกษาในหนูแล้ว พบว่าหนูที่ดื่มน้ำฟลูออไรด์มีเนื้องอกและมะเร็งเพิ่มขึ้นในเซลล์สความัสในช่องปาก ก่อตัวเป็นรูปแบบที่พบได้ยากของมะเร็งกระดูกที่เรียกว่า osteosarcoma และพบว่ามีเนื้องอกในเซลล์ต่อมไทรอยด์ฟอลลิคูลาร์เพิ่มขึ้น
    การค้นพบที่สำคัญที่สุดคือการเกิดขึ้นของมะเร็งตับรูปแบบที่หายากมาก มะเร็งตับในหนูเพศผู้และเพศเมียที่ได้รับฟลูออไรด์ นอกจากนี้ในปี 1977 ยังแสดงให้เห็นว่าฟลูออไรด์ทำให้เกิดการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งประมาณ 10,000 รายในการศึกษาทางระบาดวิทยาโดย Dr. Dean Burk อดีตหัวหน้าแผนกไซโตเคมี ที่สถาบันมะเร็งแห่งชาติ และ Dr. John Yiamouyiannis แม้จะมีการค้นพบในปี 1977 แต่ก็ไม่ได้เต็มใจที่จะเปิดเผยจนกระทั่งปี 1989
    ในปี 2006 ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด นักวิจัยระบุถึงความเชื่อมโยงระหว่างฟลูออไรด์กับ osteosarcoma การศึกษานี้นำโดย Dr. Elise Bassin และตีพิมพ์ออนไลน์ใน Cancer Causes and Control (วารสารทางการของศูนย์ป้องกันมะเร็งฮาร์วาร์ด) พบว่ามีความเชื่อมโยงอย่างมากระหว่างน้ำดื่มที่มีฟลูออไรด์กับ osteocarcoma ซึ่งเป็นมะเร็งกระดูกที่หายากและมักเสียชีวิตในเด็กชาย การศึกษายืนยันโดยสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (NIH) และแผนกสุขภาพของรัฐนิวเจอร์ซีย์ ซึ่งพบอัตราการเกิดมะเร็งกระดูกที่เพิ่มขึ้นในเด็กผู้ชายที่ดื่มน้ำประปาที่มีฟลูออไรด์ ผลการวิจัยยืนยันผลการศึกษาของรัฐบาลก่อนหน้าในปี 1990 ที่เกี่ยวข้องกับหนูที่ได้รับฟลูออไรด์
    แต่ยังมีอีก...
    เมื่อเข้าไปในร่างกายของคุณ ฟลูออไรด์จะทำลายเอนไซม์ของคุณด้วยการเปลี่ยนรูปร่าง ร่างกายของคุณต้องอาศัยเอ็นไซม์หลายพันชนิดเพื่อทำปฏิกิริยาของเซลล์จำนวนมาก ถ้าไม่มีเอ็นไซม์ เราทุกคนคงตายกันหมด เอ็นไซม์เป็นเหมือนกุญแจที่เข้ากับระบบล็อคภายในเซลล์ของคุณ อย่างไรก็ตาม เมื่อฟลูออไรด์ทำลายรูปร่างของ "กุญแจ" มันจะไม่เข้ากับตัวล็อคอีกต่อไป และร่างกายของคุณไม่รู้จักเอ็นไซม์อีกต่อไป เอนไซม์ที่เสียหายเหล่านี้สามารถนำไปสู่การสลายคอลลาเจน ความเสียหายของดีเอ็นเอ ความเสียหายของเนื้อเยื่อ และการกดภูมิคุ้มกัน
    ในช่วงต้นปี 2010 มีเรื่องราวสองเรื่องในอินเดียเปิดเผยว่าเด็ก ๆ ตาบอดและพิการบางส่วน อันเป็นผลมาจากการเติมฟลูออไรด์ลงในน้ำดื่มของพวกเขา และในหมู่บ้าน Gaudiyan ของอินเดีย ประชากรมากกว่าครึ่งมีความผิดปกติของกระดูก ทำให้มีความพิการทางร่างกาย เด็กเกิดมาปกติดี แต่หลังจากที่พวกเขาเริ่มดื่มน้ำที่มีฟลูออไรด์ พวกเขาก็เริ่มมีความพิการที่มือและเท้า
    เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2010 นิตยสาร Time ระบุว่าฟลูออไรด์เป็นหนึ่งใน "สารพิษในครัวเรือน 10 อันดับแรก" และอธิบายว่าฟลูออไรด์ "เป็นพิษต่อระบบประสาทและอาจเกิดเนื้องอกได้หากกลืนเข้าไป" มีการบอกความจริงนี้ในเกือบทุกประเทศในโลก (รวมถึงสหรัฐอเมริกาด้วย) มันผิดกฎหมายที่จะ "ให้ยาขนานใหญ่" กับประชากรทั้งหมดด้วยสารที่ทุกคนยอมรับว่าเป็นพิษ
    ด้วยความจริงที่ว่าฟลูออไรด์สามารถสะสมในร่างกายได้ จึงเป็นเหตุให้กฎหมายแห่งสหรัฐอเมริกาได้กำหนดให้กรมการแพทย์ทหารตั้งค่า "ระดับสารปนเปื้อนสูงสุด" (MCL) สำหรับปริมาณฟลูออไรด์ในแหล่งน้ำสาธารณะตามที่ EPA กำหนด มันทำให้ผมสับสนจากการที่ทันตแพทย์ที่ถูกล้างสมองหลายพันคนประกาศอย่างภาคภูมิใจว่าฟลูออไรด์เป็น "สารอาหารมหัศจรรย์" ที่ป้องกันฟันผุและส่งเสริมสุขภาพฟันและเหงือก ผมขอตั้งคำถามหน่อยนะ สารพิษสะสมและผลิตภัณฑ์จากขยะพิษจะเรียกว่า “สารอาหาร” ได้อย่างไร
    เป็นความโชคร้าย หากคุณต้องใช้ชีวิตในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย หรือแคนาดา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินใจในระดับสูง (มีความเป็นไปได้มากที่การผสมฟลูออไรด์ในน้ำจะเป็นเรื่องปกติ) หมายความว่ามีการตัดสินใจเกี่ยวกับสุขภาพของคุณโดยที่คุณไม่มีส่วนร่วมในกระบวนการนี้เลย
    จากเกือบ 320 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา ประมาณ 72% บริโภคน้ำที่มีฟลูออไรด์อย่างสม่ำเสมอ และจากข้อมูลของ CDC รัฐทั้งหมด 50 รัฐ ได้ผสมฟลูออไรด์ลงในแหล่งน้ำ
    แล้วคุณจะทำอะไรได้บ้าง?
    การกรองแบบ Reverse Osmosis ถือว่ามีประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ออกจากน้ำ เกลือฟลูออไรด์จะเข้าไปแทนที่ไอโอดีนซึ่งต่อมไทรอยด์จำเป็นต้องใช้ในการทำงาน การเสริมไอโอดีนในอาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญ การเสริมด้วยอัตราส่วนแมกนีเซียมต่อแคลเซียมสูงจะให้แร่ธาตุที่ช่วยขจัดฟลูออไรด์ นอกจากนี้ วิตามิน K2 ที่สกัดจากเอนไซม์ในถั่วเน่าญี่ปุ่น ยังช่วยป้องกันการกลายเป็นหินปูนฟลูออไรด์ในอวัยวะที่มีเนื้อเยื่ออ่อน เช่น หลอดเลือดแดงและสมอง
    ใช่แล้ว... อีกอย่างที่คุณทำได้คือหยุดใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ คุณเคยอ่านฉลากหรือไม่? ผมแนะนำให้คุณอ่านซะ ในปี 1997 องค์การอาหารและยาได้สั่งให้ผู้ผลิตยาสีฟันเพิ่มคำเตือนเกี่ยวกับพิษจากยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ทั้งหมดที่จำหน่ายในสหรัฐฯ คำเตือนดังกล่าวระบุว่าควรเก็บให้ห่างจากเด็ก ผมสงสัยว่าเพราะเหตุใดกัน อาจเป็นเพราะถ้าเด็กเล็กกินยาสีฟันทั้งหลอด ปริมาณเท่านี้อาจทำให้ถึงตายได้!
    บทสรุป
    ในช่วงต้นปี 2010 มีภูเขาไฟระเบิดขนาดใหญ่ในประเทศไอซ์แลนด์ สัตว์ในไอซ์แลนด์ตอนใต้มีความเสี่ยงที่จะเป็นพิษจากฟลูออไรด์ หากพวกมันสูดดมหรือกลืนกินเถ้าจากการปะทุ พิษจากฟลูออไรด์สามารถนำไปสู่การมีเลือดออกภายใน ความเสียหายของกระดูกในระยะยาว และการสูญเสียฟัน ตามข่าวบีบีซี (19 เมษายน 2010): "ฟลูออไรด์ในเถ้าสร้างกรดในกระเพาะของสัตว์ กัดกร่อนลำไส้และทำให้เลือดออก นอกจากนี้ยังจับกับแคลเซียมในกระแสเลือดและหลังจากได้รับสารหนักในช่วงเวลาหลายวันทำให้กระดูกเปราะบางแม้กระทั่งทำให้ฟันผุ" คนส่วนใหญ่ไม่เคย "เชื่อมโยงจุดต่างๆ" ระหว่างพิษอันน่าสลดใจของสัตว์เหล่านี้อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ กับพิษของมนุษย์จากการได้รับฟลูออไรด์มากเกินไปในแต่ละวัน
    มีงานศึกษาซึ่งทบทวนโดยคณะผู้เชี่ยวชาญมากกว่า 500 ชิ้นที่บันทึกถึงผลข้างเคียงของฟลูออไรด์ตั้งแต่มะเร็งไปจนถึงความเสียหายต่อสมอง แต่ถึงกระนั้น เขตเทศบาลต่างๆ ทั่วสหรัฐอเมริกาก็ซื้อผลิตภัณฑ์นี้จริงๆ แล้วหยดลงในแหล่งน้ำสาธารณะ Dr. Charles G. Heyd อดีตประธานของ AMA กล่าวว่า "ผมรู้สึกตกใจที่ได้เห็นการใช้น้ำเป็นพาหนะส่งยา ฟลูออไรด์เป็นสารพิษกัดกร่อนซึ่งจะส่งผลร้ายแรงในระยะยาว ความพยายามใดๆ ที่จะใช้น้ำในลักษณะนี้เป็นสิ่งที่น่าประณาม"
    ระบบมันเสียหายไปแล้ว ระบบการดูแลสุขภาพของเรา อุตสาหกรรมยา รัฐบาลและหน่วยงานกำกับดูแล สื่อของเรา และแม้แต่ภาคเทคโนโลยีล้วนได้รับความเสียหาย เรากำลังอยู่ในระหว่างสงครามข้อมูล โดยมีการปกปิดและการเซ็นเซอร์ในระดับสูงอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ชมตัวอย่างสารคดีชุดใหม่ของเรา: PROPAGANDA EXPOSED! ค้นพบความจริงที่ Big Pharma และ Mainstream Media ไม่ต้องการให้คุณเห็น ดูฟรี 100%… และอาจช่วยชีวิตคุณได้
    https://go.propaganda-exposed.com/?a_bid=f9f117e3...
    ผู้เขียน : Ty Bollinger
    ‼ รวมลิสต์รายชื่อยี่ห้อยาสีฟันที่ไม่มี ❌สารฟลูaaไรด์❌ โดยโค๊ชนาตาลี
    🦷 1. ยาสีฟัน Doctor V (แก้ไข ยี่ห้อนี้มี)
    🦷 2. ยาสีฟัน Grants Of Australia
    🦷 3. ยาสีฟัน Sparkle White (ทุกรุ่น)
    🦷 4. ยาสีฟันเอมไทย (AimThai)
    🦷 5. ยาสีฟันน้ำมันมะพร้าว (Tropicana)
    🦷 6. ยาสีฟันสมุนไพรโครงการหลวง เฮอร์เบิลทูธเพสท์
    🦷 7. ยาสีฟัน Curaprox (Enzycal Zero)
    🦷 8. ยาสีฟัน ยาสีฟันโคโค่เมท (Cocomate toothpaste)
    🦷 9. ยาสีฟันก๊กเลี้ยง (แก้ไข ยี่ห้อนี้มี สังเกตฝากล่องด้านใน)
    🦷 10. ยาสีเด็กฟันคินดี้ ออรัล เจล ออร์แกนิค (Kindee Oral Gel Organic ของเด็ก) 👧🧒
    🦷 11. ยาสีฟันดอกบัวคู่ (แก้ไข สูตรดั้งเดิม,สูตรเซนซิที,สูตรเกลือสมุนไพร,สูตรเฟรชแอนด์คูล = ไม่มี สูตรเอเวอร์เฟรชและสูตรฟ้าทลายโจร = มี)
    🦷 12. ยาสีฟันสมุนไพรวาซ Wazz
    🦷 13. ยาสีฟันใจฟ้า
    🦷 14. ยาสีฟัน Dentiste (แค่บางรุ่น ควรอ่านฉลากก่อนซื้อ)
    🦷 15. ยาสีฟัน Thieves Young Living
    🦷 16. ยาสีฟัน Mama's Choice สูตรธรรมชาติ
    🦷 17. ยาสีฟันเพียวรีน (Pureen Maternity Toothpaste)
    🦷 18. ยาสีฟันเด็กเพียวรีน Pureen kids (ของเด็ก) 👧🧒
    🦷 19. ยาสีฟันเด็กเอมไทย กรีน คิดส์ ออร์แกนิค (ของเด็ก) 👧🧒
    🦷 20. ยาสีฟันเด็ก Mama's Choice (ของเด็ก) 👧🧒
    🦷 21. ยาสีฟันเด็ก ดอกบัวคู่คิด (ของเด็ก) 👧🧒
    🦷 22. ยาสีฟันเจสัน Jason Since 1956
    🦷 23. ยาสีฟันซองวิเศษนิยม (มีในร้านสะดวกซื้อ)
    🦷 24. ยาสีฟันสมุนไพรทิพย์นิยม
    🦷 25. ยาสีฟันวันเดอร์สไมล์ (Wonder Smile)
    🦷 26. ยาสีฟันเด็กฟันคินดี้ ออรัล เจล ออร์แกนิค (Kindee Oral Gel Organic ของเด็ก) 👧🧒
    🦷 27. ยาสีฟันเทโซโร่ เฟรช
    🦷 28. ยาสีฟันไอวิศน์ (IVISN)
    🦷 29. ยาสีฟันนกไทย 5 ดาว 4A สูตรดั้งเดิม
    ขอเพิ่มเติม
    🦷 30.ยาสีฟันคอลบาเด้นท์ (Kolbadent)
    🦷 31. ยาสีฟันพาโรดอนแทกซ์ (Parodontax)
    🦷 32. ยาสีฟันเดนตาเมท (Denta mate)
    🦷 33. เกลือสีฟันทรีออร์คิดส์
    🦷 34. ยาสีฟัน Sante ของอ.สันติ มาะดี(หมอนอกกะลา)
    🦷 35. ยาสีฟันรุ่งอรุณ
    🦷 36. ยาสีฟันไบโอมิเนอรัลส์
    (ยี่ห้อนี้ต้องขอขอบคุณครับดร.(ผู้ใหญ่ใจดีท่านหนึ่ง) ที่มาช่วยกิจกรรมกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ได้เคลื่อนไหวช่วยคนไทยในการจัดกิจกรรม แอดไลน์ด้วย QR Code ในภาพเมื่อท่านแจ้งแอดมินตอนสั่งซื้อว่ามาจากกลุ่ม คนไทยพิทักษ์สิทธิ์ กำไรจะถูกหักเข้ากองทุนสำหรับกิจกรรมกลุ่ม)
    เป็นต้น
    https://youtube.com/shorts/cj_brYDAlBM?si=waEMU4F2I0-CWcny
    ขอบคุณเจ้าของบทความต่างๆ
    คุณถูกหลอกมาตลอดเกี่ยวกับฟลูออไรด์หรือเปล่า? ไม่มีอะไรเทียบได้กับน้ำใสๆ เย็นๆ สักแก้วดับกระหายของคุณ แต่คราวหน้าที่คุณเปิดก๊อกน้ำ คุณอาจต้องการตั้งคำถามว่าจริงหรือไม่ น้ำนั้นเป็นพิษเกินกว่าจะดื่มได้ ถ้าน้ำของคุณมีฟลูออไรด์ผสมอยู่ คำตอบน่าจะเป็น "จริง" แม้ว่า "เจ้าหน้าที่" ด้านสุขภาพออกมาประกาศว่า "ปลอดภัย" และ "เป็นธรรมชาติ" ก็ไม่มีอะไรจะมากไปกว่าความจริงได้ เป็นเวลาหลายทศวรรษแล้วที่เราได้รับคำโกหก คำโกหกที่นำไปสู่การเสียชีวิตของชาวอเมริกันหลายแสนคน และทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลงอีกหลายสิบล้านคน การโกหกนี้เรียกว่า "การผสมฟลูออไรด์" กระบวนการที่เราเชื่อว่าเป็นวิธีการที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการปกป้องฟันจากฟันผุ อันที่จริงแล้วเป็นการฉ้อโกง ในคำพูดของ Dr. Robert Carton อดีตนักวิทยาศาสตร์ของ EPA “ฟลูออไรด์เป็นกรณีที่ใหญ่ที่สุดของการฉ้อโกงทางวิทยาศาสตร์ของศตวรรษนี้ หรือไม่ก็ตลอดกาล” “กระบวนการปั่น” เริ่มต้นขึ้น ในปี ค.ศ. 1920 การผลิตอะลูมิเนียมซึ่งส่วนใหญ่มาจากอุตสาหกรรมกระป๋องที่กำลังเฟื่องฟู แต่ก็ยังเป็นผู้ผลิตขยะฟลูออไรด์ที่เป็นพิษรายใหญ่ ภาวะที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออกที่ใหญ่ที่สุดคือค่าใช้จ่ายในการกำจัดของเสียอันตรายอย่างปลอดภัยซึ่งแพงมาก อุตสาหกรรมนี้จึงได้ทำการตลาดและขายของเสียที่เป็นพิษ (โซเดียมฟลูออไรด์) เพื่อใช้ผลิตเป็นยาฆ่าแมลงและยาฆ่าหนู แต่ทว่าพวกเขาต้องการตลาดที่ใหญ่กว่านั้น... มนุษย์ไง อย่างไรก็ตาม พวกเขาก็มีอุปสรรคอยู่เล็กน้อย ในวารสารสมาคมทันตกรรมอเมริกันวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1944 ADA เตือนว่า “โอกาสที่จะเกิดอันตราย (จากฟลูออไรด์) มีมากกว่าประโยชน์ในทางที่ดี” แต่ในปี 1947 Oscar R. Ewing (ซึ่งเป็นทนายความของ ALCOA มาเป็นเวลานาน) ได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าหน่วยงานความมั่นคงแห่งสหพันธรัฐ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ทำให้เขารับผิดชอบด้านบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา และแล้วภายใต้การนำของเขา แคมเปญ "น้ำผสมฟลูออไรด์" ระดับชาติจึงเริ่มต้นขึ้น นักยุทธศาสตร์การประชาสัมพันธ์สำหรับแคมเปญ "น้ำผสมฟลูออไรด์" ไม่ใช่ใครอื่นนอกจาก Edwin L. Bernays หลานชายของ Sigmund Freud หรือที่รู้จักในชื่อ "เจ้าพ่อแห่งการปั่น" Bernays เป็นผู้บุกเบิกการประยุกต์ใช้ทฤษฎีของ Freud มาใช้กับการโฆษณาและ "ความจริงครึ่งเดียวของรัฐบาล" ในหนังสือ "โฆษณาชวนเชื่อ" ของเขา Bernays ได้อ้างว่าความคิดเห็นสาธารณะซึ่งใช้วิทยาศาสตร์บงการเป็นกุญแจสำคัญ เขากล่าวว่า "คนกลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่งมีอิทธิพลควบคุมจิตใจของสาธารณชน" แคมเปญฟลูออไรด์ของรัฐบาลเป็นหนึ่งในความสำเร็จที่ยั่งยืนที่สุดของเขา เทคนิคของเบอร์เนย์นั้นเรียบง่าย แสร้งทำเป็นว่ามีงานวิจัยที่น่าพอใจโดยใช้วลีเช่น "การศึกษาจำนวนมากแสดงให้เห็น ... " หรือ "การวิจัยพิสูจน์แล้ว ... " หรือ "ผู้วิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้พบ ... " (แต่ไม่เคยพูดอ้างอิงถึงสิ่งใดเลย) พูดให้นานพอและดังพอ แล้วในที่สุดผู้คนจะเชื่อมัน หากใครสงสัยหรือซักไซ้เรื่องโกหกนี้ ก็โจมตีหน้าที่การงานและ/หรือสติปัญญาของพวกเขา แล้ว "งานศึกษา" ล่ะ? ไม่มี "งานศึกษาทางวิทยาศาสตร์" ที่พิสูจน์แล้วว่าฟลูออไรด์ปลอดภัยเลยหรือ? ในช่วงทศวรรษที่ 1940 นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า ผู้คนจะมีสุขภาพฟันโดยรวมที่ดีขึ้น (โดยส่วนใหญ่เป็นฟันผุน้อยกว่า) หากพวกเขาอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีฟลูออรีนในระดับที่สูงขึ้นตามธรรมชาติ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาก็ได้เกิดคำถามเรื่อง “การศึกษาวิจัย” และมีความกังวลอย่างมากว่าข้อมูลส่วนใหญ่เป็นเพียงการประดิษฐ์ขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์ที่มีความผูกพันกับบริษัทที่มีส่วนได้เสียในการขายฟลูออไรด์ การปั้นแต่งข้อมูลในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่ใช่เรื่องใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมันเกี่ยวข้องกับสุขภาพ มีบริษัทจำนวนหนึ่งที่จะได้รับผลประโยชน์จากสุขภาพที่ย่ำแย่ของสาธารณชน ตรงกันข้ามกับความเห็นส่วนใหญ่ ฟลูออไรด์กลับไม่ได้หยุดฟันผุเลย จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์แล้วว่าฟลูออไรด์เป็นพิษต่อระบบประสาทและทำให้เกิดความพิการแต่กำเนิด และโรคกระดูกพรุน ฟลูออไรด์ยังทำลายระบบภูมิคุ้มกัน ระบบย่อยอาหารและระบบทางเดินหายใจ รวมถึงตับไตและสมอง และอาจนำไปสู่ความบกพร่องทางการเรียนรู้ ซึ่งรวมถึงผู้ที่มีความบกพร่องในการอ่าน สมาธิสั้น และออทิสติก ในปี 2012 นักวิจัยของฮาร์วาร์ดรายงานว่าการศึกษา 26 จาก 27 ชิ้นที่พวกเขาทบทวนพบว่าไอคิวในวัยเด็กลดลงเมื่อความเข้มข้นของฟลูออไรด์เพิ่มขึ้น รายงานปี 2006 จากสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติได้ทบทวนการศึกษาหลายร้อยชิ้นที่เชื่อมโยงน้ำดื่มที่มีฟลูออไรด์กับความเสียหายทางระบบประสาท ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ และ … ใช่แล้ว …. โรคมะเร็ง ในปี 1955 วารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์รายงานว่าจำนวนผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์เพิ่มขึ้น 400% ในช่วงหลายปีหลังจากที่น้ำในซานฟรานซิสโกเริ่มได้รับการผสมฟลูออไรด์ ต่อมาในปี 1977 สภาคองเกรสได้สั่งให้หน่วยงานบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกาดำเนินการศึกษาในสัตว์เพื่อพิจารณาว่าฟลูออไรด์ทำให้เกิดมะเร็งหรือไม่ หลังจากวิเคราะห์ผลการศึกษาในหนูแล้ว พบว่าหนูที่ดื่มน้ำฟลูออไรด์มีเนื้องอกและมะเร็งเพิ่มขึ้นในเซลล์สความัสในช่องปาก ก่อตัวเป็นรูปแบบที่พบได้ยากของมะเร็งกระดูกที่เรียกว่า osteosarcoma และพบว่ามีเนื้องอกในเซลล์ต่อมไทรอยด์ฟอลลิคูลาร์เพิ่มขึ้น การค้นพบที่สำคัญที่สุดคือการเกิดขึ้นของมะเร็งตับรูปแบบที่หายากมาก มะเร็งตับในหนูเพศผู้และเพศเมียที่ได้รับฟลูออไรด์ นอกจากนี้ในปี 1977 ยังแสดงให้เห็นว่าฟลูออไรด์ทำให้เกิดการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งประมาณ 10,000 รายในการศึกษาทางระบาดวิทยาโดย Dr. Dean Burk อดีตหัวหน้าแผนกไซโตเคมี ที่สถาบันมะเร็งแห่งชาติ และ Dr. John Yiamouyiannis แม้จะมีการค้นพบในปี 1977 แต่ก็ไม่ได้เต็มใจที่จะเปิดเผยจนกระทั่งปี 1989 ในปี 2006 ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด นักวิจัยระบุถึงความเชื่อมโยงระหว่างฟลูออไรด์กับ osteosarcoma การศึกษานี้นำโดย Dr. Elise Bassin และตีพิมพ์ออนไลน์ใน Cancer Causes and Control (วารสารทางการของศูนย์ป้องกันมะเร็งฮาร์วาร์ด) พบว่ามีความเชื่อมโยงอย่างมากระหว่างน้ำดื่มที่มีฟลูออไรด์กับ osteocarcoma ซึ่งเป็นมะเร็งกระดูกที่หายากและมักเสียชีวิตในเด็กชาย การศึกษายืนยันโดยสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (NIH) และแผนกสุขภาพของรัฐนิวเจอร์ซีย์ ซึ่งพบอัตราการเกิดมะเร็งกระดูกที่เพิ่มขึ้นในเด็กผู้ชายที่ดื่มน้ำประปาที่มีฟลูออไรด์ ผลการวิจัยยืนยันผลการศึกษาของรัฐบาลก่อนหน้าในปี 1990 ที่เกี่ยวข้องกับหนูที่ได้รับฟลูออไรด์ แต่ยังมีอีก... เมื่อเข้าไปในร่างกายของคุณ ฟลูออไรด์จะทำลายเอนไซม์ของคุณด้วยการเปลี่ยนรูปร่าง ร่างกายของคุณต้องอาศัยเอ็นไซม์หลายพันชนิดเพื่อทำปฏิกิริยาของเซลล์จำนวนมาก ถ้าไม่มีเอ็นไซม์ เราทุกคนคงตายกันหมด เอ็นไซม์เป็นเหมือนกุญแจที่เข้ากับระบบล็อคภายในเซลล์ของคุณ อย่างไรก็ตาม เมื่อฟลูออไรด์ทำลายรูปร่างของ "กุญแจ" มันจะไม่เข้ากับตัวล็อคอีกต่อไป และร่างกายของคุณไม่รู้จักเอ็นไซม์อีกต่อไป เอนไซม์ที่เสียหายเหล่านี้สามารถนำไปสู่การสลายคอลลาเจน ความเสียหายของดีเอ็นเอ ความเสียหายของเนื้อเยื่อ และการกดภูมิคุ้มกัน ในช่วงต้นปี 2010 มีเรื่องราวสองเรื่องในอินเดียเปิดเผยว่าเด็ก ๆ ตาบอดและพิการบางส่วน อันเป็นผลมาจากการเติมฟลูออไรด์ลงในน้ำดื่มของพวกเขา และในหมู่บ้าน Gaudiyan ของอินเดีย ประชากรมากกว่าครึ่งมีความผิดปกติของกระดูก ทำให้มีความพิการทางร่างกาย เด็กเกิดมาปกติดี แต่หลังจากที่พวกเขาเริ่มดื่มน้ำที่มีฟลูออไรด์ พวกเขาก็เริ่มมีความพิการที่มือและเท้า เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2010 นิตยสาร Time ระบุว่าฟลูออไรด์เป็นหนึ่งใน "สารพิษในครัวเรือน 10 อันดับแรก" และอธิบายว่าฟลูออไรด์ "เป็นพิษต่อระบบประสาทและอาจเกิดเนื้องอกได้หากกลืนเข้าไป" มีการบอกความจริงนี้ในเกือบทุกประเทศในโลก (รวมถึงสหรัฐอเมริกาด้วย) มันผิดกฎหมายที่จะ "ให้ยาขนานใหญ่" กับประชากรทั้งหมดด้วยสารที่ทุกคนยอมรับว่าเป็นพิษ ด้วยความจริงที่ว่าฟลูออไรด์สามารถสะสมในร่างกายได้ จึงเป็นเหตุให้กฎหมายแห่งสหรัฐอเมริกาได้กำหนดให้กรมการแพทย์ทหารตั้งค่า "ระดับสารปนเปื้อนสูงสุด" (MCL) สำหรับปริมาณฟลูออไรด์ในแหล่งน้ำสาธารณะตามที่ EPA กำหนด มันทำให้ผมสับสนจากการที่ทันตแพทย์ที่ถูกล้างสมองหลายพันคนประกาศอย่างภาคภูมิใจว่าฟลูออไรด์เป็น "สารอาหารมหัศจรรย์" ที่ป้องกันฟันผุและส่งเสริมสุขภาพฟันและเหงือก ผมขอตั้งคำถามหน่อยนะ สารพิษสะสมและผลิตภัณฑ์จากขยะพิษจะเรียกว่า “สารอาหาร” ได้อย่างไร เป็นความโชคร้าย หากคุณต้องใช้ชีวิตในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย หรือแคนาดา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินใจในระดับสูง (มีความเป็นไปได้มากที่การผสมฟลูออไรด์ในน้ำจะเป็นเรื่องปกติ) หมายความว่ามีการตัดสินใจเกี่ยวกับสุขภาพของคุณโดยที่คุณไม่มีส่วนร่วมในกระบวนการนี้เลย จากเกือบ 320 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา ประมาณ 72% บริโภคน้ำที่มีฟลูออไรด์อย่างสม่ำเสมอ และจากข้อมูลของ CDC รัฐทั้งหมด 50 รัฐ ได้ผสมฟลูออไรด์ลงในแหล่งน้ำ แล้วคุณจะทำอะไรได้บ้าง? การกรองแบบ Reverse Osmosis ถือว่ามีประสิทธิภาพในการกำจัดฟลูออไรด์ออกจากน้ำ เกลือฟลูออไรด์จะเข้าไปแทนที่ไอโอดีนซึ่งต่อมไทรอยด์จำเป็นต้องใช้ในการทำงาน การเสริมไอโอดีนในอาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญ การเสริมด้วยอัตราส่วนแมกนีเซียมต่อแคลเซียมสูงจะให้แร่ธาตุที่ช่วยขจัดฟลูออไรด์ นอกจากนี้ วิตามิน K2 ที่สกัดจากเอนไซม์ในถั่วเน่าญี่ปุ่น ยังช่วยป้องกันการกลายเป็นหินปูนฟลูออไรด์ในอวัยวะที่มีเนื้อเยื่ออ่อน เช่น หลอดเลือดแดงและสมอง ใช่แล้ว... อีกอย่างที่คุณทำได้คือหยุดใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ คุณเคยอ่านฉลากหรือไม่? ผมแนะนำให้คุณอ่านซะ ในปี 1997 องค์การอาหารและยาได้สั่งให้ผู้ผลิตยาสีฟันเพิ่มคำเตือนเกี่ยวกับพิษจากยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ทั้งหมดที่จำหน่ายในสหรัฐฯ คำเตือนดังกล่าวระบุว่าควรเก็บให้ห่างจากเด็ก ผมสงสัยว่าเพราะเหตุใดกัน อาจเป็นเพราะถ้าเด็กเล็กกินยาสีฟันทั้งหลอด ปริมาณเท่านี้อาจทำให้ถึงตายได้! บทสรุป ในช่วงต้นปี 2010 มีภูเขาไฟระเบิดขนาดใหญ่ในประเทศไอซ์แลนด์ สัตว์ในไอซ์แลนด์ตอนใต้มีความเสี่ยงที่จะเป็นพิษจากฟลูออไรด์ หากพวกมันสูดดมหรือกลืนกินเถ้าจากการปะทุ พิษจากฟลูออไรด์สามารถนำไปสู่การมีเลือดออกภายใน ความเสียหายของกระดูกในระยะยาว และการสูญเสียฟัน ตามข่าวบีบีซี (19 เมษายน 2010): "ฟลูออไรด์ในเถ้าสร้างกรดในกระเพาะของสัตว์ กัดกร่อนลำไส้และทำให้เลือดออก นอกจากนี้ยังจับกับแคลเซียมในกระแสเลือดและหลังจากได้รับสารหนักในช่วงเวลาหลายวันทำให้กระดูกเปราะบางแม้กระทั่งทำให้ฟันผุ" คนส่วนใหญ่ไม่เคย "เชื่อมโยงจุดต่างๆ" ระหว่างพิษอันน่าสลดใจของสัตว์เหล่านี้อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ กับพิษของมนุษย์จากการได้รับฟลูออไรด์มากเกินไปในแต่ละวัน มีงานศึกษาซึ่งทบทวนโดยคณะผู้เชี่ยวชาญมากกว่า 500 ชิ้นที่บันทึกถึงผลข้างเคียงของฟลูออไรด์ตั้งแต่มะเร็งไปจนถึงความเสียหายต่อสมอง แต่ถึงกระนั้น เขตเทศบาลต่างๆ ทั่วสหรัฐอเมริกาก็ซื้อผลิตภัณฑ์นี้จริงๆ แล้วหยดลงในแหล่งน้ำสาธารณะ Dr. Charles G. Heyd อดีตประธานของ AMA กล่าวว่า "ผมรู้สึกตกใจที่ได้เห็นการใช้น้ำเป็นพาหนะส่งยา ฟลูออไรด์เป็นสารพิษกัดกร่อนซึ่งจะส่งผลร้ายแรงในระยะยาว ความพยายามใดๆ ที่จะใช้น้ำในลักษณะนี้เป็นสิ่งที่น่าประณาม" ระบบมันเสียหายไปแล้ว ระบบการดูแลสุขภาพของเรา อุตสาหกรรมยา รัฐบาลและหน่วยงานกำกับดูแล สื่อของเรา และแม้แต่ภาคเทคโนโลยีล้วนได้รับความเสียหาย เรากำลังอยู่ในระหว่างสงครามข้อมูล โดยมีการปกปิดและการเซ็นเซอร์ในระดับสูงอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ชมตัวอย่างสารคดีชุดใหม่ของเรา: PROPAGANDA EXPOSED! ค้นพบความจริงที่ Big Pharma และ Mainstream Media ไม่ต้องการให้คุณเห็น ดูฟรี 100%… และอาจช่วยชีวิตคุณได้ https://go.propaganda-exposed.com/?a_bid=f9f117e3... ผู้เขียน : Ty Bollinger ‼ รวมลิสต์รายชื่อยี่ห้อยาสีฟันที่ไม่มี ❌สารฟลูaaไรด์❌ โดยโค๊ชนาตาลี 🦷 1. ยาสีฟัน Doctor V (แก้ไข ยี่ห้อนี้มี) 🦷 2. ยาสีฟัน Grants Of Australia 🦷 3. ยาสีฟัน Sparkle White (ทุกรุ่น) 🦷 4. ยาสีฟันเอมไทย (AimThai) 🦷 5. ยาสีฟันน้ำมันมะพร้าว (Tropicana) 🦷 6. ยาสีฟันสมุนไพรโครงการหลวง เฮอร์เบิลทูธเพสท์ 🦷 7. ยาสีฟัน Curaprox (Enzycal Zero) 🦷 8. ยาสีฟัน ยาสีฟันโคโค่เมท (Cocomate toothpaste) 🦷 9. ยาสีฟันก๊กเลี้ยง (แก้ไข ยี่ห้อนี้มี สังเกตฝากล่องด้านใน) 🦷 10. ยาสีเด็กฟันคินดี้ ออรัล เจล ออร์แกนิค (Kindee Oral Gel Organic ของเด็ก) 👧🧒 🦷 11. ยาสีฟันดอกบัวคู่ (แก้ไข สูตรดั้งเดิม,สูตรเซนซิที,สูตรเกลือสมุนไพร,สูตรเฟรชแอนด์คูล = ไม่มี สูตรเอเวอร์เฟรชและสูตรฟ้าทลายโจร = มี) 🦷 12. ยาสีฟันสมุนไพรวาซ Wazz 🦷 13. ยาสีฟันใจฟ้า 🦷 14. ยาสีฟัน Dentiste (แค่บางรุ่น ควรอ่านฉลากก่อนซื้อ) 🦷 15. ยาสีฟัน Thieves Young Living 🦷 16. ยาสีฟัน Mama's Choice สูตรธรรมชาติ 🦷 17. ยาสีฟันเพียวรีน (Pureen Maternity Toothpaste) 🦷 18. ยาสีฟันเด็กเพียวรีน Pureen kids (ของเด็ก) 👧🧒 🦷 19. ยาสีฟันเด็กเอมไทย กรีน คิดส์ ออร์แกนิค (ของเด็ก) 👧🧒 🦷 20. ยาสีฟันเด็ก Mama's Choice (ของเด็ก) 👧🧒 🦷 21. ยาสีฟันเด็ก ดอกบัวคู่คิด (ของเด็ก) 👧🧒 🦷 22. ยาสีฟันเจสัน Jason Since 1956 🦷 23. ยาสีฟันซองวิเศษนิยม (มีในร้านสะดวกซื้อ) 🦷 24. ยาสีฟันสมุนไพรทิพย์นิยม 🦷 25. ยาสีฟันวันเดอร์สไมล์ (Wonder Smile) 🦷 26. ยาสีฟันเด็กฟันคินดี้ ออรัล เจล ออร์แกนิค (Kindee Oral Gel Organic ของเด็ก) 👧🧒 🦷 27. ยาสีฟันเทโซโร่ เฟรช 🦷 28. ยาสีฟันไอวิศน์ (IVISN) 🦷 29. ยาสีฟันนกไทย 5 ดาว 4A สูตรดั้งเดิม ขอเพิ่มเติม 🦷 30.ยาสีฟันคอลบาเด้นท์ (Kolbadent) 🦷 31. ยาสีฟันพาโรดอนแทกซ์ (Parodontax) 🦷 32. ยาสีฟันเดนตาเมท (Denta mate) 🦷 33. เกลือสีฟันทรีออร์คิดส์ 🦷 34. ยาสีฟัน Sante ของอ.สันติ มาะดี(หมอนอกกะลา) 🦷 35. ยาสีฟันรุ่งอรุณ 🦷 36. ยาสีฟันไบโอมิเนอรัลส์ (ยี่ห้อนี้ต้องขอขอบคุณครับดร.(ผู้ใหญ่ใจดีท่านหนึ่ง) ที่มาช่วยกิจกรรมกลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ได้เคลื่อนไหวช่วยคนไทยในการจัดกิจกรรม แอดไลน์ด้วย QR Code ในภาพเมื่อท่านแจ้งแอดมินตอนสั่งซื้อว่ามาจากกลุ่ม คนไทยพิทักษ์สิทธิ์ กำไรจะถูกหักเข้ากองทุนสำหรับกิจกรรมกลุ่ม) เป็นต้น https://youtube.com/shorts/cj_brYDAlBM?si=waEMU4F2I0-CWcny ขอบคุณเจ้าของบทความต่างๆ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 50 มุมมอง 0 รีวิว
  • ภาพแรก
    ซ้าย ไม่มี ฟลูออไรด์
    ขวา มี ฟลูออไรด์
    โลกคือมายา #ลวงทั้งโลก
    ฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ⁉️
    ท่านสามารถดาวน์โหลดรายงานการวิจัยที่ว่าด้วยฟลูออไรด์ต่อการลดความสามารถทางปัญญาในเด็กได้ถึง 32 หน้าฟรี ๆ ที่นี่
    https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3491930/
    Source :
    https://youtu.be/KLsjwWo1F2I
    --------------------------------------------------
    โดยทั่วไป #ฟลูออไรด์ เป็นสารทำลายต่อมไร้ท่อเนื่องจากฟลูออไรด์เป็นฮาไลด์ (halide)เช่นกัน มันจึงแข่งขันกับฮาไลด์ตัวอื่นที่ตัวรับเดียวกันในต่อมไทรอยด์ และที่อื่นๆ เพื่อจับกับไอโอดีน สิ่งนี้จะยับยั้งการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ ซึ่งส่งผลให้มีฮอร์โมนไทรอยด์ในระดับต่ำ
    มีการพิสูจน์แล้วว่าฟลูออไรด์มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนการทำงานของต่อมไร้ท่อ
    แต่ความจริงข้อนี้ถูกละเลยโดยหน่วยงาน และสมาคมที่ยังคงส่งเสริมการใช้ฟลูออไรด์ต่อไป
    จากรายงานของ National Research Council of the National Academies ในปี 2549
    ฟลูออไรด์ "เป็นตัวทำลายต่อมไร้ท่อในแง่กว้างโดยปรับเปลี่ยนการทำงานของต่อมไร้ท่อที่เป็นปกติ"
    ฟังก์ชั่นที่เปลี่ยนแปลงนี้สามารถเกี่ยวข้องกับต่อมไทรอยด์ พาราไทรอยด์ และต่อมไพเนียลรวมถึงต่อมหมวกไต ตับอ่อน และต่อมใต้สมอง
    ต่อมไทรอยด์ของคุณ และฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่ในการรักษาอัตราการเผาผลาญโดยรวมของร่างกาย ควบคุมการเจริญเติบโตและการพัฒนาตามปกติ เนื่องจากเซลล์ที่มีการเผาผลาญทั้งหมดต้องการฮอร์โมนไทรอยด์เพื่อการทำงานที่เหมาะสม
    การหยุดชะงักของระบบนี้ อาจมีผลกระทบที่หลากหลายต่อแทบทุกระบบในร่างกายของคุณ ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ ถือเป็นหนึ่งในโรคที่พบมากที่สุดของโรคต่อมไร้ท่อ
    การใช้ฟลูออไรด์ในอดีต เป็นการแทรกแซงทางการแพทย์สำหรับ Hyperthyroid
    จนถึงปี 1970 นักวิทยาศาสตร์ในยุโรปได้กำหนดให้ใช้ฟลูออไรด์ เพื่อลดอัตราการเผาผลาญพื้นฐานในผู้ป่วยที่มีต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป ผลการศึกษาทางคลินิกที่ตีพิมพ์งานหนึ่งรายงานว่า
    ปริมาณฟลูออไรด์เพียง 2 - 3 มิลลิกรัม ซึ่งเป็นปริมาณที่ไม่มากนัก ถ้าได้รับอย่างสม่ำเสมอก็เพียงพอที่จะลดกิจกรรมของต่อมไทรอยด์ในผู้ป่วยได้
    การใช้ฟลูออไรด์เพื่อการรักษาต่อมไทรอยด์ได้รับการกระตุ้นโดยการวิจัยที่เริ่มต้นในปี 1800 ซึ่งเชื่อมโยงการบริโภคฟลูออไรด์กับคอพอก การบวมของต่อมไทรอยด์ที่เกิดจากภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์
    ในรายงานเมื่อปี 2549 Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards, the National Research Council (NRC) รายงานว่า
    "ข้อมูลหลายบรรทัด แสดงถึงผลกระทบของฟลูออไรด์ต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์" โดยเฉพาะรายงานที่กล่าวถึงการวิจัยแสดงให้เห็นว่า
    "การได้รับฟลูออไรด์ในมนุษย์นั้นมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของ TSH ที่เพิ่มขึ้น เพิ่มความแพร่หลายของคอพอก และเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ T4 และ T3" นอกจากนั้นยังมีผลที่คล้ายกันใน T4 และ T3 รายงานในสัตว์ทดลอง
    นอกจากนี้ NRC ยังกล่าวถึงงานวิจัยที่เชื่อมโยงฟลูออไรด์ กับผลกระทบต่อกิจกรรมของพาราไธรอยด์ การด้อยค่าของการทนต่อกลูโคส และระยะเวลาของการคงไว้ซึ่งสภาวะทางเพศ
    จากการค้นพบเหล่านี้ คณะกรรมการ NRC แนะนำว่า "ผลกระทบของฟลูออไรด์ในแง่มุมต่างๆ ต่อการทำงานของต่อมไร้ท่อ ควรได้รับการตรวจสอบต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับบทบาทที่เป็นไปได้ในการพัฒนาโรคต่างๆ
    อย่างไรก็ตามผู้เสนอให้ใช้ฟลูออไรด์ยังคงเพิกเฉยต่อวรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบที่เป็นอันตราย
    ฟลูออไรด์จำนวนเล็กน้อย เปลี่ยนการทำงานของต่อมไทรอยด์ของคุณได้อย่างน่าประหลาดใจ
    การทำงานของต่อมไทรอยด์ที่เปลี่ยนแปลงนั้นเกี่ยวข้องกับการได้รับฟลูออไรด์ในระดับต่ำถึง 0.05 - 0.1 มก. ฟลูออไรด์ต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน (มก. / กก. / วัน) หรือ 0.03 มก. / กก. / วัน
    สำหรับผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนัก 70 กิโลกรัม (154 ปอนด์) หมายความว่าฟลูออไรด์ 3.5 มก. ต่อวัน (หรือฟลูออไรด์ 0.7 มก. ต่อวันที่มีการขาดไอโอดีน) อาจทำให้ไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
    การวิเคราะห์โดยหน่วยงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา ประมาณการว่าผู้ใหญ่ชาวอเมริกันโดยทั่วไปบริโภคฟลูออไรด์เกือบ 3 มิลลิกรัมทุกวัน และบางคนบริโภคเป็นประจำวันละ 6 มก. ขึ้นไป
    สำหรับเด็กที่มีน้ำหนัก 14 กิโลกรัม (30 ปอนด์) ฟลูออไรด์ที่ได้รับมากกว่า 0.7 มก. ต่อวัน (หรือ 0.14 มก. ต่อวันหากขาดไอโอดีน) ทำให้เด็กเสี่ยงต่อความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
    และ EPA (2010) ได้ทำการประเมินว่าเด็กที่อยู่ในช่วงน้ำหนักนี้ (อายุ 1- 3 ปี) ได้บริโภคฟลูออไรด์มากกว่า 1.5 มก. ในแต่ละวัน หรือมากกว่า 2 เท่า ของจำนวนที่จำเป็นในการกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ที่เปลี่ยนแปลง การได้รับอย่างต่อเนื่องเหล่านี้อาจมีผลกระทบอย่างลึกซึ้งและตลอดชีวิตต่อพัฒนาการทางสติปัญญา ทางสังคม ทางเพศ และทางกายภาพโดยรวมของเด็ก
    การศึกษาจำนวนมากพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับฟลูออไรด์ในระดับค่อนข้างต่ำถึงปานกลาง และการลด IQ ในเด็ก แม้แต่ระดับฟลูออไรด์ที่น้อยกว่า 1.0 มก. / ล. ก็มีความสัมพันธ์กับ IQ ที่ลดลง และความถี่ที่เพิ่มขึ้นของภาวะไทรอยด์ทำงานในเด็กที่มีอาการขาดสารไอโอดีน
    การพิจารณาอย่างจริงจัง ว่าต่อมไทรอยด์ของคุณอาจเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางที่สุดในร่างกายของคุณต่อฟลูออไรด์ ก็อาจเป็นประโยชน์ต่อคุณ
    ฟลูออไรด์สะสมในต่อมไทรอยด์ของคุณมากกว่าเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ
    ฟลูออไรด์อาจขัดขวางการทำงานของต่อมไทรอยด์ของคุณโดยตรง หรือโดยอ้อมด้วยการกระทำที่เป็นไปได้ รวมถึงความสามารถของฟลูออไรด์ในการเลียนแบบฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (TSH)
    - ทำลาย G-proteins ที่ละเอียดอ่อนซึ่งทำหน้าที่เป็นหน่วยการสร้างของตัวรับฮอร์โมนในร่างกายของคุณ
    -ทำลายเซลล์ของต่อมไทรอยด์ของคุณ
    -ทำลาย DNA ของคุณ
    -รบกวนการแปลงจากไทรอยด์ฮอร์โมน (T4) ที่ไม่ได้ใช้งานไปเป็นแบบฟอร์มที่ต้องใช้งาน (T3)
    จากข้อมูลของ PubMed Health พบว่าผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปี มีความเสี่ยงสูงสุดต่อการเกิดภาวะพร่อง หรือภาวะไทรอยด์ต่ำ เกือบ 4% ของประชากรสหรัฐอเมริกา
    มากกว่า 11 ล้านคน มีภาวะไทรอยด์ทำงานหนักเกินจริง นอกจากนี้ 10% ของประชากรทั่วไป 21 ล้านคน มีภาวะพร่องที่ไม่แสดงอาการซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่แข็งแกร่งสำหรับการพัฒนาต่อมาของภาวะพร่องไทรอยด์
    แม้จะมีอุบัติการณ์สูงขึ้นในประชากรที่มีอายุมากกว่า แต่อัตราการเกิดภาวะพร่องของ hypothyroidism ทารกแรกเกิดเพิ่มขึ้นเกือบ 75% ในช่วง 2ทศวรรษที่ผ่านมาในสหรัฐอเมริกาตอนนี้ส่งผลกระทบต่อ 1 ในทุกๆ 2,370 ของการเกิดภาวะพร่องในทารกแรกเกิดที่ไม่ได้รับการรักษา สามารถนำไปสู่ภาวะปัญญาอ่อน การชะลอการเจริญเติบโต และปัญหาหัวใจ
    เด็กที่เป็นโรคไทรอยด์ทำงานผิดปกติมาแต่กำเนิด หรือเยาวชน ได้รับรายงานว่ามีการล่าช้าของการงอกของฟัน หรือข้อบกพร่องในการเคลือบฟัน แม้ว่าการเชื่อมต่อระหว่างการค้นพบเหล่านี้กับผลกระทบของฟลูออไรด์ต่อไทรอยด์ยังไม่ได้ทำการศึกษา
    สิ่งที่เกี่ยวข้องอย่างยิ่ง คือความสัมพันธ์แบบผกผันระหว่างความรุนแรงของอาการที่ไม่แสดงอาการในหญิงตั้งครรภ์และ IQ ที่ลดลงของบุตรหลาน
    การพร่องของมารดายังได้รับการเสนอให้เป็นสาเหตุ หรือผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาออทิสติก
    ศักยภาพของฟลูออไรด์ที่จะส่งผลต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์ยังเป็นสิ่งจำเป็นอีกหลายประการ
    ดังนั้นวิธีการใช้ฟลูออไรด์วิธีการแบบไม่เจาะจง / การเติมฟลูออไรด์ในน้ำดื่มสาธารณะโดยเจตนา / การผสมเข้าไปในยาสีฟัน / การเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ เป็นปัญหาอย่างยิ่ง
    เนื่องจากจะทำให้ร่างกายของคุณสัมผัสกับสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ โดยไม่คำนึงถึงความต้องการ หรือความอ่อนไหวส่วนตัว และเป็นการละเมิดหลักการสำคัญของเภสัชวิทยาสมัยใหม่
    -----------------------------------
    Andersson M, de Benoist B,Delange F, Zupan J. 2007.Prevention and control of iodine deficiency in pregnant and lactating women and in children less
    Bharaktiya S, et al., 2010.Hypothyroidism. Medscape Reference.
    Delange F. 2004. Optimal iodine nutrition during pregnancy, lactation and neonatal period. Int J Endocrinol Metab 89:3851.
    Drugs.com. Undated. Top-selling drugs of 2009.
    IOM (Institute of Medicine). 2001. Dietary Reference Intakes for Vitamin A, Vitamin K, Arsenic, Boron, Chromium, Copper, Iodine, Iron, Manganese
    Larsen PR, Davies TF, Schlumberger MJ, Hay ID. 2002. Thyroid physiology and diagnostic evaluation of patients with thyroid disorders. Pp. 331-373
    PubMed Health. 2009. Neonatal hypothyroidism.
    PubMed Health. 2010. Hypothyroidism.
    Wang H, Yang Z, Zhou B, et al. 2009. Fluoride-induced thyroid dysfunction in rats: roles of dietary protein and calcium level. Toxicol Ind Health
    Zimmermann MB. 2009. Iodine deficiency in pregnancy and the effects of maternal iodine supplementation on the offspring: a review. Am J Clin Nutr
    1 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 507 pp.
    2 Maumené E. 1854. Compt Rend Acad Sci 39:538. May W. 1935. Antagonismus Zwischen Jod und Fluor im Organismus. Klinische Wochenschrift 14:790-92.
    3 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC.
    4 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC.
    5 EPA (U.S. Environmental Protection Agency). 2010. Fluoride: Exposure and Relative Source Contribution Analysis.
    6 Connett P, Beck J, Micklem HS. 2010. The Case Against Fluoride. How Hazardous Waste Ended Up in Our Drinking Water and the Bad Science
    7 Lin FF, Aihaiti HX, Zhao J, et al. 1991. The relationship of a low-iodine and high-fluoride environment to subclinical cretinism in Xinjiang.
    8 ICCIDD (International Council for the Control of Iodine Deficiency Disorders). 2011. Iodine Deficiency.
    9 Hollowell JG, Staehling NW, Hannon WH, et al. 1998. Iodine nutrition in the United States. Trends and public health implications: iodine excretion
    10 Lee SL, et al. 2009. Iodine Deficiency. Medscape Reference.
    11 Caldwell KL, Miller GA, Wang RY, et al. 2008. Iodine status of the U.S. population, National Health and Nutrition Examination Survey 2003-2004.
    12 Shashi A. 1988. Biochemical effects of Fluoride on thyroid gland duringexperimental fluorosis. Fluoride 21:127–130.
    13 Monsour PA, Kruger BJ. 1985. Effect of fluoride on soft tissue in vertebrates. Fluoride 18:53-61. / Call RA, Greenwood DA, LeCheminant H, et al. 1965.
    14 Ge Y, Ning H, Wang S, Wang J. 2005. DNA damage in thyroid gland cells of rats exposed to long-term intake of high fluoride and low iodine. Fluoride
    15 Gas'kov A, Savchenkov MF, Lushkov NN. 2005. [The specific features of the development of iodine deficiencies in children living under pollution]
    16 Aoki Y, Belin RM, Clickner R, et al. 2007. Serum TSH and total T4 in the United States population
    17 Olney RS, Grosse SD, Vogt RF. 2010. Prevalence of Congenital Hypothyroidism—Current Trends and Future Directions: Workshop Summary. Pediatrics 125
    18 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC.
    19 Klein RZ, Sargent JD, Larsen PR, et al. 2001. Relation of severity of maternal hypothyroidism to cognitive development in offspring. J Med Screen
    20 Román GC. 2007. Autism: Transient in utero hypothyroxinemia related to maternal flavonoid ingestion during pregnancy.
    Biological Trace Element Research :
    https://www.researchgate.net/.../345973053_In_Vitro...
    ✨✨✨✨✨✨✨
    ฟังคลิปคุณหมอ นาทีที่ 58
    https://youtu.be/AYAJJSOmdJo
    ✨✨✨✨✨✨✨
    ปฏิวัติสุขภาพกับอ.ปานเทพ เรื่อง ฟลูออไรด์ ภัยเงียบในน้ำดื่มน้ำใช้ยาสีฟัน
    https://youtu.be/741TFbVWJwQ
    https://youtu.be/s-ElDeuDl1I
    https://youtu.be/Y5Ad9L-B21c
    https://youtu.be/1KgS-_E05YE
    https://youtu.be/KLsjwWo1F2I
    ✨✨✨✨✨✨✨
    ฟลูออไรด์ในยาสีฟัน โดย อ.สันติ มานะดี
    https://www.facebook.com/10000435.../posts/1352913331530352/
    ✨✨✨✨✨✨✨
    สารฟลูโอไรด์ ( Fluoride )
    Little Girl Healthy SHOP - สินค้าส่งตรงจากอเมริกา
    กราฟแสดงระดับความรุนแรงของสารตะกั่ว สารหนูและฟลูโอไรด์
    ค่าระดับความเป็นพิษของฟลูโอไรด์ที่พุ่งแรงแซงสารตะกั่วไปอยู่ที่ระดับ 4 เกือบๆ 5 นั่นแปลว่า มันเป็นพิษมากจนถึงขั้นรุนแรง! ยิ่งถ้าบ้านใครมียาฆ่าหนูและแมลงสาบลองพลิกดูที่ส่วนผสมข้างกล่อง คุณอาจจะช็อกตาค้างมากกว่านี้ เพราะสิ่งเดียวที่เป็นส่วนผสมในยาเบื่อหนูคือฟลูโอไรด์
    ซึ่งความจริงแล้ว ฟลูออไรด์ได้นำมาใช้ครั้งแรกในเชิงอุตสาหกรรมเพื่อใช้เป็นยาเบื่อหนู ถามว่า.. แล้วทำไมมันถึงมาอยู่ในยาสีฟันล่ะ?
    จริงๆแล้วฟลูออไรด์ที่มีประโยชน์ต่อกระดูกและฟันอย่างแท้จริงมันคือ “แคลเซียมฟลูออไรด์ “ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่ที่ผสมอยู่ในยาสีฟันมันคือ "โซเดียมฟลูออไรด์"
    เป็นสารพิษที่ผลิตขึ้นในโรงงานซึ่งมีราคาถูกกว่า
    และถ้าใครที่คิดว่าฟลููโอไรด์ช่วยให้ฟันแข็งแรงป้องกันฟันผุ แบบที่เคยได้ยินกันจนคุ้นหูคุ้นตาในโฆษณาทีวีตั้งแต่เด็กๆคงต้องคิดใหม่ เพราะมันกลับเป็นตัวการทำให้เกิดฟันตกกระที่เรียกว่า Dental Fluorosis เกิดเป็นรอยกระดำกระด่างที่ผิวฟันจากการสะสมของสารพิษฟลูโอไรด์ในระยะยาว แถมยังมีผลต่อกระดูกทำให้กระดูกพรุนด้วย ข้อมูลจากวารสารการแพทย์ของรัฐนิวอิงแลนด์ สหรัฐอเมริกา รายงานว่า มีการใช้สารฟลูออไรด์เพื่อรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) แต่ผลกลับกลายเป็นว่า อัตราการเกิดกระดูกตะโพกร้าวสูงขึ้นกว่าปกติ
    และในปี 1993 นักวิทยาศาสตร์จากองค์การป้องกันสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกาได้ออกมาต่อต้านการเติมฟลูออไรด์ในน้ำดื่มและอาหาร นักวิทยาศาสตร์เหล่านั้นได้ยืนยันว่า ฟลูออไรด์ไม่ได้ป้องกันฟันผุ ผลตรงกันข้าม กลับมีเหตุการณ์แน่ชัดว่า มันเป็นตัวก่อมะเร็งได้ http://www.biowish.net/pages/med.htm
    เคยมีนักวิทยาศาสตร์ทำการทดลองผสมฟลูโอไรด์ในน้ำของค่ายกักกันที่รัซเซียในยุคคอมมิวนิสต์และอีกที่ในช่วงยุคนาซีที่เยอร์มัน มีจุดประสงค์ในการทดลองเพื่อจะดูว่าถ้านักโทษผู้โชคร้ายทั้งหลายกินน้ำผสมฟลูโอไรด์เข้าไปแล้วนักโทษจะเป็นยังไง
    ผลปรากฎว่า อารมณ์รุนแรงของนักโทษลดลงอย่างเห็นได้ชัด เปลี่ยนจากนักโทษโหดๆเป็นแมวหง่าวนั่งหงอย ไม่แยแสต่อสิ่งรอบข้างใดๆ ไม่ยกพวกตีกันเหมือนก่อน
    ฟังแล้วดูเหมือนจะดีใช่ไหมคะ.. แต่ความจริงแล้วมันน่ากลัวซะมากกว่า เพราะว่าฟลูโอไรด์มันมีผลโดยตรงต่อสมองน่ะสิ โดยมันเข้าไปทำลายต่อมไพนีล (Pineal gland) หรือเรียกว่าดวงตาที่ 3 ที่ทำหน้าที่ควบคุมร่างกาย โดยทำงานร่วมกับต่อมไฮโปทารามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นต่อมไร้ท่อทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน ทำหน้าที่เกี่ยวกับอารณ์ต่างๆ เช่นความหิว ความกระหาย ความต้องการทางเพศ ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นเหมือนนาฬิกาชีวิตซึ่งควบคุมอายุของมนุษย์
    ดังนั้นเมื่อต่อมนี้โดนทำลาย จึงทำให้เกิดความท้อแท้ หมดแรงจูงใจ ขาดความคิดริเริ่ม เป็นตัวลดไอคิว ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ และเนื่องจากการทดลองที่ประสบความสำเร็จของรัฐบาลครั้งนั้น ปัจจุบันนี้ฟลูโอไรด์เลยมาอยู่ในยาสีฟันให้เราใช้กันทุกวัน เปรียบได้กับอาวุธของรัฐบาลในการทำให้ประชาชนโง่และเป็นการควบคุมประชากรไปในตัว ในบางประเทศอย่างไอร์แลนด์ อเมริกา ถึงกับโดนมัดมือชกให้กินน้ำผสมยาพิษฟลูโอไรด์กันเลยทีเดียว
    โดยผสมมันลงในน้ำประปาสาธารณะ โดยอ้างว่าหวังดีอยากป้องกันโรคฟันผุให้ประชาชน แต่มีการพิสูจน์แล้วโดยเปรียบเทียบสุขภาพฟันของคนอังกฤษและอเมริกัน ปรากฎว่าสุขภาพฟันไม่ต่างกันเลยทั้งๆที่น้ำในประเทศอังกฤษไม่มีการฟลูโอไรด์ลงในน้ำ การกระทำที่มีนัยยะแอบแฝงแบบนี้เลยสร้างความไม่พอใจให้หลายๆคนในหลายประเทศที่ไม่เต็มใจจะโดนวางยาพิษในน้ำก๊อกที่ทำให้โง่และเป็นโรค แถมการเอาน้ำไปต้มให้เดือดก็ไม่ได้ช่วยอะไรยกเว้นเพิ่มความแรงของสารพิษให้สูงขึ้นอึก 7 เท่าตัว
    เคยสงสัยมั้ยว่าทำไมยาสีฟันที่มีผสมฟลูโอไรด์ต้องมีคำเตือนแปะอยู่ข้างหลอดว่าห้ามกลืน ถ้าใครเผลอกลืนต้องรีบพบแพทย์!! อะไรก็ตามที่ทำมาให้ใช้ได้ในปาก มันควรที่จะปลอดภัยมากกว่าเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคไม่ใช่หรือ? โดยเฉพาะยาสีฟันที่เราเอาใส่ปากเป็นสิ่งแรกและสิ่งสุดท้ายทุกๆวัน บางคนอาจคิดว่าอีคนเขียนนี่วิตกจริตฟุ้งซ่านมากไปป่ะ? ไม่มีใครเค้าโง่กลืนยาสีฟันหรอก แค่ใส่ปากแปรงๆแล้วก็บ้วนทิ้่ง โอเค ก็จริงอยู่ที่ไม่มีใครกลืนมันแบบตั้งใจ แต่มีใครแน่ใจร้อยเปอร์เซ็นต์บ้างล่ะ ว่ามันไม่ได้แอบตกค้างอยู่ตามซอกฟันซอกเหงือกให้คุณกลืนลงท้องทั้งคืน บวกกับอีกรอบตอนเช้า โดยเฉพาะเด็กๆ ที่อาจจะกลืนมันลงไปโดยไม่ตั้งใจถ้าไม่มีผู้ปกครองดูแล เชื่อหรือไม่ว่าฟลูโอไรด์เพียง 200 มิลลิกรัม หรือปริมาณยาสีฟันบีบออกมาเท่ากับความยาวของแปรงสีฟันนั้นสามารถฆ่าเด็กเล็กได้เลย และฆาตกรตัวจริงไม่ใช่ยาสีฟันแต่คือฟลูโอไรด์เพียวๆเลยหล่ะ จากรายงานของสมาคมศูนย์ควบคุมพิษอเมริกาบอกว่า ในปี 1994 มีคนตายจากฟลูออไรด์ที่ผสมในอาหารเสริมแล้วด้วย! Fluoride Alert .Org
    แคลเซียมฟลูออไรด์เป็นธาตุที่จำเป็น พบเป็นส่วนใหญ่ในกระดูก และเคลือบฟัน ช่วยทำให้กระดูกแข็งแรง และทำให้ฟันทนต่อการผุมากขึ้น แคลเซียมฟลูออไรด์อาจช่วยป้องกันโรคปริทันต์ด้วย และป้องกันโรคกระดูกพรุน แคลเซียมฟลูออไรด์พบในธรรมชาติ ในรูปของแคลเซียมคลอไรด์ มีอยู่ในพืชทุกชนิด สัตว์ น้ำ และ ดิน
    โซเดียมฟลูออไรด์ (Sodium Fluoride) เป็นสารอนินทรีย์ที่เกิดจากธาตุฟลูออรีน (Fluorine) ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางได้นำเอาโซเดียมฟลูออไรด์ไปผสมกับผลิตภัณฑ์ ยาสีฟัน น้ำยาบ้วนปากด้วยโซเดียมฟลูออไรด์
    การได้รับฟลูออรีน จะเกิดการสะสมของฟลูออรีนไว้ในร่างกายทีละน้อย จะทำให้เกิดความเสียหายและข้อบกพร่องขึ้นกับระบบโครงกระดูกและฟันสำหรับความผิดปกติของฟัน
    เกิดขึ้นโดยฟันจะมีลักษณะเป็นจุดสีขาวขุ่นๆ ซึ่งเดิมมีลักษณะใส นอกจากนี้ยังทำให้ฟันไม่แข็งแรงเท่าที่ควร ฟันจึงมักชำรุดแตกบิ่นง่าย ส่วนในระบบโครงกระดูกอาการที่พบคือ กระดูกจะเจริญเร็วมาก ซึ่งอาจจะสังเกตได้จากกระดูกขา กราม กระดูกซี่โครง ขากระเผลก เดินลำบาก ซึ่งเป็นผลจากการเจริญมากเกินไปของกระดูกหรือเกิดจากที่หินปูนไปจับกับเอ็นและข้อต่อของขา จึงทำให้ขาแข็ง ซึ่งอาการเหล่านี้จะเป็นอาการแบบถาวร
    แหล่งอาหาร แคลเซียมฟลูออไรด์ ตามธรรมชาติ
    1. ข้าวต่างๆ
    2. ผลไม้ เช่น แอปเปิล องุ่น ลูกแพร์ กล้วย และเชอร์รี่
    3. ผักต่างๆ เช่น หัวแครอท กระเทียม หัวบีท ผักใบเขียว กระจับ ถั่ว ข้าวโพด หัวไชเท้า มะเขือ หัวหอม มันฝรั่ง
    4. เนย เนยแข็ง เนยเหลว ไข่
    5. เมล็ดทานตะวัน
    6. อื่นๆ เช่น อาหารทะเล ถั่วเหลือง ปลา น้ำทะเล น้ำกระด้าง น้ำผึ้ง ชาดำ แหล่งอาหารที่ดีที่สุดของฟลูออไรด์คือ อาหารทะเล
    #สารฟลูออไรด์ในยาสีฟันก่อให้เกิดมะเร็ง จริงหรือไม่?
    ☠️☠️
    ทำไมเด็กในอเมริกาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเป็นอันดับ 1 นักวิจัยหลายๆท่านที่อเมริกา รวมทั้ง Charlotte Gerson ได้ไปทดสอบและพิสูจน์แล้วว่า ยาสีฟันที่ขายกันอยู่ตามท้องตลาดทั่วไปรวมทั้งยี่ห้อที่เราใช้กันอยู่ทุกวันมีส่วนผสมของ ฟลูออไรด์ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง
    Charlotte ให้ผู้ป่วยที่มารับการรักษามะเร็งที่คลีนิคของเธอทุกคนเลิกใช้ยาสีฟันที่ผสมสารฟลูออไรด์ เธอยังบอกอีกว่าไม่แปลกใจเลยว่าปัจจุบันนี้ทำไมเด็กในอเมริกาเป็นโรคมะเร็งเพิ่มขึ้น เพราะยาสีฟันที่ใช้กันอยู่ ผสม สารฟลูออไรด์ แล้วยังใส่รสชาติเหมือนขนมหวานให้เด็กๆติดใจและอยากจะใช้ยาสีฟันแบบนี้
    🚑🚑
    เธอบอกความจริงว่าถ้าผู้บริโภคไม่มีใครป่วยเป็นโรคอะไรเลยแล้วผู้ผลิตยาจะทำธุรกิจได้กำไรจากที่ไหน ลองไปดูสิคะผู้ผลิตสิ่งเหล่านี้บางทีก็เป็นบริษัทเดียวกันกับผู้ผลิตยานั่นเอง ผลิตภัณฑ์ที่หมอฟันใช้กับคนไข้ไม่ว่าจะเป็นน้ำยาบ้วนปาก หรือแม้แต่สิ่งที่ใช้อุดฟันล้วนแล้วเป็นสารก่อมะเร็งทั้งนั้น
    🎗🎗
    ใครที่เป็นมะเร็งอยู่ก็ดูยาสีฟันกันหน่อยนะคะ
    ⛑⛑
    (ปีนี้ 2018 Charlotte Gerson เธออายุ 96 ปียังแข็งแรงและเดินสายสัมมนาเรื่องมะเร็ง นับถือจริงๆ)
    ด้วยความปรารถนาดี
    ...โค้ชนาตาลี
    ❤️❤️
    อ่านต่อ...
    From the book: Never Fear Cancer again by Raymond Francis
    ..........
    Fluoride Fluoride both switches on and drives cancer. Federal health officials continue to call fluoridation one of the ten great public-health achievements of the twentieth century, while it has long been known as one of our greatest public-health blunders. The scientific evidence that fluoride causes cancer is overwhelming, and this has been known for decades, despite attempts to obscure it.
    💉💉
    For example, recorded in the Congressional Record of 21 July 1976, the chief chemist of the National Cancer Institute, Dr. Dean Burke, stated before Congress, “In point of fact, fluoride causes more cancer death, and causes it faster than any other chemical.”
    ☠️☠️
    Fluoride is a general cellular poison, doing catastrophic biological damage that is beyond the scope of this chapter to describe, yet many of us are now ingesting daily amounts that far exceed even the government’s inadequate safety standards. Hundreds of studies have found a connection between fluoride and cancer; cities that fluoridate their water have significantly more cancer deaths than cities that do not fluoridate.
    ☠️☠️
    ***Fluoride causes cancer by reacting with enzymes, changing their shape and disabling them.***
    ⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️

    ด้วยรักและยาสีฟัน
    เวชหนุ่ม
    ภาพแรก ซ้าย ไม่มี ฟลูออไรด์ ขวา มี ฟลูออไรด์ โลกคือมายา #ลวงทั้งโลก ฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ⁉️ ท่านสามารถดาวน์โหลดรายงานการวิจัยที่ว่าด้วยฟลูออไรด์ต่อการลดความสามารถทางปัญญาในเด็กได้ถึง 32 หน้าฟรี ๆ ที่นี่ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3491930/ Source : https://youtu.be/KLsjwWo1F2I -------------------------------------------------- โดยทั่วไป #ฟลูออไรด์ เป็นสารทำลายต่อมไร้ท่อเนื่องจากฟลูออไรด์เป็นฮาไลด์ (halide)เช่นกัน มันจึงแข่งขันกับฮาไลด์ตัวอื่นที่ตัวรับเดียวกันในต่อมไทรอยด์ และที่อื่นๆ เพื่อจับกับไอโอดีน สิ่งนี้จะยับยั้งการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ ซึ่งส่งผลให้มีฮอร์โมนไทรอยด์ในระดับต่ำ มีการพิสูจน์แล้วว่าฟลูออไรด์มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนการทำงานของต่อมไร้ท่อ แต่ความจริงข้อนี้ถูกละเลยโดยหน่วยงาน และสมาคมที่ยังคงส่งเสริมการใช้ฟลูออไรด์ต่อไป จากรายงานของ National Research Council of the National Academies ในปี 2549 ฟลูออไรด์ "เป็นตัวทำลายต่อมไร้ท่อในแง่กว้างโดยปรับเปลี่ยนการทำงานของต่อมไร้ท่อที่เป็นปกติ" ฟังก์ชั่นที่เปลี่ยนแปลงนี้สามารถเกี่ยวข้องกับต่อมไทรอยด์ พาราไทรอยด์ และต่อมไพเนียลรวมถึงต่อมหมวกไต ตับอ่อน และต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ของคุณ และฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่ในการรักษาอัตราการเผาผลาญโดยรวมของร่างกาย ควบคุมการเจริญเติบโตและการพัฒนาตามปกติ เนื่องจากเซลล์ที่มีการเผาผลาญทั้งหมดต้องการฮอร์โมนไทรอยด์เพื่อการทำงานที่เหมาะสม การหยุดชะงักของระบบนี้ อาจมีผลกระทบที่หลากหลายต่อแทบทุกระบบในร่างกายของคุณ ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ ถือเป็นหนึ่งในโรคที่พบมากที่สุดของโรคต่อมไร้ท่อ การใช้ฟลูออไรด์ในอดีต เป็นการแทรกแซงทางการแพทย์สำหรับ Hyperthyroid จนถึงปี 1970 นักวิทยาศาสตร์ในยุโรปได้กำหนดให้ใช้ฟลูออไรด์ เพื่อลดอัตราการเผาผลาญพื้นฐานในผู้ป่วยที่มีต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป ผลการศึกษาทางคลินิกที่ตีพิมพ์งานหนึ่งรายงานว่า ปริมาณฟลูออไรด์เพียง 2 - 3 มิลลิกรัม ซึ่งเป็นปริมาณที่ไม่มากนัก ถ้าได้รับอย่างสม่ำเสมอก็เพียงพอที่จะลดกิจกรรมของต่อมไทรอยด์ในผู้ป่วยได้ การใช้ฟลูออไรด์เพื่อการรักษาต่อมไทรอยด์ได้รับการกระตุ้นโดยการวิจัยที่เริ่มต้นในปี 1800 ซึ่งเชื่อมโยงการบริโภคฟลูออไรด์กับคอพอก การบวมของต่อมไทรอยด์ที่เกิดจากภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ ในรายงานเมื่อปี 2549 Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards, the National Research Council (NRC) รายงานว่า "ข้อมูลหลายบรรทัด แสดงถึงผลกระทบของฟลูออไรด์ต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์" โดยเฉพาะรายงานที่กล่าวถึงการวิจัยแสดงให้เห็นว่า "การได้รับฟลูออไรด์ในมนุษย์นั้นมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของ TSH ที่เพิ่มขึ้น เพิ่มความแพร่หลายของคอพอก และเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ T4 และ T3" นอกจากนั้นยังมีผลที่คล้ายกันใน T4 และ T3 รายงานในสัตว์ทดลอง นอกจากนี้ NRC ยังกล่าวถึงงานวิจัยที่เชื่อมโยงฟลูออไรด์ กับผลกระทบต่อกิจกรรมของพาราไธรอยด์ การด้อยค่าของการทนต่อกลูโคส และระยะเวลาของการคงไว้ซึ่งสภาวะทางเพศ จากการค้นพบเหล่านี้ คณะกรรมการ NRC แนะนำว่า "ผลกระทบของฟลูออไรด์ในแง่มุมต่างๆ ต่อการทำงานของต่อมไร้ท่อ ควรได้รับการตรวจสอบต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับบทบาทที่เป็นไปได้ในการพัฒนาโรคต่างๆ อย่างไรก็ตามผู้เสนอให้ใช้ฟลูออไรด์ยังคงเพิกเฉยต่อวรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบที่เป็นอันตราย ฟลูออไรด์จำนวนเล็กน้อย เปลี่ยนการทำงานของต่อมไทรอยด์ของคุณได้อย่างน่าประหลาดใจ การทำงานของต่อมไทรอยด์ที่เปลี่ยนแปลงนั้นเกี่ยวข้องกับการได้รับฟลูออไรด์ในระดับต่ำถึง 0.05 - 0.1 มก. ฟลูออไรด์ต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวต่อวัน (มก. / กก. / วัน) หรือ 0.03 มก. / กก. / วัน สำหรับผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนัก 70 กิโลกรัม (154 ปอนด์) หมายความว่าฟลูออไรด์ 3.5 มก. ต่อวัน (หรือฟลูออไรด์ 0.7 มก. ต่อวันที่มีการขาดไอโอดีน) อาจทำให้ไทรอยด์ทำงานผิดปกติ การวิเคราะห์โดยหน่วยงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา ประมาณการว่าผู้ใหญ่ชาวอเมริกันโดยทั่วไปบริโภคฟลูออไรด์เกือบ 3 มิลลิกรัมทุกวัน และบางคนบริโภคเป็นประจำวันละ 6 มก. ขึ้นไป สำหรับเด็กที่มีน้ำหนัก 14 กิโลกรัม (30 ปอนด์) ฟลูออไรด์ที่ได้รับมากกว่า 0.7 มก. ต่อวัน (หรือ 0.14 มก. ต่อวันหากขาดไอโอดีน) ทำให้เด็กเสี่ยงต่อความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ และ EPA (2010) ได้ทำการประเมินว่าเด็กที่อยู่ในช่วงน้ำหนักนี้ (อายุ 1- 3 ปี) ได้บริโภคฟลูออไรด์มากกว่า 1.5 มก. ในแต่ละวัน หรือมากกว่า 2 เท่า ของจำนวนที่จำเป็นในการกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ที่เปลี่ยนแปลง การได้รับอย่างต่อเนื่องเหล่านี้อาจมีผลกระทบอย่างลึกซึ้งและตลอดชีวิตต่อพัฒนาการทางสติปัญญา ทางสังคม ทางเพศ และทางกายภาพโดยรวมของเด็ก การศึกษาจำนวนมากพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับฟลูออไรด์ในระดับค่อนข้างต่ำถึงปานกลาง และการลด IQ ในเด็ก แม้แต่ระดับฟลูออไรด์ที่น้อยกว่า 1.0 มก. / ล. ก็มีความสัมพันธ์กับ IQ ที่ลดลง และความถี่ที่เพิ่มขึ้นของภาวะไทรอยด์ทำงานในเด็กที่มีอาการขาดสารไอโอดีน การพิจารณาอย่างจริงจัง ว่าต่อมไทรอยด์ของคุณอาจเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางที่สุดในร่างกายของคุณต่อฟลูออไรด์ ก็อาจเป็นประโยชน์ต่อคุณ ฟลูออไรด์สะสมในต่อมไทรอยด์ของคุณมากกว่าเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ ฟลูออไรด์อาจขัดขวางการทำงานของต่อมไทรอยด์ของคุณโดยตรง หรือโดยอ้อมด้วยการกระทำที่เป็นไปได้ รวมถึงความสามารถของฟลูออไรด์ในการเลียนแบบฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (TSH) - ทำลาย G-proteins ที่ละเอียดอ่อนซึ่งทำหน้าที่เป็นหน่วยการสร้างของตัวรับฮอร์โมนในร่างกายของคุณ -ทำลายเซลล์ของต่อมไทรอยด์ของคุณ -ทำลาย DNA ของคุณ -รบกวนการแปลงจากไทรอยด์ฮอร์โมน (T4) ที่ไม่ได้ใช้งานไปเป็นแบบฟอร์มที่ต้องใช้งาน (T3) จากข้อมูลของ PubMed Health พบว่าผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปี มีความเสี่ยงสูงสุดต่อการเกิดภาวะพร่อง หรือภาวะไทรอยด์ต่ำ เกือบ 4% ของประชากรสหรัฐอเมริกา มากกว่า 11 ล้านคน มีภาวะไทรอยด์ทำงานหนักเกินจริง นอกจากนี้ 10% ของประชากรทั่วไป 21 ล้านคน มีภาวะพร่องที่ไม่แสดงอาการซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่แข็งแกร่งสำหรับการพัฒนาต่อมาของภาวะพร่องไทรอยด์ แม้จะมีอุบัติการณ์สูงขึ้นในประชากรที่มีอายุมากกว่า แต่อัตราการเกิดภาวะพร่องของ hypothyroidism ทารกแรกเกิดเพิ่มขึ้นเกือบ 75% ในช่วง 2ทศวรรษที่ผ่านมาในสหรัฐอเมริกาตอนนี้ส่งผลกระทบต่อ 1 ในทุกๆ 2,370 ของการเกิดภาวะพร่องในทารกแรกเกิดที่ไม่ได้รับการรักษา สามารถนำไปสู่ภาวะปัญญาอ่อน การชะลอการเจริญเติบโต และปัญหาหัวใจ เด็กที่เป็นโรคไทรอยด์ทำงานผิดปกติมาแต่กำเนิด หรือเยาวชน ได้รับรายงานว่ามีการล่าช้าของการงอกของฟัน หรือข้อบกพร่องในการเคลือบฟัน แม้ว่าการเชื่อมต่อระหว่างการค้นพบเหล่านี้กับผลกระทบของฟลูออไรด์ต่อไทรอยด์ยังไม่ได้ทำการศึกษา สิ่งที่เกี่ยวข้องอย่างยิ่ง คือความสัมพันธ์แบบผกผันระหว่างความรุนแรงของอาการที่ไม่แสดงอาการในหญิงตั้งครรภ์และ IQ ที่ลดลงของบุตรหลาน การพร่องของมารดายังได้รับการเสนอให้เป็นสาเหตุ หรือผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาออทิสติก ศักยภาพของฟลูออไรด์ที่จะส่งผลต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์ยังเป็นสิ่งจำเป็นอีกหลายประการ ดังนั้นวิธีการใช้ฟลูออไรด์วิธีการแบบไม่เจาะจง / การเติมฟลูออไรด์ในน้ำดื่มสาธารณะโดยเจตนา / การผสมเข้าไปในยาสีฟัน / การเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ เป็นปัญหาอย่างยิ่ง เนื่องจากจะทำให้ร่างกายของคุณสัมผัสกับสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ โดยไม่คำนึงถึงความต้องการ หรือความอ่อนไหวส่วนตัว และเป็นการละเมิดหลักการสำคัญของเภสัชวิทยาสมัยใหม่ ----------------------------------- Andersson M, de Benoist B,Delange F, Zupan J. 2007.Prevention and control of iodine deficiency in pregnant and lactating women and in children less Bharaktiya S, et al., 2010.Hypothyroidism. Medscape Reference. Delange F. 2004. Optimal iodine nutrition during pregnancy, lactation and neonatal period. Int J Endocrinol Metab 89:3851. Drugs.com. Undated. Top-selling drugs of 2009. IOM (Institute of Medicine). 2001. Dietary Reference Intakes for Vitamin A, Vitamin K, Arsenic, Boron, Chromium, Copper, Iodine, Iron, Manganese Larsen PR, Davies TF, Schlumberger MJ, Hay ID. 2002. Thyroid physiology and diagnostic evaluation of patients with thyroid disorders. Pp. 331-373 PubMed Health. 2009. Neonatal hypothyroidism. PubMed Health. 2010. Hypothyroidism. Wang H, Yang Z, Zhou B, et al. 2009. Fluoride-induced thyroid dysfunction in rats: roles of dietary protein and calcium level. Toxicol Ind Health Zimmermann MB. 2009. Iodine deficiency in pregnancy and the effects of maternal iodine supplementation on the offspring: a review. Am J Clin Nutr 1 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 507 pp. 2 Maumené E. 1854. Compt Rend Acad Sci 39:538. May W. 1935. Antagonismus Zwischen Jod und Fluor im Organismus. Klinische Wochenschrift 14:790-92. 3 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 4 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 5 EPA (U.S. Environmental Protection Agency). 2010. Fluoride: Exposure and Relative Source Contribution Analysis. 6 Connett P, Beck J, Micklem HS. 2010. The Case Against Fluoride. How Hazardous Waste Ended Up in Our Drinking Water and the Bad Science 7 Lin FF, Aihaiti HX, Zhao J, et al. 1991. The relationship of a low-iodine and high-fluoride environment to subclinical cretinism in Xinjiang. 8 ICCIDD (International Council for the Control of Iodine Deficiency Disorders). 2011. Iodine Deficiency. 9 Hollowell JG, Staehling NW, Hannon WH, et al. 1998. Iodine nutrition in the United States. Trends and public health implications: iodine excretion 10 Lee SL, et al. 2009. Iodine Deficiency. Medscape Reference. 11 Caldwell KL, Miller GA, Wang RY, et al. 2008. Iodine status of the U.S. population, National Health and Nutrition Examination Survey 2003-2004. 12 Shashi A. 1988. Biochemical effects of Fluoride on thyroid gland duringexperimental fluorosis. Fluoride 21:127–130. 13 Monsour PA, Kruger BJ. 1985. Effect of fluoride on soft tissue in vertebrates. Fluoride 18:53-61. / Call RA, Greenwood DA, LeCheminant H, et al. 1965. 14 Ge Y, Ning H, Wang S, Wang J. 2005. DNA damage in thyroid gland cells of rats exposed to long-term intake of high fluoride and low iodine. Fluoride 15 Gas'kov A, Savchenkov MF, Lushkov NN. 2005. [The specific features of the development of iodine deficiencies in children living under pollution] 16 Aoki Y, Belin RM, Clickner R, et al. 2007. Serum TSH and total T4 in the United States population 17 Olney RS, Grosse SD, Vogt RF. 2010. Prevalence of Congenital Hypothyroidism—Current Trends and Future Directions: Workshop Summary. Pediatrics 125 18 National Research Council. 2006. Fluoride in Drinking Water: A Scientific Review of EPA's Standards. National Academies Press: Washington, DC. 19 Klein RZ, Sargent JD, Larsen PR, et al. 2001. Relation of severity of maternal hypothyroidism to cognitive development in offspring. J Med Screen 20 Román GC. 2007. Autism: Transient in utero hypothyroxinemia related to maternal flavonoid ingestion during pregnancy. Biological Trace Element Research : https://www.researchgate.net/.../345973053_In_Vitro... ✨✨✨✨✨✨✨ ฟังคลิปคุณหมอ นาทีที่ 58 https://youtu.be/AYAJJSOmdJo ✨✨✨✨✨✨✨ ปฏิวัติสุขภาพกับอ.ปานเทพ เรื่อง ฟลูออไรด์ ภัยเงียบในน้ำดื่มน้ำใช้ยาสีฟัน https://youtu.be/741TFbVWJwQ https://youtu.be/s-ElDeuDl1I https://youtu.be/Y5Ad9L-B21c https://youtu.be/1KgS-_E05YE https://youtu.be/KLsjwWo1F2I ✨✨✨✨✨✨✨ ฟลูออไรด์ในยาสีฟัน โดย อ.สันติ มานะดี https://www.facebook.com/10000435.../posts/1352913331530352/ ✨✨✨✨✨✨✨ สารฟลูโอไรด์ ( Fluoride ) Little Girl Healthy SHOP - สินค้าส่งตรงจากอเมริกา กราฟแสดงระดับความรุนแรงของสารตะกั่ว สารหนูและฟลูโอไรด์ ค่าระดับความเป็นพิษของฟลูโอไรด์ที่พุ่งแรงแซงสารตะกั่วไปอยู่ที่ระดับ 4 เกือบๆ 5 นั่นแปลว่า มันเป็นพิษมากจนถึงขั้นรุนแรง! ยิ่งถ้าบ้านใครมียาฆ่าหนูและแมลงสาบลองพลิกดูที่ส่วนผสมข้างกล่อง คุณอาจจะช็อกตาค้างมากกว่านี้ เพราะสิ่งเดียวที่เป็นส่วนผสมในยาเบื่อหนูคือฟลูโอไรด์ ซึ่งความจริงแล้ว ฟลูออไรด์ได้นำมาใช้ครั้งแรกในเชิงอุตสาหกรรมเพื่อใช้เป็นยาเบื่อหนู ถามว่า.. แล้วทำไมมันถึงมาอยู่ในยาสีฟันล่ะ? จริงๆแล้วฟลูออไรด์ที่มีประโยชน์ต่อกระดูกและฟันอย่างแท้จริงมันคือ “แคลเซียมฟลูออไรด์ “ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่ที่ผสมอยู่ในยาสีฟันมันคือ "โซเดียมฟลูออไรด์" เป็นสารพิษที่ผลิตขึ้นในโรงงานซึ่งมีราคาถูกกว่า และถ้าใครที่คิดว่าฟลููโอไรด์ช่วยให้ฟันแข็งแรงป้องกันฟันผุ แบบที่เคยได้ยินกันจนคุ้นหูคุ้นตาในโฆษณาทีวีตั้งแต่เด็กๆคงต้องคิดใหม่ เพราะมันกลับเป็นตัวการทำให้เกิดฟันตกกระที่เรียกว่า Dental Fluorosis เกิดเป็นรอยกระดำกระด่างที่ผิวฟันจากการสะสมของสารพิษฟลูโอไรด์ในระยะยาว แถมยังมีผลต่อกระดูกทำให้กระดูกพรุนด้วย ข้อมูลจากวารสารการแพทย์ของรัฐนิวอิงแลนด์ สหรัฐอเมริกา รายงานว่า มีการใช้สารฟลูออไรด์เพื่อรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) แต่ผลกลับกลายเป็นว่า อัตราการเกิดกระดูกตะโพกร้าวสูงขึ้นกว่าปกติ และในปี 1993 นักวิทยาศาสตร์จากองค์การป้องกันสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกาได้ออกมาต่อต้านการเติมฟลูออไรด์ในน้ำดื่มและอาหาร นักวิทยาศาสตร์เหล่านั้นได้ยืนยันว่า ฟลูออไรด์ไม่ได้ป้องกันฟันผุ ผลตรงกันข้าม กลับมีเหตุการณ์แน่ชัดว่า มันเป็นตัวก่อมะเร็งได้ http://www.biowish.net/pages/med.htm เคยมีนักวิทยาศาสตร์ทำการทดลองผสมฟลูโอไรด์ในน้ำของค่ายกักกันที่รัซเซียในยุคคอมมิวนิสต์และอีกที่ในช่วงยุคนาซีที่เยอร์มัน มีจุดประสงค์ในการทดลองเพื่อจะดูว่าถ้านักโทษผู้โชคร้ายทั้งหลายกินน้ำผสมฟลูโอไรด์เข้าไปแล้วนักโทษจะเป็นยังไง ผลปรากฎว่า อารมณ์รุนแรงของนักโทษลดลงอย่างเห็นได้ชัด เปลี่ยนจากนักโทษโหดๆเป็นแมวหง่าวนั่งหงอย ไม่แยแสต่อสิ่งรอบข้างใดๆ ไม่ยกพวกตีกันเหมือนก่อน ฟังแล้วดูเหมือนจะดีใช่ไหมคะ.. แต่ความจริงแล้วมันน่ากลัวซะมากกว่า เพราะว่าฟลูโอไรด์มันมีผลโดยตรงต่อสมองน่ะสิ โดยมันเข้าไปทำลายต่อมไพนีล (Pineal gland) หรือเรียกว่าดวงตาที่ 3 ที่ทำหน้าที่ควบคุมร่างกาย โดยทำงานร่วมกับต่อมไฮโปทารามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นต่อมไร้ท่อทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน ทำหน้าที่เกี่ยวกับอารณ์ต่างๆ เช่นความหิว ความกระหาย ความต้องการทางเพศ ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นเหมือนนาฬิกาชีวิตซึ่งควบคุมอายุของมนุษย์ ดังนั้นเมื่อต่อมนี้โดนทำลาย จึงทำให้เกิดความท้อแท้ หมดแรงจูงใจ ขาดความคิดริเริ่ม เป็นตัวลดไอคิว ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ และเนื่องจากการทดลองที่ประสบความสำเร็จของรัฐบาลครั้งนั้น ปัจจุบันนี้ฟลูโอไรด์เลยมาอยู่ในยาสีฟันให้เราใช้กันทุกวัน เปรียบได้กับอาวุธของรัฐบาลในการทำให้ประชาชนโง่และเป็นการควบคุมประชากรไปในตัว ในบางประเทศอย่างไอร์แลนด์ อเมริกา ถึงกับโดนมัดมือชกให้กินน้ำผสมยาพิษฟลูโอไรด์กันเลยทีเดียว โดยผสมมันลงในน้ำประปาสาธารณะ โดยอ้างว่าหวังดีอยากป้องกันโรคฟันผุให้ประชาชน แต่มีการพิสูจน์แล้วโดยเปรียบเทียบสุขภาพฟันของคนอังกฤษและอเมริกัน ปรากฎว่าสุขภาพฟันไม่ต่างกันเลยทั้งๆที่น้ำในประเทศอังกฤษไม่มีการฟลูโอไรด์ลงในน้ำ การกระทำที่มีนัยยะแอบแฝงแบบนี้เลยสร้างความไม่พอใจให้หลายๆคนในหลายประเทศที่ไม่เต็มใจจะโดนวางยาพิษในน้ำก๊อกที่ทำให้โง่และเป็นโรค แถมการเอาน้ำไปต้มให้เดือดก็ไม่ได้ช่วยอะไรยกเว้นเพิ่มความแรงของสารพิษให้สูงขึ้นอึก 7 เท่าตัว เคยสงสัยมั้ยว่าทำไมยาสีฟันที่มีผสมฟลูโอไรด์ต้องมีคำเตือนแปะอยู่ข้างหลอดว่าห้ามกลืน ถ้าใครเผลอกลืนต้องรีบพบแพทย์!! อะไรก็ตามที่ทำมาให้ใช้ได้ในปาก มันควรที่จะปลอดภัยมากกว่าเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคไม่ใช่หรือ? โดยเฉพาะยาสีฟันที่เราเอาใส่ปากเป็นสิ่งแรกและสิ่งสุดท้ายทุกๆวัน บางคนอาจคิดว่าอีคนเขียนนี่วิตกจริตฟุ้งซ่านมากไปป่ะ? ไม่มีใครเค้าโง่กลืนยาสีฟันหรอก แค่ใส่ปากแปรงๆแล้วก็บ้วนทิ้่ง โอเค ก็จริงอยู่ที่ไม่มีใครกลืนมันแบบตั้งใจ แต่มีใครแน่ใจร้อยเปอร์เซ็นต์บ้างล่ะ ว่ามันไม่ได้แอบตกค้างอยู่ตามซอกฟันซอกเหงือกให้คุณกลืนลงท้องทั้งคืน บวกกับอีกรอบตอนเช้า โดยเฉพาะเด็กๆ ที่อาจจะกลืนมันลงไปโดยไม่ตั้งใจถ้าไม่มีผู้ปกครองดูแล เชื่อหรือไม่ว่าฟลูโอไรด์เพียง 200 มิลลิกรัม หรือปริมาณยาสีฟันบีบออกมาเท่ากับความยาวของแปรงสีฟันนั้นสามารถฆ่าเด็กเล็กได้เลย และฆาตกรตัวจริงไม่ใช่ยาสีฟันแต่คือฟลูโอไรด์เพียวๆเลยหล่ะ จากรายงานของสมาคมศูนย์ควบคุมพิษอเมริกาบอกว่า ในปี 1994 มีคนตายจากฟลูออไรด์ที่ผสมในอาหารเสริมแล้วด้วย! Fluoride Alert .Org แคลเซียมฟลูออไรด์เป็นธาตุที่จำเป็น พบเป็นส่วนใหญ่ในกระดูก และเคลือบฟัน ช่วยทำให้กระดูกแข็งแรง และทำให้ฟันทนต่อการผุมากขึ้น แคลเซียมฟลูออไรด์อาจช่วยป้องกันโรคปริทันต์ด้วย และป้องกันโรคกระดูกพรุน แคลเซียมฟลูออไรด์พบในธรรมชาติ ในรูปของแคลเซียมคลอไรด์ มีอยู่ในพืชทุกชนิด สัตว์ น้ำ และ ดิน โซเดียมฟลูออไรด์ (Sodium Fluoride) เป็นสารอนินทรีย์ที่เกิดจากธาตุฟลูออรีน (Fluorine) ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางได้นำเอาโซเดียมฟลูออไรด์ไปผสมกับผลิตภัณฑ์ ยาสีฟัน น้ำยาบ้วนปากด้วยโซเดียมฟลูออไรด์ การได้รับฟลูออรีน จะเกิดการสะสมของฟลูออรีนไว้ในร่างกายทีละน้อย จะทำให้เกิดความเสียหายและข้อบกพร่องขึ้นกับระบบโครงกระดูกและฟันสำหรับความผิดปกติของฟัน เกิดขึ้นโดยฟันจะมีลักษณะเป็นจุดสีขาวขุ่นๆ ซึ่งเดิมมีลักษณะใส นอกจากนี้ยังทำให้ฟันไม่แข็งแรงเท่าที่ควร ฟันจึงมักชำรุดแตกบิ่นง่าย ส่วนในระบบโครงกระดูกอาการที่พบคือ กระดูกจะเจริญเร็วมาก ซึ่งอาจจะสังเกตได้จากกระดูกขา กราม กระดูกซี่โครง ขากระเผลก เดินลำบาก ซึ่งเป็นผลจากการเจริญมากเกินไปของกระดูกหรือเกิดจากที่หินปูนไปจับกับเอ็นและข้อต่อของขา จึงทำให้ขาแข็ง ซึ่งอาการเหล่านี้จะเป็นอาการแบบถาวร แหล่งอาหาร แคลเซียมฟลูออไรด์ ตามธรรมชาติ 1. ข้าวต่างๆ 2. ผลไม้ เช่น แอปเปิล องุ่น ลูกแพร์ กล้วย และเชอร์รี่ 3. ผักต่างๆ เช่น หัวแครอท กระเทียม หัวบีท ผักใบเขียว กระจับ ถั่ว ข้าวโพด หัวไชเท้า มะเขือ หัวหอม มันฝรั่ง 4. เนย เนยแข็ง เนยเหลว ไข่ 5. เมล็ดทานตะวัน 6. อื่นๆ เช่น อาหารทะเล ถั่วเหลือง ปลา น้ำทะเล น้ำกระด้าง น้ำผึ้ง ชาดำ แหล่งอาหารที่ดีที่สุดของฟลูออไรด์คือ อาหารทะเล #สารฟลูออไรด์ในยาสีฟันก่อให้เกิดมะเร็ง จริงหรือไม่? ☠️☠️ ทำไมเด็กในอเมริกาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเป็นอันดับ 1 นักวิจัยหลายๆท่านที่อเมริกา รวมทั้ง Charlotte Gerson ได้ไปทดสอบและพิสูจน์แล้วว่า ยาสีฟันที่ขายกันอยู่ตามท้องตลาดทั่วไปรวมทั้งยี่ห้อที่เราใช้กันอยู่ทุกวันมีส่วนผสมของ ฟลูออไรด์ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง Charlotte ให้ผู้ป่วยที่มารับการรักษามะเร็งที่คลีนิคของเธอทุกคนเลิกใช้ยาสีฟันที่ผสมสารฟลูออไรด์ เธอยังบอกอีกว่าไม่แปลกใจเลยว่าปัจจุบันนี้ทำไมเด็กในอเมริกาเป็นโรคมะเร็งเพิ่มขึ้น เพราะยาสีฟันที่ใช้กันอยู่ ผสม สารฟลูออไรด์ แล้วยังใส่รสชาติเหมือนขนมหวานให้เด็กๆติดใจและอยากจะใช้ยาสีฟันแบบนี้ 🚑🚑 เธอบอกความจริงว่าถ้าผู้บริโภคไม่มีใครป่วยเป็นโรคอะไรเลยแล้วผู้ผลิตยาจะทำธุรกิจได้กำไรจากที่ไหน ลองไปดูสิคะผู้ผลิตสิ่งเหล่านี้บางทีก็เป็นบริษัทเดียวกันกับผู้ผลิตยานั่นเอง ผลิตภัณฑ์ที่หมอฟันใช้กับคนไข้ไม่ว่าจะเป็นน้ำยาบ้วนปาก หรือแม้แต่สิ่งที่ใช้อุดฟันล้วนแล้วเป็นสารก่อมะเร็งทั้งนั้น 🎗🎗 ใครที่เป็นมะเร็งอยู่ก็ดูยาสีฟันกันหน่อยนะคะ ⛑⛑ (ปีนี้ 2018 Charlotte Gerson เธออายุ 96 ปียังแข็งแรงและเดินสายสัมมนาเรื่องมะเร็ง นับถือจริงๆ) ด้วยความปรารถนาดี ...โค้ชนาตาลี ❤️❤️ อ่านต่อ... From the book: Never Fear Cancer again by Raymond Francis .......... Fluoride Fluoride both switches on and drives cancer. Federal health officials continue to call fluoridation one of the ten great public-health achievements of the twentieth century, while it has long been known as one of our greatest public-health blunders. The scientific evidence that fluoride causes cancer is overwhelming, and this has been known for decades, despite attempts to obscure it. 💉💉 For example, recorded in the Congressional Record of 21 July 1976, the chief chemist of the National Cancer Institute, Dr. Dean Burke, stated before Congress, “In point of fact, fluoride causes more cancer death, and causes it faster than any other chemical.” ☠️☠️ Fluoride is a general cellular poison, doing catastrophic biological damage that is beyond the scope of this chapter to describe, yet many of us are now ingesting daily amounts that far exceed even the government’s inadequate safety standards. Hundreds of studies have found a connection between fluoride and cancer; cities that fluoridate their water have significantly more cancer deaths than cities that do not fluoridate. ☠️☠️ ***Fluoride causes cancer by reacting with enzymes, changing their shape and disabling them.*** ⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️ ด้วยรักและยาสีฟัน เวชหนุ่ม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 70 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ปานเทพ” ย้ำหัวใจของปัญหา MOU 2544 อยู่ที่พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนมากเกินจริง โดยฝ่ายกัมพูชาไม่ยึดถือกฎหมายทะเลสากล ถ้าไทยยอมรับเท่ากับปฏิเสธพระบรมราชโองการ ร.9 ประกาศเขตไหล่ทวีปของไทยปี 2516 ที่ควรเป็นหลัก ไม่ใช่อ้างตาม MOU ที่นักการเมืองไปคุยกันเอง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000105853

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “ปานเทพ” ย้ำหัวใจของปัญหา MOU 2544 อยู่ที่พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนมากเกินจริง โดยฝ่ายกัมพูชาไม่ยึดถือกฎหมายทะเลสากล ถ้าไทยยอมรับเท่ากับปฏิเสธพระบรมราชโองการ ร.9 ประกาศเขตไหล่ทวีปของไทยปี 2516 ที่ควรเป็นหลัก ไม่ใช่อ้างตาม MOU ที่นักการเมืองไปคุยกันเอง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000105853 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    Yay
    33
    1 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 1675 มุมมอง 3 รีวิว
  • ผบ.ทร. ลงพื้นที่เกาะกูด ย้ำปกป้องอธิปไตยชาติ มั่นใจปัญหาไม่บายปลาย
    .
    เรื่องข้อพิพาทเกี่ยวกับพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยกับกัมพูชา กลายเป็นประเด็นที่มีการพูดถึงอย่างมากในสังคมเวลานี้ โดยเฉพาะท่าทีขององค์กรภาคประชาชนและพรรคการเมืองฝ่ายค้านอย่างพรรคพลังประชารัฐที่ออกมาแสดงความคิดเห็นว่าประเทศไทยมีความสุ่มเสี่ยงต่อการเสียดินแดน ซึ่งเป็นเหตุผลที่สืบเนื่องมาจากการที่ไทยยังไม่ยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักไทยทย-กัมพูชา เกี่ยวกับอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544)
    .
    ในเรื่องนี้มีท่าทีจากฝ่ายกองทัพออกมาแสดงความคิดเห็น โดยพล.ร.อ.จิรพล ว่องวิทย์ ผู้บัญชาการทหารเรือ (ผบ.ทร.) ตรวจเยี่ยมหน่วยปฏิบัติการเกาะกูด พร้อมรับฟังบรรยายสรุปถึงการปฏิบัติงานของหน่วย และการดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตกำลังพล และประสิทธิภาพของหน่วย เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่กำลังพลที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ห่างไกลต่อไป โดยมี พล.ร.ต.ชรัมม์ภากร พรหมภากร รองผู้บัญชาการกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด คณะผู้บังคับบัญชาและกำลังพลของหน่วย ให้การต้อนรับ
    .
    ทั้งนี้ พล.ร.อ. จิรพล ระบุว่า หน้าที่ของกองทัพเรือ คือการดูแลรักษาผลประโยชน์ของชาติ รัฐบาลไทยได้ประกาศเขต เอาไว้แล้วเมื่อปี พุทธศักราช 2516 เราจะดูแลพื้นที่ตามเขตแดนที่รัฐบาลประกาศไว้ ส่วนความคืบหน้าหรือข้อตกลงอะไรนั้น เป็นเรื่องของรัฐบาล เราทำหน้าที่ของเราอย่างเต็มที่ที่จะดูแลเขตแดนอธิปไตยของชาติและรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลให้กับประชาชน
    .
    “ขอให้มั่นใจกองทัพเรือดูแลเขตแดนอธิปไตยของชาติ และรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลอย่างเต็มที่ ยืนยันความสัมพันธ์ ทั้งสองประเทศ พื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อน ไม่มีความขัดแย้งใดๆ”
    .
    สำหรับกรณีที่ประชาชนออกมาเคลื่อนไหวนั้น ผบ.ทร. กล่าวว่า ขอให้ประชาชนมั่นใจ ว่ากองทัพเรือจะดูแลพื้นที่ตรงนี้ได้ ไม่ต้องเดินทางไกลมาถึงที่นี่ ซึ่งชาวบ้านที่อาศัยอยู่บนฝั่ง และบนเกาะมีความมั่นใจกับกองทัพเรืออยู่แล้ว อย่างไรก็ตามพื้นที่ของเรามีความสงบ ปลอดภัย ชาวประมงสามารถทำมาหากินได้ปกติ ขณะที่ฝั่งประเทศเพื่อนบ้านมีความเข้าใจ และก็หากินในพื้นที่ของตนเอง ส่วนเราก็ทำมาหากินในพื้นที่ของเราไม่มีความขัดแย้งใดๆ
    ..............
    Sondhi X
    ผบ.ทร. ลงพื้นที่เกาะกูด ย้ำปกป้องอธิปไตยชาติ มั่นใจปัญหาไม่บายปลาย . เรื่องข้อพิพาทเกี่ยวกับพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยกับกัมพูชา กลายเป็นประเด็นที่มีการพูดถึงอย่างมากในสังคมเวลานี้ โดยเฉพาะท่าทีขององค์กรภาคประชาชนและพรรคการเมืองฝ่ายค้านอย่างพรรคพลังประชารัฐที่ออกมาแสดงความคิดเห็นว่าประเทศไทยมีความสุ่มเสี่ยงต่อการเสียดินแดน ซึ่งเป็นเหตุผลที่สืบเนื่องมาจากการที่ไทยยังไม่ยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักไทยทย-กัมพูชา เกี่ยวกับอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) . ในเรื่องนี้มีท่าทีจากฝ่ายกองทัพออกมาแสดงความคิดเห็น โดยพล.ร.อ.จิรพล ว่องวิทย์ ผู้บัญชาการทหารเรือ (ผบ.ทร.) ตรวจเยี่ยมหน่วยปฏิบัติการเกาะกูด พร้อมรับฟังบรรยายสรุปถึงการปฏิบัติงานของหน่วย และการดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตกำลังพล และประสิทธิภาพของหน่วย เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่กำลังพลที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ห่างไกลต่อไป โดยมี พล.ร.ต.ชรัมม์ภากร พรหมภากร รองผู้บัญชาการกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด คณะผู้บังคับบัญชาและกำลังพลของหน่วย ให้การต้อนรับ . ทั้งนี้ พล.ร.อ. จิรพล ระบุว่า หน้าที่ของกองทัพเรือ คือการดูแลรักษาผลประโยชน์ของชาติ รัฐบาลไทยได้ประกาศเขต เอาไว้แล้วเมื่อปี พุทธศักราช 2516 เราจะดูแลพื้นที่ตามเขตแดนที่รัฐบาลประกาศไว้ ส่วนความคืบหน้าหรือข้อตกลงอะไรนั้น เป็นเรื่องของรัฐบาล เราทำหน้าที่ของเราอย่างเต็มที่ที่จะดูแลเขตแดนอธิปไตยของชาติและรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลให้กับประชาชน . “ขอให้มั่นใจกองทัพเรือดูแลเขตแดนอธิปไตยของชาติ และรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลอย่างเต็มที่ ยืนยันความสัมพันธ์ ทั้งสองประเทศ พื้นที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อน ไม่มีความขัดแย้งใดๆ” . สำหรับกรณีที่ประชาชนออกมาเคลื่อนไหวนั้น ผบ.ทร. กล่าวว่า ขอให้ประชาชนมั่นใจ ว่ากองทัพเรือจะดูแลพื้นที่ตรงนี้ได้ ไม่ต้องเดินทางไกลมาถึงที่นี่ ซึ่งชาวบ้านที่อาศัยอยู่บนฝั่ง และบนเกาะมีความมั่นใจกับกองทัพเรืออยู่แล้ว อย่างไรก็ตามพื้นที่ของเรามีความสงบ ปลอดภัย ชาวประมงสามารถทำมาหากินได้ปกติ ขณะที่ฝั่งประเทศเพื่อนบ้านมีความเข้าใจ และก็หากินในพื้นที่ของตนเอง ส่วนเราก็ทำมาหากินในพื้นที่ของเราไม่มีความขัดแย้งใดๆ .............. Sondhi X
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 333 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปิโตรเลียมเกาะกูด น้ำมันแพงเหมือนเดิม

    มีคำกล่าวว่า "ข่าวลือมักจะมาก่อนข่าวจริงเสมอ" ประเด็นเกาะกูดเกิดขึ้นจากข่าวลือแบบปากต่อปากว่า นักการเมืองรายหนึ่งจะยกเกาะกูดให้เขมร กระทั่งนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ได้พักการลงโทษจากคดีทุจริตไปแสดงวิสัยทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์เนชั่นทีวี เมื่อวันที่ 22 ส.ค. 2567 เสนอให้รัฐบาลใหม่เร่งดำเนินการพื้นที่อ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกันของไทยกับกัมพูชา หรือ OCA (Overlapping Claims Area) อ้างว่ากัมพูชาลากเส้นจากไหล่ทวีป 200 ไมล์ทะเลแล้วเกยกัน ถือว่าเป็นเขตทับซ้อน ถ้ามีทรัพยากรอยู่ก็ถือว่าแบ่งกันคนละครึ่ง

    แม้ว่าเกาะกูดเป็นของไทย ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ร.ศ.125 แต่เมื่อปี 2515 กัมพูชาประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทย 200 ไมล์ทะเลฝ่ายเดียว โดยลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 จ.ตราด ไปผ่ากลางครึ่งหนึ่งของเกาะกูด แต่ก็มีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยในปี 2516 โดยแบ่งครึ่งมุมจากหลักเขตที่ 73 ระหว่างเกาะกูดและเกาะกง ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายสากล คือ บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ค.ศ. 1958 แต่กัมพูชายังคงยึดถือเขตไหล่ทวีปของตนเอง หนำซ้ำรัฐบาลทักษิณไปเซ็น MOU 2544 ทำให้นายทักษิณอ้างว่าเป็นเขตทับซ้อน

    ต่อมาวันที่ 10 ต.ค. 2567 สำนักข่าวบลูมเบิร์กรายงานว่า รัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร ลูกสาวนายทักษิณ จะเริ่มเจรจากับกัมพูชาอีกครั้ง เพื่อสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาตินอกชายฝั่งที่มีมูลค่าอย่างน้อย 300,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเป็นหนึ่งใน 10 นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล เนื่องจากต้องการเพิ่มปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ลดลง ควบคุมค่าไฟฟ้า และลดค่าใช้จ่ายนำเข้าเชื้อเพลิงที่พุ่งสูงขึ้น คาดว่าจะมีก๊าซธรรมชาติ 10 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุตและน้ำมันดิบ 300 ล้านบาร์เรล แต่ไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะทั้งสองประเทศขัดแย้งทางการทูตและความอ่อนไหวเรื่องอธิปไตย ทำให้การเจรจาหยุดชะงักตั้งแต่ปี 2544

    แม้เรื่องเกาะกูดจะไม่โด่งดัง แต่ก็เป็นที่พูดถึงในกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล กังวลว่าไทยจะเสียสิทธิ์ทางทะเล และเสียดินแดนเช่นเดียวกับกรณีปราสาทพระวิหาร ส่วนรัฐบาลตอบโต้ว่าเป็นพวกคลั่งชาติ ทำร้ายผลประโยชน์ของประเทศ อย่างไรก็ตาม ถึงรัฐบาลทั้งสองประเทศจะร่วมกันนำพลังงานขึ้นมาใช้ แต่สุดท้ายคนไทยใช้น้ำมันแพงเหมือนเดิม เพราะอ้างอิงราคาน้ำมันจากประเทศสิงคโปร์ แถมต้นทุนโรงกลั่นในไทยสูงกว่าสิงค์โปร์ ส่วนธุรกิจก๊าซธรรมชาติยังจำกัดอยู่ที่รายใหญ่ เชื่อไม่ได้ว่าค่าไฟฟ้าจะถูกลง คนที่ได้ประโยชน์ตัวจริงคือนักการเมือง กับกลุ่มทุนพลังงานบางกลุ่มเท่านั้น

    #Newskit #เกาะกูด
    ปิโตรเลียมเกาะกูด น้ำมันแพงเหมือนเดิม มีคำกล่าวว่า "ข่าวลือมักจะมาก่อนข่าวจริงเสมอ" ประเด็นเกาะกูดเกิดขึ้นจากข่าวลือแบบปากต่อปากว่า นักการเมืองรายหนึ่งจะยกเกาะกูดให้เขมร กระทั่งนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ได้พักการลงโทษจากคดีทุจริตไปแสดงวิสัยทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์เนชั่นทีวี เมื่อวันที่ 22 ส.ค. 2567 เสนอให้รัฐบาลใหม่เร่งดำเนินการพื้นที่อ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกันของไทยกับกัมพูชา หรือ OCA (Overlapping Claims Area) อ้างว่ากัมพูชาลากเส้นจากไหล่ทวีป 200 ไมล์ทะเลแล้วเกยกัน ถือว่าเป็นเขตทับซ้อน ถ้ามีทรัพยากรอยู่ก็ถือว่าแบ่งกันคนละครึ่ง แม้ว่าเกาะกูดเป็นของไทย ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ร.ศ.125 แต่เมื่อปี 2515 กัมพูชาประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทย 200 ไมล์ทะเลฝ่ายเดียว โดยลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 จ.ตราด ไปผ่ากลางครึ่งหนึ่งของเกาะกูด แต่ก็มีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยในปี 2516 โดยแบ่งครึ่งมุมจากหลักเขตที่ 73 ระหว่างเกาะกูดและเกาะกง ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายสากล คือ บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ค.ศ. 1958 แต่กัมพูชายังคงยึดถือเขตไหล่ทวีปของตนเอง หนำซ้ำรัฐบาลทักษิณไปเซ็น MOU 2544 ทำให้นายทักษิณอ้างว่าเป็นเขตทับซ้อน ต่อมาวันที่ 10 ต.ค. 2567 สำนักข่าวบลูมเบิร์กรายงานว่า รัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร ลูกสาวนายทักษิณ จะเริ่มเจรจากับกัมพูชาอีกครั้ง เพื่อสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาตินอกชายฝั่งที่มีมูลค่าอย่างน้อย 300,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเป็นหนึ่งใน 10 นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล เนื่องจากต้องการเพิ่มปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ลดลง ควบคุมค่าไฟฟ้า และลดค่าใช้จ่ายนำเข้าเชื้อเพลิงที่พุ่งสูงขึ้น คาดว่าจะมีก๊าซธรรมชาติ 10 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุตและน้ำมันดิบ 300 ล้านบาร์เรล แต่ไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะทั้งสองประเทศขัดแย้งทางการทูตและความอ่อนไหวเรื่องอธิปไตย ทำให้การเจรจาหยุดชะงักตั้งแต่ปี 2544 แม้เรื่องเกาะกูดจะไม่โด่งดัง แต่ก็เป็นที่พูดถึงในกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล กังวลว่าไทยจะเสียสิทธิ์ทางทะเล และเสียดินแดนเช่นเดียวกับกรณีปราสาทพระวิหาร ส่วนรัฐบาลตอบโต้ว่าเป็นพวกคลั่งชาติ ทำร้ายผลประโยชน์ของประเทศ อย่างไรก็ตาม ถึงรัฐบาลทั้งสองประเทศจะร่วมกันนำพลังงานขึ้นมาใช้ แต่สุดท้ายคนไทยใช้น้ำมันแพงเหมือนเดิม เพราะอ้างอิงราคาน้ำมันจากประเทศสิงคโปร์ แถมต้นทุนโรงกลั่นในไทยสูงกว่าสิงค์โปร์ ส่วนธุรกิจก๊าซธรรมชาติยังจำกัดอยู่ที่รายใหญ่ เชื่อไม่ได้ว่าค่าไฟฟ้าจะถูกลง คนที่ได้ประโยชน์ตัวจริงคือนักการเมือง กับกลุ่มทุนพลังงานบางกลุ่มเท่านั้น #Newskit #เกาะกูด
    Like
    14
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 237 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ธีระชัย” โต้ “นพดล” ยัน MOU44 กระทบการอ้างสิทธิทางทะเลแน่นอน เหตุกัมพูชาลากเส้นไม่ถูกต้อง ส่งผลให้พื้นที่พัฒนาร่วมกว้างใหญ่เกินไป ไทยเสียสิทธิทางทะเล และอาจลามถึงขั้นเสียสิทธิ์บางส่วนของเกาะกูด ซ้ำมีหลักฐานกัมพูชาทำผิดสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ต้องยกเลิก MOU44

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000105667

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “ธีระชัย” โต้ “นพดล” ยัน MOU44 กระทบการอ้างสิทธิทางทะเลแน่นอน เหตุกัมพูชาลากเส้นไม่ถูกต้อง ส่งผลให้พื้นที่พัฒนาร่วมกว้างใหญ่เกินไป ไทยเสียสิทธิทางทะเล และอาจลามถึงขั้นเสียสิทธิ์บางส่วนของเกาะกูด ซ้ำมีหลักฐานกัมพูชาทำผิดสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ต้องยกเลิก MOU44 อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000105667 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    23
    2 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 1931 มุมมอง 1 รีวิว
  • นาย ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ แสดงทัศนะประเด็นอดีตโฆษกทร. สนับสนุน MOU44 ว่าดูละเอียดหรือยัง? เนื้อหาเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายนระบุว่า

    “ผมท้าทาย เชิญชวน นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหม และรัฐมนตรีต่างประเทศ ให้ออกมาโต้แย้งประเด็นเทคนิคที่ทีมพรรคพลังประชารัฐเปิดเผยปัญหาแก่ประชาชนเรื่อง MOU44

    ยังไม่มีคนใดคนหนึ่งออกมาชี้แจง มีแต่พลเรือเอกจุมพล ลุมพิกานนท์ อดีตโฆษกกองทัพเรือ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายการรักษาประโยชน์ของชาติทางทะเล ติดต่อขอให้ข้อมูลแก่ PPTV ในคลิปข้างล่าง PPTV ระบุว่า

    หลังจากที่ PPTV นำเสนอเรื่องข้อตกลงความร่วมมือ MOU44 ระหว่างไทยกับกัมพูชา ที่หลายคนออกมาให้ความเห็นว่า อาจจะทำให้ไทยเสียเขตแดนทางทะเลให้กับกัมพูชาในอนาคต ซึ่งรวมถึงเกาะกูดด้วย เพราะเส้นเขตแดนที่ทางกัมพูชาลากมามันข้ามเกาะกูดมาเลย หลายคนจึงอยากจะให้ยกเลิก MOU44 ฉบับนี้ แต่ล่าสุด หนึ่งในผู้เชี่ยวชาญเรื่องนี้ ออกมาให้ความเห็นอีกทาง ว่าไม่ควรจะยกเลิก MOU44 เพราะไม่ได้ทำให้ไทยเสียเปรียบ ตรงกันข้าม นี่คือสารตั้งต้นที่จะทำให้เกิดการเจรจา แต่ถ้ายกเลิกต่างหากอาจจะมีผลเสียตามมาเพียบ

    ผมเชื่อว่าพลเรือเอกจุมพล ในฐานะเจ้าหน้าที่กองทัพเรือระดับสูง ย่อมมีเลือดรักชาติอยู่เต็มเปี่ยม แต่ขอเรียนด้วยความเคารพว่า คนไทยไม่ควรฝากความหวังไว้กับนักการเมืองมากเกินไป

    รูป 1 ท่านกล่าวว่า ชัดเจนว่าเกาะกูดเป็นของไทย จบตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ห้า มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์บันทึกไว้ชัดเจน ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907

    รูป 2 แสดงขั้นตอนเวลาที่เวียดนาม กัมพูชา และไทยประกาศเขตแดนไหล่ทวีป

    รูป 3 ท่านกล่าวว่า MOU44 ฉบับนี้จะเป็นกรอบที่ทั้งสองประเทศจะหยิบขึ้นมาเจรจากันต่อว่า เขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน รวมถึงเจรจาผลประโยชน์ในเขตพื้นที่พัฒนาร่วมกัน

    รูป 4 แสดงเขตพื้นที่พัฒนาร่วมกัน Joint Development Area (สีแดง) ส่วนพื้นที่ที่อยู่เหนือเส้นรุ้งที่ 11 องศา (สีน้ำเงิน) เป็นพื้นที่ทำการแบ่งเขต

    ผมให้ข้อสังเกตแก่ท่านพลเรือเอกจุมพล ในประเด็นจุดแยบยลทางกฎหมาย ดังนี้

    **หนึ่ง MOU44 ยอมรับกรอบขอบเขต boundaries พื้นที่สีแดงไปแล้ว

    ในรูป 5 จะเห็นได้ว่า คำบรรยายพื้นที่สีน้ำเงิน ข้อ 2 (ข) คือเพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน ตามที่ท่านว่า ส่วนคำบรรยายพื้นที่สีแดง ข้อ 2 (ก) คือเพื่อเจรจาผลประโยชน์

    ถ้อยคำในรูป 5 ไม่มีข้อใดที่สามารถอ่านได้ว่า สำหรับพื้นที่สีแดงนั้น "เพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน"

    ในรูป 6 จะเห็นได้ว่า คำบรรยายหน้าที่ของคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค พื้นที่สีน้ำเงิน ข้อ 3 (ข) คือเพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน ตามที่ท่านว่า ส่วนคำบรรยายพื้นที่สีแดง ข้อ 3 (ก) คือเพื่อเจรจาผลประโยชน์ล้วนๆ

    ถ้อยคำในรูป 6 ไม่มีข้อใดที่สามารถอ่านได้ว่า สำหรับพื้นที่สีแดงนั้น "เพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน"

    สรุปแล้ว ใน MOU44 ทั้งสองประเทศได้กำหนด "พื้นที่พัฒนาร่วม" "Joint Development Area" ขึ้นมา มิใช่ "เพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน" แต่ "เพื่อเจรจาผลประโยชน์"

    ดังนั้น ใน MOU44 ทั้งสองประเทศจึงพอใจในกรอบขอบเขต boundaries ของพื้นที่พัฒนาร่วมไปแล้ว

    **สอง กรอบขอบเขตของพื้นที่พัฒนาร่วมที่ยอมรับกันไปแล้วนั้น ไม่ตรงตามสนธิสัญญาฯ

    ทั้งนี้ กรอบขอบเขต boundaries ของพื้นที่พัฒนาร่วม ด้านทิศตะวันตก ในรูป 7 เส้นสีแดง นั้น เส้นสีแดงดังกล่าว เกิดขึ้นได้ มีสารตั้งต้น มีต้นกำเนิด เกิดจากเส้นแบ่งเขตที่กัมพูชาลากผ่านเกาะกูด ซึ่งขัดกับเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฯ

    อธิบายแบบชาวบ้าน ถ้าไม่มีเส้นแบ่งเขตที่กัมพูชาลากผ่านเกาะกูดไปจนถึงตำแหน่ง P เส้นแบ่งเขตทิศเหนือ-ใต้ ย่อมไม่สามารถตั้งต้นจากตำแหน่ง P เกิดขึ้นได้

    ดังนั้น เส้นแบ่งเขตทิศเหนือ-ใต้ ที่ตั้งต้นจากตำแหน่ง P จึงไม่ตรงตามจุดเริ่มต้นในสนธิสัญญาฯ และ

    การที่รัฐบาลไทยไปยอมรับเส้นแบ่งเขตสีแดงดังกล่าว ก็ย่อมแสดงว่า ** ไม่ขัดข้องกับตำแหน่ง P ** ทั้งที่ไม่ตรงตามจุดเริ่มต้นในสนธิสัญญาฯ **

    **สาม JDA ตีกรอบขอบเขต boundaries ด้วยเส้นเขตแดน

    ถ้าดูแผนที่ JDA ไทย-มาเลเซีย จะเห็นได้ว่า ตีกรอบขอบเขต boundaries ด้วยเส้นเขตแดน ที่ทั้งสองประเทศอ้างอนุสัญญาสหประชาชาติฯ แตกต่างกัน โดยไทยถือโขดหิน โลซิน เป็นเกาะ ที่สามารถใช้วางอาณาเขตกินแดนได้ แต่มาเลเซียไม่ถือว่าเป็นเกาะ

    ต่อมามีการแก้ไขอนุสัญญาสหประชาชาติฯ ไม่ถือโขดหิน โลซิน เป็นเกาะ ที่สามารถใช้วางอาณาเขตกินแดนได้ แต่เนื่องจาก JDA ไทย-มาเลเซียได้เกิดขึ้นลงนามไปก่อนหน้า ไทยจึงได้ประโยชน์ระหว่างที่ JDA มีผลบังคับ

    แต่กรณีเส้นที่กัมพูชาลากผ่านเกาะกูดนั้น เป็นการลากเส้นโดยอ้างสนธิสัญญาฯ อย่างที่ไม่ถูกต้อง

    ดังนั้น บัดนี้เมื่อคนไทยทราบถึงปัญหา จึงย่อมต้องเรียกร้องให้ ยกเลิกการอ้างที่ไม่ถูกต้อง การลากเส้นที่ขัดเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฯ ออกไปก่อนเริ่มต้นเจรจาแบ่งผลประโยชน์

    ทั้งนี้ การเจรจาแบ่งผลประโยชน์ จะสามารถทำได้เร็วถ้าทั้งสองประเทศยึดมั่นในความเป็นธรรม ไม่จำเป็นต้องอาศัยความสัมพันธ์ครอบครัว แต่ถ้ามีวาระซ่อนเร้น ถ้าคนไทยจะเสียเปรียบ ผมก็จะคัดค้านต่อไป

    ผมจึงขอสรุปว่า ประชาชนคนไทยไม่ควรฝากความหวังไว้กับนักการเมืองที่ไปเจรจาโดยยอมรับสิ่งที่กัมพูชา ดำเนินการไปผิดกับเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฯ

    MOU44 ยอมรับพื้นที่พัฒนาร่วมที่กินล้ำทะเลจากตำแหน่ง P ที่ทำให้ไทยเสียประโยชน์ในทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นของประชาชนทุกคน

    การยอมรับเส้นกรอบขอบเขตของพื้นที่พัฒนาร่วม ที่เริ่มจากตำแหน่ง P อันสืบเนื่องมากจากเส้นที่ผิดเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฯ ย่อมจะทำให้ไทยเสี่ยงเสียดินแดนได้ในอนาคต

    ถ้าท่านพลเรือเอกจุมพลไม่เชื่อผม ขอให้ท่านอ่านถ้อยคำใน MOU44 เองได้เลยครับ”

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567

    นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    ประธานกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ

    https://youtu.be/PEArT6M-wDE?si=NuuT8XefJDmOCmnO

    ที่มา https://www.facebook.com/share/p/1EgDTTKTHn/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    นาย ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ แสดงทัศนะประเด็นอดีตโฆษกทร. สนับสนุน MOU44 ว่าดูละเอียดหรือยัง? เนื้อหาเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายนระบุว่า “ผมท้าทาย เชิญชวน นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหม และรัฐมนตรีต่างประเทศ ให้ออกมาโต้แย้งประเด็นเทคนิคที่ทีมพรรคพลังประชารัฐเปิดเผยปัญหาแก่ประชาชนเรื่อง MOU44 ยังไม่มีคนใดคนหนึ่งออกมาชี้แจง มีแต่พลเรือเอกจุมพล ลุมพิกานนท์ อดีตโฆษกกองทัพเรือ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายการรักษาประโยชน์ของชาติทางทะเล ติดต่อขอให้ข้อมูลแก่ PPTV ในคลิปข้างล่าง PPTV ระบุว่า หลังจากที่ PPTV นำเสนอเรื่องข้อตกลงความร่วมมือ MOU44 ระหว่างไทยกับกัมพูชา ที่หลายคนออกมาให้ความเห็นว่า อาจจะทำให้ไทยเสียเขตแดนทางทะเลให้กับกัมพูชาในอนาคต ซึ่งรวมถึงเกาะกูดด้วย เพราะเส้นเขตแดนที่ทางกัมพูชาลากมามันข้ามเกาะกูดมาเลย หลายคนจึงอยากจะให้ยกเลิก MOU44 ฉบับนี้ แต่ล่าสุด หนึ่งในผู้เชี่ยวชาญเรื่องนี้ ออกมาให้ความเห็นอีกทาง ว่าไม่ควรจะยกเลิก MOU44 เพราะไม่ได้ทำให้ไทยเสียเปรียบ ตรงกันข้าม นี่คือสารตั้งต้นที่จะทำให้เกิดการเจรจา แต่ถ้ายกเลิกต่างหากอาจจะมีผลเสียตามมาเพียบ ผมเชื่อว่าพลเรือเอกจุมพล ในฐานะเจ้าหน้าที่กองทัพเรือระดับสูง ย่อมมีเลือดรักชาติอยู่เต็มเปี่ยม แต่ขอเรียนด้วยความเคารพว่า คนไทยไม่ควรฝากความหวังไว้กับนักการเมืองมากเกินไป รูป 1 ท่านกล่าวว่า ชัดเจนว่าเกาะกูดเป็นของไทย จบตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ห้า มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์บันทึกไว้ชัดเจน ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 รูป 2 แสดงขั้นตอนเวลาที่เวียดนาม กัมพูชา และไทยประกาศเขตแดนไหล่ทวีป รูป 3 ท่านกล่าวว่า MOU44 ฉบับนี้จะเป็นกรอบที่ทั้งสองประเทศจะหยิบขึ้นมาเจรจากันต่อว่า เขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน รวมถึงเจรจาผลประโยชน์ในเขตพื้นที่พัฒนาร่วมกัน รูป 4 แสดงเขตพื้นที่พัฒนาร่วมกัน Joint Development Area (สีแดง) ส่วนพื้นที่ที่อยู่เหนือเส้นรุ้งที่ 11 องศา (สีน้ำเงิน) เป็นพื้นที่ทำการแบ่งเขต ผมให้ข้อสังเกตแก่ท่านพลเรือเอกจุมพล ในประเด็นจุดแยบยลทางกฎหมาย ดังนี้ **หนึ่ง MOU44 ยอมรับกรอบขอบเขต boundaries พื้นที่สีแดงไปแล้ว ในรูป 5 จะเห็นได้ว่า คำบรรยายพื้นที่สีน้ำเงิน ข้อ 2 (ข) คือเพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน ตามที่ท่านว่า ส่วนคำบรรยายพื้นที่สีแดง ข้อ 2 (ก) คือเพื่อเจรจาผลประโยชน์ ถ้อยคำในรูป 5 ไม่มีข้อใดที่สามารถอ่านได้ว่า สำหรับพื้นที่สีแดงนั้น "เพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน" ในรูป 6 จะเห็นได้ว่า คำบรรยายหน้าที่ของคณะกรรมการร่วมทางเทคนิค พื้นที่สีน้ำเงิน ข้อ 3 (ข) คือเพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน ตามที่ท่านว่า ส่วนคำบรรยายพื้นที่สีแดง ข้อ 3 (ก) คือเพื่อเจรจาผลประโยชน์ล้วนๆ ถ้อยคำในรูป 6 ไม่มีข้อใดที่สามารถอ่านได้ว่า สำหรับพื้นที่สีแดงนั้น "เพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน" สรุปแล้ว ใน MOU44 ทั้งสองประเทศได้กำหนด "พื้นที่พัฒนาร่วม" "Joint Development Area" ขึ้นมา มิใช่ "เพื่อกำหนดเขตแดนทางทะเลของใครควรจะอยู่ตรงไหน" แต่ "เพื่อเจรจาผลประโยชน์" ดังนั้น ใน MOU44 ทั้งสองประเทศจึงพอใจในกรอบขอบเขต boundaries ของพื้นที่พัฒนาร่วมไปแล้ว **สอง กรอบขอบเขตของพื้นที่พัฒนาร่วมที่ยอมรับกันไปแล้วนั้น ไม่ตรงตามสนธิสัญญาฯ ทั้งนี้ กรอบขอบเขต boundaries ของพื้นที่พัฒนาร่วม ด้านทิศตะวันตก ในรูป 7 เส้นสีแดง นั้น เส้นสีแดงดังกล่าว เกิดขึ้นได้ มีสารตั้งต้น มีต้นกำเนิด เกิดจากเส้นแบ่งเขตที่กัมพูชาลากผ่านเกาะกูด ซึ่งขัดกับเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฯ อธิบายแบบชาวบ้าน ถ้าไม่มีเส้นแบ่งเขตที่กัมพูชาลากผ่านเกาะกูดไปจนถึงตำแหน่ง P เส้นแบ่งเขตทิศเหนือ-ใต้ ย่อมไม่สามารถตั้งต้นจากตำแหน่ง P เกิดขึ้นได้ ดังนั้น เส้นแบ่งเขตทิศเหนือ-ใต้ ที่ตั้งต้นจากตำแหน่ง P จึงไม่ตรงตามจุดเริ่มต้นในสนธิสัญญาฯ และ การที่รัฐบาลไทยไปยอมรับเส้นแบ่งเขตสีแดงดังกล่าว ก็ย่อมแสดงว่า ** ไม่ขัดข้องกับตำแหน่ง P ** ทั้งที่ไม่ตรงตามจุดเริ่มต้นในสนธิสัญญาฯ ** **สาม JDA ตีกรอบขอบเขต boundaries ด้วยเส้นเขตแดน ถ้าดูแผนที่ JDA ไทย-มาเลเซีย จะเห็นได้ว่า ตีกรอบขอบเขต boundaries ด้วยเส้นเขตแดน ที่ทั้งสองประเทศอ้างอนุสัญญาสหประชาชาติฯ แตกต่างกัน โดยไทยถือโขดหิน โลซิน เป็นเกาะ ที่สามารถใช้วางอาณาเขตกินแดนได้ แต่มาเลเซียไม่ถือว่าเป็นเกาะ ต่อมามีการแก้ไขอนุสัญญาสหประชาชาติฯ ไม่ถือโขดหิน โลซิน เป็นเกาะ ที่สามารถใช้วางอาณาเขตกินแดนได้ แต่เนื่องจาก JDA ไทย-มาเลเซียได้เกิดขึ้นลงนามไปก่อนหน้า ไทยจึงได้ประโยชน์ระหว่างที่ JDA มีผลบังคับ แต่กรณีเส้นที่กัมพูชาลากผ่านเกาะกูดนั้น เป็นการลากเส้นโดยอ้างสนธิสัญญาฯ อย่างที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้น บัดนี้เมื่อคนไทยทราบถึงปัญหา จึงย่อมต้องเรียกร้องให้ ยกเลิกการอ้างที่ไม่ถูกต้อง การลากเส้นที่ขัดเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฯ ออกไปก่อนเริ่มต้นเจรจาแบ่งผลประโยชน์ ทั้งนี้ การเจรจาแบ่งผลประโยชน์ จะสามารถทำได้เร็วถ้าทั้งสองประเทศยึดมั่นในความเป็นธรรม ไม่จำเป็นต้องอาศัยความสัมพันธ์ครอบครัว แต่ถ้ามีวาระซ่อนเร้น ถ้าคนไทยจะเสียเปรียบ ผมก็จะคัดค้านต่อไป ผมจึงขอสรุปว่า ประชาชนคนไทยไม่ควรฝากความหวังไว้กับนักการเมืองที่ไปเจรจาโดยยอมรับสิ่งที่กัมพูชา ดำเนินการไปผิดกับเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฯ MOU44 ยอมรับพื้นที่พัฒนาร่วมที่กินล้ำทะเลจากตำแหน่ง P ที่ทำให้ไทยเสียประโยชน์ในทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นของประชาชนทุกคน การยอมรับเส้นกรอบขอบเขตของพื้นที่พัฒนาร่วม ที่เริ่มจากตำแหน่ง P อันสืบเนื่องมากจากเส้นที่ผิดเจตนารมณ์ของสนธิสัญญาฯ ย่อมจะทำให้ไทยเสี่ยงเสียดินแดนได้ในอนาคต ถ้าท่านพลเรือเอกจุมพลไม่เชื่อผม ขอให้ท่านอ่านถ้อยคำใน MOU44 เองได้เลยครับ” วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการด้านวิชาการ พรรคพลังประชารัฐ https://youtu.be/PEArT6M-wDE?si=NuuT8XefJDmOCmnO ที่มา https://www.facebook.com/share/p/1EgDTTKTHn/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 424 มุมมอง 0 รีวิว
  • ณ บ้านพระอาทิตย์
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    การประกาศขีดเส้นเขตไหล่ทวีป และทะเลอาณาเขตของกัมพูชาในปี พ.ศ. 2515 ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากลนั้น ได้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยทางทะเลของราชอาณาจักรไทยอย่างชัดเจน และส่งผลทำให้ราชอาณาจักรไทยได้ “ปฏิเสธ” การประกาศขีดเส้นที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชาไปแล้ว ด้วยการมีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516



    นอกจากนั้นในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักไทย-กัมพูชา เกี่ยวกับอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย

    โดยมีรายละเอียด ดังนี้

    พระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันออก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันตกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียว ซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล เพราะไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 อีกด้วย โดยมีผลตามมาดังนี้

    1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73 จึงเป็นการละเมิดเส้นแบ่งที่ระยะทางเท่ากันระหว่างไทยและกัมพูชา (Equidistant Line)

    อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรไทยได้เคย “ปฏิเสธ” การขีดเส้นทางทะเลของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลไปแล้วในเวลาต่อมา

    โดยราชอาณาจักรไทยได้มีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

    “พระบรมราชโองการ” ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า “Royal Command” ซึ่งมีความหมายว่า “คำสั่งราชการของพระมหากษัตริย์”

    พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระราชอำนาจภายใต้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2515 ที่เกี่ยวพันกับสถานภาพกำหนดเขตแดนทางทะเลของ “ราชอาณาจักรไทย” กับ “จอมทัพไทย” และองค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ ดังนี้

    “มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้

    พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย

    มาตรา 18 บรรดาบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการใดๆ อันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ”

    ดังนั้น พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน จึงมีผลตามกฎหมายและต้องมีการบังคับใช้จนถึงปัจจุบัน หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องมีการแก้ไขด้วยพระบรมราชโองการเช่นกัน ดังนั้นจะอาศัยนักการเมืองไปตกลงกันเองตามอำเภอใจโดยขัดต่อพระบรมราชโองการนั้นไม่ได้

    ความสำคัญของพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากจะมีความหมายถึงการ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่รุกล้ำราชอาณาเขตทะเลไทยแล้ว ยังได้ประกาศถึงเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ” อย่างชัดเจนดังปรากฏเป็นข้อความในพระบรมราชโองการความว่า



    “เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย“

    อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีพระบรมราชโองการฉบับนี้เป็นเวลา 2 ปี คือปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2515 รัฐบาลราชอาณาจักรไทยได้ทำการให้สัมปทานปิโตรเลียมให้กับต่างชาติไปแล้วหลายแปลง โดยเฉพาะกลุ่มทุนจาก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่น ที่ยึดถือการซื้อขายปิโตรเลียมเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ หรือที่เรียกว่า ปิโตรดอลลาร์

    ดังนั้น การที่กัมพูชาตราพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ย่อมทำให้ผู้รับสัมปทานในประเทศไทยยังไม่สามารถดำเนินการให้สำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยได้ และอาจทำให้แหล่งปิโตรเลียมของราชอาณาจักรไทยกลายเป็นของกัมพูชาได้ด้วย

    ประกอบกับในเวลานั้นประเทศไทยได้ผ่านบทเรียนราคาแพงมาเป็นเวลา 10 ปีที่ได้สูญเสียปราสาทพระวิหารไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 ที่คำตัดสินของศาลโลกให้ประเทศไทยแพ้คดีด้วยเพราะ “กฎหมายปิดปาก” โดยอ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยไม่ปฏิเสธต่อแผนที่ฝรั่งเศส อ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยต่อการสำแดงอธิปไตยของกัมพูชา ทั้งๆ ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่บนยอดหน้าผาฝั่งราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นเส้นเขตแดนตามธรรมชาติที่ชัดเจน

    ดังนั้น ประเทศไทยจะดำเนินการปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาฉบับปี พ.ศ. 2515 จึงต้องมีความรอบคอบ รัดกุม และคำนึงถึงการปกป้องสิทธิและอธิปไตยของชาติ ไม่ให้ถูกแย่งชิงแหล่งสัมปทานปิโตรเลียมในอ่าวไทยให้ไปเป็นของกัมพูชา ไม่ให้ซ้ำรอยการสูญเสียปราสาทพระวิหารของไทยในปี พ.ศ. 2505 ด้วย

    ดังนั้น เพื่อความสมบูรณ์และชอบธรรมในการ “ปฏิเสธ” แผนที่เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่กระทำการตามกฎหมายทะเลสากล พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงอยู่บน “มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล” ดังความปรากฎในพระบรมราชโองการว่า

    “ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป และตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511”

    แม้ราชอาณาจักรไทยจะมีพระบรมราชโองการประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปที่อยู่บนมูลฐานของกฎหมายสากล แต่ก็ยังมีความตระหนักด้วยว่าอาจจะต้องมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ในอนาคต” กับเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาอย่างแน่นอน

    ราชอาณาจักรไทยจึงได้ประกาศโดยพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 กำหนดเส้นเขตไหล่ทวีปนั้น ได้วางหลักในอนาคตว่าหากจะมีการตกลงกันในวันข้างหน้าจะต้องใช้มูลฐานของกฎหมายสากลเท่านั้น

    ซึ่งแปลว่าฝ่ายราชอาณาจักรไทยนอกจากจะประกาศ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตย ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 แล้ว ยังจะต้อง “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลทุกกรณีใน “อนาคต” ด้วย ดังข้อความปรากฏในพระบรมราชโองการความว่า

    “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“



    หมายความว่าหากราชอาณาจักรไทยมีข้อพิพาทในอาณาเขตใกล้เคียงกันแล้วก็เปิดทางให้ตกลงกันได้ แต่ต้อง “ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958” เท่านั้น

    ดังเช่นกรณีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทย-มาเลเซีย ที่ต่างฝ่ายต่างอ้างเส้นเขตไหล่ทวีปของประเทศตัวเองให้ได้เปรียบที่สุด

    แต่เมื่อทั้ง 2 ประเทศได้ตกลงกันโดยอาศัยมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล จึงสามารถยอมรับการอ้างสิทธิทับซ้อนเหลื่อมล้ำกันของพื้นที่ซึ่งกันและกันได้ และยังคงเป็นการดำเนินรอยตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516

    ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซียในการแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของไทย-มาเลเซียในอ่าวไทย

    แต่เมื่อจะมีบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทยแล้ว ก็ยังต้องอาศัยพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้บันทีกความเข้าใจฉบับดังกล่าว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 และรับสนองพระบรมราชโองการโดย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี

    แต่กรณีของเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บนฐานของมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล ซึ่งราชอาณาจักรไทย ได้ “ปฏิเสธ” ไปแล้วโดยมีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และได้ “ปฏิเสธ” การตกลงกันในอนาคตด้วย เพราะการขีดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาดังกล่าวไม่ได้อยู่บนมูลฐานของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของกฎหมายทะเลสากล

    ดังนั้น บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย-กัมพูชาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ลงนามกันเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ“ เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย มากลายเป็น “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของประเทศกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล

    การที่ประเทศไทย “ไม่ปฏิเสธ” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชา ย่อมเท่ากับประเทศไทยเข้าสู่ภาวะสุ่มเสี่ยงที่ถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว ให้กลายเป็นการยอมรับการเกิดพื้นที่ไม่แน่ชัดเหลื่อมซ้อนกันระหว่างการลากเส้นตามกฎหมายสากลของราชอาณาจักรไทย กับการลากเส้นตามอำเภอใจของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย

    MOU 2544 จึงอาจเข้าข่ายการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เนื่องด้วยมีการ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การอ้างสิทธิทับซ้อนโดยอาศัยการขีดเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บน ”มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล“

    เรากำลังขาดสติเดินตามรอย “กฎหมายปิดปาก”เสี่ยงสูญเสียเกาะกูดในอนาคตได้เหมือนการสูญเสียปราสาทพระวิหารในอดีตหรือไม่?

    ความสุ่มเสี่ยงดังกล่าวได้เคยเป็นปัญหาที่มีการถกเถียงกันอย่างมากระหว่างรัฐบาลไทยและภาคประชาชนต่อเนื่องมาก่อนแล้วเมื่อ 16 ปีก่อน

    จนในที่สุดในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้ว ดังปรากฏหลักฐานของ นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ได้ตอบกระทู้ของนายคำนูณ สิทธิสมาน สมาชิกวุฒิสภา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2553 ความตอนหนึ่งว่า

    “ขอกราบเรียนดังนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างไทยและกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ฉบับวันที่ 18 มิถุนายน 2554 แต่โดยที่เรื่องดังกล่าวต้องนำเสนอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ

    จึงมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศพิจารณาข้อกฎหมายให้รอบคอบก่อนดำเนินการต่อไป แล้วก็กระทรวงการต่างประเทศโดยกรมสนธิสัญญาและกฎหมายกำลังดำเนินการศึกษาและพิจารณาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยละเอียดก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา แล้วก็เพื่อเสนอต่อรัฐสภาต่อไป”

    โดยพรรคร่วมรัฐบาลในขณะนั้นที่เห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ประกอบไปด้วย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรครวมชาติพัฒนา พรรคกิจสังคม และพรรคมาตุภูมิ

    จริงอยู่ที่ว่าการยกเลิก MOU 2544 จนปัจจุบันยังไม่แล้วเสร็จ แต่มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีผลผูกพันทางกฎหมายอย่างแน่นอน และยังมีผลจนถึงปัจจุบันหากยังไม่มีมติคณะรัฐมนตรีเป็นอย่างอื่น

    ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่ของทุกกระทรวงจะดำเนินการไปในหลักการอื่นโดยฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จะทำต่อไปได้อย่างไร ยกเว้นเสียแต่ว่ามีการขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรีเสียใหม่ จริงหรือไม่?

    ดังนั้น การเดินหน้าในการแบ่งผลประโยชน์ระหว่างไทย-กัมพูชาตาม MOU 2544 ต่อไป อาจเข้าข่ายไม่เพียงเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น แต่ยังฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย

    สำหรับ นายภูมิธรรม เวชชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แทนที่จะมากล่าวหาว่าประชาชนผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับการเดินหน้า MOU 2544 ว่าเป็นพวกคลั่งชาตินั้น ก็ควรจะสำรวจรัฐบาลตัวเองด้วยว่ากำลังขายชาติอยู่หรือไม่

    ด้วยจิตคารวะ
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต

    https://mgronline.com/daily/detail/9670000105530

    #Thaitimes
    ณ บ้านพระอาทิตย์ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ การประกาศขีดเส้นเขตไหล่ทวีป และทะเลอาณาเขตของกัมพูชาในปี พ.ศ. 2515 ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากลนั้น ได้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยทางทะเลของราชอาณาจักรไทยอย่างชัดเจน และส่งผลทำให้ราชอาณาจักรไทยได้ “ปฏิเสธ” การประกาศขีดเส้นที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชาไปแล้ว ด้วยการมีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากนั้นในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักไทย-กัมพูชา เกี่ยวกับอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ พระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันออก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันตกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียว ซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล เพราะไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 อีกด้วย โดยมีผลตามมาดังนี้ 1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73 จึงเป็นการละเมิดเส้นแบ่งที่ระยะทางเท่ากันระหว่างไทยและกัมพูชา (Equidistant Line) อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรไทยได้เคย “ปฏิเสธ” การขีดเส้นทางทะเลของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลไปแล้วในเวลาต่อมา โดยราชอาณาจักรไทยได้มีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ “พระบรมราชโองการ” ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า “Royal Command” ซึ่งมีความหมายว่า “คำสั่งราชการของพระมหากษัตริย์” พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระราชอำนาจภายใต้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2515 ที่เกี่ยวพันกับสถานภาพกำหนดเขตแดนทางทะเลของ “ราชอาณาจักรไทย” กับ “จอมทัพไทย” และองค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ ดังนี้ “มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย มาตรา 18 บรรดาบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการใดๆ อันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” ดังนั้น พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน จึงมีผลตามกฎหมายและต้องมีการบังคับใช้จนถึงปัจจุบัน หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องมีการแก้ไขด้วยพระบรมราชโองการเช่นกัน ดังนั้นจะอาศัยนักการเมืองไปตกลงกันเองตามอำเภอใจโดยขัดต่อพระบรมราชโองการนั้นไม่ได้ ความสำคัญของพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากจะมีความหมายถึงการ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่รุกล้ำราชอาณาเขตทะเลไทยแล้ว ยังได้ประกาศถึงเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ” อย่างชัดเจนดังปรากฏเป็นข้อความในพระบรมราชโองการความว่า “เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย“ อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีพระบรมราชโองการฉบับนี้เป็นเวลา 2 ปี คือปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2515 รัฐบาลราชอาณาจักรไทยได้ทำการให้สัมปทานปิโตรเลียมให้กับต่างชาติไปแล้วหลายแปลง โดยเฉพาะกลุ่มทุนจาก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่น ที่ยึดถือการซื้อขายปิโตรเลียมเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ หรือที่เรียกว่า ปิโตรดอลลาร์ ดังนั้น การที่กัมพูชาตราพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ย่อมทำให้ผู้รับสัมปทานในประเทศไทยยังไม่สามารถดำเนินการให้สำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยได้ และอาจทำให้แหล่งปิโตรเลียมของราชอาณาจักรไทยกลายเป็นของกัมพูชาได้ด้วย ประกอบกับในเวลานั้นประเทศไทยได้ผ่านบทเรียนราคาแพงมาเป็นเวลา 10 ปีที่ได้สูญเสียปราสาทพระวิหารไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 ที่คำตัดสินของศาลโลกให้ประเทศไทยแพ้คดีด้วยเพราะ “กฎหมายปิดปาก” โดยอ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยไม่ปฏิเสธต่อแผนที่ฝรั่งเศส อ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยต่อการสำแดงอธิปไตยของกัมพูชา ทั้งๆ ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่บนยอดหน้าผาฝั่งราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นเส้นเขตแดนตามธรรมชาติที่ชัดเจน ดังนั้น ประเทศไทยจะดำเนินการปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาฉบับปี พ.ศ. 2515 จึงต้องมีความรอบคอบ รัดกุม และคำนึงถึงการปกป้องสิทธิและอธิปไตยของชาติ ไม่ให้ถูกแย่งชิงแหล่งสัมปทานปิโตรเลียมในอ่าวไทยให้ไปเป็นของกัมพูชา ไม่ให้ซ้ำรอยการสูญเสียปราสาทพระวิหารของไทยในปี พ.ศ. 2505 ด้วย ดังนั้น เพื่อความสมบูรณ์และชอบธรรมในการ “ปฏิเสธ” แผนที่เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่กระทำการตามกฎหมายทะเลสากล พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงอยู่บน “มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล” ดังความปรากฎในพระบรมราชโองการว่า “ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป และตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511” แม้ราชอาณาจักรไทยจะมีพระบรมราชโองการประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปที่อยู่บนมูลฐานของกฎหมายสากล แต่ก็ยังมีความตระหนักด้วยว่าอาจจะต้องมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ในอนาคต” กับเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาอย่างแน่นอน ราชอาณาจักรไทยจึงได้ประกาศโดยพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 กำหนดเส้นเขตไหล่ทวีปนั้น ได้วางหลักในอนาคตว่าหากจะมีการตกลงกันในวันข้างหน้าจะต้องใช้มูลฐานของกฎหมายสากลเท่านั้น ซึ่งแปลว่าฝ่ายราชอาณาจักรไทยนอกจากจะประกาศ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตย ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 แล้ว ยังจะต้อง “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลทุกกรณีใน “อนาคต” ด้วย ดังข้อความปรากฏในพระบรมราชโองการความว่า “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“ หมายความว่าหากราชอาณาจักรไทยมีข้อพิพาทในอาณาเขตใกล้เคียงกันแล้วก็เปิดทางให้ตกลงกันได้ แต่ต้อง “ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958” เท่านั้น ดังเช่นกรณีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทย-มาเลเซีย ที่ต่างฝ่ายต่างอ้างเส้นเขตไหล่ทวีปของประเทศตัวเองให้ได้เปรียบที่สุด แต่เมื่อทั้ง 2 ประเทศได้ตกลงกันโดยอาศัยมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล จึงสามารถยอมรับการอ้างสิทธิทับซ้อนเหลื่อมล้ำกันของพื้นที่ซึ่งกันและกันได้ และยังคงเป็นการดำเนินรอยตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซียในการแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของไทย-มาเลเซียในอ่าวไทย แต่เมื่อจะมีบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทยแล้ว ก็ยังต้องอาศัยพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้บันทีกความเข้าใจฉบับดังกล่าว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 และรับสนองพระบรมราชโองการโดย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี แต่กรณีของเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บนฐานของมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล ซึ่งราชอาณาจักรไทย ได้ “ปฏิเสธ” ไปแล้วโดยมีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และได้ “ปฏิเสธ” การตกลงกันในอนาคตด้วย เพราะการขีดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาดังกล่าวไม่ได้อยู่บนมูลฐานของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของกฎหมายทะเลสากล ดังนั้น บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย-กัมพูชาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ลงนามกันเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ“ เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย มากลายเป็น “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของประเทศกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล การที่ประเทศไทย “ไม่ปฏิเสธ” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชา ย่อมเท่ากับประเทศไทยเข้าสู่ภาวะสุ่มเสี่ยงที่ถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว ให้กลายเป็นการยอมรับการเกิดพื้นที่ไม่แน่ชัดเหลื่อมซ้อนกันระหว่างการลากเส้นตามกฎหมายสากลของราชอาณาจักรไทย กับการลากเส้นตามอำเภอใจของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย MOU 2544 จึงอาจเข้าข่ายการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เนื่องด้วยมีการ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การอ้างสิทธิทับซ้อนโดยอาศัยการขีดเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บน ”มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล“ เรากำลังขาดสติเดินตามรอย “กฎหมายปิดปาก”เสี่ยงสูญเสียเกาะกูดในอนาคตได้เหมือนการสูญเสียปราสาทพระวิหารในอดีตหรือไม่? ความสุ่มเสี่ยงดังกล่าวได้เคยเป็นปัญหาที่มีการถกเถียงกันอย่างมากระหว่างรัฐบาลไทยและภาคประชาชนต่อเนื่องมาก่อนแล้วเมื่อ 16 ปีก่อน จนในที่สุดในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้ว ดังปรากฏหลักฐานของ นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ได้ตอบกระทู้ของนายคำนูณ สิทธิสมาน สมาชิกวุฒิสภา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2553 ความตอนหนึ่งว่า “ขอกราบเรียนดังนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างไทยและกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ฉบับวันที่ 18 มิถุนายน 2554 แต่โดยที่เรื่องดังกล่าวต้องนำเสนอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ จึงมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศพิจารณาข้อกฎหมายให้รอบคอบก่อนดำเนินการต่อไป แล้วก็กระทรวงการต่างประเทศโดยกรมสนธิสัญญาและกฎหมายกำลังดำเนินการศึกษาและพิจารณาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยละเอียดก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา แล้วก็เพื่อเสนอต่อรัฐสภาต่อไป” โดยพรรคร่วมรัฐบาลในขณะนั้นที่เห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ประกอบไปด้วย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรครวมชาติพัฒนา พรรคกิจสังคม และพรรคมาตุภูมิ จริงอยู่ที่ว่าการยกเลิก MOU 2544 จนปัจจุบันยังไม่แล้วเสร็จ แต่มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีผลผูกพันทางกฎหมายอย่างแน่นอน และยังมีผลจนถึงปัจจุบันหากยังไม่มีมติคณะรัฐมนตรีเป็นอย่างอื่น ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่ของทุกกระทรวงจะดำเนินการไปในหลักการอื่นโดยฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จะทำต่อไปได้อย่างไร ยกเว้นเสียแต่ว่ามีการขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรีเสียใหม่ จริงหรือไม่? ดังนั้น การเดินหน้าในการแบ่งผลประโยชน์ระหว่างไทย-กัมพูชาตาม MOU 2544 ต่อไป อาจเข้าข่ายไม่เพียงเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น แต่ยังฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย สำหรับ นายภูมิธรรม เวชชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แทนที่จะมากล่าวหาว่าประชาชนผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับการเดินหน้า MOU 2544 ว่าเป็นพวกคลั่งชาตินั้น ก็ควรจะสำรวจรัฐบาลตัวเองด้วยว่ากำลังขายชาติอยู่หรือไม่ ด้วยจิตคารวะ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต https://mgronline.com/daily/detail/9670000105530 #Thaitimes
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 401 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ดร.นิว' แฉความลับกัมพูชาที่คนไทยควรรู้!

    31 ต.ค.2567 - ดร.ศุภณัฐ อภิญญาณ หรือ ดร.นิว นักวิจัยภายใต้สถาบันวิจัย MAST Center และ คณะวิศวกรรมชีวการแพทย์ University of Arkansas ประเทศสหรัฐอเมริกา โพสต์เฟซบุ๊กในหัวข้อ “ความลับกัมพูชาที่คนไทยทุกคนควรต้องรู้” ระบุว่า กัมพูชาเป็นเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคแทบนี้ ที่ไม่ยอมเข้าร่วมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรือ United Nations Convention on the Law Of the Sea (UNCLOS) อ่านออกเสียงตัวอักษรย่อ UNCLOS ว่า "อันโคลซ" ซึ่งปัจจุบันนับได้ว่าเป็นอนุสัญญาสหประชาชาติสำคัญ เป็นที่ยอมรับในการแบ่งเขตแดนทางทะเลของแต่ละประเทศอันเป็นหลักสากล โปร่งใส และมีความเป็นธรรม สามารถช่วยแก้ไข ตลอดจนระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างประเทศได้อย่างสันติ

    เหตุผลประการสำคัญที่กัมพูชาไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS เป็นเพราะทางกัมพูชาทราบดีว่าจะเสียเปรียบในการเจรจาแบ่งเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน โดย ดร.วันนาริธ ชเฮียง นักวิชาการชื่อดังชาวกัมพูชาเป็นผู้ยอมรับเอง ยืนยันว่ารัฐบาลกัมพูชากลัวการเข้าร่วมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล UNCLOS จะทำให้กัมพูชาเสียเปรียบในการเจรจากำหนดเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน ดังที่กัมพูชาพยายามอ้างสิทธิ์ตามเส้นเขตแดนที่ลากขึ้นในสมัยที่ยังเป็นรัฐอารักขาของประเทศฝรั่งเศส

    เมื่อทราบความจริงดังนี้ ประเทศไทยของเราจึงไม่ควรเจรจากับกัมพูชาเป็นอย่างยิ่งตราบใดที่กัมพูชายังไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS เพราะไทยจะกลายเป็นฝ่ายเสียเปรียบเสียเองหากยังคงยึดข้อพิพาทเดิมตามแนวทาง MOU 2544 ที่ล้าสมัยไปแล้ว ขนาดรัฐบาลกัมพูชายังไม่ยอมเสียเปรียบไทย ถ้ารัฐบาลไทยยอมเสียเปรียบกัมพูชา ยอมยกผลประโยชน์ของประเทศชาติและปวงชนชาวไทยมูลค่านับล้านล้านบาทให้กับกัมพูชา กล้าเสนอหน้าไปเจรจาโดยที่กัมพูชายังไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS จะเรียกว่า "โง่" หรือ "ขายชาติ" ดีครับ?

    ดังนั้น UNCLOS จึงเป็นหลักสำคัญในการเจรจาระหว่างไทยและกัมพูชา ปัญหาพื้นที่ทับซ้อนจะจบลงทันที เพราะเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาภายใต้ UNCLOS เป็นสากลอยู่แล้ว สิ่งที่เหลือให้ไทยและกัมพูชายังต้องเจรจาตกลงกัน คือ หลุมน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่วางตัวอยู่ในแนวเส้นแบ่งเขตแดนทางทะเลของทั้งสองประเทศ นอกจากไทยเราจะไม่เสียเกาะกูดเป็นแน่แล้ว ยังจะสามารถครองพื้นที่ส่วนใหญ่ที่เป็นข้อพิพาท รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติในท้องทะเล ทั้งน้ำมันดิบและก๊าชธรรมชาติส่วนใหญ่จะตกเป็นของไทย
    ขนาดนักวิชาการกัมพูชายังยืนยันชัดเจนว่ารัฐบาลกัมพูชาไม่เข้าร่วม UNCLOS เพราะกลัวเสียเปรียบ พี่น้องประชาชนคนไทยทุกคนจึงควรตระหนักรู้เกี่ยวกับ UNCLOS เพื่อให้รัฐบาลไทยยื่นข้อเสนอให้กัมพูชาเข้าร่วม UNCLOS เสียก่อนเท่านั้น แล้วจึงค่อยเปิดการเจรจาที่เป็นธรรม!

    ที่มา https://www.thaipost.net/x-cite-news/682589/

    #Thaitimes
    'ดร.นิว' แฉความลับกัมพูชาที่คนไทยควรรู้! 31 ต.ค.2567 - ดร.ศุภณัฐ อภิญญาณ หรือ ดร.นิว นักวิจัยภายใต้สถาบันวิจัย MAST Center และ คณะวิศวกรรมชีวการแพทย์ University of Arkansas ประเทศสหรัฐอเมริกา โพสต์เฟซบุ๊กในหัวข้อ “ความลับกัมพูชาที่คนไทยทุกคนควรต้องรู้” ระบุว่า กัมพูชาเป็นเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคแทบนี้ ที่ไม่ยอมเข้าร่วมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรือ United Nations Convention on the Law Of the Sea (UNCLOS) อ่านออกเสียงตัวอักษรย่อ UNCLOS ว่า "อันโคลซ" ซึ่งปัจจุบันนับได้ว่าเป็นอนุสัญญาสหประชาชาติสำคัญ เป็นที่ยอมรับในการแบ่งเขตแดนทางทะเลของแต่ละประเทศอันเป็นหลักสากล โปร่งใส และมีความเป็นธรรม สามารถช่วยแก้ไข ตลอดจนระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างประเทศได้อย่างสันติ เหตุผลประการสำคัญที่กัมพูชาไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS เป็นเพราะทางกัมพูชาทราบดีว่าจะเสียเปรียบในการเจรจาแบ่งเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน โดย ดร.วันนาริธ ชเฮียง นักวิชาการชื่อดังชาวกัมพูชาเป็นผู้ยอมรับเอง ยืนยันว่ารัฐบาลกัมพูชากลัวการเข้าร่วมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล UNCLOS จะทำให้กัมพูชาเสียเปรียบในการเจรจากำหนดเขตแดนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน ดังที่กัมพูชาพยายามอ้างสิทธิ์ตามเส้นเขตแดนที่ลากขึ้นในสมัยที่ยังเป็นรัฐอารักขาของประเทศฝรั่งเศส เมื่อทราบความจริงดังนี้ ประเทศไทยของเราจึงไม่ควรเจรจากับกัมพูชาเป็นอย่างยิ่งตราบใดที่กัมพูชายังไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS เพราะไทยจะกลายเป็นฝ่ายเสียเปรียบเสียเองหากยังคงยึดข้อพิพาทเดิมตามแนวทาง MOU 2544 ที่ล้าสมัยไปแล้ว ขนาดรัฐบาลกัมพูชายังไม่ยอมเสียเปรียบไทย ถ้ารัฐบาลไทยยอมเสียเปรียบกัมพูชา ยอมยกผลประโยชน์ของประเทศชาติและปวงชนชาวไทยมูลค่านับล้านล้านบาทให้กับกัมพูชา กล้าเสนอหน้าไปเจรจาโดยที่กัมพูชายังไม่ยอมเข้าร่วม UNCLOS จะเรียกว่า "โง่" หรือ "ขายชาติ" ดีครับ? ดังนั้น UNCLOS จึงเป็นหลักสำคัญในการเจรจาระหว่างไทยและกัมพูชา ปัญหาพื้นที่ทับซ้อนจะจบลงทันที เพราะเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาภายใต้ UNCLOS เป็นสากลอยู่แล้ว สิ่งที่เหลือให้ไทยและกัมพูชายังต้องเจรจาตกลงกัน คือ หลุมน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่วางตัวอยู่ในแนวเส้นแบ่งเขตแดนทางทะเลของทั้งสองประเทศ นอกจากไทยเราจะไม่เสียเกาะกูดเป็นแน่แล้ว ยังจะสามารถครองพื้นที่ส่วนใหญ่ที่เป็นข้อพิพาท รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติในท้องทะเล ทั้งน้ำมันดิบและก๊าชธรรมชาติส่วนใหญ่จะตกเป็นของไทย ขนาดนักวิชาการกัมพูชายังยืนยันชัดเจนว่ารัฐบาลกัมพูชาไม่เข้าร่วม UNCLOS เพราะกลัวเสียเปรียบ พี่น้องประชาชนคนไทยทุกคนจึงควรตระหนักรู้เกี่ยวกับ UNCLOS เพื่อให้รัฐบาลไทยยื่นข้อเสนอให้กัมพูชาเข้าร่วม UNCLOS เสียก่อนเท่านั้น แล้วจึงค่อยเปิดการเจรจาที่เป็นธรรม! ที่มา https://www.thaipost.net/x-cite-news/682589/ #Thaitimes
    WWW.THAIPOST.NET
    'ดร.นิว' แฉความลับกัมพูชาที่คนไทยควรรู้!
    ดร.ศุภณัฐ อภิญญาณ หรือ ดร.นิว นักวิจัยภายใต้สถาบันวิจัย MAST Center
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 3 การแบ่งปัน 396 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..นี้คือความจริงทั้งหมด,อย่าตอแหลบิดค่าจริงใดๆอีกเลย.,ยกเลิกสัมปทานบ่อปิโตรเลียมทั้งหมดในแผ่นดินไทยที่ถูกปล้นไปได้แล้วจากmouข้อตกลงทาสห่าเหวตกลงลับๆห่าใดๆก็เถอะ,ควรจบทั้งหมด สู่ยุคใหม่กันจริงที่ทุกๆตารางนิ้วคืออธิปไตยไทยของแท้.
    ..จบสิ้นความยากจนเสียที,ไม่ก็ล่มสลายสิ้นชาติไทยไปทั้งหมดเถอะ,งี่เง่ากากกระจอกทั้งหมดนัก.
    ..คนไทยสมควรปฏิวัติด้วยมือคนภาคประชาชนเองมั้ย เหี้ยรอแต่ทหารทำซากอะไร ยึดทรัพย์นักการเมืองทั้งหมดบวกข้าราชการเลวจริงๆเสียที,ทหารทำมาทั้งหมด กาก&กระจอกบวกเสียของมาก ไร้สมองโง่เขลาที่มองไม่ออกว่า บ่อน้ำมันคือตัวปัญหาทั้งหมดของชาติที่แพงทั้งแผ่นดินบวกยากจนทุกๆคนไทยธรรมดาด้วย,กระจุกร่ำรวยโคตรพ่อโคตรแมร่งมันเฉพาะเดอะแก๊งเดอะก๊กบางกลุ่ม อาทิชนชั้นปกครองเหี้ยๆหน้าเดิมๆ,มันสมควรจบความชั่วเลวนี้ได้แล้ว อธิปไตยเหนือแผ่นดินไทยยังรักษาห่าเหวไม่ได้ตามอดีตเขียนลงไว้แล้ว เกาะกูดอีก ให้สัญชาติพม่าง่ายๆหรือต่างด้าวต่างๆมาสร้างกลโกลาหลแตกแยกในบ้านในเมืองไทย แย่งชิงงานคนไทยทั้งปกติพื้นฐานอีก,นี้คือการปกครองที่เลว ถีบออกไปเถอะ.,เพราะเราคนไทยได้ผู้นำเลว แล้วระบบจัดการชนชั้นปกครองเลวนี้ไม่เด็ดขาดจริง,ประหารต้องประหารได้ด้วย แต่ก็เหี้ย จนก่อเกิดปัญหาสาระพัดต่อเชื้อชั่วเลวสืบทอดมิจบสิ้นนับจากคณะ2475มาถึงปัจจุบันก็ว่า,
    ..ประเด็นตอนนี้ถ้าสายปกครองทั้งกมดคือเผ่าพันธุ์เลวสายแรปทีเลี่ยนชั่วจริง ต้องกำจัดทิ้งด้วยเช่นกัน .โลกต้องมีนักล่าปีศาจซาตานเพื่อปกป้องคนดีด้วย,ผู้เสียสละโคตรๆเลยล่ะ ตนทำภาระกิจเพื่อให้อีกคนบรรลุธรรมสะดวกก็ว่า,แมร่งถ้าทั้งแผ่นดินไทยมีแต่สงครามยิงระเบิดกันทุกๆวัน ข้าวปลาอาหารขาดแคลนไร้มีแดกในแต่ละวัน ทุกๆตารางนิ้วทั่วไทยเป็นหมด,จะบันเทิงทุกข์ขนาดไหนล่ะ สะดวกบรรลุธรรมโคตรพ่อโคตรแมร่งท่านนะสิ,สถาบันไปวัดเลยล่ะทุกๆสถาบัน ฝันเลยจะอยู่สุขสบายห่าอะไรได้ เผลอๆหนีออกนอกประเทศโน้น ทั้งชนชั้นปกครองทั้งหมดแบบสีหนุไง,หรือใดๆที่ไหนล่ะ คนอำมาตย์ก็บินหนีก่อนใครด้วย เจ้าสัวคนร่ำรวยยิ่งชิงหนีตั้งแต่แรกก่อนเพื่อน สร้างบ้านหรูๆยิ่งใหญ่กว่าวังที่เมืองนอกก็ตรึม,ซวยคือคนจนยากจนชนธรรมดามิใช่ชนชั้นปกครองห่าอะไรแบบพวกเหี้ยๆนี้ พอบ้านเมืองสงบก็กลับมาสะแตกต่อ ผูกขาดสาระพัดทำประโยชน์แดกทุกๆตารางนิ้วทั่วไทยยิ่งกว่าเก่า,สงครามโลกครั้งที่1ที่2มิได้สอนบทเรียนห่าใดๆบวกไปทำmouตกลงลับๆขายชาติขายอธิปไตยแก่ฝรั่งตะวันตกอีก ซึ่งมันทาสมันปล้นมันเอาเปรียบแผ่นดินไทยตน,โมฆะคือจบ ทำสงครามระหว่างชาติแบบเปิดเผยกันไปเลยก็ได้,ขลาดเขลาเหี้ยอะไร ตายทั้งแผ่นดินไทย มันจะย้ายคนมันมาอยู่ก็เหี้ยมันสิ,อย่างน้อยทั้งคนไทยหมดประเทศได้ต่อสู้,นี้จึงถีบๆชนชั้นปกครองแบบใจหมาใจกากๆออกจากการปกครองเถอะ,ปกครองให้คนของประเทศไทยตนอยากจน ผีบ้าเท่านั้นล่ะ จะผีบ้าให้คนผีบ้ามาปกครองทำซากอะไร,เราคนไทยไม่ต้องทำงานก็อยู่อย่างสบายๆ,ต่อยอดทำเครื่องพิมพ์ตังเข้าประเทศได้มากมาย เผลอไม่ขุดทรัพยากรมีค่าอะไรที่ไร้ความจำเป็นบ้าตังอะไรมากมายก็ได้ คนปกครองจริงๆนะ,ขี้ขลาด กากหรือกระจอก ใจขลาดเขลาก็ว่า เพียงคนไทยสามัคคีรวมใจเป็นหนึ่งเดียวมันจบความชั่วเลวทั้งระบบได้หมด.ตกงานจะไม่มี มีแต่ตกใจในความร่ำรวยนะสิ,ชาติเรามันรวยโคตรๆจริงๆนะ,แต่เหี้ยกิ่งก่าปกครองเลยถูกทำให้ยากจน.
    ..นี้คือความจริงทั้งหมด,อย่าตอแหลบิดค่าจริงใดๆอีกเลย.,ยกเลิกสัมปทานบ่อปิโตรเลียมทั้งหมดในแผ่นดินไทยที่ถูกปล้นไปได้แล้วจากmouข้อตกลงทาสห่าเหวตกลงลับๆห่าใดๆก็เถอะ,ควรจบทั้งหมด สู่ยุคใหม่กันจริงที่ทุกๆตารางนิ้วคืออธิปไตยไทยของแท้. ..จบสิ้นความยากจนเสียที,ไม่ก็ล่มสลายสิ้นชาติไทยไปทั้งหมดเถอะ,งี่เง่ากากกระจอกทั้งหมดนัก. ..คนไทยสมควรปฏิวัติด้วยมือคนภาคประชาชนเองมั้ย เหี้ยรอแต่ทหารทำซากอะไร ยึดทรัพย์นักการเมืองทั้งหมดบวกข้าราชการเลวจริงๆเสียที,ทหารทำมาทั้งหมด กาก&กระจอกบวกเสียของมาก ไร้สมองโง่เขลาที่มองไม่ออกว่า บ่อน้ำมันคือตัวปัญหาทั้งหมดของชาติที่แพงทั้งแผ่นดินบวกยากจนทุกๆคนไทยธรรมดาด้วย,กระจุกร่ำรวยโคตรพ่อโคตรแมร่งมันเฉพาะเดอะแก๊งเดอะก๊กบางกลุ่ม อาทิชนชั้นปกครองเหี้ยๆหน้าเดิมๆ,มันสมควรจบความชั่วเลวนี้ได้แล้ว อธิปไตยเหนือแผ่นดินไทยยังรักษาห่าเหวไม่ได้ตามอดีตเขียนลงไว้แล้ว เกาะกูดอีก ให้สัญชาติพม่าง่ายๆหรือต่างด้าวต่างๆมาสร้างกลโกลาหลแตกแยกในบ้านในเมืองไทย แย่งชิงงานคนไทยทั้งปกติพื้นฐานอีก,นี้คือการปกครองที่เลว ถีบออกไปเถอะ.,เพราะเราคนไทยได้ผู้นำเลว แล้วระบบจัดการชนชั้นปกครองเลวนี้ไม่เด็ดขาดจริง,ประหารต้องประหารได้ด้วย แต่ก็เหี้ย จนก่อเกิดปัญหาสาระพัดต่อเชื้อชั่วเลวสืบทอดมิจบสิ้นนับจากคณะ2475มาถึงปัจจุบันก็ว่า, ..ประเด็นตอนนี้ถ้าสายปกครองทั้งกมดคือเผ่าพันธุ์เลวสายแรปทีเลี่ยนชั่วจริง ต้องกำจัดทิ้งด้วยเช่นกัน .โลกต้องมีนักล่าปีศาจซาตานเพื่อปกป้องคนดีด้วย,ผู้เสียสละโคตรๆเลยล่ะ ตนทำภาระกิจเพื่อให้อีกคนบรรลุธรรมสะดวกก็ว่า,แมร่งถ้าทั้งแผ่นดินไทยมีแต่สงครามยิงระเบิดกันทุกๆวัน ข้าวปลาอาหารขาดแคลนไร้มีแดกในแต่ละวัน ทุกๆตารางนิ้วทั่วไทยเป็นหมด,จะบันเทิงทุกข์ขนาดไหนล่ะ สะดวกบรรลุธรรมโคตรพ่อโคตรแมร่งท่านนะสิ,สถาบันไปวัดเลยล่ะทุกๆสถาบัน ฝันเลยจะอยู่สุขสบายห่าอะไรได้ เผลอๆหนีออกนอกประเทศโน้น ทั้งชนชั้นปกครองทั้งหมดแบบสีหนุไง,หรือใดๆที่ไหนล่ะ คนอำมาตย์ก็บินหนีก่อนใครด้วย เจ้าสัวคนร่ำรวยยิ่งชิงหนีตั้งแต่แรกก่อนเพื่อน สร้างบ้านหรูๆยิ่งใหญ่กว่าวังที่เมืองนอกก็ตรึม,ซวยคือคนจนยากจนชนธรรมดามิใช่ชนชั้นปกครองห่าอะไรแบบพวกเหี้ยๆนี้ พอบ้านเมืองสงบก็กลับมาสะแตกต่อ ผูกขาดสาระพัดทำประโยชน์แดกทุกๆตารางนิ้วทั่วไทยยิ่งกว่าเก่า,สงครามโลกครั้งที่1ที่2มิได้สอนบทเรียนห่าใดๆบวกไปทำmouตกลงลับๆขายชาติขายอธิปไตยแก่ฝรั่งตะวันตกอีก ซึ่งมันทาสมันปล้นมันเอาเปรียบแผ่นดินไทยตน,โมฆะคือจบ ทำสงครามระหว่างชาติแบบเปิดเผยกันไปเลยก็ได้,ขลาดเขลาเหี้ยอะไร ตายทั้งแผ่นดินไทย มันจะย้ายคนมันมาอยู่ก็เหี้ยมันสิ,อย่างน้อยทั้งคนไทยหมดประเทศได้ต่อสู้,นี้จึงถีบๆชนชั้นปกครองแบบใจหมาใจกากๆออกจากการปกครองเถอะ,ปกครองให้คนของประเทศไทยตนอยากจน ผีบ้าเท่านั้นล่ะ จะผีบ้าให้คนผีบ้ามาปกครองทำซากอะไร,เราคนไทยไม่ต้องทำงานก็อยู่อย่างสบายๆ,ต่อยอดทำเครื่องพิมพ์ตังเข้าประเทศได้มากมาย เผลอไม่ขุดทรัพยากรมีค่าอะไรที่ไร้ความจำเป็นบ้าตังอะไรมากมายก็ได้ คนปกครองจริงๆนะ,ขี้ขลาด กากหรือกระจอก ใจขลาดเขลาก็ว่า เพียงคนไทยสามัคคีรวมใจเป็นหนึ่งเดียวมันจบความชั่วเลวทั้งระบบได้หมด.ตกงานจะไม่มี มีแต่ตกใจในความร่ำรวยนะสิ,ชาติเรามันรวยโคตรๆจริงๆนะ,แต่เหี้ยกิ่งก่าปกครองเลยถูกทำให้ยากจน.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 40 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://www.youtube.com/watch?v=mZSCT5AerUY
    นิทานเรื่องเจ้าหนูเห็นมังกร ตอนที่ 6
    (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้)
    แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากนิทานเรื่องเจ้าหนูเห็นมังกร ตอนที่ 6
    มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ

    #listeningstory #listeningtest #basiclistening

    The story from the clip :

    Popy stood there seeing around him. He saw them came in the room, a tall mouse with
    a pair of spectacles that wore in pink suit of clothes and an old female mouse.
    Her gown was in pink, too. The mouse with a pair of spectacles was a doctor. The
    old female one was a nurse. The doctor mouse sat down on one chair and gave his
    order to Popy. "Sit down on this chair." After Popy unwillingly sat down on the chair, Doctor started ask him. "When did you start saying you saw a dragon?"
    Popy replied to him. "Three days ago. It is a truth. Truly I saw a dragon."
    "Where did you see it?"
    "At the pond behind that mountain." said Popy.
    "What was the weather like that day?" asked Doctor.
    "It was sunny. I saw the sun too." said Popy.

    เจ้าหนูโพปี้ได้ยืนอยู่ตรงนั้น มองไปรอบ ๆ ตัวเขา เขาได้เห็นพวกเขาเหล่านั้นเข้ามาในห้อง มี
    หนูตัวสูงใส่แว่นตาตัวหนึ่งที่สวมใส่ชุดเสื้อผ้าสีชมพู และหนูตัวเมียแก่ ๆ ตัวหนึ่งเสื้อคลุมยาวของเธอก็สีชมพูด้วย หนูที่ใส่แว่นตานั้นเป็นหมอ ส่วนหนูแกตัวเมียตัวนั้นเป็นนางพยาบาล หนูที่เป็นหมอได้นั่งลงบนเก้าอี้ตัวหนึ่งและให้คำสั่งกับเจ้าหนูโพปี้ “นั่งลงบนเก้าอี้นี่” หลังจากที่เจ้าหนูโพปี้ได้นั่งอย่างไม่เต็มใจบนเก้าอี้นั้น หมอได้เริ่มถามเขา “เจ้าได้เริ่มพูดว่าเจ้าได้เห็นมังกรเมื่อไรกัน?” เจ้าหนูโพปี้ได้ตอบกับหมอว่า “สามวันก่อน มันเป็นความจริง ผมได้เห็นมังกรจริง ๆ”
    “เจ้าได้เห็นมันที่ไหนกัน?”
    “ที่สระน้ำทางโน้นเลยภูเขานั้นไป
    “อากาศในวันนั้นเป็นอย่างไร?” หมอถาม
    “มันมีแดดดี ผมเห็นพระอาทิตย์ด้วย

    Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้)

    stood (สทูด) คำกริยาช่องที่ 2 ของ stand (สแทนดฺ) แปลว่า ได้ยืน
    around (อะเราน์ดฺ') คำบุพบท แปลว่า รอบๆ
    spectacles (สเพค'ทะเคิล) คำนาม แปลว่า แว่นตา
    wore (วอร์) คำกริยาช่องที่ 2 ของ wear (แวร์) แปลว่า สวมใส่
    female (ฟี'เมล) คำนาม แปลว่า ตัวเมีย
    gown (เกาน์) คำนาม แปลว่า เสื้อคลุมยาว
    nurse (เนิร์ซฺ) คำนาม แปลว่า นางพยาบาล
    doctor (ดอค'เทอะ) คำนาม แปลว่า หมอ
    order (ออร์'เดอะ) คำนาม แปลว่า คำสั่ง
    unwillingly (อันวีล'ลิงลี) คำกริยาวิเศษณ์ แปลว่า อย่างไม่เต็มใจ
    started คำกริยาช่องที่ 2 ของ start (สทาร์ท) แปลว่า ได้เริ่ม
    weather (เวธ'เธอะ) คำนาม แปลว่า อากาศ
    sunny (ซัน'นี) คำคุณศัพท์ แปลว่า แดดดี
    sun (ซัน) คำนาม แปลว่า พระอาทิตย์
    https://www.youtube.com/watch?v=mZSCT5AerUY นิทานเรื่องเจ้าหนูเห็นมังกร ตอนที่ 6 (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้) แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากนิทานเรื่องเจ้าหนูเห็นมังกร ตอนที่ 6 มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ #listeningstory #listeningtest #basiclistening The story from the clip : Popy stood there seeing around him. He saw them came in the room, a tall mouse with a pair of spectacles that wore in pink suit of clothes and an old female mouse. Her gown was in pink, too. The mouse with a pair of spectacles was a doctor. The old female one was a nurse. The doctor mouse sat down on one chair and gave his order to Popy. "Sit down on this chair." After Popy unwillingly sat down on the chair, Doctor started ask him. "When did you start saying you saw a dragon?" Popy replied to him. "Three days ago. It is a truth. Truly I saw a dragon." "Where did you see it?" "At the pond behind that mountain." said Popy. "What was the weather like that day?" asked Doctor. "It was sunny. I saw the sun too." said Popy. เจ้าหนูโพปี้ได้ยืนอยู่ตรงนั้น มองไปรอบ ๆ ตัวเขา เขาได้เห็นพวกเขาเหล่านั้นเข้ามาในห้อง มี หนูตัวสูงใส่แว่นตาตัวหนึ่งที่สวมใส่ชุดเสื้อผ้าสีชมพู และหนูตัวเมียแก่ ๆ ตัวหนึ่งเสื้อคลุมยาวของเธอก็สีชมพูด้วย หนูที่ใส่แว่นตานั้นเป็นหมอ ส่วนหนูแกตัวเมียตัวนั้นเป็นนางพยาบาล หนูที่เป็นหมอได้นั่งลงบนเก้าอี้ตัวหนึ่งและให้คำสั่งกับเจ้าหนูโพปี้ “นั่งลงบนเก้าอี้นี่” หลังจากที่เจ้าหนูโพปี้ได้นั่งอย่างไม่เต็มใจบนเก้าอี้นั้น หมอได้เริ่มถามเขา “เจ้าได้เริ่มพูดว่าเจ้าได้เห็นมังกรเมื่อไรกัน?” เจ้าหนูโพปี้ได้ตอบกับหมอว่า “สามวันก่อน มันเป็นความจริง ผมได้เห็นมังกรจริง ๆ” “เจ้าได้เห็นมันที่ไหนกัน?” “ที่สระน้ำทางโน้นเลยภูเขานั้นไป “อากาศในวันนั้นเป็นอย่างไร?” หมอถาม “มันมีแดดดี ผมเห็นพระอาทิตย์ด้วย Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้) stood (สทูด) คำกริยาช่องที่ 2 ของ stand (สแทนดฺ) แปลว่า ได้ยืน around (อะเราน์ดฺ') คำบุพบท แปลว่า รอบๆ spectacles (สเพค'ทะเคิล) คำนาม แปลว่า แว่นตา wore (วอร์) คำกริยาช่องที่ 2 ของ wear (แวร์) แปลว่า สวมใส่ female (ฟี'เมล) คำนาม แปลว่า ตัวเมีย gown (เกาน์) คำนาม แปลว่า เสื้อคลุมยาว nurse (เนิร์ซฺ) คำนาม แปลว่า นางพยาบาล doctor (ดอค'เทอะ) คำนาม แปลว่า หมอ order (ออร์'เดอะ) คำนาม แปลว่า คำสั่ง unwillingly (อันวีล'ลิงลี) คำกริยาวิเศษณ์ แปลว่า อย่างไม่เต็มใจ started คำกริยาช่องที่ 2 ของ start (สทาร์ท) แปลว่า ได้เริ่ม weather (เวธ'เธอะ) คำนาม แปลว่า อากาศ sunny (ซัน'นี) คำคุณศัพท์ แปลว่า แดดดี sun (ซัน) คำนาม แปลว่า พระอาทิตย์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ปานเทพ” เผย มติ ครม.ยุครัฐบาล “อภิสิทธิ์” ปี 52 เคยเห็นชอบหลักการยกเลิก MOU2544 ไว้แล้ว เพียงแต่รอขั้นตอนให้สภารับรอง หากรัฐบาลนี้จะนำไปใช้เป็นเจรจาแบ่งผลประโยชน์ทางทะเลกับกัมพูชา ต้องมีมติเปลี่ยนแปลงก่อน ไม่เช่นนั้นจะถือว่าทำผิดมติ ครม.และยังละเมิดพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปปี 2516 ย้อน “ภูมิธรรม” แทนที่จะกล่าวหาคนค้าน MOU2544 ว่าคลั่งชาติ ควรตั้งคำถามรัฐบาลตัวเองกำลังขายชาติหรือไม่

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000105096

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “ปานเทพ” เผย มติ ครม.ยุครัฐบาล “อภิสิทธิ์” ปี 52 เคยเห็นชอบหลักการยกเลิก MOU2544 ไว้แล้ว เพียงแต่รอขั้นตอนให้สภารับรอง หากรัฐบาลนี้จะนำไปใช้เป็นเจรจาแบ่งผลประโยชน์ทางทะเลกับกัมพูชา ต้องมีมติเปลี่ยนแปลงก่อน ไม่เช่นนั้นจะถือว่าทำผิดมติ ครม.และยังละเมิดพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปปี 2516 ย้อน “ภูมิธรรม” แทนที่จะกล่าวหาคนค้าน MOU2544 ว่าคลั่งชาติ ควรตั้งคำถามรัฐบาลตัวเองกำลังขายชาติหรือไม่ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000105096 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    Angry
    Yay
    93
    5 ความคิดเห็น 6 การแบ่งปัน 2919 มุมมอง 4 รีวิว
  • “หม่อมกร” ชี้จุดพึงระวัง MOU 2544 ไทยเปลี่ยนจุดยืนไม่รักษาสิทธิเขตแดนทางทะเลตามอนุสัญญาเจนีวา 1958 และหันไปยอมรับเส้นเขตแดนกัมพูชาที่ประกาศไม่มีกฎหมายสากลรองรับ จนเกิดพื้นที่ทับซ้อน 26,000 ตร.กม. ทำใหเไทยเสียเปรียบและเสี่ยงเสียดินแดนซ้ำรอยเขาพระวิหาร ชี้พิรุธเจรจารวบรัดแค่ 44 วันก็ลงนาม ขณะที่เขตทับซ้อนไทย-เวียดนาม ใช้เวลา 6 ปี ไทย-มาเลเซียใช้เวลา 7 ปี เพราะเจรจาอย่างรอบคอบ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000105028

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “หม่อมกร” ชี้จุดพึงระวัง MOU 2544 ไทยเปลี่ยนจุดยืนไม่รักษาสิทธิเขตแดนทางทะเลตามอนุสัญญาเจนีวา 1958 และหันไปยอมรับเส้นเขตแดนกัมพูชาที่ประกาศไม่มีกฎหมายสากลรองรับ จนเกิดพื้นที่ทับซ้อน 26,000 ตร.กม. ทำใหเไทยเสียเปรียบและเสี่ยงเสียดินแดนซ้ำรอยเขาพระวิหาร ชี้พิรุธเจรจารวบรัดแค่ 44 วันก็ลงนาม ขณะที่เขตทับซ้อนไทย-เวียดนาม ใช้เวลา 6 ปี ไทย-มาเลเซียใช้เวลา 7 ปี เพราะเจรจาอย่างรอบคอบ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000105028 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    Love
    35
    4 ความคิดเห็น 3 การแบ่งปัน 2865 มุมมอง 1 รีวิว
  • สรุปข่าว เกาะกูด / MOU44 / พื้นที่ทับซ้อนไทยกัมพูชา #เทรนด์วันนี้ #ไทย #กัมพูชา
    สรุปข่าว เกาะกูด / MOU44 / พื้นที่ทับซ้อนไทยกัมพูชา #เทรนด์วันนี้ #ไทย #กัมพูชา
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 68 0 รีวิว
  • 22 ปี "MOU44" ที่คนไทยไม่เคยรู้ความจริง เสียเปรียบทุกด้าน !! #13สยามไทย
    22 ปี "MOU44" ที่คนไทยไม่เคยรู้ความจริง เสียเปรียบทุกด้าน !! #13สยามไทย
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 54 มุมมอง 42 0 รีวิว
  • อดีตวุฒิสมาชิก นายคำนูณ สิทธิสมาน เขียนบทความสำคัญเรื่อง “เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้” เนื้อหาระบุว่า

    “ เกาะกูดเป็นของไทยมา 127 ปีแล้ว !

    ตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 ข้อ 2

    แต่ต้องเข้าใจให้ตรงกันว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวเกาะที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบเท่านั้น หากหมายรวมถึงผืนน้ำโดยรอบทั้งหมด ทั้งส่วนที่ไม่ว่าจะเป็น “ทะเลอาณาเขต”, “เขตต่อเนื่อง”, “เขตเศรษฐกิจจำเพาะ” หรือ “ไหล่ทวีป” ด้วย

    นี่คือประเด็นสำคัญที่สุดของเรื่องนี้

    เพราะเกาะกูดแม้จะเป็น “เกาะ” แต่ในทางกฎหมายระหว่างประเทศที่ยึดถือกันอยู่ในปัจจุบันมีค่าเท่ากับ “แผ่นดิน(ของรัฐชายฝั่ง)” มีอาณาเขตทางทะเลของตนเหมือนกันทุกประการ

    ทั้งนี้ ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ข้อ 121

    การที่กัมพูชาประกาศกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีป เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972 (พ.ศ. 2515) โดยลากเส้นเขตไหล่ทวีปด้านทิศเหนือผ่ากลางเกาะกูดตรงมายังจุดกึ่งกลางอ่าวไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเขียนแผนที่หรือแผนผังแบบไหนก็ตามใน 3 แบบนี้

    - แบบลากพาดผ่านตัวเกาะตรง ๆ (ก.ต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นประกอบการแถลงข่าวชี้แจงกฤษฎีกา 1972)

    - แบบลากมาหยุดอยู่ที่ตัวเกาะด้านทิศตะวันออก/เว้นตัวเกาะ/แล้วลากต่อออกจากตัวเกาะด้านทิศตะวันตกไปยังกลางอ่าวไทย (แผนที่เดินเรือของกรมอุทกศาสตร์ฝรั่งเศสที่ใช้เป็นแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกาฯ 1972)

    - หรือล่าสุด จะเขียนเส้นโค้งเว้าอ้อมประชิดตัวเกาะด้านทิศใต้เป็นรูปตัว U (แผนผังแนบท้าย MOU 2544)

    ล้วนมีค่าเสมอกันทั้งสิ้น

    ผิดทั้งหมด !

    เพราะเป็นการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย

    รวมทั้งอาจเป็นการแสดงออกทางกฎหมายถึงการรับรู้หรือยอมรับโดยปริยายซึ่งการมีอยู่และคงอยู่ของการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทยดังกล่าว

    การที่ประกาศกฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชาอ้างหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 และสัญญาว่าด้วยการปักปันเขตร์แดนติดท้ายหนังสือสัญญา ค.ศ. 1907 ที่มีแผนที่หรือแผนผังต่อท้ายปรากฎเส้นประ (dotted line) จากเกาะกูดถึงแผ่นดินชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดเพื่อแสดงจุดเล็งหาหลักเขตที่ 73 อันเป็นหลักเขตสุดท้ายด้านทิศใต้ของการปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับกัมพูขา (อินโดจีนของฝรั่งเศสในปี 1907) โดยระบุเท็จว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับฝรั่งเศสแล้ว จากนั้นบนพื้นฐานเท็จดังกล่าวกฤษฎีกาก็กำหนดให้ยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดเป็นจุด “S” เพื่อรับช่วงเชื่อมต่อเส้นจากหลักเขตที่ 73 ที่กำหนดไว้เป็นจุด “A” เจือสมให้รับกับความมุ่งหวังให้เขตไหล่ทวีปของประเทศเขามีเส้นฐานตรง (Straight baseline) ลากตรงไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่จุด ”P” ด้านหนึ่งเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงโดยสิ้นเชิง แต่อีกด้านหนึ่งก็เป็นการเปลือยให้เห็นเจตนาที่แท้จริงของรัฐบาลเพื่อนบ้านเราเมื่อ 52 ปีก่อน

    แท้จริงแล้ว เป็นการเสกสรรค์ปั้นแต่งเรื่องหาช่องเพื่อสนองเจตนาหวัง “ฮุบ” ทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทยเป็นสำคัญ !

    ถ้าไม่มีเส้นเขตไหล่ทวีปแนว “A-S-P” ที่ผ่ากลางเกาะกูดมาจบที่กึ่งกลางอ่าวไทยก่อนวกลงใต้ ก็ไม่สามารถสนองเจตนา ”ฮุบ“ ทรัพยากรกลางอ่าวไทยได้

    นายพลลอนนอล ประธานาธิบดีกัมพูชายุคนั้น เคยชี้แจงกับจอมพลประภาส จารุเสถียรเมื่อปี 2515-2516 ว่าเป็นการลากเส้นที่เจ้าหน้าที่ทางเทคนิคและบริษัทเอกชนตะวันตกที่ขอสัมปทานผลิตปิโตรเลี่ยมเสนอมา ทั้งนี้ จากการบอกเล่าของพล.ร.อ.ถนอม เจริญลาภ ผู้เชี่ยวชาญด้านเขตแดนไทย-กัมพูชาที่อยู่ในคณะกรรมการพลายชุด (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) ต่อสาธารณะ ณ สยามสมาคม เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554

    นี่คือกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิด !

    ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด

    “นปก.เกาะกูด” มีการซ้อมรบทางยุทธวิธีเป็นประจำทุกปี ล่าสุดก็เมื่อเดือนมีนาคม 2567 นี้

    อย่างไรก็ดี การที่ทั้งกัมพูชาและไทยต่างประกาศเขตพื้นที่ไหล่ทวีปของตนออกมาในปี 1972 และ 1973 โดยมีความแตกต่างกันจึงก่อให้เกิดผลโดยธรรมชาติในประการสำคัญ

    เกิดสิ่งที่เรียกว่า “พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน” หรือ OCA ขึ้นมา

    แต่แม้จะเป็นผลที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่ประเทศไทยก็ไม่เคยยอมรับอย่างเป็นทางการที่สามารถนำไปอ้างอิงทางกฎหมายได้ว่ามีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนในอ่าวไทย

    จาก “ฮุบ” กัมพูชาแปรมาเป็น “ฮั้ว” ในเวลาต่อมา !

    นั่นคือนับแต่มีความสงบในแผ่นดินตามสมควรในช่วงทศวรรษที่ 2530 กัมพูชาได้เริ่มกระบวนการเจรจาปัญหาเขตพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนกับประเทศไทย

    โดยหลักคือขอแบ่งผลประโยชน์กัน ไม่ต้องพูดเรื่องเขตแดน

    ไม่ใช่แบ่งตัวเกาะกูดที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบ แต่เป็นการแบ่งทรัพยาการปิโตรเลี่ยมใต้ท้องทะเลในพื้นที่อ้างสิทธิในเขตไหล่ทวีปที่แตกต่างและทับซ้อนกันของ 2 ประเทศ ระหว่างเส้น 1972 ของกัมพูชา กับเส้น 1973 ของไทย เป็นพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร

    ไทยตอบสนองยอมรับการเจรจาด้วยเหตุผลอย่างน้อย 3 ประการ ประการหนึ่ง เป็นประเทศเพื่อนบ้านพรมแดนประชิดติดกันเมื่อมีปัญหาใดก็ต้องพูดคุยกัน ประการสอง ไทยเองทางฟากฝั่งหน่วยงานด้านพลังงานก็ต้องการนำทรัพยากรปิโตรเลี่ยมขึ้นมาใช้เช่นกัน และประการสุดท้ายที่สำคัญมากเช่นกัน คือ ไทยทางฟากฝั่งกระทรวงการต่างประเทศต้องการเคลียร์เรื่องเส้นกำหนดเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาที่ผ่ากลางเกาะกูดตรงไปกลางอ่าวไทย ภาษาของคนทำงานด้านการต่างประเทศคือ…

    “พยายามเอาเส้น 1972 ลงให้ได้”

    การเจรจาเกิดขึ้นหลายยก

    แต่ไม่คืบหน้า เพราะกัมพูชายืนยันจะพูดแต่เรื่องแบ่งผลประโยชน์ ไม่พูดเรื่องเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ที่ละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย

    โดนรุกหนัก ๆ ก็บอกว่าตามรัฐธรรมนูญกัมพูชา ค.ศ. 1993 ห้ามเปลี่ยนแปลงเขตแดน

    พอจะกล่าวได้ว่าคืบหน้ามากที่สุดคือเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) ไทยกับกัมพูชาได้ลงนามใน “บันทึกความเข้าใจร่วมระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราขอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน พ.ศ. 2544“ หรือ “MOU 2544” ที่มีแผนผังจำลองเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาเขียนแบบใหม่อ้อมประชิดเกาะกูดทางทิศใต้เป็นรูปตัว U

    วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 เป็นหมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมาก เพราะในมุมมองหนึ่งเสมือนเป็นครั้งแรกที่รัฐไทยยอมรับอย่างเป็นทางการถึงการมีอยู่ของพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน รวมทั้งการมีอยู่ของเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชา

    MOU 2544 จะเป็นความคืบหน้าในทางบวกหรือลบกับประเทศไทย ถูกหรือผิด นี่เป็นประเด็นวิวาทะกันมายาวนานกว่า 20 ปี

    แม้แต่คณะรัฐมนตรีก็เคยมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้วครั้งหนึ่ง แต่ไม่ได้ดำเนินการยกเลิกจริง ๆ ในที่สุด

    หมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่มีนัยสำคัญของปัญหานี้ผ่านมา 23 ปี ลูกสาวของนายกรัฐมนตรีคนที่ทำ MOU 2544 กับกัมพูชาได้ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย วิวาทะเดิมเกิดขึ้นอีกครั้ง

    ไม่ว่าจะอย่างไร MOU 2544 คือทางตัน ไม่ใช่ทางออกของปัญหาแน่ แต่อาจเป็นได้แค่ทางออกจากตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีด้วยซ้ำ

    หากถามแบรวบยอดขอข้อสรุปสั้น ๆ ว่าทางออกของปัญหาคืออะไร

    ขอฟันธงว่าต้องแก้ที่ต้นเหตุ !

    ทางแก้มีหนึ่งเดียวเป็นปฐมบท คือก่อนเดินหน้าเจรจาใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทย ประเทศไทยต้องขอตรง ๆ ให้กัมพูชาปลดกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิดเมื่อปี 1972 ออกเสียก่อน

    ยกเลิกกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972 เสีย

    แล้วดำเนินการประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาด้านอ่าวไทยเสียใหม่ที่ไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของไทย โดยให้เป็นไปตามหลักการในบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982

    หากเขตไหล่ทวีปที่กำหนดใหม่นั้นยังคงมีความแตกต่างกับเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยที่มีประกาศพระบรมราชโองการไว้เมื่อปี 2516 และยังคงมีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนเหลืออยู่ หากไทยพิจารณาแล้วเห็นว่าประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปใหม่นั้นไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศไทย จึงค่อยพิจารณาหาหนทางเจรจากัน ทั้งการปักปันเขตแดนทางทะเล รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้ทะเลในบริเวณพื้นที่ทับซ้อนที่ยังเหลืออยู่นั้น

    เอาเส้นฮุบปิโตรเลี่ยม 1972 ลงก่อน แล้วค่อยคุยกัน - ว่างั้นเถอะ !

    หากกัมพูชาไม่อาจแก้ไขการกระทำที่ผิดในอดีต ก็ไม่มีเหตุใดให้ประเทศไทยต้องไปเจรจาด้วยในเรื่องนี้

    ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews-article/132953-thai-3.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0Y2pOmFG6gs__qtC3DLdEJhxo-f2CSzSda_vFloiUYKIrhaV-5FbhP3-k_aem_SPiVtR0CAy5ruurc2LQGTA

    #Thaitimes
    อดีตวุฒิสมาชิก นายคำนูณ สิทธิสมาน เขียนบทความสำคัญเรื่อง “เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้” เนื้อหาระบุว่า “ เกาะกูดเป็นของไทยมา 127 ปีแล้ว ! ตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 ข้อ 2 แต่ต้องเข้าใจให้ตรงกันว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวเกาะที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบเท่านั้น หากหมายรวมถึงผืนน้ำโดยรอบทั้งหมด ทั้งส่วนที่ไม่ว่าจะเป็น “ทะเลอาณาเขต”, “เขตต่อเนื่อง”, “เขตเศรษฐกิจจำเพาะ” หรือ “ไหล่ทวีป” ด้วย นี่คือประเด็นสำคัญที่สุดของเรื่องนี้ เพราะเกาะกูดแม้จะเป็น “เกาะ” แต่ในทางกฎหมายระหว่างประเทศที่ยึดถือกันอยู่ในปัจจุบันมีค่าเท่ากับ “แผ่นดิน(ของรัฐชายฝั่ง)” มีอาณาเขตทางทะเลของตนเหมือนกันทุกประการ ทั้งนี้ ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ข้อ 121 การที่กัมพูชาประกาศกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีป เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972 (พ.ศ. 2515) โดยลากเส้นเขตไหล่ทวีปด้านทิศเหนือผ่ากลางเกาะกูดตรงมายังจุดกึ่งกลางอ่าวไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเขียนแผนที่หรือแผนผังแบบไหนก็ตามใน 3 แบบนี้ - แบบลากพาดผ่านตัวเกาะตรง ๆ (ก.ต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นประกอบการแถลงข่าวชี้แจงกฤษฎีกา 1972) - แบบลากมาหยุดอยู่ที่ตัวเกาะด้านทิศตะวันออก/เว้นตัวเกาะ/แล้วลากต่อออกจากตัวเกาะด้านทิศตะวันตกไปยังกลางอ่าวไทย (แผนที่เดินเรือของกรมอุทกศาสตร์ฝรั่งเศสที่ใช้เป็นแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกาฯ 1972) - หรือล่าสุด จะเขียนเส้นโค้งเว้าอ้อมประชิดตัวเกาะด้านทิศใต้เป็นรูปตัว U (แผนผังแนบท้าย MOU 2544) ล้วนมีค่าเสมอกันทั้งสิ้น ผิดทั้งหมด ! เพราะเป็นการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย รวมทั้งอาจเป็นการแสดงออกทางกฎหมายถึงการรับรู้หรือยอมรับโดยปริยายซึ่งการมีอยู่และคงอยู่ของการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทยดังกล่าว การที่ประกาศกฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชาอ้างหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 และสัญญาว่าด้วยการปักปันเขตร์แดนติดท้ายหนังสือสัญญา ค.ศ. 1907 ที่มีแผนที่หรือแผนผังต่อท้ายปรากฎเส้นประ (dotted line) จากเกาะกูดถึงแผ่นดินชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดเพื่อแสดงจุดเล็งหาหลักเขตที่ 73 อันเป็นหลักเขตสุดท้ายด้านทิศใต้ของการปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับกัมพูขา (อินโดจีนของฝรั่งเศสในปี 1907) โดยระบุเท็จว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับฝรั่งเศสแล้ว จากนั้นบนพื้นฐานเท็จดังกล่าวกฤษฎีกาก็กำหนดให้ยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดเป็นจุด “S” เพื่อรับช่วงเชื่อมต่อเส้นจากหลักเขตที่ 73 ที่กำหนดไว้เป็นจุด “A” เจือสมให้รับกับความมุ่งหวังให้เขตไหล่ทวีปของประเทศเขามีเส้นฐานตรง (Straight baseline) ลากตรงไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่จุด ”P” ด้านหนึ่งเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงโดยสิ้นเชิง แต่อีกด้านหนึ่งก็เป็นการเปลือยให้เห็นเจตนาที่แท้จริงของรัฐบาลเพื่อนบ้านเราเมื่อ 52 ปีก่อน แท้จริงแล้ว เป็นการเสกสรรค์ปั้นแต่งเรื่องหาช่องเพื่อสนองเจตนาหวัง “ฮุบ” ทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทยเป็นสำคัญ ! ถ้าไม่มีเส้นเขตไหล่ทวีปแนว “A-S-P” ที่ผ่ากลางเกาะกูดมาจบที่กึ่งกลางอ่าวไทยก่อนวกลงใต้ ก็ไม่สามารถสนองเจตนา ”ฮุบ“ ทรัพยากรกลางอ่าวไทยได้ นายพลลอนนอล ประธานาธิบดีกัมพูชายุคนั้น เคยชี้แจงกับจอมพลประภาส จารุเสถียรเมื่อปี 2515-2516 ว่าเป็นการลากเส้นที่เจ้าหน้าที่ทางเทคนิคและบริษัทเอกชนตะวันตกที่ขอสัมปทานผลิตปิโตรเลี่ยมเสนอมา ทั้งนี้ จากการบอกเล่าของพล.ร.อ.ถนอม เจริญลาภ ผู้เชี่ยวชาญด้านเขตแดนไทย-กัมพูชาที่อยู่ในคณะกรรมการพลายชุด (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) ต่อสาธารณะ ณ สยามสมาคม เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554 นี่คือกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิด ! ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด “นปก.เกาะกูด” มีการซ้อมรบทางยุทธวิธีเป็นประจำทุกปี ล่าสุดก็เมื่อเดือนมีนาคม 2567 นี้ อย่างไรก็ดี การที่ทั้งกัมพูชาและไทยต่างประกาศเขตพื้นที่ไหล่ทวีปของตนออกมาในปี 1972 และ 1973 โดยมีความแตกต่างกันจึงก่อให้เกิดผลโดยธรรมชาติในประการสำคัญ เกิดสิ่งที่เรียกว่า “พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน” หรือ OCA ขึ้นมา แต่แม้จะเป็นผลที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่ประเทศไทยก็ไม่เคยยอมรับอย่างเป็นทางการที่สามารถนำไปอ้างอิงทางกฎหมายได้ว่ามีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนในอ่าวไทย จาก “ฮุบ” กัมพูชาแปรมาเป็น “ฮั้ว” ในเวลาต่อมา ! นั่นคือนับแต่มีความสงบในแผ่นดินตามสมควรในช่วงทศวรรษที่ 2530 กัมพูชาได้เริ่มกระบวนการเจรจาปัญหาเขตพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนกับประเทศไทย โดยหลักคือขอแบ่งผลประโยชน์กัน ไม่ต้องพูดเรื่องเขตแดน ไม่ใช่แบ่งตัวเกาะกูดที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบ แต่เป็นการแบ่งทรัพยาการปิโตรเลี่ยมใต้ท้องทะเลในพื้นที่อ้างสิทธิในเขตไหล่ทวีปที่แตกต่างและทับซ้อนกันของ 2 ประเทศ ระหว่างเส้น 1972 ของกัมพูชา กับเส้น 1973 ของไทย เป็นพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ไทยตอบสนองยอมรับการเจรจาด้วยเหตุผลอย่างน้อย 3 ประการ ประการหนึ่ง เป็นประเทศเพื่อนบ้านพรมแดนประชิดติดกันเมื่อมีปัญหาใดก็ต้องพูดคุยกัน ประการสอง ไทยเองทางฟากฝั่งหน่วยงานด้านพลังงานก็ต้องการนำทรัพยากรปิโตรเลี่ยมขึ้นมาใช้เช่นกัน และประการสุดท้ายที่สำคัญมากเช่นกัน คือ ไทยทางฟากฝั่งกระทรวงการต่างประเทศต้องการเคลียร์เรื่องเส้นกำหนดเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาที่ผ่ากลางเกาะกูดตรงไปกลางอ่าวไทย ภาษาของคนทำงานด้านการต่างประเทศคือ… “พยายามเอาเส้น 1972 ลงให้ได้” การเจรจาเกิดขึ้นหลายยก แต่ไม่คืบหน้า เพราะกัมพูชายืนยันจะพูดแต่เรื่องแบ่งผลประโยชน์ ไม่พูดเรื่องเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ที่ละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย โดนรุกหนัก ๆ ก็บอกว่าตามรัฐธรรมนูญกัมพูชา ค.ศ. 1993 ห้ามเปลี่ยนแปลงเขตแดน พอจะกล่าวได้ว่าคืบหน้ามากที่สุดคือเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) ไทยกับกัมพูชาได้ลงนามใน “บันทึกความเข้าใจร่วมระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราขอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน พ.ศ. 2544“ หรือ “MOU 2544” ที่มีแผนผังจำลองเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาเขียนแบบใหม่อ้อมประชิดเกาะกูดทางทิศใต้เป็นรูปตัว U วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 เป็นหมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมาก เพราะในมุมมองหนึ่งเสมือนเป็นครั้งแรกที่รัฐไทยยอมรับอย่างเป็นทางการถึงการมีอยู่ของพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน รวมทั้งการมีอยู่ของเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชา MOU 2544 จะเป็นความคืบหน้าในทางบวกหรือลบกับประเทศไทย ถูกหรือผิด นี่เป็นประเด็นวิวาทะกันมายาวนานกว่า 20 ปี แม้แต่คณะรัฐมนตรีก็เคยมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้วครั้งหนึ่ง แต่ไม่ได้ดำเนินการยกเลิกจริง ๆ ในที่สุด หมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่มีนัยสำคัญของปัญหานี้ผ่านมา 23 ปี ลูกสาวของนายกรัฐมนตรีคนที่ทำ MOU 2544 กับกัมพูชาได้ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย วิวาทะเดิมเกิดขึ้นอีกครั้ง ไม่ว่าจะอย่างไร MOU 2544 คือทางตัน ไม่ใช่ทางออกของปัญหาแน่ แต่อาจเป็นได้แค่ทางออกจากตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีด้วยซ้ำ หากถามแบรวบยอดขอข้อสรุปสั้น ๆ ว่าทางออกของปัญหาคืออะไร ขอฟันธงว่าต้องแก้ที่ต้นเหตุ ! ทางแก้มีหนึ่งเดียวเป็นปฐมบท คือก่อนเดินหน้าเจรจาใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทย ประเทศไทยต้องขอตรง ๆ ให้กัมพูชาปลดกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิดเมื่อปี 1972 ออกเสียก่อน ยกเลิกกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972 เสีย แล้วดำเนินการประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาด้านอ่าวไทยเสียใหม่ที่ไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของไทย โดยให้เป็นไปตามหลักการในบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หากเขตไหล่ทวีปที่กำหนดใหม่นั้นยังคงมีความแตกต่างกับเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยที่มีประกาศพระบรมราชโองการไว้เมื่อปี 2516 และยังคงมีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนเหลืออยู่ หากไทยพิจารณาแล้วเห็นว่าประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปใหม่นั้นไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศไทย จึงค่อยพิจารณาหาหนทางเจรจากัน ทั้งการปักปันเขตแดนทางทะเล รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้ทะเลในบริเวณพื้นที่ทับซ้อนที่ยังเหลืออยู่นั้น เอาเส้นฮุบปิโตรเลี่ยม 1972 ลงก่อน แล้วค่อยคุยกัน - ว่างั้นเถอะ ! หากกัมพูชาไม่อาจแก้ไขการกระทำที่ผิดในอดีต ก็ไม่มีเหตุใดให้ประเทศไทยต้องไปเจรจาด้วยในเรื่องนี้ ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews-article/132953-thai-3.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0Y2pOmFG6gs__qtC3DLdEJhxo-f2CSzSda_vFloiUYKIrhaV-5FbhP3-k_aem_SPiVtR0CAy5ruurc2LQGTA #Thaitimes
    WWW.ISRANEWS.ORG
    เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้
    ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด
    Love
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 323 มุมมอง 0 รีวิว
  • พปชร.ค้านใช้ mou44 เจรจากัมพูชา ลุงป้อมยันเอง เขมรจ้องแบ่งเกาะกูดทุกการเจรจา แต่ยังคาใจว่าตอนร่วมรัฐบาล ทำไมลุงไม่ค้านเลย เพิ่งมานึกได้ตอนเป็นฝ่ายค้านเหรอ
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #เกาะกูด
    พปชร.ค้านใช้ mou44 เจรจากัมพูชา ลุงป้อมยันเอง เขมรจ้องแบ่งเกาะกูดทุกการเจรจา แต่ยังคาใจว่าตอนร่วมรัฐบาล ทำไมลุงไม่ค้านเลย เพิ่งมานึกได้ตอนเป็นฝ่ายค้านเหรอ #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง #เกาะกูด
    Like
    Haha
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 421 มุมมอง 0 รีวิว
  • เรื่องตำนาน ที่อย่าให้คนมีเล่ห์ บิดเบือน เรื่องเกาะกูดและ MOU2544 เรื่องพระบรมราชโองการ อธิปไตยของพระราชอาณาจักร

    https://www.youtube.com/live/eCvsgJgNmxI?si=6WZVhS9YlL9ntk8k
    เรื่องตำนาน ที่อย่าให้คนมีเล่ห์ บิดเบือน เรื่องเกาะกูดและ MOU2544 เรื่องพระบรมราชโองการ อธิปไตยของพระราชอาณาจักร https://www.youtube.com/live/eCvsgJgNmxI?si=6WZVhS9YlL9ntk8k
    - YouTube
    เพลิดเพลินไปกับวิดีโอและเพลงที่คุณชอบ อัปโหลดเนื้อหาต้นฉบับ และแชร์เนื้อหาทั้งหมดกับเพื่อน ครอบครัว และผู้คนทั่วโลกบน YouTube
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • “หม่อมกร” ชี้พื้นที่ทับซ้อนไทย-มาเลเซีย และไทย-เวียดนาม เกิดขึ้นจากทุกประเทศปฏิบัติตามกฎหมายสากลโดยสุจริตใจ และมีพื้นที่ทับซ้อนไม่มากนัก แต่กรณีไทย-กัมพูชาเกิดขึ้นโดยไทยปฏิบัติตามกฎหมายสากลฝ่ายเดียว แต่ฝ่ายกัมพูชาลากเส้นโดยไม่มีกฎหมายใดรับรอง ส่งผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของไทยเกินสมควร เหตุใดรัฐบาลในปี 2544 ไม่ให้กัมพูชาลากเส้นใหม่ตามกฎหมายสากลระหว่างประเทศ ก่อนลงนาม MOU44

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000103306

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “หม่อมกร” ชี้พื้นที่ทับซ้อนไทย-มาเลเซีย และไทย-เวียดนาม เกิดขึ้นจากทุกประเทศปฏิบัติตามกฎหมายสากลโดยสุจริตใจ และมีพื้นที่ทับซ้อนไม่มากนัก แต่กรณีไทย-กัมพูชาเกิดขึ้นโดยไทยปฏิบัติตามกฎหมายสากลฝ่ายเดียว แต่ฝ่ายกัมพูชาลากเส้นโดยไม่มีกฎหมายใดรับรอง ส่งผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของไทยเกินสมควร เหตุใดรัฐบาลในปี 2544 ไม่ให้กัมพูชาลากเส้นใหม่ตามกฎหมายสากลระหว่างประเทศ ก่อนลงนาม MOU44 อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000103306 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    Sad
    Haha
    56
    1 ความคิดเห็น 5 การแบ่งปัน 2999 มุมมอง 4 รีวิว
  • พระบรมราชโองการณ์ทางราชการพระมหากษัตริย์ในหลวงรัชกาลที่9"เป็นที่แน่ชัดเกาะกูดเป็นของไทยโดยสมบูรณ์ล้าน%โดยกฎหมายสากล"..ไม่มีไหล่ทวีปเขตทับซ้อนแต่อย่างใด Mou44"ผ่านความเห็นชอบจากสภาหรือ?แล้วลากเส้นใหม่มีสิ่งก่อสร้างรุกล้ำเข้ามาในเขตอ่าวไทยต้องรื้อออกอย่างเดียวไม่มีความจำเป็นใดๆต้องเจรจา รบ.ไทยเร่งรีบทำทั้งที่กัมพูชาและหนังสือพิมพ์ของจีนก็บอกแล้วว่าทางเขาไม่ได้มีปัญหาอะไร ไทยเองที่เร่งรัด เพื่ออะไรคะ?จุดประสงค์🤔จะชักศึกเขาบ้านหรือๆต้องการให้🦅มาตั้งฐานทัพเผชิญหน้ากับจีนอยากเป็นแบบยูเครนเหรอ🔥!!!!!!🔊คนไทย🇹🇭ยอมงั้นหรือสงครามตัวแทนบ้านเราที่ร่มเย็นจะหมดไปเลยนะ จะเป็นดินแดนกระสุนตก💣💣💣💣💀💀💀💀
    พระบรมราชโองการณ์ทางราชการพระมหากษัตริย์ในหลวงรัชกาลที่9"เป็นที่แน่ชัดเกาะกูดเป็นของไทยโดยสมบูรณ์ล้าน%โดยกฎหมายสากล"..ไม่มีไหล่ทวีปเขตทับซ้อนแต่อย่างใด Mou44"ผ่านความเห็นชอบจากสภาหรือ?แล้วลากเส้นใหม่มีสิ่งก่อสร้างรุกล้ำเข้ามาในเขตอ่าวไทยต้องรื้อออกอย่างเดียวไม่มีความจำเป็นใดๆต้องเจรจา รบ.ไทยเร่งรีบทำทั้งที่กัมพูชาและหนังสือพิมพ์ของจีนก็บอกแล้วว่าทางเขาไม่ได้มีปัญหาอะไร ไทยเองที่เร่งรัด เพื่ออะไรคะ?จุดประสงค์🤔จะชักศึกเขาบ้านหรือๆต้องการให้🦅มาตั้งฐานทัพเผชิญหน้ากับจีนอยากเป็นแบบยูเครนเหรอ🔥!!!!!!🔊คนไทย🇹🇭ยอมงั้นหรือสงครามตัวแทนบ้านเราที่ร่มเย็นจะหมดไปเลยนะ จะเป็นดินแดนกระสุนตก💣💣💣💣💀💀💀💀
    Like
    Angry
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 103 มุมมอง 50 0 รีวิว
  • If Yuo’re Albe To Raed Tihs, You Might Have Typoglycemia

    Ever heard of typoglycemia? Even if you haven’t, chances are you’ll recognize one of the viral puzzles that explains this phenomenon. Starting around 2003, an email circulated through what seems like every inbox claiming that scrambled English words are just as easy to read as the original words.

    However, as cool as the original email was, it didn’t actually tell the whole truth. There’s more to scrambled words than meets the eye.

    What is typoglycemia?

    That viral email tested our ability to read scrambled words. Here’s what it looks like:

    Aoccdrnig to a rscheearch at Cmabrigde Uinervtisy, it deosn’t mttaer in waht oredr the ltteers in a wrod are, the olny iprmoetnt tihng is taht the frist and lsat ltteer be at the rghit pclae. The rset can be a toatl mses and you can sitll raed it wouthit porbelm. Tihs is bcuseae the huamn mnid deos not raed ervey lteter by istlef, but the wrod as a wlohe.

    Could you read it? Even with a mistake in this viral email (rscheearch cannot spell researcher), the truth is pretty much every fluent English-speaker can read and understand it.

    The word-scrambling phenomenon has a punny name: typoglycemia, playing mischievously with typo and glycemia, the condition of having low blood sugar. Typoglycemia is the ability to read a paragraph like the one above despite the jumbled words.

    Is typoglycemia real or a trick?

    Does it take you nanoseconds to solve the Word Jumble in the newspaper? No? While your brain can breeze through some word-scrambles, it’s more complicated than that click-bait email suggests.

    Matt Davis, a researcher at the MRC Cognition and Brain Sciences Unit at Cambridge University, will help us sort it out. Here’s what they believe the email got right: unless you have a rare brain disorder, people read words as whole units, not letter-by-letter. That’s one of the factors explaining why we can “magically” read the message.

    But here’s where Davis reminds us why the daily Word Jumble still manages to scramble our brains for breakfast. That trending email led us to believe all we need is for “the first and last letters to be in the right place” and nothing else matters. Actually a lot else matters.

    What makes a scrambled word easier to read?

    Here are some other factors a jumbled passage needs in order for everyone to easily read it:

    1. The words need to be relatively short.
    2. Function words (be, the, a, and other words that provide grammatical structure) can’t be messed up, otherwise the reader struggles.
    3. Switching (or transposing) the letters makes a big difference. Letters beside each other in a word can be switched without much difficulty for the reader to understand. When letters farther apart are switched, it’s harder. Take porbelm vs. pelborm (for “problem”).
    4. We understand scrambled words better when their sounds are preserved: toatl vs. talot (for “total”).
    5. Here’s a big one: the passage is readable because it’s predictable (especially because we’ve seen it so many times)!

    Other factors play into it as well, like preserving double letters. For example, in the word according, the scrambled email keeps the cc intact (“aoccdrnig”). Double letters are contextual markers that give good hints. But we could also scramble it up this way: “ancdircog.” Breaking up the cc makes it harder, right?

    All told, we’re code-making machines (we speak the code of English) and we’re wired to find meaning out of nonsense, in part by looking at contextual cues. However the codes can only be scrambled to a certain degree before we get lost.

    Try these two (tougher) word puzzles

    Try your hand at two hard-scrambled passages below which prove your brain needs more than just the first and last letters of a scrambled word to read it quickly.

    With these, you’ll see why our brains can only handle typoglycemia to a point. The answers at the bottom; try not to cheat!

    1. A dootcr has aimttded the magltheuansr of a tageene ceacnr pintaet who deid aetfr a hatospil durg blendur.
    2. In the Vcraiiton are, a levloy eamlred geren, pirlaalty frmoueltad form asirnec, was uesd in fcaibrs and ppaluor falrol hresesdeads.

    The first example is from that blog post by Matt Davis. The second is our re-scrambling of a fascinating Jezebel lead. And they’re not easy! Research shows that typos definitely interfere with reading speed. (There’s a reason we have spell-checkers!) Tricky jumble puzzles that can take hours to complete also prove that, in the end, letter order and spelling absolutely make or break our comprehension of a word.

    Ready for the answers?

    1. A doctor has admitted the manslaughter of a teenage cancer patient who died after a hospital drug blunder.
    2. In the Victorian era, a lovely emerald green, partially formulated from arsenic, was used in fabrics and popular floral headdresses.

    Copyright 2024, XAKKHRA, All Rights Reserved.
    If Yuo’re Albe To Raed Tihs, You Might Have Typoglycemia Ever heard of typoglycemia? Even if you haven’t, chances are you’ll recognize one of the viral puzzles that explains this phenomenon. Starting around 2003, an email circulated through what seems like every inbox claiming that scrambled English words are just as easy to read as the original words. However, as cool as the original email was, it didn’t actually tell the whole truth. There’s more to scrambled words than meets the eye. What is typoglycemia? That viral email tested our ability to read scrambled words. Here’s what it looks like: Aoccdrnig to a rscheearch at Cmabrigde Uinervtisy, it deosn’t mttaer in waht oredr the ltteers in a wrod are, the olny iprmoetnt tihng is taht the frist and lsat ltteer be at the rghit pclae. The rset can be a toatl mses and you can sitll raed it wouthit porbelm. Tihs is bcuseae the huamn mnid deos not raed ervey lteter by istlef, but the wrod as a wlohe. Could you read it? Even with a mistake in this viral email (rscheearch cannot spell researcher), the truth is pretty much every fluent English-speaker can read and understand it. The word-scrambling phenomenon has a punny name: typoglycemia, playing mischievously with typo and glycemia, the condition of having low blood sugar. Typoglycemia is the ability to read a paragraph like the one above despite the jumbled words. Is typoglycemia real or a trick? Does it take you nanoseconds to solve the Word Jumble in the newspaper? No? While your brain can breeze through some word-scrambles, it’s more complicated than that click-bait email suggests. Matt Davis, a researcher at the MRC Cognition and Brain Sciences Unit at Cambridge University, will help us sort it out. Here’s what they believe the email got right: unless you have a rare brain disorder, people read words as whole units, not letter-by-letter. That’s one of the factors explaining why we can “magically” read the message. But here’s where Davis reminds us why the daily Word Jumble still manages to scramble our brains for breakfast. That trending email led us to believe all we need is for “the first and last letters to be in the right place” and nothing else matters. Actually a lot else matters. What makes a scrambled word easier to read? Here are some other factors a jumbled passage needs in order for everyone to easily read it: 1. The words need to be relatively short. 2. Function words (be, the, a, and other words that provide grammatical structure) can’t be messed up, otherwise the reader struggles. 3. Switching (or transposing) the letters makes a big difference. Letters beside each other in a word can be switched without much difficulty for the reader to understand. When letters farther apart are switched, it’s harder. Take porbelm vs. pelborm (for “problem”). 4. We understand scrambled words better when their sounds are preserved: toatl vs. talot (for “total”). 5. Here’s a big one: the passage is readable because it’s predictable (especially because we’ve seen it so many times)! Other factors play into it as well, like preserving double letters. For example, in the word according, the scrambled email keeps the cc intact (“aoccdrnig”). Double letters are contextual markers that give good hints. But we could also scramble it up this way: “ancdircog.” Breaking up the cc makes it harder, right? All told, we’re code-making machines (we speak the code of English) and we’re wired to find meaning out of nonsense, in part by looking at contextual cues. However the codes can only be scrambled to a certain degree before we get lost. Try these two (tougher) word puzzles Try your hand at two hard-scrambled passages below which prove your brain needs more than just the first and last letters of a scrambled word to read it quickly. With these, you’ll see why our brains can only handle typoglycemia to a point. The answers at the bottom; try not to cheat! 1. A dootcr has aimttded the magltheuansr of a tageene ceacnr pintaet who deid aetfr a hatospil durg blendur. 2. In the Vcraiiton are, a levloy eamlred geren, pirlaalty frmoueltad form asirnec, was uesd in fcaibrs and ppaluor falrol hresesdeads. The first example is from that blog post by Matt Davis. The second is our re-scrambling of a fascinating Jezebel lead. And they’re not easy! Research shows that typos definitely interfere with reading speed. (There’s a reason we have spell-checkers!) Tricky jumble puzzles that can take hours to complete also prove that, in the end, letter order and spelling absolutely make or break our comprehension of a word. Ready for the answers? 1. A doctor has admitted the manslaughter of a teenage cancer patient who died after a hospital drug blunder. 2. In the Victorian era, a lovely emerald green, partially formulated from arsenic, was used in fabrics and popular floral headdresses. Copyright 2024, XAKKHRA, All Rights Reserved.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🇺🇳เลขาธิการสหประชาชาติเรียกร้องให้เร่งปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศที่ล้าสมัย, ไร้ประสิทธิภาพ และ ไม่เป็นธรรม

    💬"ผมรู้สึกขอบคุณที่ได้มีส่วนร่วมในการประชุมสุดยอด BRIC ครั้งที่ ๑๖ โดยรวมแล้ว, ประเทศของคุณเป็นตัวแทนของประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของโลก และผมขอชื่นชมความมุ่งมั่นและการสนับสนุนอันมีค่าของคุณต่อพหุภาคีและการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนในทีมของคุณในปีนี้... จำเป็นต้องมีชุมชนของประเทศต่างๆ ที่ทำงานเป็นครอบครัวเดียวกันเพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโลก," อันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวในการประชุมครั้งสุดท้ายของการประชุมสุดยอด BRICS ในรูปแบบ BRICS+ และการเข้าถึงที่เมืองคาซานของรัสเซีย

    ตามที่เขากล่าว, ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบันไม่ได้ให้ตาข่ายความปลอดภัยหรือระดับการสนับสนุนที่ประเทศที่เปราะบางจำนวนมากต้องการ

    กูเตอร์เรสยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกสันติภาพ, รวมถึงการกล่าวถึงการนำอาวุธจากอวกาศมาใช้และการใช้อาวุธสังหารอัตโนมัติ

    #BRICS2024
    .
    🇺🇳UN CHIEF CALLS FOR ACCELERATING THE REFORM OF THE INTERNATIONAL OUTDATED, INEFFECTIVE AND UNFAIR FINANCIAL ARCHITECTURE

    💬"I am grateful to participate in the 16th BRIC Summit. Collectively, your countries represent nearly half of the world's population. And I salute your valuable commitment and support for multilateralism and international problem solving as clearly reflected in your team this year... It takes a community of nations working as one global family to address global challenges," United Nations Secretary-General Antonio Guterres said at the final meeting of the BRICS summit in the BRICS+ and outreach format in Russia's Kazan.

    According to him, today's international financial system does not provide many vulnerable countries with the safety net or level of support they need.

    Guterres also stressed the need for strengthening and updating the machinery of peace, as well as addressing the weaponization of outer space and use of lethal autonomous weapons.

    #BRICS2024
    .
    7:52 PM · Oct 24, 2024 · 20.8K Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1849433743972290684
    🇺🇳เลขาธิการสหประชาชาติเรียกร้องให้เร่งปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศที่ล้าสมัย, ไร้ประสิทธิภาพ และ ไม่เป็นธรรม 💬"ผมรู้สึกขอบคุณที่ได้มีส่วนร่วมในการประชุมสุดยอด BRIC ครั้งที่ ๑๖ โดยรวมแล้ว, ประเทศของคุณเป็นตัวแทนของประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของโลก และผมขอชื่นชมความมุ่งมั่นและการสนับสนุนอันมีค่าของคุณต่อพหุภาคีและการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนในทีมของคุณในปีนี้... จำเป็นต้องมีชุมชนของประเทศต่างๆ ที่ทำงานเป็นครอบครัวเดียวกันเพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโลก," อันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวในการประชุมครั้งสุดท้ายของการประชุมสุดยอด BRICS ในรูปแบบ BRICS+ และการเข้าถึงที่เมืองคาซานของรัสเซีย ตามที่เขากล่าว, ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบันไม่ได้ให้ตาข่ายความปลอดภัยหรือระดับการสนับสนุนที่ประเทศที่เปราะบางจำนวนมากต้องการ กูเตอร์เรสยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกสันติภาพ, รวมถึงการกล่าวถึงการนำอาวุธจากอวกาศมาใช้และการใช้อาวุธสังหารอัตโนมัติ #BRICS2024 . 🇺🇳UN CHIEF CALLS FOR ACCELERATING THE REFORM OF THE INTERNATIONAL OUTDATED, INEFFECTIVE AND UNFAIR FINANCIAL ARCHITECTURE 💬"I am grateful to participate in the 16th BRIC Summit. Collectively, your countries represent nearly half of the world's population. And I salute your valuable commitment and support for multilateralism and international problem solving as clearly reflected in your team this year... It takes a community of nations working as one global family to address global challenges," United Nations Secretary-General Antonio Guterres said at the final meeting of the BRICS summit in the BRICS+ and outreach format in Russia's Kazan. According to him, today's international financial system does not provide many vulnerable countries with the safety net or level of support they need. Guterres also stressed the need for strengthening and updating the machinery of peace, as well as addressing the weaponization of outer space and use of lethal autonomous weapons. #BRICS2024 . 7:52 PM · Oct 24, 2024 · 20.8K Views https://x.com/SputnikInt/status/1849433743972290684
    Like
    Haha
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 194 มุมมอง 121 0 รีวิว
  • https://www.youtube.com/watch?v=oqHR0RjdRmM
    นิทานเรื่องเจ้าหนูเห็นมังกร ตอนที่ 5
    (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้)
    แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากนิทานเรื่องเจ้าหนูเห็นมังกร ตอนที่ 5
    มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ

    Part five ตอน 5

    "Get down. Here is a hospital." said the fattest mouse. Popy descended from the car without any protests. One reason was that he was hungry. "This is my fate. I can only pray to God." he thought to himself. "My God, don’t forsake me." he prayed with all his might.
    "Come here." The fattest one led him into the house. It was a big, large house. After they walked on the long corridors and passed several rooms, the fattest mouse opened a door of a small room and said to Popy.
    "Here. Enter it. And wait a minute." Popy entered. That room was painted pink all over with only two small pink chairs on the corner. When the fattest mouse saw Popy entered there, he shut the door and went away

    “ลงรถได้ ที่นี่เป็นโรงพยาบาล” เจ้าหนูตัวที่อ้วนที่สุดพูด โพปี้ได้ลงมาจากรถโดยปราศจากการต่อต้านแต่อย่างใด เหตุผลหนึ่งก็คือว่า เขาหิว “นี้เป็นโชคชะตาของผม ผมสามารถเพียงแต่สวดภาวนาขอพระเจ้าเท่านั้น” เขาคิดกับตัวเขาเอง “โอ้ พระเจ้าของข้าพเจ้า โปรดอย่าละทิ้งข้าพเจ้า” เขาภาวนาด้วยสุดใจ
    “มานี่” เจ้าหนูตัวอ้วนที่สุดได้พาเขาเข้าไปในบ้าน มันเป็นบ้านที่กว้างและใหญ่มาก หลังจากพวกเขาได้เดินไปตามทางระเบียงอันยาวและผ่านห้องมากมาย เจ้าหนูอ้วนที่สุดนั้นได้เปิดประตูห้องเล็ก ๆ ห้องหนึ่งและพูดกับโพปี้
    “ที่นี่แหละ เข้าไปซะ และรอสักครู่” โพปี้ได้เข้าไป ห้องนั้นเป็นห้องได้ทาสีชมพูทั้งหมด มีเพียงเก้าอี้สีชมพูตัวเล็ก ๆ 2 ตัวอยู่ที่มุมห้อง เมื่อเจ้าหนูอ้วนที่สุดเห็นว่าโพปี้ได้เข้าไปอยู่ในที่นั่นแล้ว เขาก็ได้ปิดประตูและได้เดินจากไป

    Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้)

    get down (เกทดาวนฺ) กริยาวลี แปลว่า ลงมา
    descended คำกริยาช่องที่ 2 ของ descend (ดิเซนดฺ') แปลว่า ได้ลงมา
    without (วิธ'เอาทฺ) คำบุพบท แปลว่า ปราศจาก
    protests คำนามมพหูพจน์ของ protest (โพรเทสทฺ') แปลว่า ต่อต้าน
    reason (รี'เซิน) คำนาม แปลว่า เหตุผล
    hungry (ฮัง'กรี) คำคุณศัพท์ แปลว่า หิว
    fate (เฟท) คำนาม แปลว่า โชคชะตา
    God (กอท) คำนาม แปลว่า พระเจ้า
    thought (ธอท) คำกริยาช่องที่ 2 ของ think (ธิงคฺ) แปลว่า ได้คิด
    forsake (ฟอร์เซค') คำกริยา แปลว่า ละทิ้ง
    might (ไมทฺ) คำนาม แปลว่า สุดใจ
    led (เลด) คำกริยาช่องที่ 2 ของ lead (ลีด) แปลว่า ได้พา
    large (ลาร์จฺ) คำคุณศัพท์ แปลว่า ใหญ่
    corridors คำนามพหูพจน์ของ corridor (คอ'ริดอรฺ) แปลว่า ระเบียง
    several (เซฟ'เวอเริล) คำคุณศัพท์ แปลว่า มากมาย
    wait a minute (เวท อะ มิน'นิท) สำนวน แปลว่า รอสักครู่
    painted (เพน'ทิด) คำคุณศัพท์ แปลว่า ทาสี
    chairs คำนามพหูพจน์ของ chair (แชร์) แปลว่า เก้าอี้
    corner (คอร์'เนอะ) คำนาม แปลว่า มุม
    entered คำกริยาช่องที่ 2 ของ enter (เอน'เทอะ) แปลว่า ได้เข้าไป
    shut คำกริยาช่องที่ 2 ของ shut (ชัท) แปลว่า ได้ปิด
    https://www.youtube.com/watch?v=oqHR0RjdRmM นิทานเรื่องเจ้าหนูเห็นมังกร ตอนที่ 5 (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้) แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากนิทานเรื่องเจ้าหนูเห็นมังกร ตอนที่ 5 มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ Part five ตอน 5 "Get down. Here is a hospital." said the fattest mouse. Popy descended from the car without any protests. One reason was that he was hungry. "This is my fate. I can only pray to God." he thought to himself. "My God, don’t forsake me." he prayed with all his might. "Come here." The fattest one led him into the house. It was a big, large house. After they walked on the long corridors and passed several rooms, the fattest mouse opened a door of a small room and said to Popy. "Here. Enter it. And wait a minute." Popy entered. That room was painted pink all over with only two small pink chairs on the corner. When the fattest mouse saw Popy entered there, he shut the door and went away “ลงรถได้ ที่นี่เป็นโรงพยาบาล” เจ้าหนูตัวที่อ้วนที่สุดพูด โพปี้ได้ลงมาจากรถโดยปราศจากการต่อต้านแต่อย่างใด เหตุผลหนึ่งก็คือว่า เขาหิว “นี้เป็นโชคชะตาของผม ผมสามารถเพียงแต่สวดภาวนาขอพระเจ้าเท่านั้น” เขาคิดกับตัวเขาเอง “โอ้ พระเจ้าของข้าพเจ้า โปรดอย่าละทิ้งข้าพเจ้า” เขาภาวนาด้วยสุดใจ “มานี่” เจ้าหนูตัวอ้วนที่สุดได้พาเขาเข้าไปในบ้าน มันเป็นบ้านที่กว้างและใหญ่มาก หลังจากพวกเขาได้เดินไปตามทางระเบียงอันยาวและผ่านห้องมากมาย เจ้าหนูอ้วนที่สุดนั้นได้เปิดประตูห้องเล็ก ๆ ห้องหนึ่งและพูดกับโพปี้ “ที่นี่แหละ เข้าไปซะ และรอสักครู่” โพปี้ได้เข้าไป ห้องนั้นเป็นห้องได้ทาสีชมพูทั้งหมด มีเพียงเก้าอี้สีชมพูตัวเล็ก ๆ 2 ตัวอยู่ที่มุมห้อง เมื่อเจ้าหนูอ้วนที่สุดเห็นว่าโพปี้ได้เข้าไปอยู่ในที่นั่นแล้ว เขาก็ได้ปิดประตูและได้เดินจากไป Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้) get down (เกทดาวนฺ) กริยาวลี แปลว่า ลงมา descended คำกริยาช่องที่ 2 ของ descend (ดิเซนดฺ') แปลว่า ได้ลงมา without (วิธ'เอาทฺ) คำบุพบท แปลว่า ปราศจาก protests คำนามมพหูพจน์ของ protest (โพรเทสทฺ') แปลว่า ต่อต้าน reason (รี'เซิน) คำนาม แปลว่า เหตุผล hungry (ฮัง'กรี) คำคุณศัพท์ แปลว่า หิว fate (เฟท) คำนาม แปลว่า โชคชะตา God (กอท) คำนาม แปลว่า พระเจ้า thought (ธอท) คำกริยาช่องที่ 2 ของ think (ธิงคฺ) แปลว่า ได้คิด forsake (ฟอร์เซค') คำกริยา แปลว่า ละทิ้ง might (ไมทฺ) คำนาม แปลว่า สุดใจ led (เลด) คำกริยาช่องที่ 2 ของ lead (ลีด) แปลว่า ได้พา large (ลาร์จฺ) คำคุณศัพท์ แปลว่า ใหญ่ corridors คำนามพหูพจน์ของ corridor (คอ'ริดอรฺ) แปลว่า ระเบียง several (เซฟ'เวอเริล) คำคุณศัพท์ แปลว่า มากมาย wait a minute (เวท อะ มิน'นิท) สำนวน แปลว่า รอสักครู่ painted (เพน'ทิด) คำคุณศัพท์ แปลว่า ทาสี chairs คำนามพหูพจน์ของ chair (แชร์) แปลว่า เก้าอี้ corner (คอร์'เนอะ) คำนาม แปลว่า มุม entered คำกริยาช่องที่ 2 ของ enter (เอน'เทอะ) แปลว่า ได้เข้าไป shut คำกริยาช่องที่ 2 ของ shut (ชัท) แปลว่า ได้ปิด
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 55 มุมมอง 0 รีวิว
  • #หนึ่งในร้อย

    ก่อนหน้าละครฉายไม่นาน ผมเคยพูดถึงเรื่องนี้ไปหนหนึ่ง มาบัดนี้ละครออกอากาศได้ประมาณครึ่งทางแล้วกระมัง อยากพูดถึงอีกครั้งด้วยเป็นนิยายของดอกไม้สดที่เป็นเรื่องในดวงใจมาตั้งแต่เด็ก

    ละครทำออกมาได้ทั้งเป็นที่ต้องใจ และติดใจ ต้องใจในที่นี้หมายถึงมีส่วนที่ชื่นชอบ ติดใจในที่นี้หมายถึงมีส่วนที่แปลงไปเยอะพอสมควร ที่โดยส่วนตัวอดคิดไม่ได้ว่ามีความจำเป็นเพียงใด จึงต้องเปลี่ยนไปในลักษณะนั้น

    แต่เอาเถิด เข้าใจว่าต้นฉบับเรื่องหนึ่งในร้อยนี้ เป็นนิยายซึ่งยากมากที่จะสร้างขึ้นมาเป็นละคร เพราะโดยความเป็นจริงนั้นถูกเขียนมาเพื่อเหมาะกับเป็นเรื่องสำหรับอ่านมากที่สุด ทว่าแน่นอน คนที่อ่านแล้วชื่นชอบในนิยายเรื่องนี้ เชื่อว่าโดยมากต้องมีภาพในจินตนาการโลดแล่นอยู่ในหัว ที่เป็นไปได้ก็อยากเห็นภาพเคลื่อนไหวหรือคนที่เป็นตัวตนจริง และรอมาอย่างยาวนานว่าจะมีโอกาสได้เห็นอนงค์และคุณพระอรรถคดี โลดแล่นอยู่ในจอให้ชมในสักวันหนึ่ง(ไม่ได้ดูเวอร์ชันคุณภิญโญ ทองเจือ เพราะยังเด็กเกินที่จะสนใจดูละคร) ซึ่งต้องขอขอบคุณผู้จัดในข้อนี้ที่เห็นคุณค่าบทประพันธ์ของดอกไม้สด จนนำมาสู่การทำฝันในวัยเยาว์ของผมให้กลายเป็นจริง

    .

    ด้วยความที่ถูกนำมาสร้าง ณ ปี พ.ศ. 2567 แม้นจะยังคงยุคสมัยตามช่วงเวลาในนิยายก็ตาม แน่นอนว่าคนรุ่นใหม่ที่เกิดไม่ทันได้อ่านหนึ่งในร้อยมาก่อนย่อมมีอยู่เป็นจำนวนมาก และคนในรุ่นนี้เองที่เติบโตมากับเทคโนโลยีต่าง ๆ และโลกในชีวิตประจำวันที่เต็มไปด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายแทบทุกอย่าง ทำให้โดยพื้นฐานแล้วส่วนใหญ่พวกเขามักไม่ทนกับอะไรที่ค่อยเป็นค่อยไป ดำเนินเรื่องอย่างเชื่องช้า เนิบ ๆ ดังเช่นความรักของคนในยุคที่นิยายหนึ่งในร้อยถือกำเนิด ด้วยความอดทนอันจำกัดนี้เอง คงเป็นเหตุผลสำคัญที่คนเขียนบทมีโจทย์สำคัญเป็นการบ้านว่าทำอย่างไร จะให้ละครในแต่ละตอนดึงดูดคนดูกลุ่มนี้ ที่ถือเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญให้ตรึงสายตาไว้กับอนงค์และคุณพระอรรถคดีได้ตลอด ตั้งแต่เริ่มฉายจนจบฉากสุดท้ายในแต่ละตอน โดยไม่เปลี่ยนช่องหรือหันเหความสนใจไปทำอย่างอื่นเสีย จึงปรากฏเป็นหนึ่งในร้อยที่มีอนงค์และคุณพระอรรถซึ่งถูกใส่จริตและเสริมบุคลิกให้มีความเป็นไปได้มากที่สุดเพื่อดึงดูดใจ ให้คนดูหลงรักในตัวละครทั้งสองตั้งแต่ตอนแรก

    .

    หลายเหตุการณ์หลายตัวละครที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ ซึ่งไม่มีในต้นฉบับเดิม หรือแม้นกระทั่งอนงค์ที่ได้รับการปรับให้เก่งกล้าเกินงามในบางสถานการณ์ อีกทั้งมั่นใจในตัวเองสูงมาก จนเหมือนจะเป็นอนงค์ขั้นสุด ที่ไม่ใช่แค่ขั้นกว่า เรียกว่ามีความเข้มข้นของพลังงานชีวิตเปี่ยมล้นจนแสดงออกมาเกินขีดอยู่บ้าง แต่เพราะเป็นญาญ่าแสดง จึงพอให้อภัยทำเป็นมองข้ามไปไม่ติดใจมาก ด้วยว่าสวมบทอนงค์ได้อย่างน่าเอ็นดูยิ่ง หากเป็นคนอื่นมารับบทนี้ ยังนึกไม่ออกเช่นกันว่าจะรอดหรือไม่ อาจจะได้ภาพของอนงค์ที่น่าเกลียดน่าชังไปเลยก็เป็นได้ และเพราะบทบาทของอนงค์ในนิยายนั้นถูกกล่าวถึงน้อยมาก รายละเอียดของเรื่องส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่ตัวของคุณพระฯ ที่เป็นหัวใจหลักของนิยาย ส่วนมากเนื้อหาบอกเล่าประวัติความเป็นมาแต่หนหลังเชื่อมต่อมาถึงปัจจุบัน ที่คุณพระฯ มีความสัมพันธ์กับตัวละครอื่น ๆ ในทางไหนอย่างไรบ้าง ส่วนอนงค์เพียงถูกกล่าวถึงแบบโฉบไปเฉี่ยวมา ฉากที่พบกันระหว่างพระนางมีอยู่แค่ไม่กี่หนตลอดทั้งเรื่อง โดยมากอนงค์จะรับรู้เรื่องของคุณพระฯ ผ่านการบอกเล่าของแม่ช้อยมากกว่า ด้วยเหตุนี้จึงเข้าใจได้ว่าทำไมผู้เขียนบทจึงต้องทำงานหนักมาก ในการเปลี่ยนให้อนงค์ในนิยายกลายเป็นตัวละครที่ถูกดึงขึ้นมาให้ได้รับบทบาทที่เด่นพอ ๆ กันหรืออย่างน้อยก็ใกล้เคียงกับตัวเอกของเรื่อง ไม่อย่างนั้นคนดูคงจะไม่ติดตามและทิ้งละครไปอย่างรวดเร็วเป็นแน่

    .

    แต่ส่วนที่น่าเสียดายที่ดูเหมือนจะหายไปคือนิสัยรักการจดบันทึกหรือเขียนไดอารีของอนงค์ ที่ต้นฉบับหากรับรู้เรื่องราวใดมาจากปากแม่ช้อย เธอจะรีบนำมาเขียนใส่ไว้ในสมุดบันทึกประจำตัว เพื่อเก็บไว้อ่านคนเดียว ซึ่งคนอ่านก็จะสามารถทราบถึงจิตใจของเธอที่มีต่อคุณพระฯ จากสิ่งที่เธอเขียนนั่นเอง ซึ่งเป็นส่วนที่ดีมากและแทบจะไม่พบเลยในเวอร์ชันละคร นอกจากแค่ตอนที่อนงค์ทำเป็นสมุดเล่มเล็กที่มีภาพและคำแนะนำตัวเองแล้วมอบให้คุณพระฯ ซึ่งออกจะเป็นการกระทำที่ค่อนข้างเสี่ยงต่อภาพพจน์ที่ถูกมองจากคนอย่างคุณพระฯได้เหมือนกัน

    .

    จากนี้ต่อไปในอีกครึ่งทางที่เหลือนั้น ไม่แน่ใจว่าเรื่องราวที่ถูกเขียนขึ้นใหม่จะเป็นไปในทิศทางไหน คุณพระฯเองก็ถูกปรับให้คล้ายจะกลายเป็นโฮล์มส์ ที่ขยายการงานให้กว้างออกไปจากในหนังสือเพื่อจะได้มีอะไรให้เล่นกับบทละครมากขึ้น จึงเป็นคุณพระฯ ที่เหมือนอยู่กันคนละโลกกับคุณพระฯในนิยาย ส่วนชัดก็กลายเป็นคนที่อ่อนแอจนปวกเปียกไม่สมกับที่เป็นทหารสักนิด และเห็นแก่ตัวเองอย่างร้ายกาจจนน่ารังเกียจไปเลย เพราะต้นฉบับนิยายนั้นชัดเปลี่ยนใจจากอนงค์มาหาจันทร ด้วยความที่ไม่ระแคะระคายมาก่อนว่าพี่ชายนั้นรักจันทรอยู่ก่อนแล้ว จึงได้ขอร้องให้พี่ช่วยไปสู่ขอจันทรแทนแม่

    ส่วนด้านอื่นที่ดีงามนั้นมีคนพูดกันไปมากแล้ว จึงไม่ขอพูดซ้ำ แต่สิ่งที่อยากจะกล่าวถึงอย่างมาก ที่เป็นหัวใจสำคัญของเรื่องนี้เลยก็คือ ความหมายของชื่อเรื่อง "หนึ่งในร้อย"

    .

    หนึ่งในร้อย เป็นคำเปรียบถึงคนอย่างคุณพระฯ เรื่องนี้ชัดเจนแน่นอน ความดีของตัวละครนี้ สำหรับคนที่ดูละครอย่างเดียวอาจเห็นภาพได้ไม่ตรงและใสเท่าในบทประพันธ์ เพราะหนังสือมีเวลาให้ผู้เขียนได้ใส่รายละเอียด และเล่าให้คนอ่านสามารถรู้ชัดเจนถึงที่มาที่ไปแห่งความเป็นคน ซึ่งมีความเป็นสัตบุรุษคือไม่ใช่แค่ดีอย่างทั่วไปหรือดีแบบโลก ๆ เท่านั้น แต่มีความดำรงตนอยู่ในศีลและตั้งตนให้ดำรงมั่นในธรรมะที่เป็นเครื่องหล่อเลี้ยง ให้ใจไม่ไหลไปตามกระแสแห่งความต้องการที่เป็นอำนาจฝ่ายต่ำ จึงไม่ถูกชักจูงโดยง่ายจากแรงเร้าภายนอกที่มากระทบ ด้วยเหตุนี้คุณพระฯ จึงมีคุณธรรมอยู่ประจำใจเสมอ อันจะคอยคัดท้ายไม่ให้หลุดออกนอกเส้นทางดีงาม แม้นมีบางคราวที่ต้องผจญคลื่นลมพายุโหมกระหน่ำจนถึงขั้นแทบอับปาง เกือบจะไม่สามารถนำพานาวาชีวิตล่องฝ่าภัยต่อไปเหนือลำน้ำได้ แต่สุดท้ายก็รอดพ้นจากวิกฤตและได้รับผลแห่งความดีที่ทำมาด้วยความสุขใจในเบื้องปลาย

    .

    ทว่าคุณพระฯ เองก็ยังมีข้อเสียที่เด่นชัดมาก หากจะมองให้ลึกลงไป นั่นคือการที่เขาช่วยคนโดยเน้นไปที่การอนุเคราะห์ เติมเต็มความต้องการทางด้านปัจจัยสี่ให้แก่แม่และน้อง ๆ หรือคนที่รู้จัก และแม้นในคนทั่วไปเท่าที่อาชีพการงานและฐานะแห่งตนจะพอทำได้ แต่ไม่ได้ช่วยด้วยการฝึกให้คนเหล่านั้นรู้จักการช่วยเหลือตนเอง ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าถึงคราวที่คุณพระฯ อยู่ในสถานะอันลำบากในทางใดทางหนึ่ง ที่ไม่อาจจะให้ความช่วยเหลือหรือจำต้องปฏิเสธคำขอร้อง บรรดาคนซึ่งเคยได้รับเป็นประจำจากเขามาโดยตลอด จึงเกิดความไม่พอใจ กลายเป็นความโกรธ จนหลุดแสดงอำนาจและกิเลสในใจตนให้ระเบิดออกมาอย่างกับคนเสียจริต เห็นได้จากแม่และชัดเป็นต้น

    .

    ดังนั้นการช่วยคนที่ประเสริฐเลิศยอดที่สุด ที่จะไม่กลับเป็นภัยย้อนมาทำร้ายตัวของคนซึ่งเป็นผู้ให้นั้น จำเป็นอย่างยิ่งต้องเน้นช่วยคนด้วยการให้เขารู้จักการช่วยเหลือตัวเองให้อยู่รอดได้ โดยไม่เป็นเพียงผู้ขอร่ำไปตลอดไป นั่นคือสิ่งที่ผมได้ฟังอยู่เสมอจากคำสอนของพระอาจารย์ที่เคารพศรัทธา ด้วยพรหมวิหาร 4 นั้นมีความสำคัญอย่างมากสำหรับคนผู้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นผู้ใหญ่ คือต้องมีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา แต่ถ้าเมตตาไม่มีประมาณแล้วขาดซึ่งปัญญากำกับ เมตตานั้นจะเป็นเช่นอาวุธที่หันกลับสู่ตนหากไม่ระวัง

    .

    คุณพระฯ เองมีเมตตาต่อเพื่อนร่วมโลกเป็นที่ตั้ง โดยเฉพาะกับญาติจนถึงขั้นให้ความช่วยเหลือคือความกรุณาดังแสดงออกให้เห็น และมีจิตพลอยยินดีในเมื่อผู้อื่นได้รับความเจริญหรือผลแห่งความสำเร็จ ไม่เกิดอิจฉาริษยาประทุษร้ายกับใครแม้นเป็นฝ่ายถูกกระทำ แต่คุณพระฯ ยังสอบไม่ผ่านในข้ออุเบกขา คือไม่รู้จักที่จะตัดรอบ ช่วยได้เท่าที่ช่วยไหว สัตว์โลกล้วนมีวิบากแห่งตนซึ่งได้สั่งสมมาไม่ว่าทางร้ายหรือดี ไม่ใช่ต้องเอาชีวิตของเขาขึ้นมาแบกหามไว้ราวกับเป็นเรื่องของตนเองไปเสียทั้งหมด คือช่วยแล้วปล่อยวางไม่ลง แม่ก็แล้ว น้อง ๆ หลายคนและครอบครัวของน้องก็อีก จึงต้องตกที่นั่งถูกคนที่ตนให้ความช่วยเหลือนั้นวกกลับมาทำร้ายตนจนสาหัสแทบจะสิ้นลมหายใจ เป็นการเบียดเบียนตนเองซึ่งทางพุทธศาสนาไม่สรรเสริญ

    .

    ดังนั้น คนอย่างคุณพระฯ อาจหาได้ยาก ดังเช่นคำว่า "หนึ่งในร้อย" แต่คนที่หาได้ยากกว่าอาจถึงขั้น "หนึ่งในล้าน" คือคนที่เข้าใจ และเข้าถึง หลักธรรมในหมวด 4 ของพุทธศาสนาอย่างแท้จริงและนำมาปฏิบัติได้คือ เมตตาได้ทุกผู้แม้เป็นศัตรูของตัวเอง ช่วยเหลือได้ทุกคนเท่าที่ช่วยไหวโดยไม่เดือดร้อน มีใจร่วมยินดีเมื่อเห็นว่าเขาได้ดี ปราศจากความคิดมุ่งร้ายอยากทำลาย สุดท้ายคือไม่อนาทรร้อนใจแม้นไม่สามารถช่วยได้ ด้วยเห็นแล้วว่าไม่อาจช่วย หรือช่วยต่อไปจะเป็นโทษต่อเขาและต่อเรามากกว่า ก็ต้องปล่อยเขาไปตามทางที่เขาสร้างมา

    .

    ตอนล่าสุดเมื่อคืนยังไม่ว่างดูสดแบบเต็ม ๆ เลย แค่ผ่านตาแวบ ๆ บางฉาก แต่ก็พอเดาทิศทางได้เลา ๆ ว่าบทดัดแปลงคงจะพาอนงค์และคุณพระฯ ทะลุมิติท่องไปไกลในดินแดนอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นคนละโลกกับเรื่องที่เกิดขึ้นในนิยาย ถ้าเรียกภาษาคนรุ่นใหม่คงจะใช้คำว่า ตัวละครเดียวกันแต่อยู่คนละมัลติเวิร์ส(ไม่แน่ใจสะกดเช่นนี้หรือไม่)กระมัง

    นี่คือส่วนที่หวั่นใจมาตลอด เพราะในสัปดาห์ก่อนที่เห็นว่าฉากสำคัญที่อยู่ตอนท้ายในนิยาย คือคุณพระล้มเจ็บ ถูกร่นขึ้นมาตั้งแต่กลางเรื่อง อีกทั้งความดราม่าที่ถูกผูกขึ้นใหม่ระหว่างตัวละคร 3-4 ตัว ก็ทำให้พอจะคาดการณ์ได้ว่า ต่อจากนี้ไปคงจะเป็นการด้นใส่อะไรต่อมิอะไรเข้ามาอีกมาก และไม่รู้ว่าจะไปจบลงที่ตรงไหน ก็ได้แต่ละเหี่ยใจ

    .

    ความดีงามของอนงค์ในหนังสือ ที่แม้นเป็นสาวสมัยใหม่ในยุคนั้น แต่ยังมีความรู้รักในเกียรติและศักดิ์ศรีของกุลสตรี ฉลาดและมีเฉลียว อีกทั้งมองคนออกอย่างเลิศ วางตัวเหมาะสมไม่ทำอะไรที่จะไปสะกิดให้คุณพระฯ นึกหยามหรือดูแคลนเอาได้

    จนกระทั่งถึงเวลาที่ทุกอย่างดำเนินไปจนถึงที่สุด จึงกล้าเผยหัวใจตนให้คนที่แอบเทิดทูนบูชารับรู้ ทั้งที่ทราบอยู่แก่ใจว่าอาจทำให้คุณพระฯ มองเธอไปในแง่ไม่ดี แต่ใจที่นึกเวทนาสงสารบวกความรักที่งอกเงยมานานมันเปี่ยมล้นพ้นใจ เกินกว่าจะเก็บกลั้นไว้ภายใน จึงได้ปลดปล่อยไหลทะลักไปในครานั้น แต่แม้จะหลุดคำพูดฝากรัก หากถ้อยคำที่สื่อสารก็ยังเปี่ยมด้วยมธุรส และงดงามในภาษาที่ช่างสรรคำมาเจรจาอย่างน่าทึ่ง ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลนั้นคงจะไม่อาจคาดหวังว่าจะได้พบเจอเสียแล้ว เพราะได้ถูกแปรเปลี่ยนไปเป็นอนงค์ในแบบฉบับที่เหมือนปล่อยให้อำนาจความรัก ชักจูงเธอไปให้คิดและทำในสิ่งซึ่งอนงค์ในนิยายจะไม่มีวันทำเป็นอันขาด

    น่าเสียดาย...

    ภาพประกอบขอยืมจากในเน็ต

    #thaitimes
    #ดอกไม้สด
    #ละคร
    #mycherieamour
    #วิเคราะห์ตัวละคร
    #วิจารณ์ละคร
    #หนึ่งในร้อย ก่อนหน้าละครฉายไม่นาน ผมเคยพูดถึงเรื่องนี้ไปหนหนึ่ง มาบัดนี้ละครออกอากาศได้ประมาณครึ่งทางแล้วกระมัง อยากพูดถึงอีกครั้งด้วยเป็นนิยายของดอกไม้สดที่เป็นเรื่องในดวงใจมาตั้งแต่เด็ก ละครทำออกมาได้ทั้งเป็นที่ต้องใจ และติดใจ ต้องใจในที่นี้หมายถึงมีส่วนที่ชื่นชอบ ติดใจในที่นี้หมายถึงมีส่วนที่แปลงไปเยอะพอสมควร ที่โดยส่วนตัวอดคิดไม่ได้ว่ามีความจำเป็นเพียงใด จึงต้องเปลี่ยนไปในลักษณะนั้น แต่เอาเถิด เข้าใจว่าต้นฉบับเรื่องหนึ่งในร้อยนี้ เป็นนิยายซึ่งยากมากที่จะสร้างขึ้นมาเป็นละคร เพราะโดยความเป็นจริงนั้นถูกเขียนมาเพื่อเหมาะกับเป็นเรื่องสำหรับอ่านมากที่สุด ทว่าแน่นอน คนที่อ่านแล้วชื่นชอบในนิยายเรื่องนี้ เชื่อว่าโดยมากต้องมีภาพในจินตนาการโลดแล่นอยู่ในหัว ที่เป็นไปได้ก็อยากเห็นภาพเคลื่อนไหวหรือคนที่เป็นตัวตนจริง และรอมาอย่างยาวนานว่าจะมีโอกาสได้เห็นอนงค์และคุณพระอรรถคดี โลดแล่นอยู่ในจอให้ชมในสักวันหนึ่ง(ไม่ได้ดูเวอร์ชันคุณภิญโญ ทองเจือ เพราะยังเด็กเกินที่จะสนใจดูละคร) ซึ่งต้องขอขอบคุณผู้จัดในข้อนี้ที่เห็นคุณค่าบทประพันธ์ของดอกไม้สด จนนำมาสู่การทำฝันในวัยเยาว์ของผมให้กลายเป็นจริง . ด้วยความที่ถูกนำมาสร้าง ณ ปี พ.ศ. 2567 แม้นจะยังคงยุคสมัยตามช่วงเวลาในนิยายก็ตาม แน่นอนว่าคนรุ่นใหม่ที่เกิดไม่ทันได้อ่านหนึ่งในร้อยมาก่อนย่อมมีอยู่เป็นจำนวนมาก และคนในรุ่นนี้เองที่เติบโตมากับเทคโนโลยีต่าง ๆ และโลกในชีวิตประจำวันที่เต็มไปด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายแทบทุกอย่าง ทำให้โดยพื้นฐานแล้วส่วนใหญ่พวกเขามักไม่ทนกับอะไรที่ค่อยเป็นค่อยไป ดำเนินเรื่องอย่างเชื่องช้า เนิบ ๆ ดังเช่นความรักของคนในยุคที่นิยายหนึ่งในร้อยถือกำเนิด ด้วยความอดทนอันจำกัดนี้เอง คงเป็นเหตุผลสำคัญที่คนเขียนบทมีโจทย์สำคัญเป็นการบ้านว่าทำอย่างไร จะให้ละครในแต่ละตอนดึงดูดคนดูกลุ่มนี้ ที่ถือเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญให้ตรึงสายตาไว้กับอนงค์และคุณพระอรรถคดีได้ตลอด ตั้งแต่เริ่มฉายจนจบฉากสุดท้ายในแต่ละตอน โดยไม่เปลี่ยนช่องหรือหันเหความสนใจไปทำอย่างอื่นเสีย จึงปรากฏเป็นหนึ่งในร้อยที่มีอนงค์และคุณพระอรรถซึ่งถูกใส่จริตและเสริมบุคลิกให้มีความเป็นไปได้มากที่สุดเพื่อดึงดูดใจ ให้คนดูหลงรักในตัวละครทั้งสองตั้งแต่ตอนแรก . หลายเหตุการณ์หลายตัวละครที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ ซึ่งไม่มีในต้นฉบับเดิม หรือแม้นกระทั่งอนงค์ที่ได้รับการปรับให้เก่งกล้าเกินงามในบางสถานการณ์ อีกทั้งมั่นใจในตัวเองสูงมาก จนเหมือนจะเป็นอนงค์ขั้นสุด ที่ไม่ใช่แค่ขั้นกว่า เรียกว่ามีความเข้มข้นของพลังงานชีวิตเปี่ยมล้นจนแสดงออกมาเกินขีดอยู่บ้าง แต่เพราะเป็นญาญ่าแสดง จึงพอให้อภัยทำเป็นมองข้ามไปไม่ติดใจมาก ด้วยว่าสวมบทอนงค์ได้อย่างน่าเอ็นดูยิ่ง หากเป็นคนอื่นมารับบทนี้ ยังนึกไม่ออกเช่นกันว่าจะรอดหรือไม่ อาจจะได้ภาพของอนงค์ที่น่าเกลียดน่าชังไปเลยก็เป็นได้ และเพราะบทบาทของอนงค์ในนิยายนั้นถูกกล่าวถึงน้อยมาก รายละเอียดของเรื่องส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่ตัวของคุณพระฯ ที่เป็นหัวใจหลักของนิยาย ส่วนมากเนื้อหาบอกเล่าประวัติความเป็นมาแต่หนหลังเชื่อมต่อมาถึงปัจจุบัน ที่คุณพระฯ มีความสัมพันธ์กับตัวละครอื่น ๆ ในทางไหนอย่างไรบ้าง ส่วนอนงค์เพียงถูกกล่าวถึงแบบโฉบไปเฉี่ยวมา ฉากที่พบกันระหว่างพระนางมีอยู่แค่ไม่กี่หนตลอดทั้งเรื่อง โดยมากอนงค์จะรับรู้เรื่องของคุณพระฯ ผ่านการบอกเล่าของแม่ช้อยมากกว่า ด้วยเหตุนี้จึงเข้าใจได้ว่าทำไมผู้เขียนบทจึงต้องทำงานหนักมาก ในการเปลี่ยนให้อนงค์ในนิยายกลายเป็นตัวละครที่ถูกดึงขึ้นมาให้ได้รับบทบาทที่เด่นพอ ๆ กันหรืออย่างน้อยก็ใกล้เคียงกับตัวเอกของเรื่อง ไม่อย่างนั้นคนดูคงจะไม่ติดตามและทิ้งละครไปอย่างรวดเร็วเป็นแน่ . แต่ส่วนที่น่าเสียดายที่ดูเหมือนจะหายไปคือนิสัยรักการจดบันทึกหรือเขียนไดอารีของอนงค์ ที่ต้นฉบับหากรับรู้เรื่องราวใดมาจากปากแม่ช้อย เธอจะรีบนำมาเขียนใส่ไว้ในสมุดบันทึกประจำตัว เพื่อเก็บไว้อ่านคนเดียว ซึ่งคนอ่านก็จะสามารถทราบถึงจิตใจของเธอที่มีต่อคุณพระฯ จากสิ่งที่เธอเขียนนั่นเอง ซึ่งเป็นส่วนที่ดีมากและแทบจะไม่พบเลยในเวอร์ชันละคร นอกจากแค่ตอนที่อนงค์ทำเป็นสมุดเล่มเล็กที่มีภาพและคำแนะนำตัวเองแล้วมอบให้คุณพระฯ ซึ่งออกจะเป็นการกระทำที่ค่อนข้างเสี่ยงต่อภาพพจน์ที่ถูกมองจากคนอย่างคุณพระฯได้เหมือนกัน . จากนี้ต่อไปในอีกครึ่งทางที่เหลือนั้น ไม่แน่ใจว่าเรื่องราวที่ถูกเขียนขึ้นใหม่จะเป็นไปในทิศทางไหน คุณพระฯเองก็ถูกปรับให้คล้ายจะกลายเป็นโฮล์มส์ ที่ขยายการงานให้กว้างออกไปจากในหนังสือเพื่อจะได้มีอะไรให้เล่นกับบทละครมากขึ้น จึงเป็นคุณพระฯ ที่เหมือนอยู่กันคนละโลกกับคุณพระฯในนิยาย ส่วนชัดก็กลายเป็นคนที่อ่อนแอจนปวกเปียกไม่สมกับที่เป็นทหารสักนิด และเห็นแก่ตัวเองอย่างร้ายกาจจนน่ารังเกียจไปเลย เพราะต้นฉบับนิยายนั้นชัดเปลี่ยนใจจากอนงค์มาหาจันทร ด้วยความที่ไม่ระแคะระคายมาก่อนว่าพี่ชายนั้นรักจันทรอยู่ก่อนแล้ว จึงได้ขอร้องให้พี่ช่วยไปสู่ขอจันทรแทนแม่ ส่วนด้านอื่นที่ดีงามนั้นมีคนพูดกันไปมากแล้ว จึงไม่ขอพูดซ้ำ แต่สิ่งที่อยากจะกล่าวถึงอย่างมาก ที่เป็นหัวใจสำคัญของเรื่องนี้เลยก็คือ ความหมายของชื่อเรื่อง "หนึ่งในร้อย" . หนึ่งในร้อย เป็นคำเปรียบถึงคนอย่างคุณพระฯ เรื่องนี้ชัดเจนแน่นอน ความดีของตัวละครนี้ สำหรับคนที่ดูละครอย่างเดียวอาจเห็นภาพได้ไม่ตรงและใสเท่าในบทประพันธ์ เพราะหนังสือมีเวลาให้ผู้เขียนได้ใส่รายละเอียด และเล่าให้คนอ่านสามารถรู้ชัดเจนถึงที่มาที่ไปแห่งความเป็นคน ซึ่งมีความเป็นสัตบุรุษคือไม่ใช่แค่ดีอย่างทั่วไปหรือดีแบบโลก ๆ เท่านั้น แต่มีความดำรงตนอยู่ในศีลและตั้งตนให้ดำรงมั่นในธรรมะที่เป็นเครื่องหล่อเลี้ยง ให้ใจไม่ไหลไปตามกระแสแห่งความต้องการที่เป็นอำนาจฝ่ายต่ำ จึงไม่ถูกชักจูงโดยง่ายจากแรงเร้าภายนอกที่มากระทบ ด้วยเหตุนี้คุณพระฯ จึงมีคุณธรรมอยู่ประจำใจเสมอ อันจะคอยคัดท้ายไม่ให้หลุดออกนอกเส้นทางดีงาม แม้นมีบางคราวที่ต้องผจญคลื่นลมพายุโหมกระหน่ำจนถึงขั้นแทบอับปาง เกือบจะไม่สามารถนำพานาวาชีวิตล่องฝ่าภัยต่อไปเหนือลำน้ำได้ แต่สุดท้ายก็รอดพ้นจากวิกฤตและได้รับผลแห่งความดีที่ทำมาด้วยความสุขใจในเบื้องปลาย . ทว่าคุณพระฯ เองก็ยังมีข้อเสียที่เด่นชัดมาก หากจะมองให้ลึกลงไป นั่นคือการที่เขาช่วยคนโดยเน้นไปที่การอนุเคราะห์ เติมเต็มความต้องการทางด้านปัจจัยสี่ให้แก่แม่และน้อง ๆ หรือคนที่รู้จัก และแม้นในคนทั่วไปเท่าที่อาชีพการงานและฐานะแห่งตนจะพอทำได้ แต่ไม่ได้ช่วยด้วยการฝึกให้คนเหล่านั้นรู้จักการช่วยเหลือตนเอง ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าถึงคราวที่คุณพระฯ อยู่ในสถานะอันลำบากในทางใดทางหนึ่ง ที่ไม่อาจจะให้ความช่วยเหลือหรือจำต้องปฏิเสธคำขอร้อง บรรดาคนซึ่งเคยได้รับเป็นประจำจากเขามาโดยตลอด จึงเกิดความไม่พอใจ กลายเป็นความโกรธ จนหลุดแสดงอำนาจและกิเลสในใจตนให้ระเบิดออกมาอย่างกับคนเสียจริต เห็นได้จากแม่และชัดเป็นต้น . ดังนั้นการช่วยคนที่ประเสริฐเลิศยอดที่สุด ที่จะไม่กลับเป็นภัยย้อนมาทำร้ายตัวของคนซึ่งเป็นผู้ให้นั้น จำเป็นอย่างยิ่งต้องเน้นช่วยคนด้วยการให้เขารู้จักการช่วยเหลือตัวเองให้อยู่รอดได้ โดยไม่เป็นเพียงผู้ขอร่ำไปตลอดไป นั่นคือสิ่งที่ผมได้ฟังอยู่เสมอจากคำสอนของพระอาจารย์ที่เคารพศรัทธา ด้วยพรหมวิหาร 4 นั้นมีความสำคัญอย่างมากสำหรับคนผู้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นผู้ใหญ่ คือต้องมีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา แต่ถ้าเมตตาไม่มีประมาณแล้วขาดซึ่งปัญญากำกับ เมตตานั้นจะเป็นเช่นอาวุธที่หันกลับสู่ตนหากไม่ระวัง . คุณพระฯ เองมีเมตตาต่อเพื่อนร่วมโลกเป็นที่ตั้ง โดยเฉพาะกับญาติจนถึงขั้นให้ความช่วยเหลือคือความกรุณาดังแสดงออกให้เห็น และมีจิตพลอยยินดีในเมื่อผู้อื่นได้รับความเจริญหรือผลแห่งความสำเร็จ ไม่เกิดอิจฉาริษยาประทุษร้ายกับใครแม้นเป็นฝ่ายถูกกระทำ แต่คุณพระฯ ยังสอบไม่ผ่านในข้ออุเบกขา คือไม่รู้จักที่จะตัดรอบ ช่วยได้เท่าที่ช่วยไหว สัตว์โลกล้วนมีวิบากแห่งตนซึ่งได้สั่งสมมาไม่ว่าทางร้ายหรือดี ไม่ใช่ต้องเอาชีวิตของเขาขึ้นมาแบกหามไว้ราวกับเป็นเรื่องของตนเองไปเสียทั้งหมด คือช่วยแล้วปล่อยวางไม่ลง แม่ก็แล้ว น้อง ๆ หลายคนและครอบครัวของน้องก็อีก จึงต้องตกที่นั่งถูกคนที่ตนให้ความช่วยเหลือนั้นวกกลับมาทำร้ายตนจนสาหัสแทบจะสิ้นลมหายใจ เป็นการเบียดเบียนตนเองซึ่งทางพุทธศาสนาไม่สรรเสริญ . ดังนั้น คนอย่างคุณพระฯ อาจหาได้ยาก ดังเช่นคำว่า "หนึ่งในร้อย" แต่คนที่หาได้ยากกว่าอาจถึงขั้น "หนึ่งในล้าน" คือคนที่เข้าใจ และเข้าถึง หลักธรรมในหมวด 4 ของพุทธศาสนาอย่างแท้จริงและนำมาปฏิบัติได้คือ เมตตาได้ทุกผู้แม้เป็นศัตรูของตัวเอง ช่วยเหลือได้ทุกคนเท่าที่ช่วยไหวโดยไม่เดือดร้อน มีใจร่วมยินดีเมื่อเห็นว่าเขาได้ดี ปราศจากความคิดมุ่งร้ายอยากทำลาย สุดท้ายคือไม่อนาทรร้อนใจแม้นไม่สามารถช่วยได้ ด้วยเห็นแล้วว่าไม่อาจช่วย หรือช่วยต่อไปจะเป็นโทษต่อเขาและต่อเรามากกว่า ก็ต้องปล่อยเขาไปตามทางที่เขาสร้างมา . ตอนล่าสุดเมื่อคืนยังไม่ว่างดูสดแบบเต็ม ๆ เลย แค่ผ่านตาแวบ ๆ บางฉาก แต่ก็พอเดาทิศทางได้เลา ๆ ว่าบทดัดแปลงคงจะพาอนงค์และคุณพระฯ ทะลุมิติท่องไปไกลในดินแดนอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นคนละโลกกับเรื่องที่เกิดขึ้นในนิยาย ถ้าเรียกภาษาคนรุ่นใหม่คงจะใช้คำว่า ตัวละครเดียวกันแต่อยู่คนละมัลติเวิร์ส(ไม่แน่ใจสะกดเช่นนี้หรือไม่)กระมัง นี่คือส่วนที่หวั่นใจมาตลอด เพราะในสัปดาห์ก่อนที่เห็นว่าฉากสำคัญที่อยู่ตอนท้ายในนิยาย คือคุณพระล้มเจ็บ ถูกร่นขึ้นมาตั้งแต่กลางเรื่อง อีกทั้งความดราม่าที่ถูกผูกขึ้นใหม่ระหว่างตัวละคร 3-4 ตัว ก็ทำให้พอจะคาดการณ์ได้ว่า ต่อจากนี้ไปคงจะเป็นการด้นใส่อะไรต่อมิอะไรเข้ามาอีกมาก และไม่รู้ว่าจะไปจบลงที่ตรงไหน ก็ได้แต่ละเหี่ยใจ . ความดีงามของอนงค์ในหนังสือ ที่แม้นเป็นสาวสมัยใหม่ในยุคนั้น แต่ยังมีความรู้รักในเกียรติและศักดิ์ศรีของกุลสตรี ฉลาดและมีเฉลียว อีกทั้งมองคนออกอย่างเลิศ วางตัวเหมาะสมไม่ทำอะไรที่จะไปสะกิดให้คุณพระฯ นึกหยามหรือดูแคลนเอาได้ จนกระทั่งถึงเวลาที่ทุกอย่างดำเนินไปจนถึงที่สุด จึงกล้าเผยหัวใจตนให้คนที่แอบเทิดทูนบูชารับรู้ ทั้งที่ทราบอยู่แก่ใจว่าอาจทำให้คุณพระฯ มองเธอไปในแง่ไม่ดี แต่ใจที่นึกเวทนาสงสารบวกความรักที่งอกเงยมานานมันเปี่ยมล้นพ้นใจ เกินกว่าจะเก็บกลั้นไว้ภายใน จึงได้ปลดปล่อยไหลทะลักไปในครานั้น แต่แม้จะหลุดคำพูดฝากรัก หากถ้อยคำที่สื่อสารก็ยังเปี่ยมด้วยมธุรส และงดงามในภาษาที่ช่างสรรคำมาเจรจาอย่างน่าทึ่ง ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลนั้นคงจะไม่อาจคาดหวังว่าจะได้พบเจอเสียแล้ว เพราะได้ถูกแปรเปลี่ยนไปเป็นอนงค์ในแบบฉบับที่เหมือนปล่อยให้อำนาจความรัก ชักจูงเธอไปให้คิดและทำในสิ่งซึ่งอนงค์ในนิยายจะไม่มีวันทำเป็นอันขาด น่าเสียดาย... ภาพประกอบขอยืมจากในเน็ต #thaitimes #ดอกไม้สด #ละคร #mycherieamour #วิเคราะห์ตัวละคร #วิจารณ์ละคร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 283 มุมมอง 0 รีวิว
  • หยุดฝ่าฝืนพระบรมราชโองการ หยุดละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาเขตทะเลไทย / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    การที่รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกำลัง “เร่งรัด” เจรจาด้านผลประโยชน์พลังงานในอ่าวไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ค.ศ. 2001 หรือที่เรียกว่า “MOU 2544” นั้น อาจสุ่มเสี่ยงต่อการฝ่าฝืนกฎหมายของประเทศไทย ฝ่าฝืนพระบรมราชโองการ และอาจทำให้ประเทศชาติและประชาชนอาจจะสูญเสียผลประโยชน์ตามมาได้ด้วย

    โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการนั้น ได้ทำให้เห็นว่า พื้นที่ทางทะเลซึ่งกำลังมีการเจรจาผลประโยชน์ระหว่างไทยและกัมพูชาตาม MOU 2544 อยู่ในขณะนี้มี จำนวน 26,000 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวตามกฎหมายสากลทั้งสิ้น ไม่ใช่พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาดังที่พยายามเจรจากันอยู่ในขณะนี้ ดังมีรายละเอียดดังนี้

    ประการแรก พระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ไม่สามารถลบล้างด้วยข้อตกลงหรือการเจรจากันเองของนักการเมืองหรือข้าราชการได้

    หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องเป็นไปโดยเงื่อนไขที่กำหนดโดย “พระบรมราชโองการ” เท่านั้น

    ประการที่สอง พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นั้น ได้ระบุวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนว่าเพื่อใช้ “สิทธิอธิปไตยของประเทศไทย” จึงต้องตระหนักว่าพระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้มี 3 คำสำคัญประกอบกัน คือ “สิทธิ” , “อธิปไตย” ตลอดจนคำว่า ”ของประเทศไทย“

    ดังนั้นพระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ไม่ใช่เรื่อง “อธิปไตย“ของประเทศไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่ต้องรวมถึง “สิทธิ”ของประเทศไทย ไม่ใช่ “อธิปไตย” ของชาติอื่นและไม่ใช่“สิทธิ”ของชาติอื่นมาผสมปะปนได้

    โดยมีข้อความระบุเฉพาะถึงขอบเขตอย่างชัดเจนด้วยว่า “การใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทย”นั้นเพื่อใช้ “ในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ“ ในอ่าวไทย

    ภายใต้พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 มีสาระสำคัญในเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย“ ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติภายใต้การประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยย่อมต้องเป็นของราชอาณาจักรไทยเพียงประเทศเดียวเท่านั้น

    ดังนั้นผู้สำรวจ ผู้รับสัมปทาน หรือมีผู้แสวงหาผลประโยชน์ในทรัพยากรในอ่าวไทยจะต้องทำสัญญากับอธิปไตยได้เพียงรัฐเดียวเท่านั้นคือ ”ประเทศไทย“

    การบิดเบือนให้ “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย” ที่เดิมต้องลงนามโดยรัฐบาลประเทศไทยเพียงรัฐเดียว ให้กลายเป็นสิทธิในการสำรวจและแสวงหาผลประโยชน์ทางพลังงานที่ต้องลงนามโดยรัฐบาล 2 ประเทศ คือประเทศไทยร่วมกับประเทศกัมพูชานั้น ย่อมเท่ากับว่ารัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยได้สละ “สิทธิ” และ “อธิปไตย” ในการอนุญาตสำรวจและแสวงหาผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยฝ่ายเดียว

    การกระทำดังที่กล่าวมานี้อาจเข้าข่ายเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายและฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516

    ประการที่สาม พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศตามกฎหมายสากลเท่านั้น ปรากฏเป็นข้อความเป็นหลักการว่า

    “ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป ตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้ว เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511“

    ทั้งนี้ บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 นั้น ต่อมาได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย

    ประกอบกับจุดเริ่มต้นของประเทศไทยในการแบ่งแยกระหว่างราชอาณาจักรไทย กับราชอาณาจักรกัมพูชา ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 ข้อ 2 นั้น ได้ระบุอย่างชัดแจ้งว่า “เกาะกูดเป็นของสยาม” อย่างแน่นอนความว่า

    “รัฐบาลฝรั่งเศสยอมยกดินแดนเมืองด่านซ้ายและเมืองตราด กับเกาะทั้งหลายซึ่งอยู่ภายใต้แหลมสิงลงไป จนถึงเกาะกูดนั้น ให้แก่กรุงสยาม ตามกำหนดเขตร์แดนดังว่าไว้ ในข้อ 2 ของสัญญาว่าด้วยปักปันเขตร์แดนดังกล่าวมาแล้ว“

    นอกจากนั้นยังมีหลักฐานเป็น “แผนที่” แนบท้ายพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาที่ได้กำหนดแผนที่แสดง “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 และพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาซึ่งได้ประกาศกำหนดแผนที่แสดง “เส้นทะเลอาณาเขต”ของกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 โดยมีข้อความด้านซ้ายแผนที่ภาพเกาะกูดเป็นภาษาอังกฤษคำว่า “Koh Kut” โดยมีวงเล็บอยู่ด้านล่างกำกับด้วยคำว่า “สยาม” เป็นภาษาอังกฤษว่า ”(SIAM)“ ทั้ง 2 ฉบับ ย่อมเป็นการยืนยันโดยราชอาณาจักรกัมพูชาว่า “เกาะกูด” เป็นของสยามประเทศอย่างแน่นอน

    เมื่อเกาะกูดเป็นของสยามประเทศ สยามประเทศจึงย่อมต้องมี ”ทะเลอาณาเขต“ จากเส้นฐานของเกาะกูดไปอีก 12 ไมล์ทะเล และมี ”เขตทะเลต่อเนื่อง“จากเส้นฐานของเกาะกูด 24 ไมล์ทะเล “รอบเกาะกูด” ตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งต่อมาหลักการนี้ได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย

    อย่างไรก็ตาม “เกาะกูด” ของสยาม และ “เกาะกง” ของกัมพูชา คือเกาะที่มีดินแดนยื่นออกมาในทะเลใกล้ที่สุดจากหลักเขตที่ 73 บนแผ่นดิน ซึ่งเป็นหลักเขตสุดท้ายทางทิศใต้ร่วมกันระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ที่บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่จังหวัดตราด

    ดังนั้นพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 จึงได้ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงปรากฏแผนที่การลากเส้นเขตไหล่ทวีปตาม ”กฎหมายสากล“ คือ เริ่มลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกง

    การลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกงนั้น ก็เป็นการดำเนินไปตามกฎหมายสากลด้วยทั้งสิ้น คือบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งต่อมาได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย

    ดังนั้นพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันตก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันออกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียวซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล และไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ด้วยเพราะมีผลตามมาดังนี้

    1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73

    ดังนั้นหากราชอาณาจักรไทยยินยอมหรือรับรู้ โดยไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดทะเลอาณาเขตรอบเกาะกูด ไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่องรอบเกาะกูด และไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะทางพื้นที่ด้านทิศทะวันตกเส้นแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกง ย่อมเป็นการสุ่มเสี่ยงที่ราชอาณาจักรไทยจะสูญเสียสิทธิและอธิปไตยทะเลอาณาเขตรอบเกาะกูด สุ่มเสี่ยงสูญเสียสิทธิและอธิปไตยเขตทะเลต่อเนื่อง สุ่่มเสี่ยงสูญเสียพื้นที่ทะเลในเขตเศรษฐกิจจำเพาะ

    เมื่อสละกฎหมายทะเลสากลรอบเกาะกูดทั้งหมด ก็จะส่งผลทำให้เกิดความสุ่่มเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ดินแดนเกาะกูด” ในฐานะที่ราชอาณาจักรไทย “นิ่งเฉย” ต่อการละเมิดพื้นที่ทะเลอาณาเขต ละเมิดพื้นที่ทะเลต่อเนื่อง และการละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะรอบเกาะกูด มีความสุ่มเสี่ยงที่รัฐบาลกัมพูชาอาจอ้างกฎหมายปิดปากให้เกาะกูดตกเป็นของกัมพูชาในอนาคตได้ ดังที่ราชอาณาจักรไทยได้เคยสูญเสียปราสาทพระวิหารและสูญเสียพื้นที่โดยรอบปราสาทพระวิหารโดยศาลโลกเมื่อปี พ.ศ. 2505 มาแล้ว

    ดังนั้นหากยังฝ่าฝืนดำเนินการ MOU 2544 ระหว่างไทย-กัมพูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีการตกลงใดๆที่อยู่นอกเหนือแผนที่ตามประกาศภายใต้พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 อาจสุ่มเสี่ยงว่าเป็นการดำเนินที่ฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และไม่เป็นการยึดถือตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ด้วย

    ประการที่สี่ พื้นที่ทับซ้อนสามารถเจรจาแบ่งผลประโยชน์ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายสากลเท่านั้น ไม่ใช่ทำตามอำเภอใจ

    พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นั้นได้ “เปิดช่องให้มีการเจรจาตกลงกันได้”

    แต่จะต้องยึดถือมูลฐานจาก บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เท่านั้น และต้องไม่ใช้เงื่อนไขอื่นในการตกลงกันความว่า

    “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“

    เพราะตามบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 สามารถเกิดพื้นที่ทับซ้อนกันได้ จึงอาจเกิดพื้นที่ลักษณะอ้างสิทธิทับซ้อนกันได้จริงดังที่ได้เกิดขึ้นกับพื้นที่การพัฒนาร่วมระหว่างไทย-มาเลเซีย

    แต่เมื่อ MOU 2544 ไทย-กัมพูชา แตกต่างจากพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย เพราะ MOU 2544 ระหว่างไทย-กัมพูชา ได้เกิดพื้นที่โดยรับรู้เส้นไหล่ทวีปอ้างสิทธิของราชอาณาจักรกัมพูชาที่กำหนดเขตไหล่ทวีปที่ลากเส้น ”ละเมิด“ สิทธิและอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด และละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมจากหลักเขตที่ 73 เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาจึงย่อมไม่มีทางเป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ได้เลย

    หากจะมีพื้นที่ทับซ้อนในทางเทคนิกก็ต้องเป็นไปตามมูลฐานของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เท่านั้น จึงจะสามารถเริ่มเจรจาได้ ซึ่งแปลว่าก็ต้องมีความใกล้เคียงกับแผนที่แนบท้ายพระบรมราชโองการทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยฉบับเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น

    ดังนั้นการเจรจาตกลงกันระหว่างไทย-กัมพูชา ที่ลากเส้นโดยไม่ยึดถือตามมูลฐานของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 หรือทำให้ฝ่ายไทยสูญเสียสิทธิและอธิปไตยเกินกว่าพระบรมราชโองการย่อมกระทำไม่ได้

    และหากรัฐบาลยังฝ่าฝืนดำเนินต่อไป ก็ย่อมมีความเสี่ยงว่าจะเป็นการกระทำผิดกฎหมายอย่างร้ายแรง เพราะเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการของในหลวงรัชกาลที่ 9 ยินยอมให้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาเขตทะเลไทย

    ด้วยจิตคารวะ
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    23 ตุลาคม 2567

    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1079446800215686/?

    #Thaitimes
    หยุดฝ่าฝืนพระบรมราชโองการ หยุดละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาเขตทะเลไทย / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ การที่รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกำลัง “เร่งรัด” เจรจาด้านผลประโยชน์พลังงานในอ่าวไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ค.ศ. 2001 หรือที่เรียกว่า “MOU 2544” นั้น อาจสุ่มเสี่ยงต่อการฝ่าฝืนกฎหมายของประเทศไทย ฝ่าฝืนพระบรมราชโองการ และอาจทำให้ประเทศชาติและประชาชนอาจจะสูญเสียผลประโยชน์ตามมาได้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการนั้น ได้ทำให้เห็นว่า พื้นที่ทางทะเลซึ่งกำลังมีการเจรจาผลประโยชน์ระหว่างไทยและกัมพูชาตาม MOU 2544 อยู่ในขณะนี้มี จำนวน 26,000 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวตามกฎหมายสากลทั้งสิ้น ไม่ใช่พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาดังที่พยายามเจรจากันอยู่ในขณะนี้ ดังมีรายละเอียดดังนี้ ประการแรก พระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ไม่สามารถลบล้างด้วยข้อตกลงหรือการเจรจากันเองของนักการเมืองหรือข้าราชการได้ หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องเป็นไปโดยเงื่อนไขที่กำหนดโดย “พระบรมราชโองการ” เท่านั้น ประการที่สอง พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นั้น ได้ระบุวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนว่าเพื่อใช้ “สิทธิอธิปไตยของประเทศไทย” จึงต้องตระหนักว่าพระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้มี 3 คำสำคัญประกอบกัน คือ “สิทธิ” , “อธิปไตย” ตลอดจนคำว่า ”ของประเทศไทย“ ดังนั้นพระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ไม่ใช่เรื่อง “อธิปไตย“ของประเทศไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่ต้องรวมถึง “สิทธิ”ของประเทศไทย ไม่ใช่ “อธิปไตย” ของชาติอื่นและไม่ใช่“สิทธิ”ของชาติอื่นมาผสมปะปนได้ โดยมีข้อความระบุเฉพาะถึงขอบเขตอย่างชัดเจนด้วยว่า “การใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทย”นั้นเพื่อใช้ “ในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ“ ในอ่าวไทย ภายใต้พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 มีสาระสำคัญในเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย“ ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติภายใต้การประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยย่อมต้องเป็นของราชอาณาจักรไทยเพียงประเทศเดียวเท่านั้น ดังนั้นผู้สำรวจ ผู้รับสัมปทาน หรือมีผู้แสวงหาผลประโยชน์ในทรัพยากรในอ่าวไทยจะต้องทำสัญญากับอธิปไตยได้เพียงรัฐเดียวเท่านั้นคือ ”ประเทศไทย“ การบิดเบือนให้ “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย” ที่เดิมต้องลงนามโดยรัฐบาลประเทศไทยเพียงรัฐเดียว ให้กลายเป็นสิทธิในการสำรวจและแสวงหาผลประโยชน์ทางพลังงานที่ต้องลงนามโดยรัฐบาล 2 ประเทศ คือประเทศไทยร่วมกับประเทศกัมพูชานั้น ย่อมเท่ากับว่ารัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยได้สละ “สิทธิ” และ “อธิปไตย” ในการอนุญาตสำรวจและแสวงหาผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยฝ่ายเดียว การกระทำดังที่กล่าวมานี้อาจเข้าข่ายเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายและฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ประการที่สาม พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศตามกฎหมายสากลเท่านั้น ปรากฏเป็นข้อความเป็นหลักการว่า “ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป ตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้ว เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511“ ทั้งนี้ บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 นั้น ต่อมาได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย ประกอบกับจุดเริ่มต้นของประเทศไทยในการแบ่งแยกระหว่างราชอาณาจักรไทย กับราชอาณาจักรกัมพูชา ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 ข้อ 2 นั้น ได้ระบุอย่างชัดแจ้งว่า “เกาะกูดเป็นของสยาม” อย่างแน่นอนความว่า “รัฐบาลฝรั่งเศสยอมยกดินแดนเมืองด่านซ้ายและเมืองตราด กับเกาะทั้งหลายซึ่งอยู่ภายใต้แหลมสิงลงไป จนถึงเกาะกูดนั้น ให้แก่กรุงสยาม ตามกำหนดเขตร์แดนดังว่าไว้ ในข้อ 2 ของสัญญาว่าด้วยปักปันเขตร์แดนดังกล่าวมาแล้ว“ นอกจากนั้นยังมีหลักฐานเป็น “แผนที่” แนบท้ายพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาที่ได้กำหนดแผนที่แสดง “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 และพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาซึ่งได้ประกาศกำหนดแผนที่แสดง “เส้นทะเลอาณาเขต”ของกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 โดยมีข้อความด้านซ้ายแผนที่ภาพเกาะกูดเป็นภาษาอังกฤษคำว่า “Koh Kut” โดยมีวงเล็บอยู่ด้านล่างกำกับด้วยคำว่า “สยาม” เป็นภาษาอังกฤษว่า ”(SIAM)“ ทั้ง 2 ฉบับ ย่อมเป็นการยืนยันโดยราชอาณาจักรกัมพูชาว่า “เกาะกูด” เป็นของสยามประเทศอย่างแน่นอน เมื่อเกาะกูดเป็นของสยามประเทศ สยามประเทศจึงย่อมต้องมี ”ทะเลอาณาเขต“ จากเส้นฐานของเกาะกูดไปอีก 12 ไมล์ทะเล และมี ”เขตทะเลต่อเนื่อง“จากเส้นฐานของเกาะกูด 24 ไมล์ทะเล “รอบเกาะกูด” ตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งต่อมาหลักการนี้ได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย อย่างไรก็ตาม “เกาะกูด” ของสยาม และ “เกาะกง” ของกัมพูชา คือเกาะที่มีดินแดนยื่นออกมาในทะเลใกล้ที่สุดจากหลักเขตที่ 73 บนแผ่นดิน ซึ่งเป็นหลักเขตสุดท้ายทางทิศใต้ร่วมกันระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ที่บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่จังหวัดตราด ดังนั้นพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 จึงได้ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงปรากฏแผนที่การลากเส้นเขตไหล่ทวีปตาม ”กฎหมายสากล“ คือ เริ่มลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกง การลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกงนั้น ก็เป็นการดำเนินไปตามกฎหมายสากลด้วยทั้งสิ้น คือบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งต่อมาได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย ดังนั้นพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันตก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันออกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียวซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล และไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ด้วยเพราะมีผลตามมาดังนี้ 1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73 ดังนั้นหากราชอาณาจักรไทยยินยอมหรือรับรู้ โดยไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดทะเลอาณาเขตรอบเกาะกูด ไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่องรอบเกาะกูด และไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะทางพื้นที่ด้านทิศทะวันตกเส้นแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกง ย่อมเป็นการสุ่มเสี่ยงที่ราชอาณาจักรไทยจะสูญเสียสิทธิและอธิปไตยทะเลอาณาเขตรอบเกาะกูด สุ่มเสี่ยงสูญเสียสิทธิและอธิปไตยเขตทะเลต่อเนื่อง สุ่่มเสี่ยงสูญเสียพื้นที่ทะเลในเขตเศรษฐกิจจำเพาะ เมื่อสละกฎหมายทะเลสากลรอบเกาะกูดทั้งหมด ก็จะส่งผลทำให้เกิดความสุ่่มเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ดินแดนเกาะกูด” ในฐานะที่ราชอาณาจักรไทย “นิ่งเฉย” ต่อการละเมิดพื้นที่ทะเลอาณาเขต ละเมิดพื้นที่ทะเลต่อเนื่อง และการละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะรอบเกาะกูด มีความสุ่มเสี่ยงที่รัฐบาลกัมพูชาอาจอ้างกฎหมายปิดปากให้เกาะกูดตกเป็นของกัมพูชาในอนาคตได้ ดังที่ราชอาณาจักรไทยได้เคยสูญเสียปราสาทพระวิหารและสูญเสียพื้นที่โดยรอบปราสาทพระวิหารโดยศาลโลกเมื่อปี พ.ศ. 2505 มาแล้ว ดังนั้นหากยังฝ่าฝืนดำเนินการ MOU 2544 ระหว่างไทย-กัมพูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีการตกลงใดๆที่อยู่นอกเหนือแผนที่ตามประกาศภายใต้พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 อาจสุ่มเสี่ยงว่าเป็นการดำเนินที่ฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และไม่เป็นการยึดถือตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ด้วย ประการที่สี่ พื้นที่ทับซ้อนสามารถเจรจาแบ่งผลประโยชน์ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายสากลเท่านั้น ไม่ใช่ทำตามอำเภอใจ พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นั้นได้ “เปิดช่องให้มีการเจรจาตกลงกันได้” แต่จะต้องยึดถือมูลฐานจาก บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เท่านั้น และต้องไม่ใช้เงื่อนไขอื่นในการตกลงกันความว่า “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“ เพราะตามบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 สามารถเกิดพื้นที่ทับซ้อนกันได้ จึงอาจเกิดพื้นที่ลักษณะอ้างสิทธิทับซ้อนกันได้จริงดังที่ได้เกิดขึ้นกับพื้นที่การพัฒนาร่วมระหว่างไทย-มาเลเซีย แต่เมื่อ MOU 2544 ไทย-กัมพูชา แตกต่างจากพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย เพราะ MOU 2544 ระหว่างไทย-กัมพูชา ได้เกิดพื้นที่โดยรับรู้เส้นไหล่ทวีปอ้างสิทธิของราชอาณาจักรกัมพูชาที่กำหนดเขตไหล่ทวีปที่ลากเส้น ”ละเมิด“ สิทธิและอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด และละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมจากหลักเขตที่ 73 เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาจึงย่อมไม่มีทางเป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ได้เลย หากจะมีพื้นที่ทับซ้อนในทางเทคนิกก็ต้องเป็นไปตามมูลฐานของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เท่านั้น จึงจะสามารถเริ่มเจรจาได้ ซึ่งแปลว่าก็ต้องมีความใกล้เคียงกับแผนที่แนบท้ายพระบรมราชโองการทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยฉบับเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น ดังนั้นการเจรจาตกลงกันระหว่างไทย-กัมพูชา ที่ลากเส้นโดยไม่ยึดถือตามมูลฐานของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 หรือทำให้ฝ่ายไทยสูญเสียสิทธิและอธิปไตยเกินกว่าพระบรมราชโองการย่อมกระทำไม่ได้ และหากรัฐบาลยังฝ่าฝืนดำเนินต่อไป ก็ย่อมมีความเสี่ยงว่าจะเป็นการกระทำผิดกฎหมายอย่างร้ายแรง เพราะเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการของในหลวงรัชกาลที่ 9 ยินยอมให้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาเขตทะเลไทย ด้วยจิตคารวะ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 23 ตุลาคม 2567 https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1079446800215686/? #Thaitimes
    Like
    17
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 690 มุมมอง 0 รีวิว
  • ดอยตาปัง (Ta Pang Mountain)

    ชุมพรไม่ได้มีดีที่ “ทะเล” หากแต่ยังมี “ทะเลหมอก” สุด Unseen ให้ได้ชมที่บ้านบนดอย ตำบลเขาทะลุ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ที่นี่เหมาะสำหรับสายแคมป์ปิ้งยิ่งนักเป็นภูเขาดิน สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500 เมตร เป็นจุดชมวิวทะเลหมอกแบบพาโนรามา มีลานให้กางเต็นท์นอนนับดาว จุดเด่นอยู่ที่มีทะเลหมอกให้ชมได้ตลอดปี แต่ในช่วงหน้าฝนอาจจะไม่สามารถขึ้นไปชมได้ เพราะทางขึ้นค่อนข้างลาดชัน

    ดอยตาปัง ตั้งอยู่ที่ บ้านบนดอย ม.7 ตำบลเขาทะลุ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ห่างจากอำเภอเมืองชุมพรประมาน 70 กิโลเมตร ท่ามกลางบรรยากาศภูเขาที่ซ้อนสลับก่อให้เกิดมิติที่สวยงามและธรรมชาติที่เขียวขจี อากาศบริสุทธิ์เย็นสบาย
    ไฮไลท์ของดอยตาปัง คือการชมแสงแรกพระอาทิตย์ขึ้น ท่ามกลางหมอกและภูเขาน้อยใหญ่ที่สวยงาม ซึ่งดอยตาปังสามารถมาชมวิวกันได้ตลอดทั้งปี เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวที่ชอบธรรมชาติและความสงบ ชมวิวทะเลหมอก ดื่มด่ำบรรยากาศ 360 องศา พร้อมสูดอากาศบริสุทธิ์ให้เต็มปอด

    #ดอยตาปัง
    #สงขลา
    ดอยตาปัง (Ta Pang Mountain) ชุมพรไม่ได้มีดีที่ “ทะเล” หากแต่ยังมี “ทะเลหมอก” สุด Unseen ให้ได้ชมที่บ้านบนดอย ตำบลเขาทะลุ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ที่นี่เหมาะสำหรับสายแคมป์ปิ้งยิ่งนักเป็นภูเขาดิน สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500 เมตร เป็นจุดชมวิวทะเลหมอกแบบพาโนรามา มีลานให้กางเต็นท์นอนนับดาว จุดเด่นอยู่ที่มีทะเลหมอกให้ชมได้ตลอดปี แต่ในช่วงหน้าฝนอาจจะไม่สามารถขึ้นไปชมได้ เพราะทางขึ้นค่อนข้างลาดชัน ดอยตาปัง ตั้งอยู่ที่ บ้านบนดอย ม.7 ตำบลเขาทะลุ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ห่างจากอำเภอเมืองชุมพรประมาน 70 กิโลเมตร ท่ามกลางบรรยากาศภูเขาที่ซ้อนสลับก่อให้เกิดมิติที่สวยงามและธรรมชาติที่เขียวขจี อากาศบริสุทธิ์เย็นสบาย ไฮไลท์ของดอยตาปัง คือการชมแสงแรกพระอาทิตย์ขึ้น ท่ามกลางหมอกและภูเขาน้อยใหญ่ที่สวยงาม ซึ่งดอยตาปังสามารถมาชมวิวกันได้ตลอดทั้งปี เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวที่ชอบธรรมชาติและความสงบ ชมวิวทะเลหมอก ดื่มด่ำบรรยากาศ 360 องศา พร้อมสูดอากาศบริสุทธิ์ให้เต็มปอด #ดอยตาปัง #สงขลา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • การเผชิญหน้ากับความเจ็บปวด
    จะทำให้เราแข็งแกร่งขึ้น
    และพร้อมที่จะก้าวผ่านปัญหาต่างๆ
    เพื่อเติบโตและพัฒนา

    จากหนังสือ | THE MOUNTAIN IS YOU

    #หนอนแว่นคลับ #รีวิวหนังสือ #หนังสือน่าอ่าน
    #ทัศนคติ #Thaitimes #ความคิดเชิงบวก
    #feed
    การเผชิญหน้ากับความเจ็บปวด จะทำให้เราแข็งแกร่งขึ้น และพร้อมที่จะก้าวผ่านปัญหาต่างๆ เพื่อเติบโตและพัฒนา จากหนังสือ | THE MOUNTAIN IS YOU #หนอนแว่นคลับ #รีวิวหนังสือ #หนังสือน่าอ่าน #ทัศนคติ #Thaitimes #ความคิดเชิงบวก #feed
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 104 มุมมอง 0 รีวิว
  • วารสารถูกตั้งคำถามว่ามีความเที่ยงตรงหรือไม่?

    ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา วงการวิชาการ อาทิ แพทย์ วิทยาศาสตร์เป็นต้น จะให้ความเชื่อถือว่า บทความใดที่ตีพิมพ์ในวารสาร ที่เรียกว่า peer reviewed journal เป็นที่เชื่อถือได้
    เพราะมีคณะกรรมการที่อ่าน บทความ และพิจารณาหลักฐานที่มากระบวนการศึกษา และจะทำการให้ความเห็นว่า จะไม่รับ หรือรับ แต่มีเงื่อนไข ประเด็นต้องแก้ไขใหญ่ หรือเล็ก หรือต้องมีการทำการทดลองใหม่ในบางส่วนหรือไม่
    วารสารที่มีชื่อเหล่านี้จะถูกนำไปอ้างอิงในวงวิชาการต่างๆทำให้รับรู้กันทั่วไป

    ในการส่งบทความเพื่อ ไปตีพิมพ์ในวารสารนั้น
    ผู้วิจัยจะต้องประกาศว่ามีผลประโยชน์ใดหรือไม่อย่างไร กับ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา วัคซีน รวมทั้งได้ค่าตอบแทนในรูปลักษณะใด ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษา รับเงิน หรือสิ่งตอบแทน รวมค่าเดินทางค่าที่พัก เวลาไปบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ และเชื่อมโยงมาถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือวัคซีนเป็นต้น

    แต่กรรมการผู้พิจารณา กลับไม่ต้องมีการแจงรายละเอียดชัดเจน เหล่านี้อาจมีเพียงแต่ว่า มีประเด็นที่ขัดแย้ง กับผู้ส่งบทความหรือผู้ทำวิจัย หรือไม่ หรือทำวิจัยในเรื่องเดียวกัน ที่อาจจะเป็นการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ส่วนตนได้

    บทความนี้ที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน (journal of American Medical Association JAMA) วันที่ 10 ตุลาคม 2024 ได้รายงานถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรรมการผู้พิจารณาบทความ (reviewers) ว่า แท้จริงแล้ว เกินครึ่งของบุคคลกรรมการเหล่านี้ ต่างได้รับเงินสนับสนุนในการศึกษาวิจัย หรือเงินสนับสนุนในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ต่างๆ จากบริษัทที่ตรงมาเข้าบุคคลนั้น หรือที่เข้ามายังบุคคลนั้น และสถาบันที่บุคคลนั้นอยู่

    และเป็นประเด็นที่ตั้งคำถามถึง ความเที่ยงตรง integrity และ ความมีอิสระเที่ยงตรงในการตัดสิน ในการที่จะไม่รับ หรือรับตีพิมพ์บทความที่ส่งเข้ามา

    และหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว มีนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ จากหลายสถาบัน ในต่างประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และอังกฤษ ต่างให้ข้อมูลที่ตนเองประสบและถ่ายทอดในสื่อต่างๆโดยเฉพาะที่ประสบในช่วงโควิด
    ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ให้ลงตีพิมพ์ การใช้ยาบางตัว ที่มีการทดสอบแล้วว่าได้ผลทั้งๆที่ราคาถูก เข้าถึงได้ และจนกระทั่งถึงงานที่ตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการถอดออก และ ที่สำคัญก็คือเรื่องผลกระทบของวัคซีนที่ ถึงชีวิตหรือพิการ
    วารสารที่ถูกเปิดเผยเรื่องเหล่านี้ ที่กรรมการพิจารณาบทความได้รับเงินสนับสนุน ต่างก็เป็นวารสารชั้นนำ เช่น British Medical journal Lancet New England journal เป็นต้น
    โดยมูลค่าของเงินสนับสนุนเหล่านี้มีจำนวนมากกว่า 1,000,000,000 เหรียญสหรัฐ

    สูตรสำเร็จ เช่น เมื่อมีการพูด ผลกระทบของวัคซีน จะมีกลุ่มที่ออกมาวิจารณ์ว่า ไม่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารชั้นดี หรือตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการสั่งถอดออกแสดงว่า เชื่อถือไม่ได้

    แม้กระทั่ง บทความเรื่องโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์หลังได้รับวัคซีนโควิดไปภายในช่วงสองสัปดาห์และเสียชีวิตภายในเวลาห้าเดือน จากคณะ ชองProf Luc Montagnier ซึ่งได้รับ รางวัล โนเบล จากการค้นพบไวรัสเอดส์ ถูกไม่รับพิจารณาในวารสาร จนกระทั่งตีพิมพ์ในวรสารในระดับรองลงมาและข้อมูลหลักฐานประกอบในบทความเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่คงเลือกได้ว่าน่าตื่นเต้นและประทับใจในการค้นพบและเชื่อมโยงการเกิดโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์กับวัคซีนได้อย่างชัดเจน

    https://jamanetwork.com/journals/jama/article-abstract/2824834?utm_source=substack&utm_medium=email

    ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
    ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
    มหาวิทยาลัยรังสิต

    เชื่อถือได้หรือ? “หมอธีระวัฒน์” เผยวารสารการแพทย์ชื่อดังปล่อย กก.พิจารณาบทความรับผลประโยชน์จากบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000100753





    Two years ago, we discussed the lack of evidence supporting the idea that peer review improves the quality of scientific research. 
    Peer review is meant to guarantee the publication of high-quality research and enhance the quality of published manuscripts. The process should involve independent experts evaluating and assessing research for its quality and reliability.
    However, a recent JAMA publication questions the integrity and independence of peer review. The research letter addresses the Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals.
    The authors identified peer reviewers for The BMJ, JAMA, The Lancet, and The New England Journal of Medicine (NEJM) using each journal’s 2022 reviewer list. They then used a US Open payments database to identify whether reviewers had received industry payments.
    What did they find?
    Between 2020 and 2022, 1155/1962 peer reviewers (59%) received at least one industry payment. More than half (54%) accepted general payments, while 32% received research payments.
    Between 2020 and 2022, reviewers received over $1.2 billion in industry payments, including $1 billion to individuals or their institutions. Over the three years, the median general payment was $7,614.  
    What does this mean?
    Journals such as the BMJ pride themselves on their competing interest policy. Readers should know the author's competing interests if they publish an article. They ask reviewers to provide a fair, honest, and unbiased assessment of the manuscript's strengths and weaknesses. But how is that possible if you're on the payroll of pharma?
    Furthermore, no one can identify who is being paid as there is no central database like the US where you can look up who is paying who. The voluntary nature of the system means companies can often conceal payments. For example, the drug industry’s self-regulatory body reprimanded  Novo Nordisk for failing to disclose approximately 500 payments worth £7.8m to over 150 recipients between 2020 and 2022.
    This latest publication further enhances the status of peer review: it is broken.
    A system that dates back over 200 years persists because no one can be bothered to address its shortcomings, and too many journals make hefty profits out of its inadequacies to affect the status quo.
    THE JAMA authors consider that ‘additional research and transparency regarding industry payments in the peer review process are needed.” We think this will be another smokescreen to permit the current system to limp on. 
    Editorial peer reviews are largely untested; their effects are uncertain and tainted by industry influence. The system needs a radical overhaul which starts with abandoning the current journal system that sucks in vast amounts of cash and distorts the research agenda.
    The main reasons for the survival of a broken system are tied to the biomedical publication industry. For editors, peer review is a Kevlar shield, a sloping shoulders device - “it ain’t me guv” cop-out clause. For academic authors who have to climb the greasy pole, it’s a system that works both ways; for industry and all those who have to sell something, it’s a cheap advert chance. You only need to read our Antivirals series to understand how the system works and how the public was sold and continues to sell dummies. Rotten decision-makers only have to point to ghost-written trials in mega journals to justify their decisions.
    You only have to look at our recent Zum Zum posts to see the devastating effects of this broken system. Or look up the Comirnaty series, which was written without data published in journals—it was regulatory data, the closest we are ever going to get to reality.
    This post was written by two old geezers who have been peer-viewed and have peer-reviewed countless times.
    Consider becoming a paid subscriber to receive new posts and support our work.

    October 10, 2024
    Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals
    David-Dan Nguyen, MDCM, MPH1,2; Anju Muramaya3,4; Anna-Lisa Nguyen, BHSc5; et al
    วารสารถูกตั้งคำถามว่ามีความเที่ยงตรงหรือไม่? ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา วงการวิชาการ อาทิ แพทย์ วิทยาศาสตร์เป็นต้น จะให้ความเชื่อถือว่า บทความใดที่ตีพิมพ์ในวารสาร ที่เรียกว่า peer reviewed journal เป็นที่เชื่อถือได้ เพราะมีคณะกรรมการที่อ่าน บทความ และพิจารณาหลักฐานที่มากระบวนการศึกษา และจะทำการให้ความเห็นว่า จะไม่รับ หรือรับ แต่มีเงื่อนไข ประเด็นต้องแก้ไขใหญ่ หรือเล็ก หรือต้องมีการทำการทดลองใหม่ในบางส่วนหรือไม่ วารสารที่มีชื่อเหล่านี้จะถูกนำไปอ้างอิงในวงวิชาการต่างๆทำให้รับรู้กันทั่วไป ในการส่งบทความเพื่อ ไปตีพิมพ์ในวารสารนั้น ผู้วิจัยจะต้องประกาศว่ามีผลประโยชน์ใดหรือไม่อย่างไร กับ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา วัคซีน รวมทั้งได้ค่าตอบแทนในรูปลักษณะใด ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษา รับเงิน หรือสิ่งตอบแทน รวมค่าเดินทางค่าที่พัก เวลาไปบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ และเชื่อมโยงมาถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือวัคซีนเป็นต้น แต่กรรมการผู้พิจารณา กลับไม่ต้องมีการแจงรายละเอียดชัดเจน เหล่านี้อาจมีเพียงแต่ว่า มีประเด็นที่ขัดแย้ง กับผู้ส่งบทความหรือผู้ทำวิจัย หรือไม่ หรือทำวิจัยในเรื่องเดียวกัน ที่อาจจะเป็นการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ส่วนตนได้ บทความนี้ที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน (journal of American Medical Association JAMA) วันที่ 10 ตุลาคม 2024 ได้รายงานถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรรมการผู้พิจารณาบทความ (reviewers) ว่า แท้จริงแล้ว เกินครึ่งของบุคคลกรรมการเหล่านี้ ต่างได้รับเงินสนับสนุนในการศึกษาวิจัย หรือเงินสนับสนุนในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ต่างๆ จากบริษัทที่ตรงมาเข้าบุคคลนั้น หรือที่เข้ามายังบุคคลนั้น และสถาบันที่บุคคลนั้นอยู่ และเป็นประเด็นที่ตั้งคำถามถึง ความเที่ยงตรง integrity และ ความมีอิสระเที่ยงตรงในการตัดสิน ในการที่จะไม่รับ หรือรับตีพิมพ์บทความที่ส่งเข้ามา และหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว มีนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ จากหลายสถาบัน ในต่างประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และอังกฤษ ต่างให้ข้อมูลที่ตนเองประสบและถ่ายทอดในสื่อต่างๆโดยเฉพาะที่ประสบในช่วงโควิด ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ให้ลงตีพิมพ์ การใช้ยาบางตัว ที่มีการทดสอบแล้วว่าได้ผลทั้งๆที่ราคาถูก เข้าถึงได้ และจนกระทั่งถึงงานที่ตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการถอดออก และ ที่สำคัญก็คือเรื่องผลกระทบของวัคซีนที่ ถึงชีวิตหรือพิการ วารสารที่ถูกเปิดเผยเรื่องเหล่านี้ ที่กรรมการพิจารณาบทความได้รับเงินสนับสนุน ต่างก็เป็นวารสารชั้นนำ เช่น British Medical journal Lancet New England journal เป็นต้น โดยมูลค่าของเงินสนับสนุนเหล่านี้มีจำนวนมากกว่า 1,000,000,000 เหรียญสหรัฐ สูตรสำเร็จ เช่น เมื่อมีการพูด ผลกระทบของวัคซีน จะมีกลุ่มที่ออกมาวิจารณ์ว่า ไม่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารชั้นดี หรือตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการสั่งถอดออกแสดงว่า เชื่อถือไม่ได้ แม้กระทั่ง บทความเรื่องโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์หลังได้รับวัคซีนโควิดไปภายในช่วงสองสัปดาห์และเสียชีวิตภายในเวลาห้าเดือน จากคณะ ชองProf Luc Montagnier ซึ่งได้รับ รางวัล โนเบล จากการค้นพบไวรัสเอดส์ ถูกไม่รับพิจารณาในวารสาร จนกระทั่งตีพิมพ์ในวรสารในระดับรองลงมาและข้อมูลหลักฐานประกอบในบทความเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่คงเลือกได้ว่าน่าตื่นเต้นและประทับใจในการค้นพบและเชื่อมโยงการเกิดโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์กับวัคซีนได้อย่างชัดเจน https://jamanetwork.com/journals/jama/article-abstract/2824834?utm_source=substack&utm_medium=email ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เชื่อถือได้หรือ? “หมอธีระวัฒน์” เผยวารสารการแพทย์ชื่อดังปล่อย กก.พิจารณาบทความรับผลประโยชน์จากบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000100753 Two years ago, we discussed the lack of evidence supporting the idea that peer review improves the quality of scientific research.  Peer review is meant to guarantee the publication of high-quality research and enhance the quality of published manuscripts. The process should involve independent experts evaluating and assessing research for its quality and reliability. However, a recent JAMA publication questions the integrity and independence of peer review. The research letter addresses the Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals. The authors identified peer reviewers for The BMJ, JAMA, The Lancet, and The New England Journal of Medicine (NEJM) using each journal’s 2022 reviewer list. They then used a US Open payments database to identify whether reviewers had received industry payments. What did they find? Between 2020 and 2022, 1155/1962 peer reviewers (59%) received at least one industry payment. More than half (54%) accepted general payments, while 32% received research payments. Between 2020 and 2022, reviewers received over $1.2 billion in industry payments, including $1 billion to individuals or their institutions. Over the three years, the median general payment was $7,614.   What does this mean? Journals such as the BMJ pride themselves on their competing interest policy. Readers should know the author's competing interests if they publish an article. They ask reviewers to provide a fair, honest, and unbiased assessment of the manuscript's strengths and weaknesses. But how is that possible if you're on the payroll of pharma? Furthermore, no one can identify who is being paid as there is no central database like the US where you can look up who is paying who. The voluntary nature of the system means companies can often conceal payments. For example, the drug industry’s self-regulatory body reprimanded  Novo Nordisk for failing to disclose approximately 500 payments worth £7.8m to over 150 recipients between 2020 and 2022. This latest publication further enhances the status of peer review: it is broken. A system that dates back over 200 years persists because no one can be bothered to address its shortcomings, and too many journals make hefty profits out of its inadequacies to affect the status quo. THE JAMA authors consider that ‘additional research and transparency regarding industry payments in the peer review process are needed.” We think this will be another smokescreen to permit the current system to limp on.  Editorial peer reviews are largely untested; their effects are uncertain and tainted by industry influence. The system needs a radical overhaul which starts with abandoning the current journal system that sucks in vast amounts of cash and distorts the research agenda. The main reasons for the survival of a broken system are tied to the biomedical publication industry. For editors, peer review is a Kevlar shield, a sloping shoulders device - “it ain’t me guv” cop-out clause. For academic authors who have to climb the greasy pole, it’s a system that works both ways; for industry and all those who have to sell something, it’s a cheap advert chance. You only need to read our Antivirals series to understand how the system works and how the public was sold and continues to sell dummies. Rotten decision-makers only have to point to ghost-written trials in mega journals to justify their decisions. You only have to look at our recent Zum Zum posts to see the devastating effects of this broken system. Or look up the Comirnaty series, which was written without data published in journals—it was regulatory data, the closest we are ever going to get to reality. This post was written by two old geezers who have been peer-viewed and have peer-reviewed countless times. Consider becoming a paid subscriber to receive new posts and support our work. October 10, 2024 Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals David-Dan Nguyen, MDCM, MPH1,2; Anju Muramaya3,4; Anna-Lisa Nguyen, BHSc5; et al
    JAMANETWORK.COM
    Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals
    This study characterizes payments by drug and medical device manufacturers to US peer reviewers of major medical journals.
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 350 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣ ถ้าปล่อยให้เสียพื้นที่บนเกาะกูด มิใช่เสียเพียงแหล่งท่องเที่ยว อาจต้องเสียอาณาเขตทางทะเลในอ่าวไทย เสียทรัพยากรใต้ทะเลอ่าวไทย ต้องคัดค้าน Mou ปี44 คัดค้านแบ่งเกาะกูด
    #7ดอกจิก
    #เกาะกูด
    #อ่าวไทย
    ♣ ถ้าปล่อยให้เสียพื้นที่บนเกาะกูด มิใช่เสียเพียงแหล่งท่องเที่ยว อาจต้องเสียอาณาเขตทางทะเลในอ่าวไทย เสียทรัพยากรใต้ทะเลอ่าวไทย ต้องคัดค้าน Mou ปี44 คัดค้านแบ่งเกาะกูด #7ดอกจิก #เกาะกูด #อ่าวไทย
    Love
    Angry
    2
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 200 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://www.youtube.com/watch?v=y3AD4iT_C5c
    บทสนทนาท่องเที่ยวประเทศไทยบนเครื่องบิน
    (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้)
    แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาท่องเที่ยวประเทศไทยบนเครื่องบิน
    มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ

    #conversations #listeningtest #basiclistening

    The conversations from the clip :

    Girl : Hi there! Are you traveling to Bangkok too?
    Boy : Yes, I am! It’s my first time visiting. How about you?
    Girl : I’ve been there a couple of times. It’s a great city! What are you planning to do there?
    Boy : I’m really excited to visit the temples and explore the markets. Any recommendations?
    Girl : Definitely visit the Grand Palace and Wat Pho. The Reclining Buddha is amazing!
    Boy : That sounds incredible! I also heard the street food in Bangkok is famous.
    Girl : Oh, you’re in for a treat! You must try pad thai and mango sticky rice. They’re delicious!
    Boy : I can’t wait! How’s the traffic in Bangkok? I’ve heard it can be pretty crazy.
    Girl : Yeah, it can be busy, especially during rush hour. But using the BTS Skytrain or taking a boat ride is a great way to avoid it.
    Boy : Good to know! I was thinking of taking a boat tour along the river.
    Girl : That’s a great idea! The Chao Phraya River has some beautiful views of the city.
    Boy : I’m looking forward to it! How long are you staying in Bangkok?
    Girl : Just for a few days before I head to Chiang Mai. How about you?
    Boy : I’ll be in Bangkok for a week, then I might explore some nearby islands.
    Girl : That sounds amazing! You’ll have a great time.

    Girl: สวัสดี! คุณกำลังเดินทางไปกรุงเทพฯ ด้วยใช่ไหม?
    Boy: ใช่แล้ว! นี่เป็นครั้งแรกที่ผมไปเที่ยวกรุงเทพฯ แล้วคุณล่ะ?
    Girl: ฉันเคยไปมาแล้วสองสามครั้ง มันเป็นเมืองที่ยอดเยี่ยม! คุณมีแผนจะทำอะไรที่นั่นบ้าง?
    Boy: ผมตื่นเต้นมากที่จะได้ไปเยี่ยมชมวัดและสำรวจตลาด คุณมีที่ไหนแนะนำบ้างไหม?
    Girl: คุณต้องไปเยี่ยมชมพระบรมมหาราชวังและวัดโพธิ์แน่นอน พระพุทธไสยาสน์น่าทึ่งมาก!
    Boy: ฟังดูน่าอัศจรรย์มาก! ผมยังได้ยินมาว่าอาหารริมทางที่กรุงเทพฯ มีชื่อเสียงมาก
    Girl: โอ้! คุณจะได้ลองของอร่อยแน่ ๆ คุณต้องลองผัดไทยและข้าวเหนียวมะม่วง มันอร่อยมาก!
    Boy: ผมรอไม่ไหวแล้ว! การจราจรในกรุงเทพฯ เป็นยังไงบ้าง? ผมได้ยินว่ามันอาจจะวุ่นวายมาก
    Girl: ใช่ มันอาจจะหนาแน่น โดยเฉพาะช่วงชั่วโมงเร่งด่วน แต่การใช้รถไฟฟ้าบีทีเอสหรือการนั่งเรือเป็นวิธีที่ดีในการหลีกเลี่ยง
    Boy: ดีที่รู้แบบนี้! ผมกำลังคิดว่าจะไปล่องเรือชมแม่น้ำ
    Girl: นั่นเป็นความคิดที่ดี! แม่น้ำเจ้าพระยามีวิวสวย ๆ ของเมือง
    Boy: ผมตั้งตารอเลย! คุณจะอยู่กรุงเทพฯ นานแค่ไหน?
    Girl: แค่ไม่กี่วันก่อนที่ฉันจะไปเชียงใหม่ แล้วคุณล่ะ?
    Boy: ผมจะอยู่กรุงเทพฯ สักหนึ่งสัปดาห์ แล้วอาจจะไปสำรวจเกาะใกล้เคียง
    Girl: ฟังดูเยี่ยมเลย! คุณต้องสนุกมากแน่ ๆ

    Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้)

    Temple (เทมเพิล) noun. แปลว่า วัด
    Market (มาร์เก็ต) noun. แปลว่า ตลาด
    Recommendation (เร็คเคอะเมนเดชัน) noun. แปลว่า คำแนะนำ
    Reclining Buddha (รีคลายนิง บุดด้า) noun. แปลว่า พระพุทธไสยาสน์
    Street food (สตรีท ฟู้ด) noun. แปลว่า อาหารริมทาง
    Famous (เฟมัส) adj. แปลว่า มีชื่อเสียง
    Delicious (ดิลิชัส) adj. แปลว่า อร่อย
    Traffic (แทรฟฟิก) noun. แปลว่า การจราจร
    Rush hour (รัช เอาเออร์) noun. แปลว่า ชั่วโมงเร่งด่วน
    BTS Skytrain (บีทีเอส สกายเทรน) noun. แปลว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส
    Boat ride (โบท ไรด์) noun. แปลว่า การนั่งเรือ
    River (ริเวอร์) noun. แปลว่า แม่น้ำ
    View (วิว) noun. แปลว่า วิว, ทัศนียภาพ
    Explore (เอ็กซพลอร์) verb. แปลว่า สำรวจ
    Nearby (เนียร์บาย) adj. แปลว่า ที่อยู่ใกล้
    https://www.youtube.com/watch?v=y3AD4iT_C5c บทสนทนาท่องเที่ยวประเทศไทยบนเครื่องบิน (คลิกอ่านเพิ่มเติม เพื่ออ่านบทสนทนาภาษาอังกฤษและไทย และคำศัพท์น่ารู้) แบบทดสอบการฟังภาษาอังกฤษ จากบทสนทนาท่องเที่ยวประเทศไทยบนเครื่องบิน มีคำถาม 5 ข้อหลังฟังเสร็จ เพื่อทดสอบการฟังภาษาอังกฤษของคุณ #conversations #listeningtest #basiclistening The conversations from the clip : Girl : Hi there! Are you traveling to Bangkok too? Boy : Yes, I am! It’s my first time visiting. How about you? Girl : I’ve been there a couple of times. It’s a great city! What are you planning to do there? Boy : I’m really excited to visit the temples and explore the markets. Any recommendations? Girl : Definitely visit the Grand Palace and Wat Pho. The Reclining Buddha is amazing! Boy : That sounds incredible! I also heard the street food in Bangkok is famous. Girl : Oh, you’re in for a treat! You must try pad thai and mango sticky rice. They’re delicious! Boy : I can’t wait! How’s the traffic in Bangkok? I’ve heard it can be pretty crazy. Girl : Yeah, it can be busy, especially during rush hour. But using the BTS Skytrain or taking a boat ride is a great way to avoid it. Boy : Good to know! I was thinking of taking a boat tour along the river. Girl : That’s a great idea! The Chao Phraya River has some beautiful views of the city. Boy : I’m looking forward to it! How long are you staying in Bangkok? Girl : Just for a few days before I head to Chiang Mai. How about you? Boy : I’ll be in Bangkok for a week, then I might explore some nearby islands. Girl : That sounds amazing! You’ll have a great time. Girl: สวัสดี! คุณกำลังเดินทางไปกรุงเทพฯ ด้วยใช่ไหม? Boy: ใช่แล้ว! นี่เป็นครั้งแรกที่ผมไปเที่ยวกรุงเทพฯ แล้วคุณล่ะ? Girl: ฉันเคยไปมาแล้วสองสามครั้ง มันเป็นเมืองที่ยอดเยี่ยม! คุณมีแผนจะทำอะไรที่นั่นบ้าง? Boy: ผมตื่นเต้นมากที่จะได้ไปเยี่ยมชมวัดและสำรวจตลาด คุณมีที่ไหนแนะนำบ้างไหม? Girl: คุณต้องไปเยี่ยมชมพระบรมมหาราชวังและวัดโพธิ์แน่นอน พระพุทธไสยาสน์น่าทึ่งมาก! Boy: ฟังดูน่าอัศจรรย์มาก! ผมยังได้ยินมาว่าอาหารริมทางที่กรุงเทพฯ มีชื่อเสียงมาก Girl: โอ้! คุณจะได้ลองของอร่อยแน่ ๆ คุณต้องลองผัดไทยและข้าวเหนียวมะม่วง มันอร่อยมาก! Boy: ผมรอไม่ไหวแล้ว! การจราจรในกรุงเทพฯ เป็นยังไงบ้าง? ผมได้ยินว่ามันอาจจะวุ่นวายมาก Girl: ใช่ มันอาจจะหนาแน่น โดยเฉพาะช่วงชั่วโมงเร่งด่วน แต่การใช้รถไฟฟ้าบีทีเอสหรือการนั่งเรือเป็นวิธีที่ดีในการหลีกเลี่ยง Boy: ดีที่รู้แบบนี้! ผมกำลังคิดว่าจะไปล่องเรือชมแม่น้ำ Girl: นั่นเป็นความคิดที่ดี! แม่น้ำเจ้าพระยามีวิวสวย ๆ ของเมือง Boy: ผมตั้งตารอเลย! คุณจะอยู่กรุงเทพฯ นานแค่ไหน? Girl: แค่ไม่กี่วันก่อนที่ฉันจะไปเชียงใหม่ แล้วคุณล่ะ? Boy: ผมจะอยู่กรุงเทพฯ สักหนึ่งสัปดาห์ แล้วอาจจะไปสำรวจเกาะใกล้เคียง Girl: ฟังดูเยี่ยมเลย! คุณต้องสนุกมากแน่ ๆ Vocabulary (คำศัพท์น่ารู้) Temple (เทมเพิล) noun. แปลว่า วัด Market (มาร์เก็ต) noun. แปลว่า ตลาด Recommendation (เร็คเคอะเมนเดชัน) noun. แปลว่า คำแนะนำ Reclining Buddha (รีคลายนิง บุดด้า) noun. แปลว่า พระพุทธไสยาสน์ Street food (สตรีท ฟู้ด) noun. แปลว่า อาหารริมทาง Famous (เฟมัส) adj. แปลว่า มีชื่อเสียง Delicious (ดิลิชัส) adj. แปลว่า อร่อย Traffic (แทรฟฟิก) noun. แปลว่า การจราจร Rush hour (รัช เอาเออร์) noun. แปลว่า ชั่วโมงเร่งด่วน BTS Skytrain (บีทีเอส สกายเทรน) noun. แปลว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส Boat ride (โบท ไรด์) noun. แปลว่า การนั่งเรือ River (ริเวอร์) noun. แปลว่า แม่น้ำ View (วิว) noun. แปลว่า วิว, ทัศนียภาพ Explore (เอ็กซพลอร์) verb. แปลว่า สำรวจ Nearby (เนียร์บาย) adj. แปลว่า ที่อยู่ใกล้
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts