• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มรรคมีองค์แปดให้ผลอย่างเครื่องจักร
    สัทธรรมลำดับที่ : 984
    ชื่อบทธรรม :- มรรคมีองค์แปดรวมอยู่ในพรหมจรรย์ตลอดสาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=984
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมัคคพรหมจรรย์ ให้ผลอย่างเครื่องจักร
    --ภูมิชะ ! ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง จะเป็นสมณะหรือพราหมณ์ก็ตาม เป็นผู้ที่
    มีความเห็นถูกต้อง มีความมุ่งหมายถูกต้อง (ปัญญา)​
    มีการพูดจาถูกต้อง มีการทำงานถูกต้อง มีการดำรงชีพถูกต้อง (ศีล)​
    มีความพยายามถูกต้อง มีความระลึกถูกต้อง มีความตั้งจิตมั่นไว้อย่างถูกต้อง; (สมาธิ)​
    ชนเหล่านั้น ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผล ก็ต้องได้รับผล;
    http://etipitaka.com/read/pali/14/280/?keywords=พฺรหฺมจริยํ

    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล;
    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ ทั้งโดยหวังผลและไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล ;
    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผลก็มิใช่ ไม่หวังผลก็มิใช่ ก็ยังต้องได้รับผล.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุแห่งการได้รับผลนั้น เป็นสิ่งที่เขาทั้งหลายเหล่านั้น
    ได้ทำแล้วโดยรากเหง้า (โยนิโส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/280/?keywords=โยนิโส

    --ภูมิชะ ! เช่นเดียวกับบุรุษผู้ต้องการน้ำมัน เสาะหาน้ำมัน เที่ยวแสวงหาน้ำมัน อยู่,
    เขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำแล้วคั้นเรื่อยไป ;
    แม้บุรุษนั้น ทำความหวัง....
    ทำความไม่หวัง....
    ทั้งทำความหวังและความไม่หวัง....
    ทั้งทำความหวังก็หามิได้ ความไม่หวังก็หามิได้ ก็ตาม,
    เมื่อเขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำ
    แล้วคั้นอยู่เรื่อยไป บุรุษนั้นก็ต้องได้น้ำมันอยู่เอง.
    ข้อนี้เพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุแห่งการได้น้ำมันนั้น เป็นสิ่งที่บุรุษนั้นได้ทำแล้ว
    โดยลึกซึ้งแยบคาย ฉันใดก็ฉันนั้น.

    (ทรงให้อุปมาทำนองนี้อีกสามข้อ คือ
    บุรุษผู้ ต้องการน้ำนม รีดน้ำนมจากนมแม่โคลูกอ่อน,
    บุรุษผู้ ต้องการเนย ปั่นเนยจากนมที่หมักเป็นเยื่อแล้ว,
    บุรุษที่ ต้องการไฟ สีไฟจากไม้แห้ง, ก็ย่อมได้ผลตามที่ตนต้องการ.
    แม้จะทำความหวังหรือความไม่หวังก็ตาม ผลนั้น ๆ ก็ย่อมมีให้เอง
    เพราะได้มีการกระทำที่ถูกต้องลงไปแล้ว).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/219/414.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/219/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๒๗๙/๔๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=984
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=984
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มรรคมีองค์แปดให้ผลอย่างเครื่องจักร สัทธรรมลำดับที่ : 984 ชื่อบทธรรม :- มรรคมีองค์แปดรวมอยู่ในพรหมจรรย์ตลอดสาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=984 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมัคคพรหมจรรย์ ให้ผลอย่างเครื่องจักร --ภูมิชะ ! ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง จะเป็นสมณะหรือพราหมณ์ก็ตาม เป็นผู้ที่ มีความเห็นถูกต้อง มีความมุ่งหมายถูกต้อง (ปัญญา)​ มีการพูดจาถูกต้อง มีการทำงานถูกต้อง มีการดำรงชีพถูกต้อง (ศีล)​ มีความพยายามถูกต้อง มีความระลึกถูกต้อง มีความตั้งจิตมั่นไว้อย่างถูกต้อง; (สมาธิ)​ ชนเหล่านั้น ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผล ก็ต้องได้รับผล; http://etipitaka.com/read/pali/14/280/?keywords=พฺรหฺมจริยํ ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ ทั้งโดยหวังผลและไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล ; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผลก็มิใช่ ไม่หวังผลก็มิใช่ ก็ยังต้องได้รับผล. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุแห่งการได้รับผลนั้น เป็นสิ่งที่เขาทั้งหลายเหล่านั้น ได้ทำแล้วโดยรากเหง้า (โยนิโส). http://etipitaka.com/read/pali/14/280/?keywords=โยนิโส --ภูมิชะ ! เช่นเดียวกับบุรุษผู้ต้องการน้ำมัน เสาะหาน้ำมัน เที่ยวแสวงหาน้ำมัน อยู่, เขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำแล้วคั้นเรื่อยไป ; แม้บุรุษนั้น ทำความหวัง.... ทำความไม่หวัง.... ทั้งทำความหวังและความไม่หวัง.... ทั้งทำความหวังก็หามิได้ ความไม่หวังก็หามิได้ ก็ตาม, เมื่อเขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำ แล้วคั้นอยู่เรื่อยไป บุรุษนั้นก็ต้องได้น้ำมันอยู่เอง. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุแห่งการได้น้ำมันนั้น เป็นสิ่งที่บุรุษนั้นได้ทำแล้ว โดยลึกซึ้งแยบคาย ฉันใดก็ฉันนั้น. (ทรงให้อุปมาทำนองนี้อีกสามข้อ คือ บุรุษผู้ ต้องการน้ำนม รีดน้ำนมจากนมแม่โคลูกอ่อน, บุรุษผู้ ต้องการเนย ปั่นเนยจากนมที่หมักเป็นเยื่อแล้ว, บุรุษที่ ต้องการไฟ สีไฟจากไม้แห้ง, ก็ย่อมได้ผลตามที่ตนต้องการ. แม้จะทำความหวังหรือความไม่หวังก็ตาม ผลนั้น ๆ ก็ย่อมมีให้เอง เพราะได้มีการกระทำที่ถูกต้องลงไปแล้ว).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/219/414. http://etipitaka.com/read/thai/14/219/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๒๗๙/๔๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/14/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=984 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=984 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มรรคมีองค์แปดรวมอยู่ในพรหมจรรย์ตลอดสาย
    -(ผู้รวบรวมหนังสือเล่มนี้ ชี้ให้ผู้ศึกษาเห็นว่า :-) มรรคมีองค์แปดรวมอยู่ในพรหมจรรย์ตลอดสาย ๑. สัมมาทิฏฐิ คือกุลบุตรฟังธรรม จนเกิดสัมมาทิฏฐิในอาสวักขยกรรมทั้งหลาย. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๐ บรรทัดที่ ๑๓ เป็นต้นไป). ๒. สัมมาสังกัปโป คือกุลบุตรอยากบวช แล้วออกบวช. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๐ บรรทัดที่ ๑๔ เป็นต้นไป). ๓. สัมมาวาจา คือกุลบุตรมีการพูดซึ่งเว้นจากวจีทุจริตและเดรัจฉานกถาทั้งหลาย. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๑ บรรทัดที่ ๑๗ เป็นต้นไป). ๔. สัมมากัมมันโต คือกุลบุตรเว้นจากกรรมอันเป็นอกุศล. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๑ บรรทัดที่ ๑๐ เป็นต้นไป). ๕. สัมมาอาชีโว คือกุลบุตรเว้นจากการหาเลี้ยงชีพด้วยเดรัจฉานวิชา และมีสันโดษเป็นต้น. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวก ท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๒ บรรทัดที่ ๑๑ เป็นต้นไป). ๖. สัมมาวายาโม คือกุลบุตรทำความเพียรอยู่ในที่ทุกสถานทั้งหลับและตื่น ตามหลักแห่งการทำความเพียรทั่วไป. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๕๓ บรรทัดที่ ๕ เป็นต้นไป). ๗. สัมมาสติ คือกุลบุตรมีสติสัมปชัญญะ. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๕๑ บรรทัดที่ ๑๑ เป็นต้นไป). ๘. สัมมาสมาธิ คือกุลบุตรตั้งต้นเจริญสมาธิและได้รูปฌาณสี่. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๕๓ บรรทัดที่ ๕ เป็นต้นไป ). อัฏฐังคิกมัคคพรหมจรรย์ ให้ผลอย่างเครื่องจักร ภูมิชะ ! ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง จะเป็นสมณะหรือพราหมณ์ก็ตาม เป็นผู้ที่ มีความเห็นถูกต้อง มีความมุ่งหมายถูกต้อง มีการพูดจาถูกต้อง มีการทำงานถูกต้อง มีการดำรงชีพถูกต้อง มีความพยายามถูกต้อง มีความระลึกถูกต้อง มีความตั้งจิตมั่นไว้อย่างถูกต้อง; ชนเหล่านั้น ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผล ก็ต้องได้รับผล; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยไม่หวังผล ก็ ต้องได้รับผล; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ ทั้งโดยหวังผลและไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล ; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผลก็มิใช่ ไม่หวังผลก็มิใช่ ก็ยังต้องได้รับผล. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุแห่งการได้รับผลนั้น เป็นสิ่งที่เขาทั้งหลายเหล่านั้น ได้ทำแล้วโดยรากเหง้า (โยนิโส). ภูมิชะ ! เช่นเดียวกับบุรุษผู้ต้องการน้ำมัน เสาะหาน้ำมัน เที่ยวแสวงหาน้ำมัน อยู่, เขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำแล้วคั้นเรื่อยไป ; แม้บุรุษนั้น ทำความหวัง.... ทำความไม่หวัง.... ทั้งทำความหวังและความไม่หวัง.... ทั้งทำความหวังก็หามิได้ ความไม่หวังก็หามิได้ ก็ตาม, เมื่อเขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำ แล้วคั้นอยู่เรื่อยไป บุรุษนั้นก็ต้องได้น้ำมันอยู่เอง. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุแห่งการได้น้ำมันนั้น เป็นสิ่งที่บุรุษนั้นได้ทำแล้ว โดยลึกซึ้งแยบคาย ฉันใดก็ฉันนั้น. (ทรงให้อุปมาทำนองนี้อีกสามข้อ คือ บุรุษผู้ ต้องการน้ำนม รีดน้ำนมจากนมแม่โคลูกอ่อน, บุรุษผู้ ต้องการเนย ปั่นเนยจากนมที่หมักเป็นเยื่อแล้ว, บุรุษที่ ต้องการไฟ สีไฟจากไม้แห้ง, ก็ย่อมได้ผลตามที่ตนต้องการ. แม้จะทำความหวังหรือความไม่หวังก็ตาม ผลนั้น ๆ ก็ย่อมมีให้เอง เพราะได้มีการกระทำที่ถูกต้องลงไปแล้ว).
    0 Comments 0 Shares 12 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 616
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:-
    )​
    เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ;
    การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ;
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ;
    เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;.
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
    ).

    --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่.
    พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว
    ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :-
    --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ?
    --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ;
    เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ;
    เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้.
    --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 616 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:- )​ เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น ). --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :- --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164. http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า :-) เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประจวบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น). โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า : ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? .... ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.
    0 Comments 0 Shares 14 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 217
    ชื่อบทธรรม :- ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า.
    อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ?
    อุปาทานขันธ์ห้าคือ
    รูปูปาทานขันธ์
    เวทนูปาทานขันธ์
    สัญญูปาทานขันธ์
    สังขารูปาทานขันธ์
    วิญญาญูปาทานขันธ์.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือทุกข์.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1679.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=217

    สัทธรรมลำดับที่ : 218
    ชื่อบทธรรม : -ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ นั้นแหละ เรากล่าวว่า เป็นทุกข์.
    อุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่าไหนเล่า ?
    ห้าคือ
    อุปาทานขันธ์คือ รูป,
    อุปาทานขันธ์คือ เวทนา,
    อุปาทานขันธ์คือสัญญา,
    อุปาทานขันธ์คือ สังขาร, และ
    อุปาทานขันธ์คือ วิญญาณ .
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เรียกว่า #ทุกข์.-

    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/150/280.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/150/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๓/๒๘๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=218
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=218

    สัทธรรมลำดับที่ : 219
    ชื่อบทธรรม : -ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้
    เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่ ทุกข์นั้นเป็น อย่างไร พระเจ้าข้า ?”
    --ราธะ !
    รูป แล เป็นทุกข์,
    เวทนา เป็นทุกข์,
    สัญญา เป็นทุกข์,
    สังขาร ท. เป็นทุกข์,
    วิญญาณ เป็นทุกข์.
    --ราธะ ! อริยสาวกผู้ได้สดับ เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย
    แม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขารท้งหลาย แม้ในวิญญาณ.-​

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/198/381.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔๐/๓๘๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/240/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=219
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=219
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 217 ชื่อบทธรรม :- ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217 เนื้อความทั้งหมด :- --ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า. อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ? อุปาทานขันธ์ห้าคือ รูปูปาทานขันธ์ เวทนูปาทานขันธ์ สัญญูปาทานขันธ์ สังขารูปาทานขันธ์ วิญญาญูปาทานขันธ์. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือทุกข์.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1679. http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=217 สัทธรรมลำดับที่ : 218 ชื่อบทธรรม : -ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์ เนื้อความทั้งหมด :- --ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ทุกข์เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ นั้นแหละ เรากล่าวว่า เป็นทุกข์. อุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ อุปาทานขันธ์คือ รูป, อุปาทานขันธ์คือ เวทนา, อุปาทานขันธ์คือสัญญา, อุปาทานขันธ์คือ สังขาร, และ อุปาทานขันธ์คือ วิญญาณ . +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เรียกว่า #ทุกข์.- อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/150/280. http://etipitaka.com/read/thai/17/150/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๓/๒๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=218 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=218 สัทธรรมลำดับที่ : 219 ชื่อบทธรรม : -ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) เนื้อความทั้งหมด :- --ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่ ทุกข์นั้นเป็น อย่างไร พระเจ้าข้า ?” --ราธะ ! รูป แล เป็นทุกข์, เวทนา เป็นทุกข์, สัญญา เป็นทุกข์, สังขาร ท. เป็นทุกข์, วิญญาณ เป็นทุกข์. --ราธะ ! อริยสาวกผู้ได้สดับ เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขารท้งหลาย แม้ในวิญญาณ.-​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/198/381. http://etipitaka.com/read/thai/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔๐/๓๘๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/240/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=219 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=219 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    -ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า. อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ? อุปาทานขันธ์ห้าคือ รูปูปาทานขันธ์ เวทนูปาทานขันธ์ สัญญูปาทานขันธ์ สังขารูปาทานขันธ์ วิญญาญูปาทานขันธ์. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือทุกข์.
    0 Comments 0 Shares 11 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 216
    ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์,
    และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์”
    ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง
    ความเกิด เป็นทุกข์,
    ความแก่ เป็นทุกข์,
    ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์,
    ความตาย เป็นทุกข์,
    ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์,
    ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ;
    กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่,
    ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่,
    ที่คลายช้า มีอยู่,
    และที่คลายเร็ว มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้
    ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว
    ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ;
    หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า
    “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น
    ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 216 ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 เนื้อความทั้งหมด :- ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒
    -นิทเทศ ๒ ว่าด้วยทุกข์สรุปในปัญจุปาทานักขันธ์ จบ นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ (มี ๑๘ เรื่อง) หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ความเป็นต่างกันของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ผลของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 12 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 983
    ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน.
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย
    --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว,
    สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้
    เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ
    ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา
    มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
    ย่อม เป็น #สกทาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน
    มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา
    มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา
    ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว
    เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 983 ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็น #สกทาคามี http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234. http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.
    0 Comments 0 Shares 76 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 615
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
    “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ
    เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้”
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/103/252.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=615
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 615 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/103/252. http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=615 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่เพียงว่า ในสูตรข้างบนนี้ ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, เท่านั้น).
    -(ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่เพียงว่า ในสูตรข้างบนนี้ ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, เท่านั้น). อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 53 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 213
    ชื่อบทธรรม :- ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง,
    พวกเธอพึง #ละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป ไม่เที่ยง,
    เวทนา ไม่เที่ยง,
    สัญญา ไม่เที่ยง,
    สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และ
    วิญญาณ ไม่เที่ยง.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/337.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=213

    สัทธรรมลำดับที่ : 214
    ชื่อบทธรรม :- พวกเธอพึงละฉันทราคะในขันธ์ห้า
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นทุกข์,
    พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นทุกข์ ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูปเป็นทุกข์,
    เวทนาเป็นทุกข์,
    สัญญา เป็นทุกข์,
    สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, และ
    วิญญาณ เป็นทุกข์.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นทุกข์ พวกเธอพึง ละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๘/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=214
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=214

    สัทธรรมลำดับที่ : 215
    ชื่อบทธรรม : สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอพึงละฉันทราคะ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พวกเธอพึง ละฉันทราคะในเบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นอนัตตา,
    พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นอนัตตา ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นอนัตตา,
    เวทนา เป็นอนัตตา,
    สัญญา เป็นอนัตตา,
    สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, และ
    วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นอนัตตา พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/341.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/218/341.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=215
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=215
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 213 ชื่อบทธรรม :- ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213 เนื้อความทั้งหมด :- --ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง, พวกเธอพึง #ละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ? --ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, เวทนา ไม่เที่ยง, สัญญา ไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และ วิญญาณ ไม่เที่ยง. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/337. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=213 สัทธรรมลำดับที่ : 214 ชื่อบทธรรม :- พวกเธอพึงละฉันทราคะในขันธ์ห้า เนื้อความทั้งหมด :- ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นทุกข์, พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นทุกข์ ? --ภิกษุ ท. ! รูปเป็นทุกข์, เวทนาเป็นทุกข์, สัญญา เป็นทุกข์, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, และ วิญญาณ เป็นทุกข์. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นทุกข์ พวกเธอพึง ละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/338. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๘/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=214 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=214 สัทธรรมลำดับที่ : 215 ชื่อบทธรรม : สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอพึงละฉันทราคะ เนื้อความทั้งหมด :- --พวกเธอพึง ละฉันทราคะในเบญจขันธ์เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นอนัตตา ? --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, เวทนา เป็นอนัตตา, สัญญา เป็นอนัตตา, สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, และ วิญญาณ เป็นอนัตตา. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นอนัตตา พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/341. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/218/341. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=215 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=215 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    -ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง, พวกเธอพึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ? ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, เวทนา ไม่เที่ยง, สัญญา ไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และวิญญาณ ไม่เที่ยง. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.
    0 Comments 0 Shares 57 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 212
    ชื่อบทธรรม :- เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป,
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด #เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=ทุกฺขํ+อภินนฺทติ
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/30/64.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/30/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๓๙/๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติ่ม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=212
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 212 ชื่อบทธรรม :- เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212 เนื้อความทั้งหมด :- --เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป, ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด #เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=ทุกฺขํ+อภินนฺทติ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/30/64. http://etipitaka.com/read/thai/17/30/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๓๙/๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติ่ม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=212 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    -เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป, ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 52 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 982
    ชื่อบทธรรม :- จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=982
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์
    --ภิกษุ ท. !
    พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ลาภสักการะและเสียงเยินยอ เป็นอานิสงส์,
    พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอานิสงส์,
    พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถึงพร้อมด้วยสมาธิ เป็นอานิสงส์,
    พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถีงพร้อมด้วยญาณทัสสนะ เป็นอานิสงส์.
    --ภิกษุ ท. ! ก็ #เจโตวิมุตติ ที่ไม่กำเริบอันใด มีอยู่, พรหมจรรย์นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/12/373/?keywords=เจโตวิมุตฺติ
    มีเจโตวิมุตตินั่นแหละ เป็นประโยชน์ที่มุ่งหมาย
    มีเจโตวิมุตินั่นแหละ เป็นแก่นสาร
    มีเจโตวิมุตตินั่นแหละ เป็นผลสุดท้ายของพรหมจรรย์
    แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/263/352.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/263/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๗๓/๓๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/373/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=982
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=982
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 982 ชื่อบทธรรม :- จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=982 เนื้อความทั้งหมด :- --จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์ --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ลาภสักการะและเสียงเยินยอ เป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถึงพร้อมด้วยสมาธิ เป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถีงพร้อมด้วยญาณทัสสนะ เป็นอานิสงส์. --ภิกษุ ท. ! ก็ #เจโตวิมุตติ ที่ไม่กำเริบอันใด มีอยู่, พรหมจรรย์นี้ http://etipitaka.com/read/pali/12/373/?keywords=เจโตวิมุตฺติ มีเจโตวิมุตตินั่นแหละ เป็นประโยชน์ที่มุ่งหมาย มีเจโตวิมุตินั่นแหละ เป็นแก่นสาร มีเจโตวิมุตตินั่นแหละ เป็นผลสุดท้ายของพรหมจรรย์ แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/263/352. http://etipitaka.com/read/thai/12/263/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๗๓/๓๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/12/373/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=982 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=982 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์
    -จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์ ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์นี้ มิใช่มีลาภสักการะและเสียงเยินยอเป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มีความถึงพร้อมด้วยศีลเป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้มิใช่มีความถึงพร้อมด้วยสมาธิเป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มีความถีงพร้อมด้วยญาณทัสสนะเป็นอานิสงส์. ภิกษุ ท. ! ก็เจโตวิมุตติที่ไม่กำเริบอันใด มีอยู่, พรหมจรรย์นี้มี เจโตวิมุตตินั่นแหละเป็นประโยชน์ที่มุ่งหมาย มีเจโตวิมุตินั่นแหละเป็นแก่นสาร มีเจโตวิมุตตินั่นแหละเป็นผลสุดท้ายของพรหมจรรย์ แล.
    0 Comments 0 Shares 75 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 614
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกปริยายหนึ่ง)
    --อาการดับแห่งความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ
    ตัณหาย่อมดับ.
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.-

    (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน”
    ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92
    เท่านั้น).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 614 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกปริยายหนึ่ง) --อาการดับแห่งความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.- (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92 เท่านั้น). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198. http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร].
    -[ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร]. อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่ง ชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.
    0 Comments 0 Shares 85 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา
    สัทธรรมลำดับที่ : 211
    ชื่อบทธรรม :- ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้.
    ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา
    ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง
    ย่อมไม่รู้จักรูป,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ;
    เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ;
    เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ;
    เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และ
    เขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ.
    --ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘#อวิชชา’
    http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=อวิชฺชา
    และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/156/300.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/156/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๘/๓๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=211
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา สัทธรรมลำดับที่ : 211 ชื่อบทธรรม :- ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211 เนื้อความทั้งหมด :- --ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้. ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ย่อมไม่รู้จักรูป, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ; เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ; เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ; เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และ เขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ. --ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘#อวิชชา’ http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=อวิชฺชา และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/156/300. http://etipitaka.com/read/thai/17/156/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๘/๓๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=211 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา
    -ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้. ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ย่อมไม่รู้จักรูป, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ; เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ; เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ; เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และเขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ. ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘อวิชชา’ และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 67 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    สัทธรรมลำดับที่ : 981
    ชื่อบทธรรม : -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    --ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว
    สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท.

    ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ
    http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=อรหนฺโต+ขีณาสวา
    อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว
    มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว
    มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น
    เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท.
    ข้อนี้เพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุว่า #กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาทเธอทำเสร็จแล้ว และ
    เธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป.

    ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ
    มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ
    ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่;
    +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้
    จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร
    จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร
    จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย
    ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า
    ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน
    ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนโดยชอบ
    ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาท
    ข้อนี้สำหรับภิกษุนี้อยู่ #จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/178/229.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/178/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๒๘/๒๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=981
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก สัทธรรมลำดับที่ : 981 ชื่อบทธรรม : -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981 เนื้อความทั้งหมด :- --ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก --ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=อรหนฺโต+ขีณาสวา อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า #กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาทเธอทำเสร็จแล้ว และ เธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป. ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่; +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้ จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนโดยชอบ ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาท ข้อนี้สำหรับภิกษุนี้อยู่ #จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/178/229. http://etipitaka.com/read/thai/13/178/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๒๘/๒๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=981 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท เธอทำเสร็จแล้ว และเธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป. ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์ ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่; ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้ จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือน โดยชอบ ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาทข้อนี้ สำหรับภิกษุนี้อยู่ จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 112 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 613
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง-วิญญาณย่อมไม่มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=อาทีนวานุปสฺสิโน
    เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/90/222.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๐/๒๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=613
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 613 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง-วิญญาณย่อมไม่มี. http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=อาทีนวานุปสฺสิโน เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/90/222. http://etipitaka.com/read/thai/16/90/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๑๐/๒๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/16/110/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=613 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=613 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ อยู่, การหยั่งลงแห่ง วิญญาณย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    0 Comments 0 Shares 90 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    สัทธรรมลำดับที่ : 209
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+กุกฺกุฬํ
    เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑,
    และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑.
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+นิพฺพินฺทติ
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา,
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา,
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ.

    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น.
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=วิมุตฺตมิติ+ญาณํ
    รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
    แล.-
    *--๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/172/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/172/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=209
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง สัทธรรมลำดับที่ : 209 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+กุกฺกุฬํ เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑, และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง*--๑. --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป, http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=รูป+นิพฺพินฺทติ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ. เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น. เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=วิมุตฺตมิติ+ญาณํ รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี แล.- *--๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/172/334. http://etipitaka.com/read/thai/17/172/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=209 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=209 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
    -เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง ภิกษุ ท. ! รูป เป็นกองถ่านเถ้ารึง,๑ เวทนา เป็นกองถ่านเถ้ารึง, สัญญา เป็นกองถ่านเถ้ารึง, สังขารทั้งหลาย เป็นกองถ่านเถ้ารึง, และวิญญาณ เป็นกองถ่านเถ้ารึง. ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้ยินได้ฟัง เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน ๑. ถ่านเถ้ารึง คือ ไฟถ่านที่ซ่อนอยู่ใต้ขี้เถ้าร้อน. สัญญา, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขารทั้งหลาย, และย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน วิญญาณ แล.
    0 Comments 0 Shares 84 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 980
    ชื่อบทธรรม :-คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?
    และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แลคือพรหมจรรย์;
    กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ !
    ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย)
    ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย)
    ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย)
    : นี้คือ #ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/7/29 - 30.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/7/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๙/๒๙ - ๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=980
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 980 ชื่อบทธรรม :-คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้ http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ? และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แลคือพรหมจรรย์; กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ! ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย) ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย) ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย) : นี้คือ #ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/7/29 - 30. http://etipitaka.com/read/thai/19/7/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๙/๒๙ - ๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=980 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    -(ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔). ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ, ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ; ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย. ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐) ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ. ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒) ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ). หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้ พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ? และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แล คือพรหมจรรย์; กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ! ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย) ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย) ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย) : นี้คือ ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.
    0 Comments 0 Shares 126 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 612
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=612
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทินิโรธา+อุปาทานนิโรโธ
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง รูป... ).-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/14/29.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙/๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=612
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=612
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 612 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=612 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทินิโรธา+อุปาทานนิโรโธ เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง รูป... ).- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/14/29. http://etipitaka.com/read/thai/17/14/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙/๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=612 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=612 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป).
    0 Comments 0 Shares 120 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าภาระหรือของหนักคือยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ห้า
    สัทธรรมลำดับที่ : 207
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=207
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงภาระ (ของหนัก)... แก่พวกเธอ.
    เธอทั้งหลาย จงฟังข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นของหนัก ?
    --ภิกษุ ท. ! อุปาทานขันธ์ทั้งห้า นั้นแหละ #เรากล่าวว่าเป็นของหนัก.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ภารนิกฺเขปนญฺจ
    ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ
    ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ รูป,
    ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ เวทนา,
    ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สัญญา,
    ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สังขาร,
    และขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ วิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ของหนัก แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/25/49.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/25/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๔๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=207
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=207
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าภาระหรือของหนักคือยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ห้า สัทธรรมลำดับที่ : 207 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=207 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงภาระ (ของหนัก)... แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นของหนัก ? --ภิกษุ ท. ! อุปาทานขันธ์ทั้งห้า นั้นแหละ #เรากล่าวว่าเป็นของหนัก. http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=ภารนิกฺเขปนญฺจ ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สังขาร, และขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ของหนัก แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/25/49. http://etipitaka.com/read/thai/17/25/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๒/๔๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/32/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=207 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=207 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก
    -เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงภาระ (ของหนัก)... แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นของหนัก ? ภิกษุ ท. ! อุปาทานขันธ์ทั้งห้า นั้นแหละ เรากล่าวว่าเป็นของหนัก. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ สังขาร, และขันธ์อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่นคือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า ของหนัก แล.
    0 Comments 0 Shares 92 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
    สัทธรรมลำดับที่ : 206
    ชื่อบทธรรม :- เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=206
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา.
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นอนัตตา,
    รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็น อัตตาได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา.
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นอนัตตา,
    เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา.
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นอนัตตา,
    สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา.
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัยเพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นอนัตตา,
    สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/30/?keywords=วิญฺญาณ+อนตฺตา
    ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นอนัตตา,
    วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/23/47.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/23/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๐/๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/30/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=206
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=206
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา สัทธรรมลำดับที่ : 206 ชื่อบทธรรม :- เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=206 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นอนัตตา, รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็น อัตตาได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นอนัตตา, เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นอนัตตา, สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัยเพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นอนัตตา, สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/30/?keywords=วิญฺญาณ+อนตฺตา ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นอนัตตา, วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/23/47. http://etipitaka.com/read/thai/17/23/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๐/๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/30/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=206 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=206 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
    -เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นอนัตตา, รูป ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็น อัตตาได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของเวทนา ก็เป็นอนัตตา, เวทนา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของสัญญา ก็เป็นอนัตตา, สัญญา ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัยเพื่อการบังเกิดขึ้นของสังขารทั้งหลาย ก็เป็นอนัตตา, สังขาร ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. ถึงแม้เหตุ แม้ปัจจัย เพื่อการบังเกิดขึ้นของวิญญาณ ก็เป็นอนัตตา, วิญญาณ ที่เกิดจากเหตุปัจจัย อันเป็นอนัตตาแล้ว จักเป็นอัตตาได้อย่างไร แล.
    0 Comments 0 Shares 83 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ใน ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 979
    ชื่อบทธรรม :- ธรรม-อธรรม-อรรถ-อนรรถ ที่ควรทราบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรม(ความเป็นจริงแท้)​-อธรรม(ควา​มไม่จริงแท้)​
    --อรรถ(ความเป็นประโยชน์)​-อนรรถ(ความไม่เป็นประโยชน์)​ ที่ควรทราบ
    --ภิกษุ ท. !
    อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว
    บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ?
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=อธมฺโม+อนตฺโถ

    --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ?
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=ธมฺโม+อตฺโถ

    --ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า
    “ภิกษุ ท. !
    อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว
    บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ”
    ดังนี้.-

    (--
    ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ,
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ;
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และ
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย.

    --ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/273/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และ
    ทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ.

    --ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/281/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%92
    ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ
    แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ
    แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ
    และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ
    --).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/192/113.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/192/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๘/๑๑๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=979
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ใน ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ สัทธรรมลำดับที่ : 979 ชื่อบทธรรม :- ธรรม-อธรรม-อรรถ-อนรรถ ที่ควรทราบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรม(ความเป็นจริงแท้)​-อธรรม(ควา​มไม่จริงแท้)​ --อรรถ(ความเป็นประโยชน์)​-อนรรถ(ความไม่เป็นประโยชน์)​ ที่ควรทราบ --ภิกษุ ท. ! อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ. --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ? มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=อธมฺโม+อนตฺโถ --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ? สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=ธมฺโม+อตฺโถ --ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ท. ! อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ” ดังนี้.- (-- ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔). http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ, ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ; ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และ ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย. --ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐) http://etipitaka.com/read/pali/24/273/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และ ทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ. --ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒) http://etipitaka.com/read/pali/24/281/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%92 ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ --). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/192/113. http://etipitaka.com/read/thai/24/192/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๘/๑๑๓. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=979 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ
    -ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ ภิกษุ ท. ! อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติตามที่เป็นธรรมตามที่เป็นอรรถ. ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ? มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ. ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ? สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ. ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ท. ! อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติตามที่เป็นธรรมตามที่เป็นอรรถ” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 137 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 611
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    --ภิกษุ ท. !
    เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ;
    เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/5/18.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๕/๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=611
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ สัทธรรมลำดับที่ : 611 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ --ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.- http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/5/18. http://etipitaka.com/read/thai/16/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๕/๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=611 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=611 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์
    -อาการดับแห่งทุกข์โดยสมบูรณ์ ภิกษุ ท. ! เพราะ ความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชานั้น นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล. ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 125 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงเรียนรู้ว่าผลการศึกษาแห่งอริยบุคคลทั้งหลายจักมีเพื่อประโยชน์
    สัทธรรมลำดับที่ : 205
    ชื่อบทธรรม :- ผลการศึกษาแห่งอริยบุคคลทั้งหลายจักมีเพื่อประโยชน์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=205
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้,
    สิ่งใดมิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย,
    สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/279/?keywords=ทีฆรตฺตํ+หิตาย+สุขาย
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มิใช่ของพวกเธอ ?
    +--ภิกษุ ท. ! รูป มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละรูปนั้นเสีย ;
    รูปนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    +--ภิกษุ ท. ! เวทนา มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละเวทนานั้นเสีย ;
    เวทนานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    +--ภิกษุ ท. ! สัญญา มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละสัญญานั้นเสีย ;
    สัญญานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    +--ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละสังขารทั้งหลายเหล่านั้นเสีย ;
    สังขารทั้งหลายเหล่านั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละวิญญาณนั้นเสีย ;
    วิญญาณนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจะสำคัญ ความข้อนี้ว่าอย่างไร ?
    คือข้อที่หญ้าไม้ กิ่งไม้และใบไม้ ใด ๆ มีอยู่ ในเชตวันนี้,
    เมื่อคนเขาขนเอามันไปก็ตามเผาเสียก็ตาม
    หรือกระทำตามความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม ;
    พวกเธอเคยเกิดความคิดอย่างนี้บ้างหรือไม่ ว่า
    “คนเขาขนเอาเราไปบ้าง
    เขาเผาเราบ้าง
    เขาทำแก่เราตามความปรารถนาของเขาบ้าง”
    ดังนี้ ?
    --“ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !”
    ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ?
    “เพราะเหตุว่านั่น หาได้เป็น ตัวตน
    หรือของเนื่องด้วยตัวตน ของข้าพระองค์ไม่ พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น,
    คือ สิ่งใด มิใช่ของพวกเธอ,
    พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย ;
    สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว
    #จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน
    http://etipitaka.com/read/pali/12/280/?keywords=หิตาย+สุขาย+ภวิสฺสติ
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/194/287
    http://etipitaka.com/read/thai/12/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๗๙/๒๘๗
    http://etipitaka.com/read/pali/12/279/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=205
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=205
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงเรียนรู้ว่าผลการศึกษาแห่งอริยบุคคลทั้งหลายจักมีเพื่อประโยชน์ สัทธรรมลำดับที่ : 205 ชื่อบทธรรม :- ผลการศึกษาแห่งอริยบุคคลทั้งหลายจักมีเพื่อประโยชน์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=205 เนื้อความทั้งหมด :- --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, สิ่งใดมิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย, สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. http://etipitaka.com/read/pali/12/279/?keywords=ทีฆรตฺตํ+หิตาย+สุขาย --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มิใช่ของพวกเธอ ? +--ภิกษุ ท. ! รูป มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละรูปนั้นเสีย ; รูปนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. +--ภิกษุ ท. ! เวทนา มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละเวทนานั้นเสีย ; เวทนานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. +--ภิกษุ ท. ! สัญญา มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสัญญานั้นเสีย ; สัญญานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. +--ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสังขารทั้งหลายเหล่านั้นเสีย ; สังขารทั้งหลายเหล่านั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. +--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละวิญญาณนั้นเสีย ; วิญญาณนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจะสำคัญ ความข้อนี้ว่าอย่างไร ? คือข้อที่หญ้าไม้ กิ่งไม้และใบไม้ ใด ๆ มีอยู่ ในเชตวันนี้, เมื่อคนเขาขนเอามันไปก็ตามเผาเสียก็ตาม หรือกระทำตามความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม ; พวกเธอเคยเกิดความคิดอย่างนี้บ้างหรือไม่ ว่า “คนเขาขนเอาเราไปบ้าง เขาเผาเราบ้าง เขาทำแก่เราตามความปรารถนาของเขาบ้าง” ดังนี้ ? --“ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ? “เพราะเหตุว่านั่น หาได้เป็น ตัวตน หรือของเนื่องด้วยตัวตน ของข้าพระองค์ไม่ พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, คือ สิ่งใด มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย ; สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว #จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน http://etipitaka.com/read/pali/12/280/?keywords=หิตาย+สุขาย+ภวิสฺสติ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/194/287 http://etipitaka.com/read/thai/12/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๗๙/๒๘๗ http://etipitaka.com/read/pali/12/279/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=205 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=205 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, สิ่งใดมิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย, สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มิใช่ของพวกเธอ ?
    -ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, สิ่งใดมิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย, สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่า มิใช่ของพวกเธอ ? ภิกษุ ท. ! รูป มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละรูปนั้นเสีย ; รูปนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! เวทนา มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละเวทนานั้นเสีย ; เวทนานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! สัญญา มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสัญญานั้นเสีย ; สัญญานั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสังขารทั้งหลายเหล่านั้นเสีย ; สังขารทั้งหลายเหล่านั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละวิญญาณนั้นเสีย ; วิญญาณนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน. ภิกษุ ท. ! พวกเธอจะสำคัญ ความข้อนี้ว่าอย่างไร ? คือข้อที่หญ้าไม้ กิ่งไม้และใบไม้ ใด ๆ มีอยู่ ในเชตวันนี้, เมื่อคนเขาขนเอามันไปก็ตามเผาเสียก็ตาม หรือกระทำตามความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม ; พวกเธอเคยเกิดความคิดอย่างนี้บ้างหรือไม่ ว่า “คนเขาขนเอาเราไปบ้าง เขาเผาเราบ้าง เขาทำแก่เราตามความปรารถนาของเขาบ้าง” ดังนี้ ? “ข้อนั้น หามิได้ พระเจ้าข้า !” ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ? “เพราะเหตุว่านั่น หาได้เป็น ตัวตน หรือของเนื่องด้วยตัวตน ของข้าพระองค์ไม่ พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น, คือ สิ่งใด มิใช่ของพวกเธอ, พวกเธอจงละสิ่งนั้นเสีย ; สิ่งนั้น อันพวกเธอละได้แล้ว จักเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่พวกเธอเอง ตลอดกาลนาน แล.
    0 Comments 0 Shares 132 Views 0 Reviews
  • อาริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอนัตตรัตนสูตร
    สัทธรรมลำดับที่ : 204
    ชื่อบทธรรม :- อนัตตรัตนสูตร
    (อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=รูป+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ;
    อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า
    ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา
    รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า
    ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด,
    รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=เวทนา+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า
    ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนาเป็นอนัตตา
    เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า
    ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สญฺญา+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า
    ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญาเป็นอนัตตา
    สัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า
    ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สงฺขาร+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า
    ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา
    สังขารทั้งหลาย จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า
    ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=วิญฺญาณํ+อนตฺตา
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้
    วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า
    ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา
    วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ;
    อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า
    ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด,
    วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้,
    รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. !
    สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่
    จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม,
    วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/64-66/127-129.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒-๘๔/๑๒๗-๑๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=204
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อาริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอนัตตรัตนสูตร สัทธรรมลำดับที่ : 204 ชื่อบทธรรม :- อนัตตรัตนสูตร (อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204 เนื้อความทั้งหมด :- --อาริยสาวกที่ศึกษาด้วยดีแล้วก็จะมีจิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น. --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=รูป+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=เวทนา+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนาเป็นอนัตตา เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สญฺญา+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญาเป็นอนัตตา สัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=สงฺขาร+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา สังขารทั้งหลาย จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. http://etipitaka.com/read/pali/17/83/?keywords=วิญฺญาณํ+อนตฺตา +--ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/64-66/127-129. http://etipitaka.com/read/thai/17/64/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒-๘๔/๑๒๗-๑๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/82/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=204 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=204 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้.
    -ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้ารูป จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปนี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ (ความถูกเบียดเบียนด้วยโรคเป็นต้น) ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ รูปเป็นอนัตตา รูป จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ย่อมไม่ได้ในรูปตามปรารถนาว่า ‘รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด, รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าเวทนา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ เวทนานี้ ก็ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์จะพึงได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ เวทนา เป็นอนัตตา เวทนา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามปรารถนาว่า ‘เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าสัญญา จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สัญญานี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ สัญญา เป็นอนัตตาสัญญา จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสัญญาตามปรารถนาว่า ‘สัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าสังขารทั้งหลายจักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สังขารทั้งหลายเหล่านี้ ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา สังขารทั้งหลายจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามปรารถนาว่า ‘สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา. ภิกษุ ท. ! ถ้าวิญญาณ จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ จะพึงได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! แต่เพราะเหตุที่ วิญญาณเป็นอนัตตา วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ ; อนึ่ง สัตว์ ย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามปรารถนาว่า ‘วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด, วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย’ ดังนี้. .... ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้, รูป ชนิดใดชนิดหนึ่งมีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, รูปทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, เวทนาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สัญญาทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, สังขารทั้งหลายทั้งปวงเหล่านั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม, วิญญาณทั้งปวงนั้น อันใคร ๆ พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า ‘นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา’ ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 120 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีล
    สัทธรรมลำดับที่ : 978
    ชื่อบทธรรม :- เมื่อตีความคำบัญญัติผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ
    ...
    (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า
    “--ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง
    เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้.
    สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้
    ๑.ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑
    ๒.ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑
    ๓.ย่อมไม่ดำริความดำริอันเป็นบาป ๑
    ๔.ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.”
    --ช่างไม้(ถปติ)ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น
    เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :-
    )​
    --ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ
    ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง
    เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้.
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก).
    +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น
    แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว
    จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน
    อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่.
    --ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ
    จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม
    อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร.
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง

    http://etipitaka.com/read/pali/13/344/?keywords=ปริพฺพาชก
    (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า
    ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง
    ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้
    อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้าง
    เท่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/264-266/358-360.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/264/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๔๓-๓๔๕/๓๕๘-๓๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/343/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=978
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีล สัทธรรมลำดับที่ : 978 ชื่อบทธรรม :- เมื่อตีความคำบัญญัติผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978 เนื้อความทั้งหมด :- --เมื่อตีความคำบัญญัติผิด-แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ ... (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า “--ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้. สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้ ๑.ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑ ๒.ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑ ๓.ย่อมไม่ดำริความดำริอันเป็นบาป ๑ ๔.ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.” --ช่างไม้(ถปติ)ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :- )​ --ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้. +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก). +--ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่. --ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร. --ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง http://etipitaka.com/read/pali/13/344/?keywords=ปริพฺพาชก (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้ อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้าง เท่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/264-266/358-360. http://etipitaka.com/read/thai/13/264/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๔๓-๓๔๕/๓๕๘-๓๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/13/343/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=978 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=978 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เมื่อตีความคำบัญญัติผิด
    -เมื่อตีความคำบัญญัติผิด แม้ทารกนอนเบาะก็มีศีลโดยอัตโนมัติ (อุคคาหมานปริพพาชก ได้กล่าวกะช่างไม้ชื่อปัญจกังคะว่า “ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ว่าเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้. สี่อย่างอย่างไรเล่า? สี่อย่างคือ บุคคลในกรณีนี้ ย่อมไม่กระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกาย ๑ ย่อมไม่กล่าววาจาอันเป็นบาป ๑ ย่อมไม่ดำริ ความดำริอันเป็นบาป ๑ ย่อมไม่เลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาป ๑.” ช่างไม้ไม่ยินดีไม่คัดค้านถ้อยคำนั้น เข้าไปเฝ้าแล้วกราบทูลข้อความนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าทุกประการ. ตรัสว่า :-) ถปติ ! ถ้าเป็นอย่างที่ปริพพาชกนั้นกล่าวแล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ ก็จะกลายเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ไปเสีย. ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “กายๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มีแล้ว จักกระทำกรรมอันเป็นบาปด้วยกายได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงกลิ้งไปกลิ้งมาอยู่บนเบาะ. ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “วาจาๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี แล้ว จักกล่าววาจาอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงส่งเสียงร้องไห้. ถปติ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักว่า “ดำริๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี. แล้ว จักดำริความดำริอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากก็เพียงแสดงอาการอึดอัด (ตามประสาเด็ก). ถปติ ! สำหรับเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะนั้น แม้แต่ความรู้จักที่ว่า “อาชีพๆ” ดังนี้ ก็ยังมิได้มี. แล้ว จักเลี้ยงชีวิตด้วยอาชีพอันเป็นบาปได้แต่ที่ไหน อย่างมากทำได้ก็แต่เพียงกินนมแม่. ถปติ ! เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว เด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะ จักเป็นผู้มีกุศลสมบูรณ์ มีกุศลอย่างยิ่ง เป็นสมณผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดม อันใครๆรบให้แพ้ไม่ได้ ดังคำกล่าวของอุคคาหมานปริพพาชกนั้นได้อย่างไร. ถปติ ! เราบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่าง (ตามที่อุคคาหมานปริพพาชกกล่าวนั้น) ว่า ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลสมบูรณ์ ยังไม่ใช่ผู้มีกุศลอย่างยิ่ง ยังไม่ใช่สมณะผู้บรรลุถึงการบรรลุอันอุดมอันใครๆ รบให้แพ้ไม่ได้ อย่างมาก บุคคลนั้นเพียงแต่จะดีกว่าเด็กอ่อนนอนหงายอยู่บนเบาะบ้างเท่านั้น.
    0 Comments 0 Shares 152 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    สัทธรรมลำดับที่ : 610
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    --มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
    อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
    เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่.
    ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้.
    เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ.
    +--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า
    “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ”
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี
    ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี
    ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี
    ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ
    ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี
    ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป
    ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
    ).-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป สัทธรรมลำดับที่ : 610 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป --มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่. ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้. เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ. +--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ” http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น ).- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69. http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
    -อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่. ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้. เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ. มิคชาละ ! เรากล่าวว่า “ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี เพราะความดับแห่งนันทิ” ดังนี้. (ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    0 Comments 0 Shares 142 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    สัทธรรมลำดับที่ : 203
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=รูป+อนตฺตา
    บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา,
    บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า
    “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา”
    http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+เมโส+อตฺตาติ
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/22/44.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๒๘/๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=203
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14
    ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเบญจขันธ์เป็นอนัตตา สัทธรรมลำดับที่ : 203 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์เป็นอนัตตา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์เป็นอนัตตา --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=รูป+อนตฺตา บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” http://etipitaka.com/read/pali/17/29/?keywords=เนตํ+มม+เนโสหมสฺมิ+เมโส+อตฺตาติ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/22/44. http://etipitaka.com/read/thai/17/22/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๒๘/๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/28/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=203 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14&id=203 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=14 ลำดับสาธยายธรรม : 14 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_14.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    -เบญจขันธ์เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นรูปนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล. ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นเวทนานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสัญญานั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา, นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอนัตตา, บุคคล พึงเห็นวิญญาณนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ว่า “นั่น ไม่ใช่ของเรา, นั่น ไม่ใช่เรา. นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา” ดังนี้ แล.
    0 Comments 0 Shares 124 Views 0 Reviews
More Results