• แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ที่หมดอายุการใช้งานอาจมีบทบาทสำคัญในการ จัดเก็บพลังงานสำหรับบ้านหรือแม้แต่เมือง หากผู้ผลิตแบตเตอรี่เปิดเผยข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับสุขภาพและองค์ประกอบของแบตเตอรี่

    ปัจจุบัน EV กว่า 17 ล้านคันถูกขายทั่วโลกในปีที่ผ่านมา และคาดว่าตัวเลขจะเพิ่มขึ้นเป็น 20 ล้านคันในปีนี้ ส่งผลให้เกิดความท้าทายใหม่เกี่ยวกับ การจัดการแบตเตอรี่ที่หมดอายุ ซึ่งโดยเฉลี่ยมีอายุการใช้งาน 12-15 ปี แต่ข้อมูลจริงชี้ว่าอาจใช้งานได้นานกว่านั้นถึง 40%

    นักวิจัยระบุว่า แบตเตอรี่ EV ที่หมดอายุยังคงมีพลังงานเหลืออยู่ และสามารถนำไปใช้กับ ยานพาหนะขนาดเล็ก, บ้าน หรือแม้แต่เมือง หากมีการเชื่อมต่อกันเป็นระบบ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพแบตเตอรี่ยังคงเข้าถึงได้ยาก เนื่องจากผู้ผลิตมักไม่เปิดเผยข้อมูลนี้

    ✅ ศักยภาพของแบตเตอรี่ EV ที่หมดอายุ
    - สามารถใช้กับ ยานพาหนะขนาดเล็ก, บ้าน หรือแม้แต่เมือง
    - อายุการใช้งานเฉลี่ย 12-15 ปี แต่บางกรณีอาจนานกว่านั้นถึง 40%

    ✅ ปัญหาการเข้าถึงข้อมูลแบตเตอรี่
    - ผู้ผลิตมักไม่เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ สุขภาพแบตเตอรี่และองค์ประกอบทางเคมี
    - ทำให้การประเมินความสามารถในการนำกลับมาใช้ใหม่เป็นเรื่องยาก

    ✅ ความท้าทายในการรีไซเคิลแบตเตอรี่
    - แบตเตอรี่ EV มีแร่ธาตุสำคัญ เช่น นิกเกิล, โคบอลต์, ลิเธียม และแมงกานีส
    - การรีไซเคิลแบตเตอรี่ต้องใช้พลังงานสูงและกระบวนการทางเคมีที่ซับซ้อน

    ✅ แนวทางแก้ไขที่กำลังดำเนินการ
    - แคลิฟอร์เนียออกกฎหมายในปี 2021 บังคับให้ผู้ผลิตเปิดเผยข้อมูลแบตเตอรี่แก่ผู้รีไซเคิล
    - สหภาพยุโรปจะบังคับใช้ "Digital Passport" สำหรับแบตเตอรี่ EV ตั้งแต่ปี 2027

    https://www.techspot.com/news/107733-used-ev-batteries-could-power-vehicles-houses-or.html
    แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ที่หมดอายุการใช้งานอาจมีบทบาทสำคัญในการ จัดเก็บพลังงานสำหรับบ้านหรือแม้แต่เมือง หากผู้ผลิตแบตเตอรี่เปิดเผยข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับสุขภาพและองค์ประกอบของแบตเตอรี่ ปัจจุบัน EV กว่า 17 ล้านคันถูกขายทั่วโลกในปีที่ผ่านมา และคาดว่าตัวเลขจะเพิ่มขึ้นเป็น 20 ล้านคันในปีนี้ ส่งผลให้เกิดความท้าทายใหม่เกี่ยวกับ การจัดการแบตเตอรี่ที่หมดอายุ ซึ่งโดยเฉลี่ยมีอายุการใช้งาน 12-15 ปี แต่ข้อมูลจริงชี้ว่าอาจใช้งานได้นานกว่านั้นถึง 40% นักวิจัยระบุว่า แบตเตอรี่ EV ที่หมดอายุยังคงมีพลังงานเหลืออยู่ และสามารถนำไปใช้กับ ยานพาหนะขนาดเล็ก, บ้าน หรือแม้แต่เมือง หากมีการเชื่อมต่อกันเป็นระบบ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพแบตเตอรี่ยังคงเข้าถึงได้ยาก เนื่องจากผู้ผลิตมักไม่เปิดเผยข้อมูลนี้ ✅ ศักยภาพของแบตเตอรี่ EV ที่หมดอายุ - สามารถใช้กับ ยานพาหนะขนาดเล็ก, บ้าน หรือแม้แต่เมือง - อายุการใช้งานเฉลี่ย 12-15 ปี แต่บางกรณีอาจนานกว่านั้นถึง 40% ✅ ปัญหาการเข้าถึงข้อมูลแบตเตอรี่ - ผู้ผลิตมักไม่เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ สุขภาพแบตเตอรี่และองค์ประกอบทางเคมี - ทำให้การประเมินความสามารถในการนำกลับมาใช้ใหม่เป็นเรื่องยาก ✅ ความท้าทายในการรีไซเคิลแบตเตอรี่ - แบตเตอรี่ EV มีแร่ธาตุสำคัญ เช่น นิกเกิล, โคบอลต์, ลิเธียม และแมงกานีส - การรีไซเคิลแบตเตอรี่ต้องใช้พลังงานสูงและกระบวนการทางเคมีที่ซับซ้อน ✅ แนวทางแก้ไขที่กำลังดำเนินการ - แคลิฟอร์เนียออกกฎหมายในปี 2021 บังคับให้ผู้ผลิตเปิดเผยข้อมูลแบตเตอรี่แก่ผู้รีไซเคิล - สหภาพยุโรปจะบังคับใช้ "Digital Passport" สำหรับแบตเตอรี่ EV ตั้งแต่ปี 2027 https://www.techspot.com/news/107733-used-ev-batteries-could-power-vehicles-houses-or.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    Used EV batteries could power vehicles, houses or even towns – if their manufacturers share vital data
    Around the world, more and more electric vehicles are hitting the road. Last year, more than 17 million battery-electric and hybrid vehicles were sold. Early forecasts suggest...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 0 รีวิว
  • อเมริกาหวานเจี๊ยบ!!! เซเลนสกียืนยัน ข้อตกลงแร่ธาตุกับสหรัฐฯ 'เท่าเทียมกันอย่างแท้จริง'
    https://www.thai-tai.tv/news/18488/
    อเมริกาหวานเจี๊ยบ!!! เซเลนสกียืนยัน ข้อตกลงแร่ธาตุกับสหรัฐฯ 'เท่าเทียมกันอย่างแท้จริง' https://www.thai-tai.tv/news/18488/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 70 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชัดเจนแล้วว่าสหรัฐยังคงทำสงครามกับรัสเซียผ่านยูเครนต่อไป แม้ว่าที่ผ่านมาประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐ จะอ้างว่าต้องการยุติความขัดแย้งก็ตาม

    ข้อตกลงแร่หายากที่สหรัฐทำกับยูเครน จะรวมถึงการเสนอขายอาวุธมูลค่าหลายสิบล้านดอลลาร์ นอกเหนือไปจากสัญญาที่จัดทำขึ้นไว้ก่อนแล้วเมื่อช่วงต้นปีนี้โดยผู้ผลิตอาวุธในสหรัฐกับชาติในยุโรป ซึ่งจะโอนอาวุธของสหรัฐให้กับยูเครน

    การเจรจาที่ผ่านมาของสหรัฐที่พวกเขาพยายามแสร้งเป็น "คนกลาง" เป็นเพียงกลอุบายที่ต้องการบีบยูเครนให้ยอมทำข้อตกลงแร่ธาตุเท่านั้น

    พีท เฮกเซธ รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ เคยกล่าวไว้เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปีนี้ว่าเป้าหมายของสหรัฐคือการระงับ(freeze) ความขัดแย้งระหว่างยูเครน-รัสเซียเท่านั้น ไม่ใช่ยุติ (end) ความขัดแย้ง เพื่อมอบหมายให้ยุโรปเข้ามาดำเนินการแทน โดยสหรัฐจะย้ายเป้าหมายไปสร้างความขัดแย้งที่คล้ายคลึงกันกับจีน-ไต้หวันในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกแทน
    ชัดเจนแล้วว่าสหรัฐยังคงทำสงครามกับรัสเซียผ่านยูเครนต่อไป แม้ว่าที่ผ่านมาประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐ จะอ้างว่าต้องการยุติความขัดแย้งก็ตาม ข้อตกลงแร่หายากที่สหรัฐทำกับยูเครน จะรวมถึงการเสนอขายอาวุธมูลค่าหลายสิบล้านดอลลาร์ นอกเหนือไปจากสัญญาที่จัดทำขึ้นไว้ก่อนแล้วเมื่อช่วงต้นปีนี้โดยผู้ผลิตอาวุธในสหรัฐกับชาติในยุโรป ซึ่งจะโอนอาวุธของสหรัฐให้กับยูเครน การเจรจาที่ผ่านมาของสหรัฐที่พวกเขาพยายามแสร้งเป็น "คนกลาง" เป็นเพียงกลอุบายที่ต้องการบีบยูเครนให้ยอมทำข้อตกลงแร่ธาตุเท่านั้น พีท เฮกเซธ รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ เคยกล่าวไว้เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปีนี้ว่าเป้าหมายของสหรัฐคือการระงับ(freeze) ความขัดแย้งระหว่างยูเครน-รัสเซียเท่านั้น ไม่ใช่ยุติ (end) ความขัดแย้ง เพื่อมอบหมายให้ยุโรปเข้ามาดำเนินการแทน โดยสหรัฐจะย้ายเป้าหมายไปสร้างความขัดแย้งที่คล้ายคลึงกันกับจีน-ไต้หวันในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกแทน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 249 มุมมอง 0 รีวิว
  • วอชิงตันโพสต์แสดงความเห็นไว้ว่าแร่ธาตุที่ดีที่สุดของยูเครนส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่ในดินแดนส่วนที่เป็นยูเครน แต่เป็นในภูมิภาคใหม่ทั้งสี่ที่ผนวกเข้ารัสเซีย และยังไม่ชัดเจนว่าต้นทุนในการขุดแร่ธาตุเหล่านี้จะมีราคาถูกพอที่จะแข่งขันกับจีนได้หรือไม่

    ทางด้าน ทัลซี แกบบาร์ด ผู้อำนวยการหน่วยข่าวกรองแห่งชาติของสหรัฐฯ กล่าวถึงข้อตกลงเรื่องแร่หายากของยูเครนว่า ถือเป็นหนึ่งในการ "ชำระหนี้" จากเงินช่วยเหลือด้านทหารที่มีต่อยูเครนในรัฐบาลไบเดนมูลค่า 350,000 ล้านดอลลาร์

    ขณะเดียวกัน เมื่อคืนที่ผ่านมาเซเลนสกียืนยันว่า รัฐบาลของเขาลงนามความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับสหรัฐอเมริกาแล้วและจะส่งเรื่องต่อไปยัง Verkhovna Rada (รัฐสภายูเครน) เพื่อรับรองโดยจะไม่ให้มีความล่าช้าใดๆเกิดขึ้น สิ่งนี้ยืนยันได้อย่างดีว่า "สหรัฐกลายเป็นเจ้าของทางเศรษฐกิขยูเครนอย่างไม่มีกำหนด"
    วอชิงตันโพสต์แสดงความเห็นไว้ว่าแร่ธาตุที่ดีที่สุดของยูเครนส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่ในดินแดนส่วนที่เป็นยูเครน แต่เป็นในภูมิภาคใหม่ทั้งสี่ที่ผนวกเข้ารัสเซีย และยังไม่ชัดเจนว่าต้นทุนในการขุดแร่ธาตุเหล่านี้จะมีราคาถูกพอที่จะแข่งขันกับจีนได้หรือไม่ ทางด้าน ทัลซี แกบบาร์ด ผู้อำนวยการหน่วยข่าวกรองแห่งชาติของสหรัฐฯ กล่าวถึงข้อตกลงเรื่องแร่หายากของยูเครนว่า ถือเป็นหนึ่งในการ "ชำระหนี้" จากเงินช่วยเหลือด้านทหารที่มีต่อยูเครนในรัฐบาลไบเดนมูลค่า 350,000 ล้านดอลลาร์ ขณะเดียวกัน เมื่อคืนที่ผ่านมาเซเลนสกียืนยันว่า รัฐบาลของเขาลงนามความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับสหรัฐอเมริกาแล้วและจะส่งเรื่องต่อไปยัง Verkhovna Rada (รัฐสภายูเครน) เพื่อรับรองโดยจะไม่ให้มีความล่าช้าใดๆเกิดขึ้น สิ่งนี้ยืนยันได้อย่างดีว่า "สหรัฐกลายเป็นเจ้าของทางเศรษฐกิขยูเครนอย่างไม่มีกำหนด"
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
  • เมล็ดฟักทองอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ไขมันดี และแร่ธาตุ ประโยชน์ที่เป็นไปได้จากการรับประทานเมล็ดฟักทอง ได้แก่ เสริมสร้างสุขภาพกระดูก สุขภาพทางเพศ และระบบภูมิคุ้มกัน ผู้คนมักเรียกเมล็ดฟักทองว่า “pepitas” ซึ่งเป็นภาษาสเปนแปลว่า “เมล็ดสควอชเล็ก ๆ” ขับถ่ายพยาธิฯ
    เมล็ดฟักทองอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ไขมันดี และแร่ธาตุ ประโยชน์ที่เป็นไปได้จากการรับประทานเมล็ดฟักทอง ได้แก่ เสริมสร้างสุขภาพกระดูก สุขภาพทางเพศ และระบบภูมิคุ้มกัน ผู้คนมักเรียกเมล็ดฟักทองว่า “pepitas” ซึ่งเป็นภาษาสเปนแปลว่า “เมล็ดสควอชเล็ก ๆ” ขับถ่ายพยาธิฯ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 47 มุมมอง 0 รีวิว
  • แม่น้ำกกป่วยเพราะสารพิษหนักเกินค่ามาตรฐานสูงสุด 19 เท่าใครจะเป็นหมอรักษา (ตอนที่ 5)
    .................
    มหากาพย์แร่หายากกำลังเป็นฝีแตกในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพราะทำให้แม่น้ำกก แม่น้ำสาย และจะส่งผลต่อแม่น้ำโขงป่วยหนักขึ้น การบริโภค การใช้แม่น้ำที่มีวิญญาณของความเป็นแม่ ถูกความโลภ อำนาจ เผาผลาญ และเอากากความความโลภทิ้งลงแม่น้ำ แล้วทุนแร่หายากในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงแห่งนี้กำลังสร้างตำนานซ้ำซากที่เกิดขึ้นในแอฟริกา เป็นกระบวนการถลุงแร่ธาตุ เพื่อให้เป็นเลือด
    .................
    สัญญาณแรก ประมงจังหวัดเชียงราย แถลงเมื่อ 25 เม.ย.68 ระบุพบปลากลุ่มตัวอย่างพบโลหะหนัก เช่น สารหนูและปรอท ไม่เกินค่ามาตรฐาน ก็อาจจะไม่ให้เราเบาใจและปล่อยปละละเลย และแสดงความกังวลว่าปลาลดน้อยลงมาก เพราะแม่น้ำเสื่อมโทรม ตั้งแต่ความตื้นเขิน น้ำมีตะกอนดินทั้งปี

    สัญญาณที่สอง สำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 1 (เชียงใหม่) ก็หวั่น ๆ ว่า ผลสรุปการตรวจสอบคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน้ำแม่น้ำกก บริเวณ อ.แม่อาย และอ.เมือง จ.เชียงราย พบมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินเพื่อปกป้องสัตว์หน้าดิน อาจจะเกิดอันตรายต่อสัตว์หน้าดินที่เป็นอาหารของสัตว์น้ำ เช่น ปลา จะทำให้จำนวนหรือประเภทของสัตว์หน้าดินลดลง ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศลดลง สัตว์น้ำลดจำนวนลง และชาวบ้านจับสัตว์น้ำได้น้อยลง แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ที่กินสัตว์น้ำ แต่ไม่แน่ว่าหากมีการสะสมในปลา ถ้าชาวบ้านบริโภคปลาเป็นจำนวนมากและเป็นประจำ อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย เช่น ชาที่ปลายมือปลายเท้า (ไข้ดำ: ผิวหนังหนาและเข้ม) มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ

    สัญญาณที่สาม 30 เมษายน ผลตรวจสารหนูเบื้องต้นในแม่น้ำ อ.แม่สาย - อ.เชียงแสน จังหวัดเชียงราย พบเกินค่ามาตรฐานสูงสุด 19 เท่า มีหมายเหตุ ผลดังกล่าวเป็นเพียงผลการตรวจเบื้องต้นทางทีมวิจัยจะนำตัวอย่างน้ำส่งตรวจใน Lab มาตรฐานต่อไป
    .................
    แรงกระเพื่อมต่อถึงทำเนียบ นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานการประชุม ติดตามสถานการณ์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสารปนเปื้อนเกินค่ามาตรฐานในแม่น้ำกก ณ ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล องค์ประชุมประกอบด้วย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม และกระทรวงการต่างประเทศ

    ในการประชุม กระจายหน้าที่แต่ละกระทรวง กระทรวงมหาดไทย เร่งสั่งการการประปาส่วนภูมิภาค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการใช้น้ำดิบในการผลิตน้ำประปา พร้อมทั้งกำชับให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับข้อมูลสารปนเปื้อนในน้ำ แนวทางการกรองน้ำเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย รวมถึงการเร่งตรวจสอบแหล่งน้ำในพื้นที่อย่างเข้มข้น

    ประธานในการประชุมมีข้อสั่งการด้านการแก้ไขปัญหา 6 ประเด็น ดังนี้ 1. มอบหมายกระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติบูรณาการร่วมกัน เร่งประสานประเทศเพื่อนบ้าน ใช้กลไกความร่วมมือทุกระดับเพื่อควบคุมแหล่งกำเนิดภายนอกประเทศที่อาจส่งผลให้เกิดสารปนเปื้อนในแม่น้ำกก

    2. มอบหมายสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติใช้กลไกลุ่มน้ำโขงเหนือ บริหารจัดการปริมาณน้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศน์ เพิ่มน้ำต้นทุนเข้าสู่แม่น้ำกก

    3. มอบหมายกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ใช้นวัตกรรมดาวเทียม และเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ช่วยประเมินความขุ่น สารแขวนลอยในแม่น้ำกกทั้งในเขตประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน

    4. มอบหมายกระทรวงมหาดไทยสั่งการผู้ว่าราชการจังหวัดบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนและสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจไม่ให้ประชาชนตื่นตระหนก

    5. มอบหมายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข ติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนในแม่น้ำกก และลำน้ำสาขา การปนเปื้อนในสัตว์น้ำและการสะสมในร่างกายมนุษย์อย่างต่อเนื่อง

    6. มอบหมายกระทรวงอุตสาหกรรม จัดทำแนวทางการลดผลกระทบจากการทำเหมืองและประสานความร่วมมือในการเผยแพร่ให้ประเทศเพื่อนบ้านผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศ
    คำถามที่ท้าทาย จะปล่อยให้ภาวะสะสมเกิดกับประชาชนชาวเชียงราย และประชาชนลุ่มน้ำสาย กก โขงแบบนี้เรื่อย ๆ ใช่หรือไม่

    .................
    เสียงประชาชนต้องดังกว่านี้ เครือข่ายข้อมูลอุทกภัยแม่น้ำกก (ค.อ.ก) ก็ได้จัดเวทีความร่วมมือเตือนภัยน้ำกกหลากท่วมปี 2568 โดยมีนางเตือนใจ ดีเทศน์ หรือ “ครูแดง” ผู้ก่อตั้งมูลนิธิ พชภ. เป็นประธานการประชุม โดยมีองค์กรพัฒนาเอกชนที่ดำเนินงานในพื้นที่แม่น้ำกก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชุมแลกเปลี่ยนพร้อมนำเสนอ ถึงนายกรรัฐมนตรี

    1.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษข้ามพรมแดน โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ภาคประชาชน และนักวิชาการ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาทั้งในแหล่งกำเนิดมลพิษ ระหว่างทาง และผู้รับผลพิษ จัดตั้งศูนย์ตรวจสอบคุณภาพน้ำในจังหวัดเชียงราย
    2. เปิดเผยและซักซ้อมมาตรการรับมืออุทกภัยลุ่มน้ำกก และลุ่มน้ำสาย อย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วม และมีประสิทธิภาพ
    3. สร้างความร่วมมือกับประเทศเมียนมา หรือกองกำลังที่ดูแลในพื้นที่ เพื่อเพิ่มจุดเก็บตัวอย่างน้ำเพื่อตรวจสอบแหล่งที่มาของสารปนเปื้อน ตลอดลำน้ำกก น้ำสาย ทั้ง พื้นที่ต้นน้ำ ก่อนเหมืองในรัฐฉาน
    4 .สร้างระบบสื่อสารสาธารณะที่โปร่งใส เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน
    5. ขยายขอบเขตการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นการลุกล้ำหรือทำลายสิ่งแวดล้อม ตลอดลุ่มน้ำกกและลุ่มน้ำสาย
    6. เปิดการเจรจา 4 ฝ่ายคือ ไทย เมียนมา กองกำลังชาติพันธุ์ที่ควบคุมพื้นที่สัมปทานเหมือง และประเทศจีน เพื่อร่วมกันหาทางออกอย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบ

    สรุปคือการส่งเสียงว่ารัฐบาลจะต้องแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ การทำเหมืองทองต้องกระตุ้นให้หน่วยงานรัฐไปเจรจา ทุกฝ่ายร่วมกัน ทั้งฝ่ายความมั่นคง รัฐบาล สื่อมวลชน ชาวบ้าน ประเทศเพื่อนบ้าน ถ้าระดับประเทศแก้ไม่ได้ก็ต้องเป็นระดับอาเซียน ภูมิภาค หรือระดับนานาชาติร่วมกันแก้ไข ต้องคุยกับรัฐบาลพม่ารวมถึงรัฐบาลจีน เพราะเป็นพื้นที่ของกลุ่มว้า เป็นการเมืองระหว่างประเทศ

    เปิดพื้นที่ผ่านการเล่าเรื่องของแม่น้ำกกระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ สร้างความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับสิทธิของแม่น้ำ และ การเจรจาระหว่างรัฐกับธรรมชาติ ข้ามเขตแดนรัฐและแนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน (Transboundary Environmental Governance)”
    .................

    ดร.สืบสกุล กิจนุกร อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงกล่าวว่า รัฐบาลต้องใช้แนวคิดการทูตสิ่งแวดล้อมสร้างความร่วมมือแก้ปัญหามลพิษข้ามพรมแดนให้เป็นรูปธรรมมากที่สุด นอกจากนี้ต้องเสนอให้เมียนมาเข้าใจด้วยว่า เหมืองแร่อยู่ในเขตควบคุมของกองกำลังติดอาวุธชาติพันธุ์ที่การเจรจาสันติภาพในเมียนมา ต้องหยิบยกเอาประเด็นมลพิษข้ามพรมแดนเป็นส่วนหนึ่งของการเจรจาด้วย

    น.ส.เพียงพร ดีเทศน์ เลขาธิการมูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา(พชภ.) และผู้อำนวยการฝ่ายรณรงรงค์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ องค์กรแม่น้ำนานาชาติ (International Rivers) กล่าวว่า ทั้งแม่น้ำกกและแม่น้ำสายเป็นแม่น้ำระหว่างประเทศ โดยมีต้นน้ำอยู่ในเขตรัฐฉาน ประเทศพม่า การสร้างเหมืองทองที่บริเวณต้นน้ำ ทำให้ประชาชนและระบบนิเวศท้ายน้ำซึ่งอยู่ในประเทศไทยได้รับความเดือดร้อนกันถ้วนหน้า ดังนั้นรัฐบาลจึงต้องเร่งหาทางยุติการทำเหมืองและเปิดหน้าดินในวงกว้างให้ได้ เพราะนอกจากส่งผลในเรื่องการปนเปื้อนสารโลหะหนักลงแม่น้ำแล้ว ยังส่งผลต่ออุทกภัยที่มีดินโคลนปนมาด้วย กลายเป็นภัยพิบัติร้ายแรงที่คนท้ายน้ำต้องเผชิญและหวาดผวาอยู่ตลอดเวลา

    ก่อนหน้านี้กระแสกระเพื่อมขึ้นในพื้นที่ที่ดีมาก ที่ทาง พล.ท.ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร เลขานุการคณะกรรมการระดับสูงไทย-เมียนมา ร่วมรับฟังปัญหาสารโลหะหนักในแม่น้ำกกและแม่น้ำสาย

    เนื้อหาจึงเจาะประเด็นเชิงความมั่นคงทันทีในมิติของผลกระทบข้ามแดน ตามที่ได้นำเสนอในตอนต้น ๆ เป็นเรื่องของกระบวนการขุมเหมืองแร่สีเลือกเพื่อนำผลประโยชน์มาห่ำหั่นกันทางการเมือง ที่รัฐบาลทหารพม่า อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ต่าง ๆ ในรัฐฉาน ส่วนใหญ่จะเป็นนักลงทุนจีน แต่ก็มีประเทศออสเตรเลีย รัสเซีย และอิตาลีด้วย เหมืองทั้งหมดอยู่เหนือน้ำกก น้ำสาย น้ำรวก
    .................

    มิติทางแม่น้ำระหว่างประเทศ เป็นวิกฤติมลพิษข้ามแดนที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับฝุ่นควันข้ามแดน ที่มีปลายทางด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองอยู่เบื้องหลัง ต้องใช้เวลาเกลี่ย ล๊อบบี้ กดดัน การตีโอบ เพื่อกระทบ อันจะให้การกดดันทุน และอำนาจรัฐเข้ามาเร่งรัดจัดการปัญหาข้ามพรมแดนไมว่าจะเป็น การทำระบบบำบัดน้ำเสีย ที่ต้องเพิ่มต้นทุนก็ต้องทำ กรองน้ำที่มีสารหนูปนเปื้อน

    การให้ความสำคัญมิติ สาธารณสุข ด้านสิ่งแวดล้อม การเกษตร การสื่อสาร กับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสร้างสัมพันธ์และความเข้าใจนำไปสู่การแก้ไขปัญหา และเสนอให้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานทุกฝ่ายต่อการโต้ตอบเหตุสารเคมีปนเปื้อน เพื่อสื่อสารและการประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้เจ้ากรมกิจการชายแดนทหารได้รับฟังข้อมูลจากผู้เข้าร่วมให้ข้อมูลเพื่อนำไปศึกษาการจัดทำรายงานนำเสนอต้นสังกัดและรัฐบาลในการดำเนินการงานร่วมทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาต่อไป

    แม่น้ำกกป่วยเพราะสารพิษหนักเกินค่ามาตรฐานสูงสุด 19 เท่าใครจะเป็นหมอรักษา (ตอนที่ 5) ................. มหากาพย์แร่หายากกำลังเป็นฝีแตกในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เพราะทำให้แม่น้ำกก แม่น้ำสาย และจะส่งผลต่อแม่น้ำโขงป่วยหนักขึ้น การบริโภค การใช้แม่น้ำที่มีวิญญาณของความเป็นแม่ ถูกความโลภ อำนาจ เผาผลาญ และเอากากความความโลภทิ้งลงแม่น้ำ แล้วทุนแร่หายากในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงแห่งนี้กำลังสร้างตำนานซ้ำซากที่เกิดขึ้นในแอฟริกา เป็นกระบวนการถลุงแร่ธาตุ เพื่อให้เป็นเลือด ................. สัญญาณแรก ประมงจังหวัดเชียงราย แถลงเมื่อ 25 เม.ย.68 ระบุพบปลากลุ่มตัวอย่างพบโลหะหนัก เช่น สารหนูและปรอท ไม่เกินค่ามาตรฐาน ก็อาจจะไม่ให้เราเบาใจและปล่อยปละละเลย และแสดงความกังวลว่าปลาลดน้อยลงมาก เพราะแม่น้ำเสื่อมโทรม ตั้งแต่ความตื้นเขิน น้ำมีตะกอนดินทั้งปี สัญญาณที่สอง สำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 1 (เชียงใหม่) ก็หวั่น ๆ ว่า ผลสรุปการตรวจสอบคุณภาพตะกอนดินในแหล่งน้ำแม่น้ำกก บริเวณ อ.แม่อาย และอ.เมือง จ.เชียงราย พบมาตรฐานคุณภาพตะกอนดินเพื่อปกป้องสัตว์หน้าดิน อาจจะเกิดอันตรายต่อสัตว์หน้าดินที่เป็นอาหารของสัตว์น้ำ เช่น ปลา จะทำให้จำนวนหรือประเภทของสัตว์หน้าดินลดลง ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศลดลง สัตว์น้ำลดจำนวนลง และชาวบ้านจับสัตว์น้ำได้น้อยลง แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ที่กินสัตว์น้ำ แต่ไม่แน่ว่าหากมีการสะสมในปลา ถ้าชาวบ้านบริโภคปลาเป็นจำนวนมากและเป็นประจำ อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย เช่น ชาที่ปลายมือปลายเท้า (ไข้ดำ: ผิวหนังหนาและเข้ม) มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ สัญญาณที่สาม 30 เมษายน ผลตรวจสารหนูเบื้องต้นในแม่น้ำ อ.แม่สาย - อ.เชียงแสน จังหวัดเชียงราย พบเกินค่ามาตรฐานสูงสุด 19 เท่า มีหมายเหตุ ผลดังกล่าวเป็นเพียงผลการตรวจเบื้องต้นทางทีมวิจัยจะนำตัวอย่างน้ำส่งตรวจใน Lab มาตรฐานต่อไป ................. แรงกระเพื่อมต่อถึงทำเนียบ นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธานการประชุม ติดตามสถานการณ์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสารปนเปื้อนเกินค่ามาตรฐานในแม่น้ำกก ณ ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล องค์ประชุมประกอบด้วย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม และกระทรวงการต่างประเทศ ในการประชุม กระจายหน้าที่แต่ละกระทรวง กระทรวงมหาดไทย เร่งสั่งการการประปาส่วนภูมิภาค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการใช้น้ำดิบในการผลิตน้ำประปา พร้อมทั้งกำชับให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ บูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับข้อมูลสารปนเปื้อนในน้ำ แนวทางการกรองน้ำเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย รวมถึงการเร่งตรวจสอบแหล่งน้ำในพื้นที่อย่างเข้มข้น ประธานในการประชุมมีข้อสั่งการด้านการแก้ไขปัญหา 6 ประเด็น ดังนี้ 1. มอบหมายกระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติบูรณาการร่วมกัน เร่งประสานประเทศเพื่อนบ้าน ใช้กลไกความร่วมมือทุกระดับเพื่อควบคุมแหล่งกำเนิดภายนอกประเทศที่อาจส่งผลให้เกิดสารปนเปื้อนในแม่น้ำกก 2. มอบหมายสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติใช้กลไกลุ่มน้ำโขงเหนือ บริหารจัดการปริมาณน้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศน์ เพิ่มน้ำต้นทุนเข้าสู่แม่น้ำกก 3. มอบหมายกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ใช้นวัตกรรมดาวเทียม และเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ช่วยประเมินความขุ่น สารแขวนลอยในแม่น้ำกกทั้งในเขตประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน 4. มอบหมายกระทรวงมหาดไทยสั่งการผู้ว่าราชการจังหวัดบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนและสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจไม่ให้ประชาชนตื่นตระหนก 5. มอบหมายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข ติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนในแม่น้ำกก และลำน้ำสาขา การปนเปื้อนในสัตว์น้ำและการสะสมในร่างกายมนุษย์อย่างต่อเนื่อง 6. มอบหมายกระทรวงอุตสาหกรรม จัดทำแนวทางการลดผลกระทบจากการทำเหมืองและประสานความร่วมมือในการเผยแพร่ให้ประเทศเพื่อนบ้านผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศ คำถามที่ท้าทาย จะปล่อยให้ภาวะสะสมเกิดกับประชาชนชาวเชียงราย และประชาชนลุ่มน้ำสาย กก โขงแบบนี้เรื่อย ๆ ใช่หรือไม่ ................. เสียงประชาชนต้องดังกว่านี้ เครือข่ายข้อมูลอุทกภัยแม่น้ำกก (ค.อ.ก) ก็ได้จัดเวทีความร่วมมือเตือนภัยน้ำกกหลากท่วมปี 2568 โดยมีนางเตือนใจ ดีเทศน์ หรือ “ครูแดง” ผู้ก่อตั้งมูลนิธิ พชภ. เป็นประธานการประชุม โดยมีองค์กรพัฒนาเอกชนที่ดำเนินงานในพื้นที่แม่น้ำกก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชุมแลกเปลี่ยนพร้อมนำเสนอ ถึงนายกรรัฐมนตรี 1.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษข้ามพรมแดน โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ภาคประชาชน และนักวิชาการ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาทั้งในแหล่งกำเนิดมลพิษ ระหว่างทาง และผู้รับผลพิษ จัดตั้งศูนย์ตรวจสอบคุณภาพน้ำในจังหวัดเชียงราย 2. เปิดเผยและซักซ้อมมาตรการรับมืออุทกภัยลุ่มน้ำกก และลุ่มน้ำสาย อย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วม และมีประสิทธิภาพ 3. สร้างความร่วมมือกับประเทศเมียนมา หรือกองกำลังที่ดูแลในพื้นที่ เพื่อเพิ่มจุดเก็บตัวอย่างน้ำเพื่อตรวจสอบแหล่งที่มาของสารปนเปื้อน ตลอดลำน้ำกก น้ำสาย ทั้ง พื้นที่ต้นน้ำ ก่อนเหมืองในรัฐฉาน 4 .สร้างระบบสื่อสารสาธารณะที่โปร่งใส เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน 5. ขยายขอบเขตการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นการลุกล้ำหรือทำลายสิ่งแวดล้อม ตลอดลุ่มน้ำกกและลุ่มน้ำสาย 6. เปิดการเจรจา 4 ฝ่ายคือ ไทย เมียนมา กองกำลังชาติพันธุ์ที่ควบคุมพื้นที่สัมปทานเหมือง และประเทศจีน เพื่อร่วมกันหาทางออกอย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบ สรุปคือการส่งเสียงว่ารัฐบาลจะต้องแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ การทำเหมืองทองต้องกระตุ้นให้หน่วยงานรัฐไปเจรจา ทุกฝ่ายร่วมกัน ทั้งฝ่ายความมั่นคง รัฐบาล สื่อมวลชน ชาวบ้าน ประเทศเพื่อนบ้าน ถ้าระดับประเทศแก้ไม่ได้ก็ต้องเป็นระดับอาเซียน ภูมิภาค หรือระดับนานาชาติร่วมกันแก้ไข ต้องคุยกับรัฐบาลพม่ารวมถึงรัฐบาลจีน เพราะเป็นพื้นที่ของกลุ่มว้า เป็นการเมืองระหว่างประเทศ เปิดพื้นที่ผ่านการเล่าเรื่องของแม่น้ำกกระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ สร้างความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับสิทธิของแม่น้ำ และ การเจรจาระหว่างรัฐกับธรรมชาติ ข้ามเขตแดนรัฐและแนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน (Transboundary Environmental Governance)” ................. ดร.สืบสกุล กิจนุกร อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงกล่าวว่า รัฐบาลต้องใช้แนวคิดการทูตสิ่งแวดล้อมสร้างความร่วมมือแก้ปัญหามลพิษข้ามพรมแดนให้เป็นรูปธรรมมากที่สุด นอกจากนี้ต้องเสนอให้เมียนมาเข้าใจด้วยว่า เหมืองแร่อยู่ในเขตควบคุมของกองกำลังติดอาวุธชาติพันธุ์ที่การเจรจาสันติภาพในเมียนมา ต้องหยิบยกเอาประเด็นมลพิษข้ามพรมแดนเป็นส่วนหนึ่งของการเจรจาด้วย น.ส.เพียงพร ดีเทศน์ เลขาธิการมูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา(พชภ.) และผู้อำนวยการฝ่ายรณรงรงค์ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ องค์กรแม่น้ำนานาชาติ (International Rivers) กล่าวว่า ทั้งแม่น้ำกกและแม่น้ำสายเป็นแม่น้ำระหว่างประเทศ โดยมีต้นน้ำอยู่ในเขตรัฐฉาน ประเทศพม่า การสร้างเหมืองทองที่บริเวณต้นน้ำ ทำให้ประชาชนและระบบนิเวศท้ายน้ำซึ่งอยู่ในประเทศไทยได้รับความเดือดร้อนกันถ้วนหน้า ดังนั้นรัฐบาลจึงต้องเร่งหาทางยุติการทำเหมืองและเปิดหน้าดินในวงกว้างให้ได้ เพราะนอกจากส่งผลในเรื่องการปนเปื้อนสารโลหะหนักลงแม่น้ำแล้ว ยังส่งผลต่ออุทกภัยที่มีดินโคลนปนมาด้วย กลายเป็นภัยพิบัติร้ายแรงที่คนท้ายน้ำต้องเผชิญและหวาดผวาอยู่ตลอดเวลา ก่อนหน้านี้กระแสกระเพื่อมขึ้นในพื้นที่ที่ดีมาก ที่ทาง พล.ท.ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร เลขานุการคณะกรรมการระดับสูงไทย-เมียนมา ร่วมรับฟังปัญหาสารโลหะหนักในแม่น้ำกกและแม่น้ำสาย เนื้อหาจึงเจาะประเด็นเชิงความมั่นคงทันทีในมิติของผลกระทบข้ามแดน ตามที่ได้นำเสนอในตอนต้น ๆ เป็นเรื่องของกระบวนการขุมเหมืองแร่สีเลือกเพื่อนำผลประโยชน์มาห่ำหั่นกันทางการเมือง ที่รัฐบาลทหารพม่า อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ต่าง ๆ ในรัฐฉาน ส่วนใหญ่จะเป็นนักลงทุนจีน แต่ก็มีประเทศออสเตรเลีย รัสเซีย และอิตาลีด้วย เหมืองทั้งหมดอยู่เหนือน้ำกก น้ำสาย น้ำรวก ................. มิติทางแม่น้ำระหว่างประเทศ เป็นวิกฤติมลพิษข้ามแดนที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับฝุ่นควันข้ามแดน ที่มีปลายทางด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองอยู่เบื้องหลัง ต้องใช้เวลาเกลี่ย ล๊อบบี้ กดดัน การตีโอบ เพื่อกระทบ อันจะให้การกดดันทุน และอำนาจรัฐเข้ามาเร่งรัดจัดการปัญหาข้ามพรมแดนไมว่าจะเป็น การทำระบบบำบัดน้ำเสีย ที่ต้องเพิ่มต้นทุนก็ต้องทำ กรองน้ำที่มีสารหนูปนเปื้อน การให้ความสำคัญมิติ สาธารณสุข ด้านสิ่งแวดล้อม การเกษตร การสื่อสาร กับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสร้างสัมพันธ์และความเข้าใจนำไปสู่การแก้ไขปัญหา และเสนอให้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานทุกฝ่ายต่อการโต้ตอบเหตุสารเคมีปนเปื้อน เพื่อสื่อสารและการประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้เจ้ากรมกิจการชายแดนทหารได้รับฟังข้อมูลจากผู้เข้าร่วมให้ข้อมูลเพื่อนำไปศึกษาการจัดทำรายงานนำเสนอต้นสังกัดและรัฐบาลในการดำเนินการงานร่วมทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาต่อไป
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 361 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🇺🇸🇺🇦 ข้อตกลงแร่ธาตุในยูเครน ได้รับการลงนามแล้ว สหรัฐอเมริกากลายเป็นเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติของยูเครนอย่างเต็มตัว!!

    สหรัฐฯ และยูเครน ได้มีการลงนามข้อตกลงแร่ธาตุหายากที่สหรัฐ โดยจัดตั้งกองทุนร่วมกันเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจยูเครน ซึ่งจะรับประกันว่าสหรัฐจะสามารถจัดหาอาวุธป้อนให้ยูเครนได้อย่างต่อเนื่อง โดยแลกกับการควบคุมแหล่งแร่ธาตุของประเทศและการพัฒนาในอนาคตโดยสหรัฐจะมีการเปิดเผยรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อตกลงดังกล่าวในเร็วๆ นี้

    รัฐมนตรีคลังสหรัฐ 'เบสเซนท์' ยืนยันว่าข้อตกลงแร่ธาตุกับยูเครนลุล่วงแล้ว "ต้องขอบคุณความพยายามไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยของ ปธน.ทรัมป์ในการรักษาสันติภาพที่ยั่งยืน"

    ขณะที่ทรัมป์กล่าวว่า “ถือเป็นการส่งสัญญาณชัดเจนไปยังผู้นำรัสเซีย” ว่าสหรัฐฯต้องการให้ “ยูเครนเป็นอิสระ มีอำนาจอธิปไตย และเจริญรุ่งเรือง”
    🇺🇸🇺🇦 ข้อตกลงแร่ธาตุในยูเครน ได้รับการลงนามแล้ว สหรัฐอเมริกากลายเป็นเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติของยูเครนอย่างเต็มตัว!! สหรัฐฯ และยูเครน ได้มีการลงนามข้อตกลงแร่ธาตุหายากที่สหรัฐ โดยจัดตั้งกองทุนร่วมกันเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจยูเครน ซึ่งจะรับประกันว่าสหรัฐจะสามารถจัดหาอาวุธป้อนให้ยูเครนได้อย่างต่อเนื่อง โดยแลกกับการควบคุมแหล่งแร่ธาตุของประเทศและการพัฒนาในอนาคตโดยสหรัฐจะมีการเปิดเผยรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อตกลงดังกล่าวในเร็วๆ นี้ รัฐมนตรีคลังสหรัฐ 'เบสเซนท์' ยืนยันว่าข้อตกลงแร่ธาตุกับยูเครนลุล่วงแล้ว "ต้องขอบคุณความพยายามไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยของ ปธน.ทรัมป์ในการรักษาสันติภาพที่ยั่งยืน" ขณะที่ทรัมป์กล่าวว่า “ถือเป็นการส่งสัญญาณชัดเจนไปยังผู้นำรัสเซีย” ว่าสหรัฐฯต้องการให้ “ยูเครนเป็นอิสระ มีอำนาจอธิปไตย และเจริญรุ่งเรือง”
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 225 มุมมอง 0 รีวิว
  • บทความนี้กล่าวถึงการค้นพบที่สำคัญเกี่ยวกับการสร้างน้ำบนดวงจันทร์ โดย NASA ได้ยืนยันว่าลมสุริยะ (Solar Wind) มีบทบาทสำคัญในการสร้างโมเลกุลน้ำบนพื้นผิวดวงจันทร์ การค้นพบนี้เกิดจากการทดลองที่จำลองสภาพแวดล้อมของดวงจันทร์ในห้องปฏิบัติการ โดยใช้ดินจากดวงจันทร์ที่เก็บมาจากภารกิจ Apollo 17 ในปี 1972

    ลมสุริยะซึ่งประกอบด้วยโปรตอนที่เดินทางด้วยความเร็วสูงกว่า 1 ล้านไมล์ต่อชั่วโมง จะชนกับดินบนดวงจันทร์และเปลี่ยนโปรตอนเป็นอะตอมไฮโดรเจน จากนั้นไฮโดรเจนจะจับกับอะตอมออกซิเจนในแร่ธาตุของดวงจันทร์ เช่น ซิลิกา เพื่อสร้างโมเลกุลน้ำและไฮดรอกซิล

    การค้นพบนี้มีความสำคัญต่อโครงการ Artemis ของ NASA ที่มุ่งเน้นการสร้างฐานมนุษย์บนดวงจันทร์ โดยน้ำที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนี้สามารถนำไปใช้เป็นทรัพยากรที่ยั่งยืนสำหรับการดื่ม การผลิตออกซิเจน และเชื้อเพลิงจรวด

    ✅ บทบาทของลมสุริยะ
    - ลมสุริยะชนกับดินบนดวงจันทร์และเปลี่ยนโปรตอนเป็นอะตอมไฮโดรเจน
    - ไฮโดรเจนจับกับออกซิเจนในแร่ธาตุเพื่อสร้างโมเลกุลน้ำและไฮดรอกซิล

    ✅ การทดลองของ NASA
    - ใช้ดินจากดวงจันทร์ที่เก็บมาจากภารกิจ Apollo 17
    - จำลองสภาพแวดล้อมของดวงจันทร์ในห้องปฏิบัติการ

    ✅ ผลกระทบต่อโครงการ Artemis
    - น้ำที่เกิดขึ้นสามารถนำไปใช้เป็นทรัพยากรที่ยั่งยืนสำหรับการดื่ม การผลิตออกซิเจน และเชื้อเพลิงจรวด
    - ช่วยสนับสนุนการสร้างฐานมนุษย์บนดวงจันทร์

    ✅ ความสำคัญของการค้นพบ
    - ยืนยันว่าลมสุริยะเป็นแหล่งสำคัญในการสร้างน้ำบนดวงจันทร์
    - ช่วยเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรบนดวงจันทร์

    https://www.techspot.com/news/107714-moon-surface-can-make-water-thanks-solar-wind.html
    บทความนี้กล่าวถึงการค้นพบที่สำคัญเกี่ยวกับการสร้างน้ำบนดวงจันทร์ โดย NASA ได้ยืนยันว่าลมสุริยะ (Solar Wind) มีบทบาทสำคัญในการสร้างโมเลกุลน้ำบนพื้นผิวดวงจันทร์ การค้นพบนี้เกิดจากการทดลองที่จำลองสภาพแวดล้อมของดวงจันทร์ในห้องปฏิบัติการ โดยใช้ดินจากดวงจันทร์ที่เก็บมาจากภารกิจ Apollo 17 ในปี 1972 ลมสุริยะซึ่งประกอบด้วยโปรตอนที่เดินทางด้วยความเร็วสูงกว่า 1 ล้านไมล์ต่อชั่วโมง จะชนกับดินบนดวงจันทร์และเปลี่ยนโปรตอนเป็นอะตอมไฮโดรเจน จากนั้นไฮโดรเจนจะจับกับอะตอมออกซิเจนในแร่ธาตุของดวงจันทร์ เช่น ซิลิกา เพื่อสร้างโมเลกุลน้ำและไฮดรอกซิล การค้นพบนี้มีความสำคัญต่อโครงการ Artemis ของ NASA ที่มุ่งเน้นการสร้างฐานมนุษย์บนดวงจันทร์ โดยน้ำที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนี้สามารถนำไปใช้เป็นทรัพยากรที่ยั่งยืนสำหรับการดื่ม การผลิตออกซิเจน และเชื้อเพลิงจรวด ✅ บทบาทของลมสุริยะ - ลมสุริยะชนกับดินบนดวงจันทร์และเปลี่ยนโปรตอนเป็นอะตอมไฮโดรเจน - ไฮโดรเจนจับกับออกซิเจนในแร่ธาตุเพื่อสร้างโมเลกุลน้ำและไฮดรอกซิล ✅ การทดลองของ NASA - ใช้ดินจากดวงจันทร์ที่เก็บมาจากภารกิจ Apollo 17 - จำลองสภาพแวดล้อมของดวงจันทร์ในห้องปฏิบัติการ ✅ ผลกระทบต่อโครงการ Artemis - น้ำที่เกิดขึ้นสามารถนำไปใช้เป็นทรัพยากรที่ยั่งยืนสำหรับการดื่ม การผลิตออกซิเจน และเชื้อเพลิงจรวด - ช่วยสนับสนุนการสร้างฐานมนุษย์บนดวงจันทร์ ✅ ความสำคัญของการค้นพบ - ยืนยันว่าลมสุริยะเป็นแหล่งสำคัญในการสร้างน้ำบนดวงจันทร์ - ช่วยเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรบนดวงจันทร์ https://www.techspot.com/news/107714-moon-surface-can-make-water-thanks-solar-wind.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    Moon's surface can make water thanks to solar wind, NASA experiment confirms
    The breakthrough comes from researchers at NASA's Goddard Space Flight Center, who set out to replicate the harsh lunar environment in the most realistic laboratory simulation to...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 105 มุมมอง 0 รีวิว
  • สหรัฐฯ และอินเดียกำลังหารือเกี่ยวกับข้อตกลงการค้าใหม่ที่ครอบคลุม 19 หมวดหมู่ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มการเข้าถึงตลาดสำหรับสินค้าเกษตร อีคอมเมิร์ซ การจัดเก็บข้อมูล และแร่ธาตุสำคัญ ข้อตกลงนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการค้าสินค้าและบริการระหว่างสองประเทศ โดยมีการสรุปขอบเขตของข้อตกลงเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา

    ข้อตกลงนี้สะท้อนถึงความพยายามของสหรัฐฯ ในการสร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่แน่นแฟ้นกับอินเดีย ซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดในโลก

    ✅ ขอบเขตของข้อตกลง
    - ครอบคลุม 19 หมวดหมู่ เช่น สินค้าเกษตร อีคอมเมิร์ซ การจัดเก็บข้อมูล และแร่ธาตุสำคัญ
    - ส่งเสริมการค้าสินค้าและบริการระหว่างสองประเทศ

    ✅ เป้าหมายของข้อตกลง
    - เพิ่มการเข้าถึงตลาดสำหรับสินค้าเกษตรและบริการ
    - สร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่แน่นแฟ้นระหว่างสองประเทศ

    ✅ ความสำคัญของข้อตกลง
    - อินเดียเป็นหนึ่งในประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดในโลก
    - สหรัฐฯ ต้องการสร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

    ✅ การพัฒนาในอนาคต
    - ข้อตกลงนี้อาจช่วยเพิ่มการลงทุนและการพัฒนาเศรษฐกิจในทั้งสองประเทศ

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/25/us-seeks-india-trade-deal-on-e-commerce-crops-and-data-storage-bloomberg-news-reports
    สหรัฐฯ และอินเดียกำลังหารือเกี่ยวกับข้อตกลงการค้าใหม่ที่ครอบคลุม 19 หมวดหมู่ ซึ่งรวมถึงการเพิ่มการเข้าถึงตลาดสำหรับสินค้าเกษตร อีคอมเมิร์ซ การจัดเก็บข้อมูล และแร่ธาตุสำคัญ ข้อตกลงนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการค้าสินค้าและบริการระหว่างสองประเทศ โดยมีการสรุปขอบเขตของข้อตกลงเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ข้อตกลงนี้สะท้อนถึงความพยายามของสหรัฐฯ ในการสร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่แน่นแฟ้นกับอินเดีย ซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดในโลก ✅ ขอบเขตของข้อตกลง - ครอบคลุม 19 หมวดหมู่ เช่น สินค้าเกษตร อีคอมเมิร์ซ การจัดเก็บข้อมูล และแร่ธาตุสำคัญ - ส่งเสริมการค้าสินค้าและบริการระหว่างสองประเทศ ✅ เป้าหมายของข้อตกลง - เพิ่มการเข้าถึงตลาดสำหรับสินค้าเกษตรและบริการ - สร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่แน่นแฟ้นระหว่างสองประเทศ ✅ ความสำคัญของข้อตกลง - อินเดียเป็นหนึ่งในประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดในโลก - สหรัฐฯ ต้องการสร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ✅ การพัฒนาในอนาคต - ข้อตกลงนี้อาจช่วยเพิ่มการลงทุนและการพัฒนาเศรษฐกิจในทั้งสองประเทศ https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/25/us-seeks-india-trade-deal-on-e-commerce-crops-and-data-storage-bloomberg-news-reports
    WWW.THESTAR.COM.MY
    US seeks India trade deal on e-commerce, crops and data storage, Bloomberg News reports
    (Reuters) - A U.S.-India trade agreement under discussion will cover 19 categories, including greater market access for farm goods, e-commerce, data storage and critical minerals, Bloomberg News reported on Friday.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 115 มุมมอง 0 รีวิว
  • Tesla กำลังเผชิญกับปัญหาในการผลิตหุ่นยนต์ Optimus ซึ่งเป็นหุ่นยนต์ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยงานบ้าน เนื่องจากการห้ามส่งออกแร่ธาตุหายากจากจีน โดย Elon Musk ระบุว่าปัญหานี้เกี่ยวข้องกับ "แม่เหล็ก" ที่ใช้ในหุ่นยนต์ ซึ่งจีนได้กำหนดข้อจำกัดการส่งออกแร่ธาตุหายาก 7 ชนิดในเดือนเมษายน 2025 เพื่อตอบโต้ภาษี 54% ที่สหรัฐฯ กำหนดกับสินค้าจีน

    ✅ การห้ามส่งออกแร่ธาตุหายากจากจีน
    - จีนกำหนดข้อจำกัดการส่งออกแร่ธาตุหายาก 7 ชนิด เช่น แกลเลียมและเจอร์เมเนียม
    - แร่ธาตุเหล่านี้มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมเทคโนโลยี เช่น เลเซอร์ เรดาร์ และเครื่องยนต์เจ็ท

    ✅ ผลกระทบต่อการผลิตหุ่นยนต์ Optimus
    - หุ่นยนต์ Optimus ใช้แม่เหล็กที่ผลิตจากแร่ธาตุหายาก
    - Tesla กำลังเจรจากับจีนเพื่อขอใบอนุญาตใช้แร่ธาตุเหล่านี้

    ✅ การพึ่งพาแร่ธาตุหายากจากจีน
    - จีนผลิตแร่ธาตุหายากประมาณ 70% ของตลาดโลกในปี 2023
    - 94% ของแกลเลียมทั่วโลกมาจากจีน

    ✅ ผลกระทบต่อธุรกิจพลังงานของ Tesla
    - ภาษีของสหรัฐฯ ส่งผลกระทบต่อการนำเข้าเซลล์แบตเตอรี่ LFP จากจีน
    - Tesla กำลังติดตั้งอุปกรณ์เพื่อผลิตเซลล์แบตเตอรี่ LFP ในสหรัฐฯ

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/tesla-is-impacted-by-chinas-export-ban-on-rare-earth-minerals-optimus-production-is-delayed-due-to-a-magnet-issue
    Tesla กำลังเผชิญกับปัญหาในการผลิตหุ่นยนต์ Optimus ซึ่งเป็นหุ่นยนต์ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยงานบ้าน เนื่องจากการห้ามส่งออกแร่ธาตุหายากจากจีน โดย Elon Musk ระบุว่าปัญหานี้เกี่ยวข้องกับ "แม่เหล็ก" ที่ใช้ในหุ่นยนต์ ซึ่งจีนได้กำหนดข้อจำกัดการส่งออกแร่ธาตุหายาก 7 ชนิดในเดือนเมษายน 2025 เพื่อตอบโต้ภาษี 54% ที่สหรัฐฯ กำหนดกับสินค้าจีน ✅ การห้ามส่งออกแร่ธาตุหายากจากจีน - จีนกำหนดข้อจำกัดการส่งออกแร่ธาตุหายาก 7 ชนิด เช่น แกลเลียมและเจอร์เมเนียม - แร่ธาตุเหล่านี้มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมเทคโนโลยี เช่น เลเซอร์ เรดาร์ และเครื่องยนต์เจ็ท ✅ ผลกระทบต่อการผลิตหุ่นยนต์ Optimus - หุ่นยนต์ Optimus ใช้แม่เหล็กที่ผลิตจากแร่ธาตุหายาก - Tesla กำลังเจรจากับจีนเพื่อขอใบอนุญาตใช้แร่ธาตุเหล่านี้ ✅ การพึ่งพาแร่ธาตุหายากจากจีน - จีนผลิตแร่ธาตุหายากประมาณ 70% ของตลาดโลกในปี 2023 - 94% ของแกลเลียมทั่วโลกมาจากจีน ✅ ผลกระทบต่อธุรกิจพลังงานของ Tesla - ภาษีของสหรัฐฯ ส่งผลกระทบต่อการนำเข้าเซลล์แบตเตอรี่ LFP จากจีน - Tesla กำลังติดตั้งอุปกรณ์เพื่อผลิตเซลล์แบตเตอรี่ LFP ในสหรัฐฯ https://www.tomshardware.com/tech-industry/tesla-is-impacted-by-chinas-export-ban-on-rare-earth-minerals-optimus-production-is-delayed-due-to-a-magnet-issue
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 122 มุมมอง 0 รีวิว
  • จีนเตือนเกาหลีใต้ ห้ามปล่อยให้แร่ธาตุหายากของจีนเข้าสู่สหรัฐ


    กระทรวงพาณิชย์ของจีนเพิ่งส่งข้อความแจ้งเตือนไปยังบริษัทเกาหลีใต้ว่า หากแบตเตอรี่ ชิ้นส่วนยานยนต์ไฟฟ้า หรือเทคโนโลยีอวกาศของพวกเขา ยังคงต้องการใช้แร่ธาตุหายากของจีนต่อไป อย่าแม้แต่จะคิดที่จะส่งต่อไปยังบริษัทด้านการป้องกันประเทศของสหรัฐ

    จีนกำลังแสดงอำนาจของตนในการควบคุมแร่ธาตุหายากที่ใช้เป็นพลังงานในทุกอย่าง ตั้งแต่สมาร์ทโฟนไปจนถึงเครื่องบินรบ เพื่อแสดงให้เห็นว่าพวกเขาเหนือกว่าสหรัฐมานานหลายปีแล้ว


    ยังไม่มีข่าวการตอบสนองจากโซล ถึงคำเตือนของจีน
    จีนเตือนเกาหลีใต้ ห้ามปล่อยให้แร่ธาตุหายากของจีนเข้าสู่สหรัฐ กระทรวงพาณิชย์ของจีนเพิ่งส่งข้อความแจ้งเตือนไปยังบริษัทเกาหลีใต้ว่า หากแบตเตอรี่ ชิ้นส่วนยานยนต์ไฟฟ้า หรือเทคโนโลยีอวกาศของพวกเขา ยังคงต้องการใช้แร่ธาตุหายากของจีนต่อไป อย่าแม้แต่จะคิดที่จะส่งต่อไปยังบริษัทด้านการป้องกันประเทศของสหรัฐ จีนกำลังแสดงอำนาจของตนในการควบคุมแร่ธาตุหายากที่ใช้เป็นพลังงานในทุกอย่าง ตั้งแต่สมาร์ทโฟนไปจนถึงเครื่องบินรบ เพื่อแสดงให้เห็นว่าพวกเขาเหนือกว่าสหรัฐมานานหลายปีแล้ว ยังไม่มีข่าวการตอบสนองจากโซล ถึงคำเตือนของจีน
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 144 มุมมอง 0 รีวิว
  • มีรายงานความคืบหน้าล่าสุดเกี่ยวกับการเจรจาสันติภาพในยูเครน:

    รายละเอียดข้อตกลงเริ่มหลุดมาถึงมือสื่อเพิ่มมากขึ้น หลังการเจรจาที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสโดยมีพันธมิตรยุโรปเข้ามามีส่วนร่วมด้วยเมื่อสัปดาห์ก่อน รวมทั้งที่นครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ของรัสเซียเมื่อต้นเดือน และหากครั้งนี้ล้มเหลว สหรัฐอาถอนตัวจากการมีส่วนร่วมในการเจรจา ตามที่ รูบิโอ รัฐมนตรีต่างสหรัฐกล่าวเมื่อวันก่อน

    สหรัฐต้องการให้ยูเครนยอมรับไครเมียเป็นดินแดนของรัสเซีย และยอมรับว่ารัสเซียควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ที่ยึดครองมาตั้งแต่ปฏิบัติการพิเศษทางทหารในปี 2022 อ้างอิงตามแหล่งข่าวที่ทราบผลการเจรจาดังกล่าว

    นอกจากนี้ยังมีเพิ่มเติมคือ:
    👉สิ่งที่รัสเซียจะได้รับ:
    - การรับรองทางกฎหมายของสหรัฐฯ ว่าไครเมียเป็นของรัสเซีย
    - การยอมรับภูมิภาคโดเนตสค์ ลูฮันสค์ เคอร์ซอน และซาโปริซเซีย ในส่วนที่รัสเซียปลดปล่อยไปแล้ว ดินแดนส่วนที่เหลือที่รัสเซียยังไม่ได้ปลดปล่อย อาจต้องอยู่ในการครอบครองของยูเครนต่อไป
    - คำมั่นสัญญาว่ายูเครนจะไม่เข้าร่วมนาโต แต่การเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปอาจยังคงเป็นไปได้
    - การยกเลิกมาตรการคว่ำบาตรหลังปี 2014 ซึ่งเป็นปีที่หลังจากรัสเซียเข้ายึดครองไครเมีย

    👉สิ่งที่ยูเครนจะได้รับ:
    - “การรับประกันความปลอดภัยที่มั่นคง” แม้ว่าขณะนี้ยังมีความสับสน และยังไม่ลงตัวท้ังหมด แต่เบื้องต้นอยู่ในขั้นตอนที่พันธมิตรของยุโรปให้การรับประกันแล้ว และพยายามโน้มน้าวให้สหรัฐเข้ามามีส่วนร่วม
    - รัสเซียต้องคืนพื้นที่ในภูมิภาคคาร์คิฟที่ยึดไว้ตอนนี้ (มีไม่มากเท่าไหร่)
    - มีสิทธิเหนือน่านน้ำนีเปอร์ (Dnipro) อย่างเต็มที่ เพื่อใช้ในการเดินเรือออกสู่ทะเลดำ (Black Sea)
    - ความช่วยเหลือเพื่อการฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐาน ระบบเศรษฐกิจของยูเครน แต่ยังไม่ชัดเจนเรื่องแหล่งที่มาของเงินทุน

    👉สิ่งที่สหรัฐจะได้รับ: (เรียกเก็บค่าดำเนินการ 😂)
    - โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซาโปริซเซีย (ZNPP) จะอยู่ภายใต้การปกครองของยูเครน แต่สหรัฐจะเป็นฝ่ายบริหารจัดการแต่เพียงผู้เดียว ซึ่งจะมีหน้าที่ให้บริการระบบไฟฟ้าแก่ทั้งสองฝ่าย รายได้จากการดำเนินงาน จะเข้ากองทุนส่วนกลางที่สหรัฐและยูเครนร่วมกันจัดตั้ง
    - ข้อตกลงด้านแร่ธาตุระหว่างสหรัฐฯ และยูเครนคาดว่าจะลงนามในวันพฤหัสบดี
    - ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซียที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะด้านพลังงานและอุตสาหกรรม
    มีรายงานความคืบหน้าล่าสุดเกี่ยวกับการเจรจาสันติภาพในยูเครน: รายละเอียดข้อตกลงเริ่มหลุดมาถึงมือสื่อเพิ่มมากขึ้น หลังการเจรจาที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสโดยมีพันธมิตรยุโรปเข้ามามีส่วนร่วมด้วยเมื่อสัปดาห์ก่อน รวมทั้งที่นครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ของรัสเซียเมื่อต้นเดือน และหากครั้งนี้ล้มเหลว สหรัฐอาถอนตัวจากการมีส่วนร่วมในการเจรจา ตามที่ รูบิโอ รัฐมนตรีต่างสหรัฐกล่าวเมื่อวันก่อน สหรัฐต้องการให้ยูเครนยอมรับไครเมียเป็นดินแดนของรัสเซีย และยอมรับว่ารัสเซียควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ที่ยึดครองมาตั้งแต่ปฏิบัติการพิเศษทางทหารในปี 2022 อ้างอิงตามแหล่งข่าวที่ทราบผลการเจรจาดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีเพิ่มเติมคือ: 👉สิ่งที่รัสเซียจะได้รับ: - การรับรองทางกฎหมายของสหรัฐฯ ว่าไครเมียเป็นของรัสเซีย - การยอมรับภูมิภาคโดเนตสค์ ลูฮันสค์ เคอร์ซอน และซาโปริซเซีย ในส่วนที่รัสเซียปลดปล่อยไปแล้ว ดินแดนส่วนที่เหลือที่รัสเซียยังไม่ได้ปลดปล่อย อาจต้องอยู่ในการครอบครองของยูเครนต่อไป - คำมั่นสัญญาว่ายูเครนจะไม่เข้าร่วมนาโต แต่การเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปอาจยังคงเป็นไปได้ - การยกเลิกมาตรการคว่ำบาตรหลังปี 2014 ซึ่งเป็นปีที่หลังจากรัสเซียเข้ายึดครองไครเมีย 👉สิ่งที่ยูเครนจะได้รับ: - “การรับประกันความปลอดภัยที่มั่นคง” แม้ว่าขณะนี้ยังมีความสับสน และยังไม่ลงตัวท้ังหมด แต่เบื้องต้นอยู่ในขั้นตอนที่พันธมิตรของยุโรปให้การรับประกันแล้ว และพยายามโน้มน้าวให้สหรัฐเข้ามามีส่วนร่วม - รัสเซียต้องคืนพื้นที่ในภูมิภาคคาร์คิฟที่ยึดไว้ตอนนี้ (มีไม่มากเท่าไหร่) - มีสิทธิเหนือน่านน้ำนีเปอร์ (Dnipro) อย่างเต็มที่ เพื่อใช้ในการเดินเรือออกสู่ทะเลดำ (Black Sea) - ความช่วยเหลือเพื่อการฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐาน ระบบเศรษฐกิจของยูเครน แต่ยังไม่ชัดเจนเรื่องแหล่งที่มาของเงินทุน 👉สิ่งที่สหรัฐจะได้รับ: (เรียกเก็บค่าดำเนินการ 😂) - โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซาโปริซเซีย (ZNPP) จะอยู่ภายใต้การปกครองของยูเครน แต่สหรัฐจะเป็นฝ่ายบริหารจัดการแต่เพียงผู้เดียว ซึ่งจะมีหน้าที่ให้บริการระบบไฟฟ้าแก่ทั้งสองฝ่าย รายได้จากการดำเนินงาน จะเข้ากองทุนส่วนกลางที่สหรัฐและยูเครนร่วมกันจัดตั้ง - ข้อตกลงด้านแร่ธาตุระหว่างสหรัฐฯ และยูเครนคาดว่าจะลงนามในวันพฤหัสบดี - ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซียที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะด้านพลังงานและอุตสาหกรรม
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 333 มุมมอง 0 รีวิว
  • เวียดนามยอมรับข้อตกลงของสหรัฐในการจัดซื้อเครื่องบินรบ F-16 ของบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน อย่างน้อย 24 ลำ

    จากการรายงานของสื่อ เวียดนามอาจถูกบังคับจากมาตรการภาษีศุลกากรของทรัมป์ให้ซื้อเครื่องบิน F-16 เพื่อลดช่องว่างที่สหรัฐขาดดุลการค้า

    ซึ่งการจัดซื้อครั้งนี้อาจเป็นข้อตกลงด้านการป้องกันประเทศครั้งใหญ่ที่สุดระหว่างสองประเทศ

    สื่อยังระบุอีกว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเป็นเครื่องบินรบรุ่น F-16V ซึ่งเป็นเครื่องบินรบรุ่นที่ 4

    อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสหรัฐฯ ไม่มีความสามารถในการผลิตเครื่องบิน F-16 จำนวนมากพร้อมๆกัน อาจทำให้เวียดนามต้องรอคิวไปจนกว่าจะเลยปี 2030 ไปแล้ว และยิ่งไปกว่านั้น อุตสาหกรรมการป้องกันประเทศของสหรัฐฯ ยังได้รับผลกระทบจากการห้ามแร่ธาตุหายากและชิ้นส่วนเฉพาะของจีนอีกด้วย ซึ่งคาดว่าการส่งมอบเครื่องบิน F-16 อาจล่าช้าไปจนกว่าจะถึงปี 2040 เมื่อถึงเวลานั้น เครื่องบินเหล่านี้คงจะกลายเป็นอาวุธที่ล้าสมัยไปโดยสิ้นเชิง!

    ภาษีศุลกากรของทรัมป์มีไว้เพื่อบังคับให้ประเทศเล็กๆ ที่ไม่มีทางสู้อย่างแท้จริง!! นี่คือระเบียบโลกใหม่ซึ่งสหรัฐเปลี่ยนแปลงตัวเองจากผู้พิทักษ์โลกกลายมาเฟียและผู้ที่พร้อมจะหักหลังทุกคน!
    เวียดนามยอมรับข้อตกลงของสหรัฐในการจัดซื้อเครื่องบินรบ F-16 ของบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน อย่างน้อย 24 ลำ จากการรายงานของสื่อ เวียดนามอาจถูกบังคับจากมาตรการภาษีศุลกากรของทรัมป์ให้ซื้อเครื่องบิน F-16 เพื่อลดช่องว่างที่สหรัฐขาดดุลการค้า ซึ่งการจัดซื้อครั้งนี้อาจเป็นข้อตกลงด้านการป้องกันประเทศครั้งใหญ่ที่สุดระหว่างสองประเทศ สื่อยังระบุอีกว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเป็นเครื่องบินรบรุ่น F-16V ซึ่งเป็นเครื่องบินรบรุ่นที่ 4 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสหรัฐฯ ไม่มีความสามารถในการผลิตเครื่องบิน F-16 จำนวนมากพร้อมๆกัน อาจทำให้เวียดนามต้องรอคิวไปจนกว่าจะเลยปี 2030 ไปแล้ว และยิ่งไปกว่านั้น อุตสาหกรรมการป้องกันประเทศของสหรัฐฯ ยังได้รับผลกระทบจากการห้ามแร่ธาตุหายากและชิ้นส่วนเฉพาะของจีนอีกด้วย ซึ่งคาดว่าการส่งมอบเครื่องบิน F-16 อาจล่าช้าไปจนกว่าจะถึงปี 2040 เมื่อถึงเวลานั้น เครื่องบินเหล่านี้คงจะกลายเป็นอาวุธที่ล้าสมัยไปโดยสิ้นเชิง! ภาษีศุลกากรของทรัมป์มีไว้เพื่อบังคับให้ประเทศเล็กๆ ที่ไม่มีทางสู้อย่างแท้จริง!! นี่คือระเบียบโลกใหม่ซึ่งสหรัฐเปลี่ยนแปลงตัวเองจากผู้พิทักษ์โลกกลายมาเฟียและผู้ที่พร้อมจะหักหลังทุกคน!
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 180 มุมมอง 0 รีวิว
  • Western Digital (WD) ได้เปิดตัว โครงการรีไซเคิลฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (HDD) ที่สามารถ ดึงแร่ธาตุหายาก (Rare Earth Elements - REE) กลับมาใช้ใหม่ได้ โดยโครงการนี้ร่วมมือกับ Microsoft และพันธมิตรในอุตสาหกรรมรีไซเคิล เช่น CMR และ PedalPoint Recycling ซึ่งช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 95%

    ✅ โครงการนี้ช่วยดึงแร่ธาตุหายากกลับมาใช้ใหม่
    - WD สามารถดึง REE เช่น dysprosium, neodymium และ praseodymium จาก HDD
    - นอกจากนี้ยังดึงวัสดุอื่นๆ เช่น อลูมิเนียม, เหล็ก, ทองคำ, พัลลาเดียม และทองแดง

    ✅ กระบวนการรีไซเคิลใช้เทคโนโลยี ADR ของ CMR
    - ใช้สารละลายเกลือทองแดงเพื่อดึง REE ที่มีความบริสุทธิ์ถึง 99.5%
    - กระบวนการนี้หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่เป็นอันตราย

    ✅ โครงการนี้ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 95%
    - เมื่อเทียบกับการทำเหมืองแร่ใหม่ กระบวนการรีไซเคิลนี้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า

    ✅ WD วางแผนขยายโครงการไปยังลูกค้ารายใหญ่เพิ่มเติม
    - โครงการนี้เริ่มต้นในปี 2023 และกำลังขยายไปยังลูกค้ารายใหญ่ในอุตสาหกรรม hyperscale

    ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมรีไซเคิล
    - หากโครงการนี้ประสบความสำเร็จ อาจช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในระดับโลก

    ℹ️ ความท้าทายในการขยายโครงการ
    - WD ต้องเผชิญกับความท้าทายในการ เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนของกระบวนการรีไซเคิล

    ℹ️ แนวโน้มของการพัฒนาเทคโนโลยีรีไซเคิลในอนาคต
    - หากโครงการนี้ได้รับการสนับสนุน อาจมีการพัฒนาเทคโนโลยีรีไซเคิลที่ล้ำหน้ากว่าในอนาคต

    https://www.tomshardware.com/pc-components/hdds/wd-launches-hdd-recycling-process-that-reclaims-rare-earth-elements-cuts-out-china
    Western Digital (WD) ได้เปิดตัว โครงการรีไซเคิลฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (HDD) ที่สามารถ ดึงแร่ธาตุหายาก (Rare Earth Elements - REE) กลับมาใช้ใหม่ได้ โดยโครงการนี้ร่วมมือกับ Microsoft และพันธมิตรในอุตสาหกรรมรีไซเคิล เช่น CMR และ PedalPoint Recycling ซึ่งช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 95% ✅ โครงการนี้ช่วยดึงแร่ธาตุหายากกลับมาใช้ใหม่ - WD สามารถดึง REE เช่น dysprosium, neodymium และ praseodymium จาก HDD - นอกจากนี้ยังดึงวัสดุอื่นๆ เช่น อลูมิเนียม, เหล็ก, ทองคำ, พัลลาเดียม และทองแดง ✅ กระบวนการรีไซเคิลใช้เทคโนโลยี ADR ของ CMR - ใช้สารละลายเกลือทองแดงเพื่อดึง REE ที่มีความบริสุทธิ์ถึง 99.5% - กระบวนการนี้หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่เป็นอันตราย ✅ โครงการนี้ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 95% - เมื่อเทียบกับการทำเหมืองแร่ใหม่ กระบวนการรีไซเคิลนี้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า ✅ WD วางแผนขยายโครงการไปยังลูกค้ารายใหญ่เพิ่มเติม - โครงการนี้เริ่มต้นในปี 2023 และกำลังขยายไปยังลูกค้ารายใหญ่ในอุตสาหกรรม hyperscale ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมรีไซเคิล - หากโครงการนี้ประสบความสำเร็จ อาจช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในระดับโลก ℹ️ ความท้าทายในการขยายโครงการ - WD ต้องเผชิญกับความท้าทายในการ เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนของกระบวนการรีไซเคิล ℹ️ แนวโน้มของการพัฒนาเทคโนโลยีรีไซเคิลในอนาคต - หากโครงการนี้ได้รับการสนับสนุน อาจมีการพัฒนาเทคโนโลยีรีไซเคิลที่ล้ำหน้ากว่าในอนาคต https://www.tomshardware.com/pc-components/hdds/wd-launches-hdd-recycling-process-that-reclaims-rare-earth-elements-cuts-out-china
    WWW.TOMSHARDWARE.COM
    This HDD recycling process could make U.S. less dependent on China.
    WD has found a way to recapture rare earth elements from old hard drives.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 247 มุมมอง 0 รีวิว
  • ยูเลีย สวีรีเดนโก (Yulia Svyrydenko) รองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง และรมต.กระทรวงเศรษฐกิจและการค้ายูเครน ประกาศการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum) เกี่ยวกับข้อตกลงด้านแร่ธาตุกับสหรัฐแล้ว (บันทึกความเข้าใจยังไม่มีผลผูกพันธ์ทางกฎหมาย)

    สวีรีเดนโก กล่าวอีกว่า ทั้งสองประเทศจะเร่งสรุปกรอบของข้อตกลงด้านแร่ธาตุและลงนามในข้อตกลงอย่างเป็นทางการต่อไป


    ทางด้านเซเลนสกีได้ยืนยันถึงการลงนามตามบันทึกความเข้าใจครั้งนี้ (Memorandum) และยังกล่าวอีกว่า "นี่ยังไม่ใช่ข้อตกลงขั้นตอนสุดท้ายที่แท้จริง"

    ขณะเดียวกันทรัมป์ได้กล่าวในวันนี้ว่า ข้อตกลงขั้นสุดท้ายกับยูเครนในเรื่องทรัพยากรแร่ธาตุจะมีการ "ลงนามข้อตกลง" ในวันพฤหัสบดีหน้านี้


    เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว The New York Times เปิดเผยเกี่ยวกับรายละเอียดบางส่วนของข้อตกลงแร่ธาตุระหว่างสหรัฐฯและยูเครน โดยระบุว่า:

    ยูเครนจะต้องคืนเงินหลายพันล้านดอลลาร์ที่สหรัฐส่งความช่วยเหลือทางการทหารตลอดระยะเวลา 3 ปีของการต่อสู้กับรัสเซียให้แก่สหรัฐฯ

    ยูเครนจะต้องแบ่งรายได้ครึ่งหนึ่งของรายได้ทั้งหมดจากการทำธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งรายได้จากโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน เช่น ท่าเรือ ท่อส่งน้ำมันและก๊าซ เข้ากองทุนที่สหรัฐกำลังจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการนำเงินส่วนนี้ไปลงทุนต่อในด้านโครงการทรัพยากรธรรมชาติของยูเครน แต่ยังไม่ได้ระบุแน่ชัดว่าสหรัฐจะร่วมลงทุนในสัดส่วนเท่าไหร่

    ข้อตกลงนี้จะมีผลบังคับใช้ไปจนกว่ายูเครนจะคืนเงินค่าใช้จ่ายความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐฯ พร้อมดอกเบี้ย 4% ต่อปี

    นอกจากนี้ โครงการดังกล่าวไม่ได้กล่าวถึงการรับประกันความปลอดภัยสำหรับยูเครน แม้ว่าฝ่ายยูเครนจะเคยยืนยันหนักแน่นว่าจะต้องรวมข้อกำหนดนี้ไว้ในข้อตกลงแร่ธาตุด้วยก็ตาม

    ยูเลีย สวีรีเดนโก (Yulia Svyrydenko) รองนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่ง และรมต.กระทรวงเศรษฐกิจและการค้ายูเครน ประกาศการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum) เกี่ยวกับข้อตกลงด้านแร่ธาตุกับสหรัฐแล้ว (บันทึกความเข้าใจยังไม่มีผลผูกพันธ์ทางกฎหมาย) สวีรีเดนโก กล่าวอีกว่า ทั้งสองประเทศจะเร่งสรุปกรอบของข้อตกลงด้านแร่ธาตุและลงนามในข้อตกลงอย่างเป็นทางการต่อไป ทางด้านเซเลนสกีได้ยืนยันถึงการลงนามตามบันทึกความเข้าใจครั้งนี้ (Memorandum) และยังกล่าวอีกว่า "นี่ยังไม่ใช่ข้อตกลงขั้นตอนสุดท้ายที่แท้จริง" ขณะเดียวกันทรัมป์ได้กล่าวในวันนี้ว่า ข้อตกลงขั้นสุดท้ายกับยูเครนในเรื่องทรัพยากรแร่ธาตุจะมีการ "ลงนามข้อตกลง" ในวันพฤหัสบดีหน้านี้ เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว The New York Times เปิดเผยเกี่ยวกับรายละเอียดบางส่วนของข้อตกลงแร่ธาตุระหว่างสหรัฐฯและยูเครน โดยระบุว่า: ยูเครนจะต้องคืนเงินหลายพันล้านดอลลาร์ที่สหรัฐส่งความช่วยเหลือทางการทหารตลอดระยะเวลา 3 ปีของการต่อสู้กับรัสเซียให้แก่สหรัฐฯ ยูเครนจะต้องแบ่งรายได้ครึ่งหนึ่งของรายได้ทั้งหมดจากการทำธุรกิจทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งรายได้จากโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน เช่น ท่าเรือ ท่อส่งน้ำมันและก๊าซ เข้ากองทุนที่สหรัฐกำลังจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการนำเงินส่วนนี้ไปลงทุนต่อในด้านโครงการทรัพยากรธรรมชาติของยูเครน แต่ยังไม่ได้ระบุแน่ชัดว่าสหรัฐจะร่วมลงทุนในสัดส่วนเท่าไหร่ ข้อตกลงนี้จะมีผลบังคับใช้ไปจนกว่ายูเครนจะคืนเงินค่าใช้จ่ายความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐฯ พร้อมดอกเบี้ย 4% ต่อปี นอกจากนี้ โครงการดังกล่าวไม่ได้กล่าวถึงการรับประกันความปลอดภัยสำหรับยูเครน แม้ว่าฝ่ายยูเครนจะเคยยืนยันหนักแน่นว่าจะต้องรวมข้อกำหนดนี้ไว้ในข้อตกลงแร่ธาตุด้วยก็ตาม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 415 มุมมอง 0 รีวิว

  • Airstrikes สงคราม ทองคำ และคนลุ่มน้ำโขง (ตอนที่ 4)
    *****************
    เสียงเครื่องบินกระหึ่มสัญชาติรัสเซีย และจีน ทั้งรุ่น MiG-29 -Yak-130 - K-8, F-7 และเฮลิคอปเตอร์โจมตี Mi-35 Mi-17 เทคออฟขึ้นน่านฟ้าเมียนมา สร้างความหวาดวิตกกับพลเรือนในพื้นที่เสี่ยง ความถี่มิได้เป็นปกป้องอธิปไตยเหนือน่านฟ้า บางครั้งก็ถลำรุกน่านฟ้าของไทย และถูกต้อนกลับ
    เสียงอากาศยานของเมียนมาทำให้ประชาชน พลเรือนระส่ำระสาย บาดเจ็บล้มตายกัน ในพื้นที่พลเรือนและกลุ่มต่อต้าน ปี 2023-24 กระทรวงกลาโหมใช้งบประมาณเพื่อภารกิจ Aistrike กว่า 2.7 พันล้านดอลลาร์ อาวุธ ส่วนใหญ่มาจากรัสเซียและจีน
    กองทัพเผด็จการเมียนมาได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศประมาณ 30 ครั้งในรัฐฉาน รัฐกะเหรี่ยงนี และรัฐกะฉิ่นในช่วงหนึ่งเดือนที่ผ่านมา โดยทิ้งระเบิดเกือบ 100 ลูก ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 20 ราย ตามข้อมูลที่ Shan Herald Agency for News (SHAN) ได้รับ
    ระหว่างปลายปีที่ผ่าน ถึงวันที่ 30 มกราคม 2025 การโจมตีทางอากาศเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่พื้นที่พลเรือนเป็นหลัก สร้างความเสียหายและการสูญเสียอย่างหนัก โดยเฉพาะเขตเมืองนองคิโอ รัฐฉาน ซึ่งระเบิดตกใส่ร้านน้ำชา ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 8 ราย
    มีการประเมินว่านับตั้งแต่การรัฐประหารเมื่อเกือบสี่ปีที่แล้ว โดยบันทึกการโจมตีทางอากาศทั้งหมด 1,767 ครั้ง ซึ่งน่าตกใจว่าร้อยละ 47 ของการโจมตีเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่พื้นที่พลเรือน ทำให้วิกฤตด้านมนุษยธรรมในพื้นที่ขัดแย้งรุนแรงขึ้น
    พื้นที่ ที่เป็นเป้าหมายคือพื้นที่ที่มีผลประโยชน์เหมืองแร่ และแร่ธาตุสูง โดยเฉพาะใน รัฐฉาน (Shan State), รัฐกะเหรี่ยงนี-คะยา (Karenni/Kayah State), รัฐกะฉิ่น (Kachin State), รัฐระแหง (Rakhine State) และพื้นที่อื่นๆ เช่น ภูมิภาคสกาย (Sagaing Region) เป็นต้น
    *****************
    USGS (United States Geological Survey) ได้ ประมาณการไว้ว่า ยังคงเหลือทองคำอยู่ใต้ดินที่ยังไม่ได้ผลิตออกมาอีกประมาณ 50,000 ตัน คาดกันว่าปริมาณทองคำที่ขุดขึ้นมา และมีการใช้ประโยชน์กันแล้วกว่า 190,000 ตัน และโดยเฉลี่ยในปัจจุบันมีการผลิตออกจากเหมืองประมาณปีละ 2,500 ถึง 3,000 ตัน มีการทำเหมืองทองคำทั่วโลกอยู่ใน 82 ประเทศ
    สแกนใต้ดินแอฟริกาใต้ มีทรัพยากรแร่ทองคำมากที่สุดในโลก และเป็นผู้ผลิตทองคำรายใหญ่ที่สุดของโลก จนถึงปัจจุบันราว 31,000 ตัน รองลงมา คือ รัสเซีย ประมาณ 7,000 ตัน และ จีนเป็นอันดับ 3 ที่ผลิตประมาณ 6,328 ตัน ตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย แคนาดา และ เปรู
    ทว่าในปี 2564 จีนขึ้นแป้นครองแชมป์ประเทศที่ผลิตทองคำจากเหมืองทองคำในประเทศมากที่สุด คิดเป็น 11% ของการผลิต ทั่วโลก ซึ่งจากฐานข้อมูล Global Data’s mines and projects ที่ได้ติดตามการพัฒนาและปฏิบัติการของเหมืองแร่ และโครงการทั่วโลก โดยเก็บข้อมูลจากบริษัทยักษ์ใหญ่กว่า 4,000 บริษัท ได้สรุป 5 อันดับ เหมืองทองคำในจีนที่ผลิตทองคำได้มากที่สุดในปี 2563 ดังนี้
    1.Shaxi Copper Mine เป็นเหมืองใต้ดินในมณฑลอานฮุย (Anhui) ของกลุ่มบริษัท Togling Nonferrous Metal Group ซึ่งผลิตทองคำได้ประมาณ 730,000 ounces of gold ในปี 2563
    2.Jiaojia Gold Mine ของกลุ่มบริษัท Shandong Gold Group ในมณฑลซานตง (Shandong) ผลิตทองคำได้ประมาณ 230,000 ounces of gold ในปี 2563 และกำลังจะปิดตัวลงในปี 2566
    3.Dayingezhuang Gold Mine เป็นเหมืองทองคำในมณฑลซานตงเช่นกัน อยู่ภายใต้การบริหารของบริษัท Zhaojin Mining Industry และผลิตทองคำประมาณ 228,000 ounces of gold ในปี 2563
    4.Sanshandao Gold Mine เป็นเหมืองใต้ดินของกลุ่มบริษัท Shandong Gold Group ในมณฑลซานตง ผลิตทองคำได้ ประมาณ 218,000 ounces of gold ในปี 2563 และจะผลิตตามแผนงานไปจนถึงปี 2571
    5.Zaozigou Gold Mine เป็นเหมืองทองคำของบริษัท Zhaojin Mining Industy ในมณฑลกานซู (Gansu) ผลิตทองคำได้ ประมาณ 207,000 ounces of gold

    *****************
    รายงานจาก มูลนิธิสิทธิมนุษยชนไทใหญ่ และ สหภาพนักศึกษาไทใหญ่ เกี่ยวกับเหมืองแร่ทองคำขยายวงกว้างทำให้เกิดดินโคลนถล่มท่วมชุมชนทางตะวันออกท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน ระบุว่าบริษัทเหมืองแร่ได้เข้ามาในพื้นที่เมื่อปี 2550 ที่บริเวณต้นน้ำแม่น้ำคำ ตอนใต้ของบ้านนาโฮหลงในตำบลเมืองเลน ในปัจจุบันเหมืองทองคำแบบเปิดได้ขยายตัวไปกว่า 10 กิโลเมตรตลอดทั่วเทือกเขาดอยค้า ตามริมฝั่งน้ำด้านตะวันตกของแม่น้ำโขง การปล่อยน้ำจาจากการทำเหมืองแร่ทองแร่ทองคำที่ขาดการควบคุม รวมทั้งน้ำที่ไหลมาจากากอำบน้ำที่เจือด้วยสารไชยาไนด์ทำให้ลำน้ำน้ำอุดตัน และมักทำให้เกิดการกัดเซาะอย่างรุนแรงที่ริมฝั่งน้ำในช่วงฤดูฝน
    การขยายตัวของเหมืองทองคำในเมืองเลน ยังทำให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้นทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม และในปัจจุบัน มีบริษัท 12 แห่งที่เชื่อมโยงกับนายทหารพม่าระดับสูงได้รับประทานบัตรอายุ 11 ปี เพื่อการทำเหมืองแร่ทองคำ
    ในบรรดาประทานบัตร มีการให้ประทานบัตร 13 ฉบับแก่ (8 บริษัท) เมื่อกลางปี 2563 และอีก 7 ฉบับให้แก่ (5 บริษัท) ในปี 2564 ภายหลังการทำรัฐประหารเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ประทานบัตรแต่ละฉบับครอบคลุมพื้นที่ 50 ไร่บริษัทส่วนใหญ่ที่ได้รับประทานบัตรจด ทะเบียนในจังหวัดท่าขี้เหล็ก ยกเว้นเพียงเมย์ฟลาวเวอร์ไมนิ่ง เอนเตอร์ไพรส์(Maylower Mining Enterprises) ที่จัดตั้งขึ้นโดยนายจ่อวิน ซึ่งเป็นพันธมิตรกับกองทัพพม่า และตั้งอยู่ที่เมืองย่างกุ้ง
    การขุดทองที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในรัฐกะฉิ่น ประเทศเมียนมา ซึ่งเกิดขึ้นโดยขาดการควบคุมและก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่น
    *****************
    EarthRights.org รายงานว่า นับตั้งแต่การรัฐประหารในปี 2021 การขุดทองในรัฐกะฉิ่นเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ควบคุมโดยกองทัพกะฉิ่น (Kachin Independence Army: KIA) และกลุ่มติดอาวุธอื่นๆ เช่น กองทัพพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (MNDAA) การขุดทองนี้ส่วนใหญ่เป็นการขุดแบบไม่มีการควบคุม (unregulated) และใช้สารเคมี เช่น ปรอทและไซยาไนด์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดมลพิษในแม่น้ำและแหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำอิรวดี (Irrawaddy River) และแม่น้ำชินดวิน (Chindwin River) ซึ่งเป็นแหล่งน้ำสำคัญของชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเกิดจากการใช้สารเคมีในการสกัดทองทำให้ดินและน้ำปนเปื้อน ส่งผลกระทบต่อการเกษตรและสุขภาพของประชาชน นอกจากนั้นคือการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อขุดทองทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและเพิ่มความเสี่ยงต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ดินถล่ม
    ผลกระทบต่อชุมชน ชาวบ้านในพื้นที่ เช่น ในเมืองตานาย (Tanai) และเมืองชิปวี (Chipwi) เผชิญกับการสูญเสียที่ดินทำกินและแหล่งน้ำสะอาดการขุดทองดึงดูดแรงงานจากพื้นที่อื่น ทำให้เกิดความตึงเครียดในชุมชนและเพิ่มความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคเด็กและเยาวชนในพื้นที่ถูกดึงเข้าสู่อุตสาหกรรมการขุดทอง ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัยและการละเมิดสิทธิมนุษยชน
    และพื้นที่นี้ เหมืองทองในเมืองตานายถูกโจมตีทางอากาศโดยกองทัพเมียนมาในเดือนมกราคม 2025 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 20 ราย การโจมตีนี้ถูกมองว่าเป็นความพยายามของกองทัพในการขัดขวางแหล่งรายได้ของ KIA
    *****************
    ดร.สืบสกุล กิจนุกร นักวิชาการในพื้นที่เชียงราย พื้นที่ประสบภัยพิบัติทางแม่น้ำ จากประเทศเพื่อนบ้านที่ทำเหมืองทองคำ และแร่ธาตุเผยแพรข้อเสนอในเฟสบุ๊กส่วนตัวว่า ปัญหาสารโลหะหนักปนเปื้อนในน้ำกกและสายซึ่งเป็นปัญหามลพิษข้ามพรมแดนแล้ว เป็นสถานการณ์ความซับซ้อนของปัญหามลพิษข้ามแดนที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาจากรัฐส่วนกลางที่จะแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ได้คล้ายกับปัญหาฝุ่นควันข้ามแดน
    พร้อมกับอ้างอิงงานศึกษาว่าบทบาทของอาเซียนในการแก้ไขปัญหาสารโลหะหนักในแม่น้ำระหว่างประเทศดังเช่นแม่น้ำโขง Ding (2019) ที่วิพากษ์แนวคิด traditional state-centric governance เกี่ยวกับปัญหาสารโลหะหนักที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศแม่น้ำโขงตอนล่าง อันประกอบด้วย ไทย ลาว เวียนดนาม และกัมพูชา การแก้ไขภายใต้อาเซียนและ MRC (Mekong River Commission มีข้อจำกัดในแง่ที่ 1) รายงานมิได้ครอบคลุมรายละเอียดของปัญหามลพิษ 2) รายงานมิได้สนับสนุนการสื่อสารกันระหว่างองคกรที่แตกต่างกัน เช่น สถาบันการวิจัย 3) ขาดกลไกเชิงกฎหมายระดับภูมิภาคและการบังคับใช้กฎหมายในควบคุมมลพิษในน้ำข้ามพรมแดน 4) รายงานไม่ได้รับความสนใจจากสาธารณชน
    สรุปคือกลกลไกระหว่างประเทศแบบที่ สทนช.เสนอให้ MRC ทำ น่าจะไม่สามารถแก้ไขปัญหามลพิษข้ามแดนในบริบทอาเซียนได้ เมื่อพิจารณาความซับซ้อนของปัญหาในต้นน้ำกกและสาย จำเป็นต้องแกะปมตั้งแต่ บริษัทจีน กองกำลังติดอาวุธ ชาติพันธ์ และประเทศจีน ชุมชนในตลอดลำน้ำกกและสาย สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจ ปละภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วย
    เสียงคำรามของเครื่องบินพร้อมลูกระเบิดภารกิจ Airstrikes ก่อสงครามแย่งชิงขุมทรัพย์ทองคำสีเลือด และคนลุ่มน้ำโขงกำลังเผชิญภัยวิกฤติจากสารพิษ ที่เจือปนในแม่น้ำ รวมถึงการสลายความเป็นมนุษย์ในดินแดนขุมเมืองแห่งลุ่มแม่น้ำแห่งชีวิตสายนี้
    *****************
    อ้างอิง :
    • สำนักข่าว Shan Herald Agency for News, Burma News International, Human Rights Watch, The Irrawaddy Radio Free Asia Al Jazeera, Amnesty International, Justice For Myanmar, และ Wikipedia
    • World Gold Council https://www.gold.org/
    • EarthRights International
    Airstrikes สงคราม ทองคำ และคนลุ่มน้ำโขง (ตอนที่ 4) ***************** เสียงเครื่องบินกระหึ่มสัญชาติรัสเซีย และจีน ทั้งรุ่น MiG-29 -Yak-130 - K-8, F-7 และเฮลิคอปเตอร์โจมตี Mi-35 Mi-17 เทคออฟขึ้นน่านฟ้าเมียนมา สร้างความหวาดวิตกกับพลเรือนในพื้นที่เสี่ยง ความถี่มิได้เป็นปกป้องอธิปไตยเหนือน่านฟ้า บางครั้งก็ถลำรุกน่านฟ้าของไทย และถูกต้อนกลับ เสียงอากาศยานของเมียนมาทำให้ประชาชน พลเรือนระส่ำระสาย บาดเจ็บล้มตายกัน ในพื้นที่พลเรือนและกลุ่มต่อต้าน ปี 2023-24 กระทรวงกลาโหมใช้งบประมาณเพื่อภารกิจ Aistrike กว่า 2.7 พันล้านดอลลาร์ อาวุธ ส่วนใหญ่มาจากรัสเซียและจีน กองทัพเผด็จการเมียนมาได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศประมาณ 30 ครั้งในรัฐฉาน รัฐกะเหรี่ยงนี และรัฐกะฉิ่นในช่วงหนึ่งเดือนที่ผ่านมา โดยทิ้งระเบิดเกือบ 100 ลูก ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 20 ราย ตามข้อมูลที่ Shan Herald Agency for News (SHAN) ได้รับ ระหว่างปลายปีที่ผ่าน ถึงวันที่ 30 มกราคม 2025 การโจมตีทางอากาศเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่พื้นที่พลเรือนเป็นหลัก สร้างความเสียหายและการสูญเสียอย่างหนัก โดยเฉพาะเขตเมืองนองคิโอ รัฐฉาน ซึ่งระเบิดตกใส่ร้านน้ำชา ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 8 ราย มีการประเมินว่านับตั้งแต่การรัฐประหารเมื่อเกือบสี่ปีที่แล้ว โดยบันทึกการโจมตีทางอากาศทั้งหมด 1,767 ครั้ง ซึ่งน่าตกใจว่าร้อยละ 47 ของการโจมตีเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่พื้นที่พลเรือน ทำให้วิกฤตด้านมนุษยธรรมในพื้นที่ขัดแย้งรุนแรงขึ้น พื้นที่ ที่เป็นเป้าหมายคือพื้นที่ที่มีผลประโยชน์เหมืองแร่ และแร่ธาตุสูง โดยเฉพาะใน รัฐฉาน (Shan State), รัฐกะเหรี่ยงนี-คะยา (Karenni/Kayah State), รัฐกะฉิ่น (Kachin State), รัฐระแหง (Rakhine State) และพื้นที่อื่นๆ เช่น ภูมิภาคสกาย (Sagaing Region) เป็นต้น ***************** USGS (United States Geological Survey) ได้ ประมาณการไว้ว่า ยังคงเหลือทองคำอยู่ใต้ดินที่ยังไม่ได้ผลิตออกมาอีกประมาณ 50,000 ตัน คาดกันว่าปริมาณทองคำที่ขุดขึ้นมา และมีการใช้ประโยชน์กันแล้วกว่า 190,000 ตัน และโดยเฉลี่ยในปัจจุบันมีการผลิตออกจากเหมืองประมาณปีละ 2,500 ถึง 3,000 ตัน มีการทำเหมืองทองคำทั่วโลกอยู่ใน 82 ประเทศ สแกนใต้ดินแอฟริกาใต้ มีทรัพยากรแร่ทองคำมากที่สุดในโลก และเป็นผู้ผลิตทองคำรายใหญ่ที่สุดของโลก จนถึงปัจจุบันราว 31,000 ตัน รองลงมา คือ รัสเซีย ประมาณ 7,000 ตัน และ จีนเป็นอันดับ 3 ที่ผลิตประมาณ 6,328 ตัน ตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย แคนาดา และ เปรู ทว่าในปี 2564 จีนขึ้นแป้นครองแชมป์ประเทศที่ผลิตทองคำจากเหมืองทองคำในประเทศมากที่สุด คิดเป็น 11% ของการผลิต ทั่วโลก ซึ่งจากฐานข้อมูล Global Data’s mines and projects ที่ได้ติดตามการพัฒนาและปฏิบัติการของเหมืองแร่ และโครงการทั่วโลก โดยเก็บข้อมูลจากบริษัทยักษ์ใหญ่กว่า 4,000 บริษัท ได้สรุป 5 อันดับ เหมืองทองคำในจีนที่ผลิตทองคำได้มากที่สุดในปี 2563 ดังนี้ 1.Shaxi Copper Mine เป็นเหมืองใต้ดินในมณฑลอานฮุย (Anhui) ของกลุ่มบริษัท Togling Nonferrous Metal Group ซึ่งผลิตทองคำได้ประมาณ 730,000 ounces of gold ในปี 2563 2.Jiaojia Gold Mine ของกลุ่มบริษัท Shandong Gold Group ในมณฑลซานตง (Shandong) ผลิตทองคำได้ประมาณ 230,000 ounces of gold ในปี 2563 และกำลังจะปิดตัวลงในปี 2566 3.Dayingezhuang Gold Mine เป็นเหมืองทองคำในมณฑลซานตงเช่นกัน อยู่ภายใต้การบริหารของบริษัท Zhaojin Mining Industry และผลิตทองคำประมาณ 228,000 ounces of gold ในปี 2563 4.Sanshandao Gold Mine เป็นเหมืองใต้ดินของกลุ่มบริษัท Shandong Gold Group ในมณฑลซานตง ผลิตทองคำได้ ประมาณ 218,000 ounces of gold ในปี 2563 และจะผลิตตามแผนงานไปจนถึงปี 2571 5.Zaozigou Gold Mine เป็นเหมืองทองคำของบริษัท Zhaojin Mining Industy ในมณฑลกานซู (Gansu) ผลิตทองคำได้ ประมาณ 207,000 ounces of gold ***************** รายงานจาก มูลนิธิสิทธิมนุษยชนไทใหญ่ และ สหภาพนักศึกษาไทใหญ่ เกี่ยวกับเหมืองแร่ทองคำขยายวงกว้างทำให้เกิดดินโคลนถล่มท่วมชุมชนทางตะวันออกท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน ระบุว่าบริษัทเหมืองแร่ได้เข้ามาในพื้นที่เมื่อปี 2550 ที่บริเวณต้นน้ำแม่น้ำคำ ตอนใต้ของบ้านนาโฮหลงในตำบลเมืองเลน ในปัจจุบันเหมืองทองคำแบบเปิดได้ขยายตัวไปกว่า 10 กิโลเมตรตลอดทั่วเทือกเขาดอยค้า ตามริมฝั่งน้ำด้านตะวันตกของแม่น้ำโขง การปล่อยน้ำจาจากการทำเหมืองแร่ทองแร่ทองคำที่ขาดการควบคุม รวมทั้งน้ำที่ไหลมาจากากอำบน้ำที่เจือด้วยสารไชยาไนด์ทำให้ลำน้ำน้ำอุดตัน และมักทำให้เกิดการกัดเซาะอย่างรุนแรงที่ริมฝั่งน้ำในช่วงฤดูฝน การขยายตัวของเหมืองทองคำในเมืองเลน ยังทำให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้นทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม และในปัจจุบัน มีบริษัท 12 แห่งที่เชื่อมโยงกับนายทหารพม่าระดับสูงได้รับประทานบัตรอายุ 11 ปี เพื่อการทำเหมืองแร่ทองคำ ในบรรดาประทานบัตร มีการให้ประทานบัตร 13 ฉบับแก่ (8 บริษัท) เมื่อกลางปี 2563 และอีก 7 ฉบับให้แก่ (5 บริษัท) ในปี 2564 ภายหลังการทำรัฐประหารเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ประทานบัตรแต่ละฉบับครอบคลุมพื้นที่ 50 ไร่บริษัทส่วนใหญ่ที่ได้รับประทานบัตรจด ทะเบียนในจังหวัดท่าขี้เหล็ก ยกเว้นเพียงเมย์ฟลาวเวอร์ไมนิ่ง เอนเตอร์ไพรส์(Maylower Mining Enterprises) ที่จัดตั้งขึ้นโดยนายจ่อวิน ซึ่งเป็นพันธมิตรกับกองทัพพม่า และตั้งอยู่ที่เมืองย่างกุ้ง การขุดทองที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในรัฐกะฉิ่น ประเทศเมียนมา ซึ่งเกิดขึ้นโดยขาดการควบคุมและก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่น ***************** EarthRights.org รายงานว่า นับตั้งแต่การรัฐประหารในปี 2021 การขุดทองในรัฐกะฉิ่นเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ควบคุมโดยกองทัพกะฉิ่น (Kachin Independence Army: KIA) และกลุ่มติดอาวุธอื่นๆ เช่น กองทัพพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (MNDAA) การขุดทองนี้ส่วนใหญ่เป็นการขุดแบบไม่มีการควบคุม (unregulated) และใช้สารเคมี เช่น ปรอทและไซยาไนด์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดมลพิษในแม่น้ำและแหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำอิรวดี (Irrawaddy River) และแม่น้ำชินดวิน (Chindwin River) ซึ่งเป็นแหล่งน้ำสำคัญของชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเกิดจากการใช้สารเคมีในการสกัดทองทำให้ดินและน้ำปนเปื้อน ส่งผลกระทบต่อการเกษตรและสุขภาพของประชาชน นอกจากนั้นคือการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อขุดทองทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและเพิ่มความเสี่ยงต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ดินถล่ม ผลกระทบต่อชุมชน ชาวบ้านในพื้นที่ เช่น ในเมืองตานาย (Tanai) และเมืองชิปวี (Chipwi) เผชิญกับการสูญเสียที่ดินทำกินและแหล่งน้ำสะอาดการขุดทองดึงดูดแรงงานจากพื้นที่อื่น ทำให้เกิดความตึงเครียดในชุมชนและเพิ่มความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคเด็กและเยาวชนในพื้นที่ถูกดึงเข้าสู่อุตสาหกรรมการขุดทอง ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัยและการละเมิดสิทธิมนุษยชน และพื้นที่นี้ เหมืองทองในเมืองตานายถูกโจมตีทางอากาศโดยกองทัพเมียนมาในเดือนมกราคม 2025 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 20 ราย การโจมตีนี้ถูกมองว่าเป็นความพยายามของกองทัพในการขัดขวางแหล่งรายได้ของ KIA ***************** ดร.สืบสกุล กิจนุกร นักวิชาการในพื้นที่เชียงราย พื้นที่ประสบภัยพิบัติทางแม่น้ำ จากประเทศเพื่อนบ้านที่ทำเหมืองทองคำ และแร่ธาตุเผยแพรข้อเสนอในเฟสบุ๊กส่วนตัวว่า ปัญหาสารโลหะหนักปนเปื้อนในน้ำกกและสายซึ่งเป็นปัญหามลพิษข้ามพรมแดนแล้ว เป็นสถานการณ์ความซับซ้อนของปัญหามลพิษข้ามแดนที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาจากรัฐส่วนกลางที่จะแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ได้คล้ายกับปัญหาฝุ่นควันข้ามแดน พร้อมกับอ้างอิงงานศึกษาว่าบทบาทของอาเซียนในการแก้ไขปัญหาสารโลหะหนักในแม่น้ำระหว่างประเทศดังเช่นแม่น้ำโขง Ding (2019) ที่วิพากษ์แนวคิด traditional state-centric governance เกี่ยวกับปัญหาสารโลหะหนักที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศแม่น้ำโขงตอนล่าง อันประกอบด้วย ไทย ลาว เวียนดนาม และกัมพูชา การแก้ไขภายใต้อาเซียนและ MRC (Mekong River Commission มีข้อจำกัดในแง่ที่ 1) รายงานมิได้ครอบคลุมรายละเอียดของปัญหามลพิษ 2) รายงานมิได้สนับสนุนการสื่อสารกันระหว่างองคกรที่แตกต่างกัน เช่น สถาบันการวิจัย 3) ขาดกลไกเชิงกฎหมายระดับภูมิภาคและการบังคับใช้กฎหมายในควบคุมมลพิษในน้ำข้ามพรมแดน 4) รายงานไม่ได้รับความสนใจจากสาธารณชน สรุปคือกลกลไกระหว่างประเทศแบบที่ สทนช.เสนอให้ MRC ทำ น่าจะไม่สามารถแก้ไขปัญหามลพิษข้ามแดนในบริบทอาเซียนได้ เมื่อพิจารณาความซับซ้อนของปัญหาในต้นน้ำกกและสาย จำเป็นต้องแกะปมตั้งแต่ บริษัทจีน กองกำลังติดอาวุธ ชาติพันธ์ และประเทศจีน ชุมชนในตลอดลำน้ำกกและสาย สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจ ปละภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วย เสียงคำรามของเครื่องบินพร้อมลูกระเบิดภารกิจ Airstrikes ก่อสงครามแย่งชิงขุมทรัพย์ทองคำสีเลือด และคนลุ่มน้ำโขงกำลังเผชิญภัยวิกฤติจากสารพิษ ที่เจือปนในแม่น้ำ รวมถึงการสลายความเป็นมนุษย์ในดินแดนขุมเมืองแห่งลุ่มแม่น้ำแห่งชีวิตสายนี้ ***************** อ้างอิง : • สำนักข่าว Shan Herald Agency for News, Burma News International, Human Rights Watch, The Irrawaddy Radio Free Asia Al Jazeera, Amnesty International, Justice For Myanmar, และ Wikipedia • World Gold Council https://www.gold.org/ • EarthRights International
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 832 มุมมอง 0 รีวิว

  • ตามรอยย้อนกลับ Supply Chain แร่หายากจากพม่ามหาศาลสู่จีน
    ______________________________
    23 ธันวาคม พ.ศ. 2564 บริษัท China Rare Earth Group Co., Ltd. ก่อตัวขึ้นอย่างเป็นทางการ จากการควบรวมของ 3 กิจการด้านอุตสาหกรรมแร่หายากในจีน China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. เป้าคือพัฒนาอุตสาหกรรมแร่หายาก วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
    China Rare Earth Group อยู่ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของรัฐ-คณะกรรมการกำกับดูแลและบริหารสินทรัพย์ที่เป็นเจ้าของของสภาแห่งรัฐ ถือหุ้นร้อยละ 31.21 China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. แต่ละบริษัทถือหุ้นร้อยละ 20.33; China Iron and Steel Research Technology Group Co., Ltd. และ Youyan Technology Group Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 3.90
    ปัจจุบันจีนมีปริมาณการผลิตแร่ธาตุ หายากสูงเป็นอันดับ 1 ของโลกอยู่ที่ 132,000 ตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากทั่วโลก ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 210,000 ตัน โดยประเทศอื่น ๆ ที่มีปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากในลำดับถัดมา ได้แก่ สหรัฐฯ (26,000 ตัน) เมียนมา (22,000 ตัน) ออสเตรเลีย (21,000 ตัน) อินเดีย (3,000 ตัน) รัสเซีย (2,700 ตัน) มาดากัสการ์ (2,000 ตัน) ไทย (1,800 ตัน) บราซิล (1,000 ตัน) เวียดนาม (900 ตัน) และบุรุนดี (600 ตัน)
    ______________________________
    ระฆังกำแพงภาษีลั่นขึ้นห้วงเมษายน 2568 โดยสหรัฐอเมริกา การตอบโต้กลับของจีนเปิดหน้าชก สวนกลับทุกเม็ด รวมถึงได้ขยายการใช้ "แร่หายาก" (rare earths) เป็นเครื่องมือตอบโต้ทางการค้า โดยประกาศจำกัดการส่งออกแร่หายาก 7 ชนิด ซึ่งเป็นวัสดุสำคัญในอุดสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงอาวุธยุทโธปกรณ์ โดยเป็นการตอบโต้ต่อมาดรการภาษีนำเข้าของสหรัฐ
    สำหรับแร่หายาก 7 ชนิดได้แก่ ชามาเรียม (Samarium) แกโดลิเนียม (Gadolinium) เทอร์เมียม (Terbium) ดิสโพรเซียม (Dysprosium) ลูทีเซียม (Lutetium) สแกนเดียม (Scandium) และอิดเทรียม (Yttrium) สำหรับแร่หายากยอดนิยมอย่าง นี่โอไดเมียม (Neodymium) และ พราเชโอไดเมียม (Praseodymium) ซึ่งใช้ผลิตแม่เหล็กประสิทธิภาพสูง ยังไม่อยู่ในรายชื่อควบคุม
    หลังการรัฐประหารปี 2021 การส่งออกแร่ธาตุหายากจากพม่าไปจีนเพิ่มขึ้น 5 เท่า สูงถึง 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการการพึ่งพาจีน 90% ของการแปรรูปแร่หายากโลกอยู่ในจีน แบ่งเป็น แร่กลุ่มหายาก (Rare Earth Elements) มูลค่า: 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2025) ส่วนแบ่งการนำเข้า: กว่า 50% ของการนำเข้าแร่หายากทั้งหมดของจีน ชนิดแร่หลัก: เทอร์เบียม (Terbium) และดีสโพรเซียม (Dysprosium) ในกลุ่ม Heavy Rare Earth Elements (HREE) พื้นที่ทำเหมืองหลักที่คะฉิ่น ที่เหมือง Chipwi และ Momauk: มีบ่อแร่มากกว่า 2,700 บ่อ เมือง Panwa: แหล่งผลิตหลักภายใต้การควบคุมของ Kachin Independence Army (KIA) การขยายตัว: จำนวนไซต์ทำเหมืองเพิ่มขึ้น 40% นับตั้งแต่ปี 2021 โดยพื้นที่ KIA: เก็บภาษี 35,000 หยวน/ตัน (ประมาณ 4,800 ดอลลาร์สหรัฐ)
    บริษัทจีนผู้รับซื้อหลัก คือ China Rare Earths Group (REGCC) ควบคุมการประมูลแร่กว่า 80% China Northern Rare Earth Group ผู้ประมูลแร่รายใหญ่ของโลก และ JL Mag Rare-Earth: ผู้ผลิตแม่เหล็กถาวรรายใหญ่ ใช้แร่จากพม่าในอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และยังมีบริษัท Rising Nonferrous บริษัทที่ได้รับอนุมัติให้นำเข้าแร่หายากจากเมียนมาโดยตรง
    นอกจากนั้นก็จะมี China Nonferrous Metal Mining Group (CNMC) รับซื้อ: ทองแดง, นิกเกิล พื้นที่รับซื้อคือเหมือง Monywa ในเขตสะกาย บริษัท China Minmetals Corporation: รับซื้อ: แร่หายาก, ดีบุก, ทังสเตน Aluminum Corporation of China (CHINALCO): รับซื้อ: แร่ที่เกี่ยวข้องกับอะลูมิเนียมและโลหะผสม Yunnan Tin Company: รับซื้อ: ดีบุก เพราะเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่ของจีน Pangang Group: รับซื้อ: ทังสเตน, พลวง เป็นผู้นำในอุตสาหกรรมโลหะหนัก
    ______________________________
    การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนมีป้อนอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำให้จีน และแน่นอนต้องใช้ฐานของกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นตลาดหลักและบายพาสไปยังกลุ่มประเทศที่มีกำแพงภาษีสูงไม่ว่าจะเป็น
    • อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles)แร่ธาตุหายาก เช่น ดิสโพรเซียม (Dysprosium) และเทอร์เบียม (Terbium) ที่นำเข้าจากพม่าใช้เป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับมอเตอร์ในรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจีนมีความต้องการสูงมากในช่วงหลังเพื่อรองรับการเติบโตของตลาด EV
    • อุตสาหกรรมพลังงานลม (Wind Power)แม่เหล็กถาวรที่ผลิตจากแร่ธาตุหายากเหล่านี้ยังถูกใช้ในกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานสะอาด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพลังงานทดแทนของจีน
    • อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics)แร่ธาตุหายากจากพม่าถูกนำไปใช้ในชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่ต้องการแม่เหล็กและวัสดุพิเศษ
    • อุตสาหกรรมแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets) บริษัทจีนใหญ่ เช่น China Southern Rare Earth ใช้แร่ธาตุจากพม่าในการผลิตแม่เหล็กถาวรที่เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรม
    • อาวุธยุทโธปกรณ์ (Defence Industry) และอุตสาหกรรมอวกาศ และอากาศยาน (Aerospace Industry)
    สถานการณ์ความต้องการแร่ธาตุหายากงวดขึ้นเพราะนับวันแร่ธาตุเหล่านั้นย่อมลดลง ตามชื่อเพราะยิ่งหายากขึ้น โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 2024 จีนเพิ่มการนำเข้าแร่หายากจากพม่าเกิน 9 เท่าเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคิดเป็นกว่า 70% ของแร่ธาตุหายากที่จีนใช้ทั้งหมด ซึ่งทำให้พม่าเป็นแหล่งผลิตแร่หายากที่ใหญ่ที่สุดของจีนในปัจจุบัน
    ______________________________
    ความต้องการสูงและความไม่แน่นอนของซัพพลายเชน โดยเฉพาะในช่วงที่มีความขัดข้องจากสถานการณ์ภูมิรัฐศาสตร์ ทำให้จีนพึ่งพาแหล่งแร่จากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะพม่าเป็นสัดส่วนถึง 70% ของวัตถุดิบที่ใช้ เนื่องจากเหมืองในจีนผลิตไม่เพียงพอและมีข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและนโยบาย
    ปัญหาจึงอยู่ที่แร่ธาตุหายากจากพม่าส่วนใหญ่ถูกขุดอย่างผิดกฎหมายและผ่านช่องทางที่ไม่โปร่งใส ทำให้บริษัทจีนที่แปรรูปแร่ไม่สามารถระบุแหล่งที่มาได้ชัดเจน ส่งผลต่อความยั่งยืนและความน่าเชื่อถือของตลาด รวมถึงสร้างปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมต่อพม่าอย่างมหาศาล
    หากเจาะพื้นที่การทำเหมืองในรัฐต่าง ๆ การทำเหมืองในเมียนมามักอยู่ในพื้นที่ที่มีความขัดแย้งหรือควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธ ซึ่งมีผลต่อการส่งออกและการจัดการทรัพยากร ดังนี้:
    • รัฐคะฉิ่น (Kachin State): แร่หลัก: แร่หายาก (REEs), พลวง, ทองคำ, อิตเทรียม พื้นที่ป่าทางตอนเหนือ อุดมไปด้วยแร่หายาก แต่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งระหว่างกองทัพเมียนมาและกองทัพปลดปล่อยคะฉิ่น (KIA) ส่วนใหญ่ทำลายสิ่งแวดล้อม น้ำกลายเป็นโคลน และสัตว์ป่าลดลง
    • รัฐฉาน (Shan State): แร่หลัก: ดีบุก, ตะกั่ว, สังกะสี, ทังสเตน,ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ เช่น เหมือง Man Maw การควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธที่เชื่อมโยงกับกองทัพเมียนมา ทำให้เงินจากเหมือง สนับสนุนกองทัพ สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมหาศาลเช่นกันและลุกลามไปยังประเทศเพื่อนบ้านคือประเทศไทย
    • เขตสะกาย (Sagaing Region): แร่หลัก: ทองแดง, นิกเกิล, ทองคำพื้นที่ที่มีการสู้รบหนักระหว่างกองทัพเมียนมาและกองกำลัง PDF
    • เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region): แร่หลัก: แร่หายาก, พลวง, อิตเทรียม, ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองขนาดเล็กกระจายอยู่
    • เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region): แร่หลัก: ดีบุก เป็นเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ใกล้ชายฝั่ง
    • รัฐมอญ (Mon State): แร่หลัก: ทองแดง เป็นเหมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง
    • รัฐกะยา (Kayah State): แร่หลัก: ตะกั่ว พื้นที่ที่มีความขัดแย้งสูง
    ______________________________
    สอบทานต้นทาง-ย้อนกลับห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของแร่ธาตุจากเมียนมาไปจีนมีลักษณะดังนี้ เริ่มต้นสำรวจแหล่ง แน่นอนฐานข้อมูลมีอยู่แล้วในมือรัฐบาลทหารพม่า และในกำมือเทคโนโลยีจีน ก่อนจะให้บริษัทเอกชนในแต่ละความถนัดของจีน และของพม่าเอง ขุดและแปรรูปเบื้องต้น เหมืองส่วนใหญ่ในพม่าดำเนินการโดยบริษัทท้องถิ่นหรือบริษัทจีนร่วมทุน การแปรรูปขั้นต้น (เช่น การถลุงแร่ดีบุก) มักทำในเมียนมาก่อนส่งออก ส่วนใหญ่ในพื้นที่ขัดแย้งทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการละเมิดสิทธิมนุษยชน
    การขนส่ง เส้นทางหลัก: จากเหมืองในรัฐคะฉิ่นและฉานไปยังชายแดนจีน (มณฑลยูนนาน) ผ่านทางรถไฟหรือถนน เช่น เส้นทางรถไฟเจ้าผิ่ว-มูเซ บางส่วนส่งออกผ่านท่าเรือในเขตตะนาวศรีและย่างกุ้ง
    การแปรรูปขั้นสูงในจีน ปลายทางคือโรงงานแปรรูปอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง, เจียงซู, และแถบเศรษฐกิจแยงซีเกียง โดยแร่หายากถูกกลั่นเป็นโลหะบริสุทธิ์หรือสารประกอบ เช่น นีโอดิเมียมสำหรับแม่เหล็ก หรืออิตเทรียมสำหรับ LED
    สายพานอุตสาหกรรมที่ใช้งานแบ่งตามแร่ธาตุอุตสาหกรรมเทคโนโลยี: แร่หายาก (REEs) และดีบุกใช้ในสมาร์ทโฟน, คอมพิวเตอร์, เซมิคอนดักเตอร์ ยานยนต์ไฟฟ้า: แร่หายาก (นีโอดิเมียม, ดิสโพรเซียม) และนิกเกิลใช้ในมอเตอร์และแบตเตอรี่ พลังงานสะอาด: ทังสเตนและพลวงใช้ในกังหันลมและแผงโซลาร์ อุตสาหกรรมทหาร: แร่หายากและพลวงใช้ในขีปนาวุธ, เรดาร์, และเลเซอร์ การก่อสร้างและเครื่องจักร: ทองแดงและสังกะสีใช้ในสายไฟและโครงสร้าง
    ความท้าทายในระบบ Supply Chain ส่วนใหญ่คือความขัดแย้งในเมียนมาอาจขัดขวางการขนส่ง จากผลประโยชน์มหาศาลเพื่อนำมาเป็นอาวุธและจุนเจือเสบียงในการรบ ขณะที่นานาชาติได้เรียกร้องให้ตรวจสอบแร่จากพื้นที่ขัดแย้ง แต่จีนเป็นประเทศเดียวที่บังคับให้แยกแร่จากเมียนมาและจีน
    ______________________________
    ล่าสุด กองกำลังเอกราชคะฉิ่น (Kachin Independent Organization, Kachin Independent Army- KIA) ซึ่งได้เป็นเจ้าของใหม่ของเหมืองแร่หายาก หรือแร่แรร์เอิร์ธ (Rare Earth) อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน (ราว 160,000 บาท) พื้นที่แหล่งแร่หายากที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์ในเขตปางวาและชิพเว (Pang Wa, Chi Pwi) ในรัฐคะฉิ่น ซึ่งกลุ่ม KIA เข้ายึดครองในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2567 ได้รับอนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังจีนหลังจากควบคุมพื้นที่มาได้ 6 เดือน
    สำนักข่าวรอยเตอร์ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2568 KIO/KIA ได้อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน อย่างไรก็ตาม รายละเอียดอื่น ๆ ในหนังสืออนุญาตของ KIO ยังไม่ได้รับการเปิดเผย เจ้าหน้าที่ KIA เขตปางวาให้ข้อมูลว่าKIO/KIA และรัฐบาลจีน ยังคงเจรจาเกี่ยวกับการใช้จุดผ่านแดนเดียวในการส่งออกแร่หายาก และจนถึงสัปดาห์ที่สองของเดือนเมษายน ยังไม่มีการส่งออกอย่างเป็นทางการ
    KIA สามารถควบคุมจุดผ่านแดนทางการค้าระหว่างจีน-พม่าในรัฐคะฉิ่นทั้งหมด ได้แก่ กานปายตี Kan Pai Ti, ล่วยเจ Loi Je และปางวา ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างตรวจสอบว่าจะใช้จุดผ่านแดนใดในการส่งออก หลังจากที่ KIA ควบคุมพื้นที่ปางวาและชิพเว รัฐบาลจีนได้มีคำสั่งปิดจุดผ่านแดนทั้งหมด ทำให้บริษัทเหมืองแร่ส่วนใหญ่หยุดดำเนินการ มีเพียงบางบริษัทที่ยังคงขุดแร่ต่อไป เนื่องจากยังมีวัตถุดิบหลงเหลืออยู่
    รายงานของ Global Witness ระบุว่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาเริ่มขึ้นในปี 2016 โดยนักธุรกิจชาวจีน ซึ่งส่งออกแร่ไปยังจีนเป็นหลัก ตามข้อมูลปัจจุบัน พม่าติดอันดับ 3 ของประเทศผู้ผลิตแร่แรร์เอิร์ท และคิดเป็น 50% ของการส่งออกแร่หายากทั่วโลก หลังจากการรัฐประหารของกองทัพพม่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาและชิพเวเพิ่มขึ้น 40% และจำนวนเหมืองแร่เพิ่มขึ้นกว่า 300 แห่ง ในปี 2566 เพียงปีเดียว มีการส่งออกแร่หายากไปยังจีนมากถึง 41,700 ตัน สร้างรายได้ถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
    ______________________________
    สรุปขมวดปม การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนช่วยเสริมความมั่นคงของซัพพลายเชนแร่หายากในจีน ลดภาวะขาดแคลนและสนับสนุนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง แต่ก็เพิ่มความเสี่ยงด้านความโปร่งใสและความยั่งยืนในตลาดแร่ธาตุของจีน แร่ธาตุหายากจากพม่ามีบทบาทสำคัญในห่วงโซ่อุปทานของจีน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีขั้นสูงและพลังงานสะอาด ซึ่งจีนพึ่งพาการนำเข้าแร่จากพม่าเป็นสัดส่วนสูงถึง 70% ของแร่หายากที่ใช้ในประเทศ เหมืองแร่หายากเหล่านี้ทั้งหมด รวมถึงแร่ทองคำ และอื่น ๆ ที่ปักหมุดขุดหลุมร่อนตระแกรง ทุกรัฐในเมียนมาก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ป่าเขา แม่น้ำ ลำธาร โดยคนงานบางรายถูกเอารัดเอาเปรียบอย่างโหดร้าย หญิงคนงานถูกล่วงละเมิดทางเพศ และหลายคนได้รับอันตรายทางสุขภาพอย่างร้ายแรงจากสารเคมีที่ใช้ในเหมือง และส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่กว้างขวางขึ้นรวมถึงประเทศไทย และลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน คำถามคือจีนมีส่วนสำคัญในการสร้างมลภาวะในพื้นที่ ควรจะร่วมรับผิดชอบหรือไม่ ไม่ใช่การสูบทรัพยากรในพื้นที่แต่ไม่ได้เหลียวแลผลกระทบที่จะตามมา อันจะกลายเป็นการสร้างปัญหาใหญ่ให้กับจีนในอนาคต
    อ้างอิง : https://www.facebook.com/GlobalWitness/ และสำนักข่าวชายขอบ
    https://shorturl.asia/6GnqX
    ประชาไท https://prachatai.com/journal/2025/01/111942
    ______________________________

    10 อันดับแร่ธาตุที่ส่งออกจากเมียนมาไปจีน (เรียงตามมูลค่าประเมิน)
    1. แร่ดีบุก (Tin)
    o มูลค่า: สูงสุด เนื่องจากเมียนมาเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่อันดับ 3 ของโลก และจีนนำเข้า 95% ของหัวแร่ดีบุกจากเมียนมาในปี 2563
    o การใช้งาน: ใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (บัดกรีแผงวงจร), การผลิตโลหะผสม
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน (Shan State), เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region)
    2. แร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs)
    o มูลค่า: สูง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงของจีน
    o การใช้งาน: ผลิตแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets), แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า, อุปกรณ์เลเซอร์, เซมิคอนดักเตอร์
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น (Kachin State), เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region)
    3. ทองแดง (Copper)
    o มูลค่า: สูง เนื่องจากราคาทองแดงในตลาดโลกพุ่งสูงหลังรัฐประหาร
    o การใช้งาน: สายไฟ, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, การก่อสร้าง
    o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย (Sagaing Region), รัฐมอญ (Mon State)
    4. ตะกั่ว (Lead)
    o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
    o การใช้งาน: แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด, อุตสาหกรรมยานยนต์
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐกะยา (Kayah State)
    5. สังกะสี (Zinc)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบโลหะ
    o การใช้งาน: การชุบกัลวาไนซ์, โลหะผสม
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, เขตย่างกุ้ง (Yangon Region)
    6. นิกเกิล (Nickel)
    o มูลค่า: ปานกลาง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
    o การใช้งาน: แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน, สแตนเลส
    o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย, รัฐฉาน
    7. พลวง (Antimony)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมทหารและพลังงาน
    o การใช้งาน: สารหน่วงไฟ, โลหะผสม, อุปกรณ์ทหาร
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์
    8. ทังสเตน (Tungsten)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมที่มีความแข็งสูง
    o การใช้งาน: โลหะผสม, เครื่องมือตัด, อุปกรณ์ทหาร
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐคะฉิ่น
    9. ทองคำ (Gold)
    o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ขึ้นอยู่กับราคาตลาดโลก
    o การใช้งาน: อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, เครื่องประดับ
    o พื้นที่เหมือง: เขตมัณฑะเลย์, รัฐคะฉิ่น, เขตสะกาย
    10. อิตเทรียม (Yttrium)
    o มูลค่า: ต่ำถึงปานกลาง แต่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมเฉพาะ
    o การใช้งาน: สารเรืองแสงใน LED, อุปกรณ์ MRI, เซรามิก
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์
    หมายเหตุ: มูลค่าที่ระบุเป็นการประเมินจากความสำคัญในห่วงโซ่อุปทานและปริมาณการส่งออก เนื่องจากไม่มีข้อมูลตัวเลขที่แน่นอนหลังรัฐประหาร
    ______________________________
    ตามรอยย้อนกลับ Supply Chain แร่หายากจากพม่ามหาศาลสู่จีน ______________________________ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564 บริษัท China Rare Earth Group Co., Ltd. ก่อตัวขึ้นอย่างเป็นทางการ จากการควบรวมของ 3 กิจการด้านอุตสาหกรรมแร่หายากในจีน China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. เป้าคือพัฒนาอุตสาหกรรมแร่หายาก วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี China Rare Earth Group อยู่ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของรัฐ-คณะกรรมการกำกับดูแลและบริหารสินทรัพย์ที่เป็นเจ้าของของสภาแห่งรัฐ ถือหุ้นร้อยละ 31.21 China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. แต่ละบริษัทถือหุ้นร้อยละ 20.33; China Iron and Steel Research Technology Group Co., Ltd. และ Youyan Technology Group Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 3.90 ปัจจุบันจีนมีปริมาณการผลิตแร่ธาตุ หายากสูงเป็นอันดับ 1 ของโลกอยู่ที่ 132,000 ตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากทั่วโลก ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 210,000 ตัน โดยประเทศอื่น ๆ ที่มีปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากในลำดับถัดมา ได้แก่ สหรัฐฯ (26,000 ตัน) เมียนมา (22,000 ตัน) ออสเตรเลีย (21,000 ตัน) อินเดีย (3,000 ตัน) รัสเซีย (2,700 ตัน) มาดากัสการ์ (2,000 ตัน) ไทย (1,800 ตัน) บราซิล (1,000 ตัน) เวียดนาม (900 ตัน) และบุรุนดี (600 ตัน) ______________________________ ระฆังกำแพงภาษีลั่นขึ้นห้วงเมษายน 2568 โดยสหรัฐอเมริกา การตอบโต้กลับของจีนเปิดหน้าชก สวนกลับทุกเม็ด รวมถึงได้ขยายการใช้ "แร่หายาก" (rare earths) เป็นเครื่องมือตอบโต้ทางการค้า โดยประกาศจำกัดการส่งออกแร่หายาก 7 ชนิด ซึ่งเป็นวัสดุสำคัญในอุดสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงอาวุธยุทโธปกรณ์ โดยเป็นการตอบโต้ต่อมาดรการภาษีนำเข้าของสหรัฐ สำหรับแร่หายาก 7 ชนิดได้แก่ ชามาเรียม (Samarium) แกโดลิเนียม (Gadolinium) เทอร์เมียม (Terbium) ดิสโพรเซียม (Dysprosium) ลูทีเซียม (Lutetium) สแกนเดียม (Scandium) และอิดเทรียม (Yttrium) สำหรับแร่หายากยอดนิยมอย่าง นี่โอไดเมียม (Neodymium) และ พราเชโอไดเมียม (Praseodymium) ซึ่งใช้ผลิตแม่เหล็กประสิทธิภาพสูง ยังไม่อยู่ในรายชื่อควบคุม หลังการรัฐประหารปี 2021 การส่งออกแร่ธาตุหายากจากพม่าไปจีนเพิ่มขึ้น 5 เท่า สูงถึง 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการการพึ่งพาจีน 90% ของการแปรรูปแร่หายากโลกอยู่ในจีน แบ่งเป็น แร่กลุ่มหายาก (Rare Earth Elements) มูลค่า: 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2025) ส่วนแบ่งการนำเข้า: กว่า 50% ของการนำเข้าแร่หายากทั้งหมดของจีน ชนิดแร่หลัก: เทอร์เบียม (Terbium) และดีสโพรเซียม (Dysprosium) ในกลุ่ม Heavy Rare Earth Elements (HREE) พื้นที่ทำเหมืองหลักที่คะฉิ่น ที่เหมือง Chipwi และ Momauk: มีบ่อแร่มากกว่า 2,700 บ่อ เมือง Panwa: แหล่งผลิตหลักภายใต้การควบคุมของ Kachin Independence Army (KIA) การขยายตัว: จำนวนไซต์ทำเหมืองเพิ่มขึ้น 40% นับตั้งแต่ปี 2021 โดยพื้นที่ KIA: เก็บภาษี 35,000 หยวน/ตัน (ประมาณ 4,800 ดอลลาร์สหรัฐ) บริษัทจีนผู้รับซื้อหลัก คือ China Rare Earths Group (REGCC) ควบคุมการประมูลแร่กว่า 80% China Northern Rare Earth Group ผู้ประมูลแร่รายใหญ่ของโลก และ JL Mag Rare-Earth: ผู้ผลิตแม่เหล็กถาวรรายใหญ่ ใช้แร่จากพม่าในอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และยังมีบริษัท Rising Nonferrous บริษัทที่ได้รับอนุมัติให้นำเข้าแร่หายากจากเมียนมาโดยตรง นอกจากนั้นก็จะมี China Nonferrous Metal Mining Group (CNMC) รับซื้อ: ทองแดง, นิกเกิล พื้นที่รับซื้อคือเหมือง Monywa ในเขตสะกาย บริษัท China Minmetals Corporation: รับซื้อ: แร่หายาก, ดีบุก, ทังสเตน Aluminum Corporation of China (CHINALCO): รับซื้อ: แร่ที่เกี่ยวข้องกับอะลูมิเนียมและโลหะผสม Yunnan Tin Company: รับซื้อ: ดีบุก เพราะเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่ของจีน Pangang Group: รับซื้อ: ทังสเตน, พลวง เป็นผู้นำในอุตสาหกรรมโลหะหนัก ______________________________ การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนมีป้อนอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำให้จีน และแน่นอนต้องใช้ฐานของกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นตลาดหลักและบายพาสไปยังกลุ่มประเทศที่มีกำแพงภาษีสูงไม่ว่าจะเป็น • อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles)แร่ธาตุหายาก เช่น ดิสโพรเซียม (Dysprosium) และเทอร์เบียม (Terbium) ที่นำเข้าจากพม่าใช้เป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับมอเตอร์ในรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจีนมีความต้องการสูงมากในช่วงหลังเพื่อรองรับการเติบโตของตลาด EV • อุตสาหกรรมพลังงานลม (Wind Power)แม่เหล็กถาวรที่ผลิตจากแร่ธาตุหายากเหล่านี้ยังถูกใช้ในกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานสะอาด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพลังงานทดแทนของจีน • อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics)แร่ธาตุหายากจากพม่าถูกนำไปใช้ในชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่ต้องการแม่เหล็กและวัสดุพิเศษ • อุตสาหกรรมแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets) บริษัทจีนใหญ่ เช่น China Southern Rare Earth ใช้แร่ธาตุจากพม่าในการผลิตแม่เหล็กถาวรที่เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรม • อาวุธยุทโธปกรณ์ (Defence Industry) และอุตสาหกรรมอวกาศ และอากาศยาน (Aerospace Industry) สถานการณ์ความต้องการแร่ธาตุหายากงวดขึ้นเพราะนับวันแร่ธาตุเหล่านั้นย่อมลดลง ตามชื่อเพราะยิ่งหายากขึ้น โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 2024 จีนเพิ่มการนำเข้าแร่หายากจากพม่าเกิน 9 เท่าเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคิดเป็นกว่า 70% ของแร่ธาตุหายากที่จีนใช้ทั้งหมด ซึ่งทำให้พม่าเป็นแหล่งผลิตแร่หายากที่ใหญ่ที่สุดของจีนในปัจจุบัน ______________________________ ความต้องการสูงและความไม่แน่นอนของซัพพลายเชน โดยเฉพาะในช่วงที่มีความขัดข้องจากสถานการณ์ภูมิรัฐศาสตร์ ทำให้จีนพึ่งพาแหล่งแร่จากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะพม่าเป็นสัดส่วนถึง 70% ของวัตถุดิบที่ใช้ เนื่องจากเหมืองในจีนผลิตไม่เพียงพอและมีข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและนโยบาย ปัญหาจึงอยู่ที่แร่ธาตุหายากจากพม่าส่วนใหญ่ถูกขุดอย่างผิดกฎหมายและผ่านช่องทางที่ไม่โปร่งใส ทำให้บริษัทจีนที่แปรรูปแร่ไม่สามารถระบุแหล่งที่มาได้ชัดเจน ส่งผลต่อความยั่งยืนและความน่าเชื่อถือของตลาด รวมถึงสร้างปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมต่อพม่าอย่างมหาศาล หากเจาะพื้นที่การทำเหมืองในรัฐต่าง ๆ การทำเหมืองในเมียนมามักอยู่ในพื้นที่ที่มีความขัดแย้งหรือควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธ ซึ่งมีผลต่อการส่งออกและการจัดการทรัพยากร ดังนี้: • รัฐคะฉิ่น (Kachin State): แร่หลัก: แร่หายาก (REEs), พลวง, ทองคำ, อิตเทรียม พื้นที่ป่าทางตอนเหนือ อุดมไปด้วยแร่หายาก แต่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งระหว่างกองทัพเมียนมาและกองทัพปลดปล่อยคะฉิ่น (KIA) ส่วนใหญ่ทำลายสิ่งแวดล้อม น้ำกลายเป็นโคลน และสัตว์ป่าลดลง • รัฐฉาน (Shan State): แร่หลัก: ดีบุก, ตะกั่ว, สังกะสี, ทังสเตน,ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ เช่น เหมือง Man Maw การควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธที่เชื่อมโยงกับกองทัพเมียนมา ทำให้เงินจากเหมือง สนับสนุนกองทัพ สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมหาศาลเช่นกันและลุกลามไปยังประเทศเพื่อนบ้านคือประเทศไทย • เขตสะกาย (Sagaing Region): แร่หลัก: ทองแดง, นิกเกิล, ทองคำพื้นที่ที่มีการสู้รบหนักระหว่างกองทัพเมียนมาและกองกำลัง PDF • เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region): แร่หลัก: แร่หายาก, พลวง, อิตเทรียม, ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองขนาดเล็กกระจายอยู่ • เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region): แร่หลัก: ดีบุก เป็นเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ใกล้ชายฝั่ง • รัฐมอญ (Mon State): แร่หลัก: ทองแดง เป็นเหมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง • รัฐกะยา (Kayah State): แร่หลัก: ตะกั่ว พื้นที่ที่มีความขัดแย้งสูง ______________________________ สอบทานต้นทาง-ย้อนกลับห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของแร่ธาตุจากเมียนมาไปจีนมีลักษณะดังนี้ เริ่มต้นสำรวจแหล่ง แน่นอนฐานข้อมูลมีอยู่แล้วในมือรัฐบาลทหารพม่า และในกำมือเทคโนโลยีจีน ก่อนจะให้บริษัทเอกชนในแต่ละความถนัดของจีน และของพม่าเอง ขุดและแปรรูปเบื้องต้น เหมืองส่วนใหญ่ในพม่าดำเนินการโดยบริษัทท้องถิ่นหรือบริษัทจีนร่วมทุน การแปรรูปขั้นต้น (เช่น การถลุงแร่ดีบุก) มักทำในเมียนมาก่อนส่งออก ส่วนใหญ่ในพื้นที่ขัดแย้งทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการละเมิดสิทธิมนุษยชน การขนส่ง เส้นทางหลัก: จากเหมืองในรัฐคะฉิ่นและฉานไปยังชายแดนจีน (มณฑลยูนนาน) ผ่านทางรถไฟหรือถนน เช่น เส้นทางรถไฟเจ้าผิ่ว-มูเซ บางส่วนส่งออกผ่านท่าเรือในเขตตะนาวศรีและย่างกุ้ง การแปรรูปขั้นสูงในจีน ปลายทางคือโรงงานแปรรูปอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง, เจียงซู, และแถบเศรษฐกิจแยงซีเกียง โดยแร่หายากถูกกลั่นเป็นโลหะบริสุทธิ์หรือสารประกอบ เช่น นีโอดิเมียมสำหรับแม่เหล็ก หรืออิตเทรียมสำหรับ LED สายพานอุตสาหกรรมที่ใช้งานแบ่งตามแร่ธาตุอุตสาหกรรมเทคโนโลยี: แร่หายาก (REEs) และดีบุกใช้ในสมาร์ทโฟน, คอมพิวเตอร์, เซมิคอนดักเตอร์ ยานยนต์ไฟฟ้า: แร่หายาก (นีโอดิเมียม, ดิสโพรเซียม) และนิกเกิลใช้ในมอเตอร์และแบตเตอรี่ พลังงานสะอาด: ทังสเตนและพลวงใช้ในกังหันลมและแผงโซลาร์ อุตสาหกรรมทหาร: แร่หายากและพลวงใช้ในขีปนาวุธ, เรดาร์, และเลเซอร์ การก่อสร้างและเครื่องจักร: ทองแดงและสังกะสีใช้ในสายไฟและโครงสร้าง ความท้าทายในระบบ Supply Chain ส่วนใหญ่คือความขัดแย้งในเมียนมาอาจขัดขวางการขนส่ง จากผลประโยชน์มหาศาลเพื่อนำมาเป็นอาวุธและจุนเจือเสบียงในการรบ ขณะที่นานาชาติได้เรียกร้องให้ตรวจสอบแร่จากพื้นที่ขัดแย้ง แต่จีนเป็นประเทศเดียวที่บังคับให้แยกแร่จากเมียนมาและจีน ______________________________ ล่าสุด กองกำลังเอกราชคะฉิ่น (Kachin Independent Organization, Kachin Independent Army- KIA) ซึ่งได้เป็นเจ้าของใหม่ของเหมืองแร่หายาก หรือแร่แรร์เอิร์ธ (Rare Earth) อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน (ราว 160,000 บาท) พื้นที่แหล่งแร่หายากที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์ในเขตปางวาและชิพเว (Pang Wa, Chi Pwi) ในรัฐคะฉิ่น ซึ่งกลุ่ม KIA เข้ายึดครองในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2567 ได้รับอนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังจีนหลังจากควบคุมพื้นที่มาได้ 6 เดือน สำนักข่าวรอยเตอร์ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2568 KIO/KIA ได้อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน อย่างไรก็ตาม รายละเอียดอื่น ๆ ในหนังสืออนุญาตของ KIO ยังไม่ได้รับการเปิดเผย เจ้าหน้าที่ KIA เขตปางวาให้ข้อมูลว่าKIO/KIA และรัฐบาลจีน ยังคงเจรจาเกี่ยวกับการใช้จุดผ่านแดนเดียวในการส่งออกแร่หายาก และจนถึงสัปดาห์ที่สองของเดือนเมษายน ยังไม่มีการส่งออกอย่างเป็นทางการ KIA สามารถควบคุมจุดผ่านแดนทางการค้าระหว่างจีน-พม่าในรัฐคะฉิ่นทั้งหมด ได้แก่ กานปายตี Kan Pai Ti, ล่วยเจ Loi Je และปางวา ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างตรวจสอบว่าจะใช้จุดผ่านแดนใดในการส่งออก หลังจากที่ KIA ควบคุมพื้นที่ปางวาและชิพเว รัฐบาลจีนได้มีคำสั่งปิดจุดผ่านแดนทั้งหมด ทำให้บริษัทเหมืองแร่ส่วนใหญ่หยุดดำเนินการ มีเพียงบางบริษัทที่ยังคงขุดแร่ต่อไป เนื่องจากยังมีวัตถุดิบหลงเหลืออยู่ รายงานของ Global Witness ระบุว่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาเริ่มขึ้นในปี 2016 โดยนักธุรกิจชาวจีน ซึ่งส่งออกแร่ไปยังจีนเป็นหลัก ตามข้อมูลปัจจุบัน พม่าติดอันดับ 3 ของประเทศผู้ผลิตแร่แรร์เอิร์ท และคิดเป็น 50% ของการส่งออกแร่หายากทั่วโลก หลังจากการรัฐประหารของกองทัพพม่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาและชิพเวเพิ่มขึ้น 40% และจำนวนเหมืองแร่เพิ่มขึ้นกว่า 300 แห่ง ในปี 2566 เพียงปีเดียว มีการส่งออกแร่หายากไปยังจีนมากถึง 41,700 ตัน สร้างรายได้ถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ______________________________ สรุปขมวดปม การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนช่วยเสริมความมั่นคงของซัพพลายเชนแร่หายากในจีน ลดภาวะขาดแคลนและสนับสนุนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง แต่ก็เพิ่มความเสี่ยงด้านความโปร่งใสและความยั่งยืนในตลาดแร่ธาตุของจีน แร่ธาตุหายากจากพม่ามีบทบาทสำคัญในห่วงโซ่อุปทานของจีน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีขั้นสูงและพลังงานสะอาด ซึ่งจีนพึ่งพาการนำเข้าแร่จากพม่าเป็นสัดส่วนสูงถึง 70% ของแร่หายากที่ใช้ในประเทศ เหมืองแร่หายากเหล่านี้ทั้งหมด รวมถึงแร่ทองคำ และอื่น ๆ ที่ปักหมุดขุดหลุมร่อนตระแกรง ทุกรัฐในเมียนมาก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ป่าเขา แม่น้ำ ลำธาร โดยคนงานบางรายถูกเอารัดเอาเปรียบอย่างโหดร้าย หญิงคนงานถูกล่วงละเมิดทางเพศ และหลายคนได้รับอันตรายทางสุขภาพอย่างร้ายแรงจากสารเคมีที่ใช้ในเหมือง และส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่กว้างขวางขึ้นรวมถึงประเทศไทย และลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน คำถามคือจีนมีส่วนสำคัญในการสร้างมลภาวะในพื้นที่ ควรจะร่วมรับผิดชอบหรือไม่ ไม่ใช่การสูบทรัพยากรในพื้นที่แต่ไม่ได้เหลียวแลผลกระทบที่จะตามมา อันจะกลายเป็นการสร้างปัญหาใหญ่ให้กับจีนในอนาคต อ้างอิง : https://www.facebook.com/GlobalWitness/ และสำนักข่าวชายขอบ https://shorturl.asia/6GnqX ประชาไท https://prachatai.com/journal/2025/01/111942 ______________________________ 10 อันดับแร่ธาตุที่ส่งออกจากเมียนมาไปจีน (เรียงตามมูลค่าประเมิน) 1. แร่ดีบุก (Tin) o มูลค่า: สูงสุด เนื่องจากเมียนมาเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่อันดับ 3 ของโลก และจีนนำเข้า 95% ของหัวแร่ดีบุกจากเมียนมาในปี 2563 o การใช้งาน: ใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (บัดกรีแผงวงจร), การผลิตโลหะผสม o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน (Shan State), เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region) 2. แร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) o มูลค่า: สูง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงของจีน o การใช้งาน: ผลิตแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets), แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า, อุปกรณ์เลเซอร์, เซมิคอนดักเตอร์ o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น (Kachin State), เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region) 3. ทองแดง (Copper) o มูลค่า: สูง เนื่องจากราคาทองแดงในตลาดโลกพุ่งสูงหลังรัฐประหาร o การใช้งาน: สายไฟ, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, การก่อสร้าง o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย (Sagaing Region), รัฐมอญ (Mon State) 4. ตะกั่ว (Lead) o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ o การใช้งาน: แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด, อุตสาหกรรมยานยนต์ o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐกะยา (Kayah State) 5. สังกะสี (Zinc) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบโลหะ o การใช้งาน: การชุบกัลวาไนซ์, โลหะผสม o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, เขตย่างกุ้ง (Yangon Region) 6. นิกเกิล (Nickel) o มูลค่า: ปานกลาง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ o การใช้งาน: แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน, สแตนเลส o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย, รัฐฉาน 7. พลวง (Antimony) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมทหารและพลังงาน o การใช้งาน: สารหน่วงไฟ, โลหะผสม, อุปกรณ์ทหาร o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์ 8. ทังสเตน (Tungsten) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมที่มีความแข็งสูง o การใช้งาน: โลหะผสม, เครื่องมือตัด, อุปกรณ์ทหาร o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐคะฉิ่น 9. ทองคำ (Gold) o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ขึ้นอยู่กับราคาตลาดโลก o การใช้งาน: อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, เครื่องประดับ o พื้นที่เหมือง: เขตมัณฑะเลย์, รัฐคะฉิ่น, เขตสะกาย 10. อิตเทรียม (Yttrium) o มูลค่า: ต่ำถึงปานกลาง แต่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมเฉพาะ o การใช้งาน: สารเรืองแสงใน LED, อุปกรณ์ MRI, เซรามิก o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์ หมายเหตุ: มูลค่าที่ระบุเป็นการประเมินจากความสำคัญในห่วงโซ่อุปทานและปริมาณการส่งออก เนื่องจากไม่มีข้อมูลตัวเลขที่แน่นอนหลังรัฐประหาร ______________________________
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 917 มุมมอง 0 รีวิว
  • Blood Gold เจาะขุมทรัพย์ใต้ภิภพเมียนมาร์ความมั่งคั่งที่มืดมนอนธการ
    .
    ใต้ภิภพเมียนมาร์ นับเป็นรัฐที่มีทรัพยากรมูลค่าสูงฝังอยู่มหาศาล ที่สามารถแปลงเป็นสินทรัพย์ในการพัฒนาประเทศได้อันดับต้น ๆ ของอาเซียน
    ทว่า รัฐสภาพแห่งนี้เหมือนถูกครอบงำ และตกอยู่ภายใต้ความลำบาก ความขัดแย้งไม่ลงรอย ในประวัติศาสตร์การเมืองที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศโดยตรง
    รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) “ยักษ์หลับแห่งเมียนมา” ที่ใหญ่และสำคัญที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ตื่นขึ้น 28 มีนาคม 2568 ที่ ขนาด 8.2 แมกนิจูด ได้ส่งพลังพาดผ่านเมืองหลวงสำคัญของพม่า ตั้งแต่มัณฑะเลย์ เนปิดอว์ ย่างกุ้ง ดูเหมือนว่าเมืองแห่งอารยธรรมและศูนย์กลางอำนาจ ตั้งอยู่บนหลังมังกรที่หลับ ขยับทีก็ทำให้เมืองศูนย์กลางสำคัญได้ได้ผลกระทบสูงการฟื้นตัวครั้งแล้วครั้งเล่าเหมือนสถานการณ์เริ่มต้นใหม่หลายรอบ หมุนวน
    โครงสร้างทางธรณีวิทยาของเมียนมาร์ค่อนข้างซับซ้อน ภูมิสัณฐานและธรณีโครงสร้างได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือพื้นที่ราบสูงตะวันออก (Sino Burman Ranges) พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง (Inner Burman Tertiary Zone) ดินแดนเทือกเขาตะวันตก (Indo Burman Ranges) และ ที่ราบฝั่งยะไข่ - คะฉิ่น Rakhine (Arakan) Coastal Plain
    ชั้นหินที่มีอายุอ่อนที่สุดจะอยู่ใน พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง ไล่ถัดไปทางด้านตะวันตกของประเทศ จะเป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ขึ้นเรื่อยๆ ไปจนถึงที่ราบแถบยะไข่ ด้านตะวันออกของประเทศ ส่วนของ Sino Burman เป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ที่สุด มีรอยเลื่อนรัฐฉาน แนวรอยต่อเชื่อมรอยเลื่อนสะกาย
    อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในเมียนมาร์ มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในช่วงหลังรัฐประหารปี 2021 ซึ่งมีการขยายตัวของการทำเหมืองแร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม การเติบโตนี้มาพร้อมกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน มีมูลค่าสูงถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2023
    นับว่าแร่หายากกลุ่มหนัก heavy rare earth elements: HREE คิดเป็นสัดส่วนหลักของมูลค่าการส่งออกของเมียนมาร์ โดยส่วนใหญ่ส่งไปจีนเพื่อผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับรถไฟฟ้าและกังหันลมการส่งออก อัตราเติบโตเพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่าในปี 2023 เมื่อเทียบกับปี 2021 จาก 19,500 ตัน เป็น 41,700 ตัน
    แน่นอนแร่หายากกลุ่ม China Rare Earths Group (REGCC) เป็นผู้ลงทุนหลัก ควบคุมทั้งเทคโนโลยี การประมวลผล และห่วงโซ่อุปทาน ภายใต้การดูแลพื้นที่ของกองทัพเมียนมาร์ (SAC) และมิลิเชียพันธมิตรควบคุมพื้นที่พิเศษ Kachin 1 และกองกำลัง Kachin Independence Army (KIA) ควบคุมพื้นที่ Momauk และแนวชายแดน
    แร่หายากเป็นแหล่งเงินสำคัญสำหรับทั้งรัฐบาลทหารและกลุ่มกบฎ แต่ 70% ของประชากรในพื้นที่ยังพึ่งพาการเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ขณะที่ค่าแรงงานในเหมืองสูงถึง 600 ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน (สูงกว่าเฉลี่ยประเทศ 2 เท่า) แต่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ โรคปอด ปัญหาหายใจลำบาก โรคผิวหนัง และไตวายจากสารเคมี เช่น แอมโมเนียมซัลเฟตและออกซาลิกแอซิด
    ไม่รวมถึงมลพิษน้ำ 96% ของครัวเรือนในเขต Chipwi ไม่มีน้ำดื่มสะอาดเนื่องจากสารเคมีปนเปื้อน ดวงตาสวรรค์ได้ส่องพื้นที่การขยายตัวของเหมืองกว่า 40% ใน Kachin Special Region 1 และ Momauk ระหว่างปี 2021-2023 ที่สลายระบบนิเวศในพื้นที่ยากจะทวงคืนสภาพเดิมกลับมาในอนาคต
    อีกแร่ธาตุหนึ่งคือเหล็กที่เมียนมาร์ เป็นเบอร์หนึ่งของโลก ที่แหล่ง Pong Pet ซึ่งอยู่ห่างจาก Taunggyi ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ปรากฏเป็นแหล่งเฮมาไทต์ (Hematite) และยังพบแหล่งแร่เหล็ก 393 แหล่ง ปริมาณสารองทรัพยากรแร่ประมาณ 495 ล้านตัน และพบแหล่งแร่เหล็กที่มีศักยภาพ 14 แหล่ง ในรัฐ Kachin, Mandalay, Bago, Tanintharyi และรัฐShan ได้แก่ แหล่งแร่เหล็กสำคัญพบที่รัฐ Tanintharyi บริเวณตอนเหนือของรัฐ Shan
    โดยในรัฐคะฉิ่น คือศูนย์รวมแร่ธาตุความมั่งคั่งสมบูรณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ นอกจากหยกแล้วยังมีแหล่งแร่เหล็กในรัฐ Kachin มีปริมาณสารองประมาณ 223 ล้านตันที่ 50.56%Fe องค์ประกอบหลักของแร่ คือ Goethite/Limonite 75%, Hematite 15% และ Magnetite 2%
    แน่นอนเมียนมาร์เป็นผู้ผลิตหยกรายใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นหนึ่งในประเทศเดียวที่ผลิตหยกเจไดต์คุณภาพสูง อุตสาหกรรมหยกมีมูลค่าประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของ GDP ของประเทศ โดยเมืองผะกัน (Hpakan) เป็นที่ตั้งของเหมืองหยกที่ใหญ่ที่สุดในโลก เมืองที่มีข่าวของเหมืองถล่ม ดินโคลนโถมทับหมู่บ้านถี่มากและต้นปี 2568 ก็ได้เกิดเหตุการณ์โศกนาฎกรรมที่ซ้ำซาก สูญเสียชีวิตของผู้คนไปอย่างมาก
    Global Witness ประเมินไว้ว่ารายได้จากหยกได้เข้าพกเข้าห่อของผู้นำของเมียนมาไปแล้วราว 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมา
    หากประมวลประเทศที่มีบริษัทลงทุนในเหมืองแร่ในภาพรวมในเมียนมาร์ ได้แก่
    1.) จีน: เป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมเหมืองแร่เมียนมาร์ โดยเฉพาะในเหมืองทองแดง (เช่น โครงการ Letpadaung, S&K, Tagaung Taung) และแร่หายาก มีทั้งบริษัทขนาดใหญ่ของรัฐ เช่น China Nonferrous Metal Mining (CNMC), Wanbao Mining Co., Ltd. รวมถึงนักลงทุนรายย่อยจากมณฑลยูนนานและเสฉวน
    2.) ไทย: มีบริษัท Myanmar-Pongpipat Co., Ltd. ร่วมลงทุนในเหมืองดีบุกและโลหะอื่น
    3.) เวียดนาม: บริษัท Simco Songda มีการลงทุนในเหมืองแร่ร่วมกับเมียนมาร์
    4.) ออสเตรเลีย: บริษัท PanAust ได้รับอนุญาตให้ศึกษาความเป็นไปได้ในพื้นที่เหมือง Wuntho
    5.) ญี่ปุ่น: มีบริษัทญี่ปุ่นบางแห่งยื่นขออนุญาตลงทุนในเหมืองแร่เมียนมาร์
    6.) สิงคโปร์: แม้จะเน้นลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์และพลังงาน แต่ก็มีการลงทุนในเหมืองแร่บางส่วน
    7.) มาเลเซีย, เกาหลีใต้, เนเธอร์แลนด์, สหราชอาณาจักร: มีการลงทุนในเมียนมาร์ในหลายภาคส่วน รวมถึงเหมืองแร่ในบางโครงการ
    ในส่วนแร่ทองคำ Blood Gold บริบทไม่แตกต่างจากพื้นที่คะฉิ่น แต่รายงานจาก EarthRights International (2567) ระบุว่าในรัฐกะฉิ่นมีการขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีจุดขุดนับร้อยแห่ง ส่วนใหญ่เป็นการขุดขนาดเล็กและใช้เครื่องจักรหนัก
    ผู้สัมปทาน ก่อนการรัฐประหาร (2564): เหมืองทองคำขนาดใหญ่บางแห่ง เช่น ในเขตเบ็งเมาก์ (Bemauk), กานิ (Kani), และเคาก์ปาดอง (Kyaukpadaung) ดำเนินการโดยบริษัทร่วมทุนระหว่างกองทัพเมียนมาร์และบริษัทต่างชาติ เช่น บริษัทจากจีนและไทย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทเฉพาะเจาะจงในปัจจุบันหายาก
    พื้นที่การขุดทองคำในรัฐกะฉิ่นส่วนใหญ่ควบคุมโดย Kachin Independence Army (KIA) และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ ซึ่งเก็บค่าธรรมเนียมจากบริษัทหรือนักขุดท้องถิ่น บริษัทจีน มีรายงานว่าได้รับสัมปทานในพื้นที่ เช่น บริเวณแม่น้ำโขงและแม่น้ำกก โดยได้รับการอนุมัติจาก United Wa State Army (UWSA) บริษัทท้องถิ่นและกองทัพเมียนมาร์: Myanmar Economic Holdings Limited (MEHL) และ Myanmar Economic Corporation (MEC) ยังคงมีส่วนในเหมืองบางแห่ง
    ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา ไม่มีการออกใบอนุญาตขุดอย่างเป็นทางการในหลายพื้นที่ เช่น Hpakant แต่การขุดยังดำเนินต่อไปโดยผิดกฎหมาย
    ปัจจุบันหลังจาก การรัฐประหารในปี 2564 ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจและกฎหมาย ส่งผลให้การขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีการควบคุม โดยเฉพาะในรัฐกะฉิ่นและสะกาย เพิ่มขึ้น 10 เท่าหลังการรัฐประหาร ซึ่งเป็นแหล่งทองคำสำคัญ เรียกว่าเกิดการขุดแบบทำลายล้าง ใช้เครื่องจักรกลหนักและการขุดในแม่น้ำในพื้นที่ และลุกลามขยายยังพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง แม่น้ำกก และแม่น้ำสายใกล้ชายแดนไทย
    แน่นอนความระส่ำระสายในพื้นที่คือการกอบโกยความมั่งคั่งในพื้นที่ที่ไม่ได้มองไกลถึงอนาคตว่าผลกระทบของผู้คน ประชาชนจะเป็นอย่างไร ระยะเวลาการฟื้นตัวความอ่อนเปียกของรัฐชาติที่ถูกสูบทรัพยากรที่มีความมั่งคั่งออกไปอย่างไร้ข้อจำกัด โดยมีอำนาจภายในควบคุม กองทัพเมียนมาร์ ควบคุมเหมืองขนาดใหญ่บางแห่งเพื่อหารายได้ กลุ่มชาติพันธุ์ เช่น KIA เก็บส่วนแบ่งจากเหมืองในพื้นที่ของตน บริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะจากจีน มีบทบาทในพื้นที่รัฐที่อุดมด้วยแร่ธาตุโดยเฉพาะฉาน และพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงที่สัญญาณได้ส่งผลแล้วกรณีที่แม่สาย ลุ่มแม่น้ำกก เชียงราย ที่ต้องเกาะติดอย่างใกล้ชิด


    อ้างอิง :
    • โครงการ การส่งเสริมการจัดหาวัตถุดิบและการลงทุนด้านเหมืองแร่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    https://www.bbc.com/thai/international-53264790
    • EarthRights International, Global Witness
    Blood Gold เจาะขุมทรัพย์ใต้ภิภพเมียนมาร์ความมั่งคั่งที่มืดมนอนธการ . ใต้ภิภพเมียนมาร์ นับเป็นรัฐที่มีทรัพยากรมูลค่าสูงฝังอยู่มหาศาล ที่สามารถแปลงเป็นสินทรัพย์ในการพัฒนาประเทศได้อันดับต้น ๆ ของอาเซียน ทว่า รัฐสภาพแห่งนี้เหมือนถูกครอบงำ และตกอยู่ภายใต้ความลำบาก ความขัดแย้งไม่ลงรอย ในประวัติศาสตร์การเมืองที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศโดยตรง รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) “ยักษ์หลับแห่งเมียนมา” ที่ใหญ่และสำคัญที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ตื่นขึ้น 28 มีนาคม 2568 ที่ ขนาด 8.2 แมกนิจูด ได้ส่งพลังพาดผ่านเมืองหลวงสำคัญของพม่า ตั้งแต่มัณฑะเลย์ เนปิดอว์ ย่างกุ้ง ดูเหมือนว่าเมืองแห่งอารยธรรมและศูนย์กลางอำนาจ ตั้งอยู่บนหลังมังกรที่หลับ ขยับทีก็ทำให้เมืองศูนย์กลางสำคัญได้ได้ผลกระทบสูงการฟื้นตัวครั้งแล้วครั้งเล่าเหมือนสถานการณ์เริ่มต้นใหม่หลายรอบ หมุนวน โครงสร้างทางธรณีวิทยาของเมียนมาร์ค่อนข้างซับซ้อน ภูมิสัณฐานและธรณีโครงสร้างได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือพื้นที่ราบสูงตะวันออก (Sino Burman Ranges) พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง (Inner Burman Tertiary Zone) ดินแดนเทือกเขาตะวันตก (Indo Burman Ranges) และ ที่ราบฝั่งยะไข่ - คะฉิ่น Rakhine (Arakan) Coastal Plain ชั้นหินที่มีอายุอ่อนที่สุดจะอยู่ใน พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง ไล่ถัดไปทางด้านตะวันตกของประเทศ จะเป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ขึ้นเรื่อยๆ ไปจนถึงที่ราบแถบยะไข่ ด้านตะวันออกของประเทศ ส่วนของ Sino Burman เป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ที่สุด มีรอยเลื่อนรัฐฉาน แนวรอยต่อเชื่อมรอยเลื่อนสะกาย อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในเมียนมาร์ มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในช่วงหลังรัฐประหารปี 2021 ซึ่งมีการขยายตัวของการทำเหมืองแร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม การเติบโตนี้มาพร้อมกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน มีมูลค่าสูงถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2023 นับว่าแร่หายากกลุ่มหนัก heavy rare earth elements: HREE คิดเป็นสัดส่วนหลักของมูลค่าการส่งออกของเมียนมาร์ โดยส่วนใหญ่ส่งไปจีนเพื่อผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับรถไฟฟ้าและกังหันลมการส่งออก อัตราเติบโตเพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่าในปี 2023 เมื่อเทียบกับปี 2021 จาก 19,500 ตัน เป็น 41,700 ตัน แน่นอนแร่หายากกลุ่ม China Rare Earths Group (REGCC) เป็นผู้ลงทุนหลัก ควบคุมทั้งเทคโนโลยี การประมวลผล และห่วงโซ่อุปทาน ภายใต้การดูแลพื้นที่ของกองทัพเมียนมาร์ (SAC) และมิลิเชียพันธมิตรควบคุมพื้นที่พิเศษ Kachin 1 และกองกำลัง Kachin Independence Army (KIA) ควบคุมพื้นที่ Momauk และแนวชายแดน แร่หายากเป็นแหล่งเงินสำคัญสำหรับทั้งรัฐบาลทหารและกลุ่มกบฎ แต่ 70% ของประชากรในพื้นที่ยังพึ่งพาการเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ขณะที่ค่าแรงงานในเหมืองสูงถึง 600 ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน (สูงกว่าเฉลี่ยประเทศ 2 เท่า) แต่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ โรคปอด ปัญหาหายใจลำบาก โรคผิวหนัง และไตวายจากสารเคมี เช่น แอมโมเนียมซัลเฟตและออกซาลิกแอซิด ไม่รวมถึงมลพิษน้ำ 96% ของครัวเรือนในเขต Chipwi ไม่มีน้ำดื่มสะอาดเนื่องจากสารเคมีปนเปื้อน ดวงตาสวรรค์ได้ส่องพื้นที่การขยายตัวของเหมืองกว่า 40% ใน Kachin Special Region 1 และ Momauk ระหว่างปี 2021-2023 ที่สลายระบบนิเวศในพื้นที่ยากจะทวงคืนสภาพเดิมกลับมาในอนาคต อีกแร่ธาตุหนึ่งคือเหล็กที่เมียนมาร์ เป็นเบอร์หนึ่งของโลก ที่แหล่ง Pong Pet ซึ่งอยู่ห่างจาก Taunggyi ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ปรากฏเป็นแหล่งเฮมาไทต์ (Hematite) และยังพบแหล่งแร่เหล็ก 393 แหล่ง ปริมาณสารองทรัพยากรแร่ประมาณ 495 ล้านตัน และพบแหล่งแร่เหล็กที่มีศักยภาพ 14 แหล่ง ในรัฐ Kachin, Mandalay, Bago, Tanintharyi และรัฐShan ได้แก่ แหล่งแร่เหล็กสำคัญพบที่รัฐ Tanintharyi บริเวณตอนเหนือของรัฐ Shan โดยในรัฐคะฉิ่น คือศูนย์รวมแร่ธาตุความมั่งคั่งสมบูรณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ นอกจากหยกแล้วยังมีแหล่งแร่เหล็กในรัฐ Kachin มีปริมาณสารองประมาณ 223 ล้านตันที่ 50.56%Fe องค์ประกอบหลักของแร่ คือ Goethite/Limonite 75%, Hematite 15% และ Magnetite 2% แน่นอนเมียนมาร์เป็นผู้ผลิตหยกรายใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นหนึ่งในประเทศเดียวที่ผลิตหยกเจไดต์คุณภาพสูง อุตสาหกรรมหยกมีมูลค่าประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของ GDP ของประเทศ โดยเมืองผะกัน (Hpakan) เป็นที่ตั้งของเหมืองหยกที่ใหญ่ที่สุดในโลก เมืองที่มีข่าวของเหมืองถล่ม ดินโคลนโถมทับหมู่บ้านถี่มากและต้นปี 2568 ก็ได้เกิดเหตุการณ์โศกนาฎกรรมที่ซ้ำซาก สูญเสียชีวิตของผู้คนไปอย่างมาก Global Witness ประเมินไว้ว่ารายได้จากหยกได้เข้าพกเข้าห่อของผู้นำของเมียนมาไปแล้วราว 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมา หากประมวลประเทศที่มีบริษัทลงทุนในเหมืองแร่ในภาพรวมในเมียนมาร์ ได้แก่ 1.) จีน: เป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมเหมืองแร่เมียนมาร์ โดยเฉพาะในเหมืองทองแดง (เช่น โครงการ Letpadaung, S&K, Tagaung Taung) และแร่หายาก มีทั้งบริษัทขนาดใหญ่ของรัฐ เช่น China Nonferrous Metal Mining (CNMC), Wanbao Mining Co., Ltd. รวมถึงนักลงทุนรายย่อยจากมณฑลยูนนานและเสฉวน 2.) ไทย: มีบริษัท Myanmar-Pongpipat Co., Ltd. ร่วมลงทุนในเหมืองดีบุกและโลหะอื่น 3.) เวียดนาม: บริษัท Simco Songda มีการลงทุนในเหมืองแร่ร่วมกับเมียนมาร์ 4.) ออสเตรเลีย: บริษัท PanAust ได้รับอนุญาตให้ศึกษาความเป็นไปได้ในพื้นที่เหมือง Wuntho 5.) ญี่ปุ่น: มีบริษัทญี่ปุ่นบางแห่งยื่นขออนุญาตลงทุนในเหมืองแร่เมียนมาร์ 6.) สิงคโปร์: แม้จะเน้นลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์และพลังงาน แต่ก็มีการลงทุนในเหมืองแร่บางส่วน 7.) มาเลเซีย, เกาหลีใต้, เนเธอร์แลนด์, สหราชอาณาจักร: มีการลงทุนในเมียนมาร์ในหลายภาคส่วน รวมถึงเหมืองแร่ในบางโครงการ ในส่วนแร่ทองคำ Blood Gold บริบทไม่แตกต่างจากพื้นที่คะฉิ่น แต่รายงานจาก EarthRights International (2567) ระบุว่าในรัฐกะฉิ่นมีการขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีจุดขุดนับร้อยแห่ง ส่วนใหญ่เป็นการขุดขนาดเล็กและใช้เครื่องจักรหนัก ผู้สัมปทาน ก่อนการรัฐประหาร (2564): เหมืองทองคำขนาดใหญ่บางแห่ง เช่น ในเขตเบ็งเมาก์ (Bemauk), กานิ (Kani), และเคาก์ปาดอง (Kyaukpadaung) ดำเนินการโดยบริษัทร่วมทุนระหว่างกองทัพเมียนมาร์และบริษัทต่างชาติ เช่น บริษัทจากจีนและไทย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทเฉพาะเจาะจงในปัจจุบันหายาก พื้นที่การขุดทองคำในรัฐกะฉิ่นส่วนใหญ่ควบคุมโดย Kachin Independence Army (KIA) และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ ซึ่งเก็บค่าธรรมเนียมจากบริษัทหรือนักขุดท้องถิ่น บริษัทจีน มีรายงานว่าได้รับสัมปทานในพื้นที่ เช่น บริเวณแม่น้ำโขงและแม่น้ำกก โดยได้รับการอนุมัติจาก United Wa State Army (UWSA) บริษัทท้องถิ่นและกองทัพเมียนมาร์: Myanmar Economic Holdings Limited (MEHL) และ Myanmar Economic Corporation (MEC) ยังคงมีส่วนในเหมืองบางแห่ง ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา ไม่มีการออกใบอนุญาตขุดอย่างเป็นทางการในหลายพื้นที่ เช่น Hpakant แต่การขุดยังดำเนินต่อไปโดยผิดกฎหมาย ปัจจุบันหลังจาก การรัฐประหารในปี 2564 ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจและกฎหมาย ส่งผลให้การขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีการควบคุม โดยเฉพาะในรัฐกะฉิ่นและสะกาย เพิ่มขึ้น 10 เท่าหลังการรัฐประหาร ซึ่งเป็นแหล่งทองคำสำคัญ เรียกว่าเกิดการขุดแบบทำลายล้าง ใช้เครื่องจักรกลหนักและการขุดในแม่น้ำในพื้นที่ และลุกลามขยายยังพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง แม่น้ำกก และแม่น้ำสายใกล้ชายแดนไทย แน่นอนความระส่ำระสายในพื้นที่คือการกอบโกยความมั่งคั่งในพื้นที่ที่ไม่ได้มองไกลถึงอนาคตว่าผลกระทบของผู้คน ประชาชนจะเป็นอย่างไร ระยะเวลาการฟื้นตัวความอ่อนเปียกของรัฐชาติที่ถูกสูบทรัพยากรที่มีความมั่งคั่งออกไปอย่างไร้ข้อจำกัด โดยมีอำนาจภายในควบคุม กองทัพเมียนมาร์ ควบคุมเหมืองขนาดใหญ่บางแห่งเพื่อหารายได้ กลุ่มชาติพันธุ์ เช่น KIA เก็บส่วนแบ่งจากเหมืองในพื้นที่ของตน บริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะจากจีน มีบทบาทในพื้นที่รัฐที่อุดมด้วยแร่ธาตุโดยเฉพาะฉาน และพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงที่สัญญาณได้ส่งผลแล้วกรณีที่แม่สาย ลุ่มแม่น้ำกก เชียงราย ที่ต้องเกาะติดอย่างใกล้ชิด อ้างอิง : • โครงการ การส่งเสริมการจัดหาวัตถุดิบและการลงทุนด้านเหมืองแร่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • https://www.bbc.com/thai/international-53264790 • EarthRights International, Global Witness
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 895 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไม่ควรมีประเทศไหนหลบหลีกกฎหมายระหว่างประเทศ อ้างสิทธิ์สำรวจทรัพยกรใต้ทะเลลึก จากคำแถลงของกระทรวงการต่างประเทศจีนในวันจันทร์(14เม.ย.) ความเห็นซึ่งมีขึ้นตามหลังรายงานข่าวที่ระบุว่าสหัฐฯมีแผนรกักตุนก้อนแร่โลหะจากใต้ทะเลลึก (deep-sea metals) ในมหาสมุทรแปซิฟิก เพื่อลดทอนอิทธิพลของจีนในห่วงโซ่อุปทานแร่ธาตุและแรร์เอิร์ธ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000035594

    #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ไม่ควรมีประเทศไหนหลบหลีกกฎหมายระหว่างประเทศ อ้างสิทธิ์สำรวจทรัพยกรใต้ทะเลลึก จากคำแถลงของกระทรวงการต่างประเทศจีนในวันจันทร์(14เม.ย.) ความเห็นซึ่งมีขึ้นตามหลังรายงานข่าวที่ระบุว่าสหัฐฯมีแผนรกักตุนก้อนแร่โลหะจากใต้ทะเลลึก (deep-sea metals) ในมหาสมุทรแปซิฟิก เพื่อลดทอนอิทธิพลของจีนในห่วงโซ่อุปทานแร่ธาตุและแรร์เอิร์ธ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000035594 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    13
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1847 มุมมอง 0 รีวิว
  • จีนทิ้งไพ่เด็ด หยุดส่งออก "แร่หายาก" 7 ชนิด
    กระทบการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ F-47 ของสหรัฐฯ
    .
    ผลกระทบจากสงครามการค้า และภาษีนำเข้าระหว่าง สหรัฐฯ กับ จีน ล่าสุดรัฐบาลปักกิ่งได้มีการห้ามการส่งออก "แร่หายาก" หรือ Rare Earth โดยในภาษาจีนเรียกว่า ซีถู่ (稀土) ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่ออุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การผลิตสมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ แผงโซลาร์ อาวุธ รวมไปถึงรถ EV อย่างใหญ่หลวงเนื่องจากจีนเป็นผู้ส่งออกรายสำคัญของโลก โดยการตัดสินใจห้ามส่งออก 7 แร่ธาตุหายากดังกล่าว ทำให้ราคาของ "แร่ธาตุหายาก" เหล่านี้ในตลาดโลกปรับตัวขึ้นทันที 12%
    .
    คลิกชม >> https://vt.tiktok.com/ZSrabUS5W/
    .
    #สงครามการค้า #แร่หายาก #จีนvsสหรัฐ #RareEarth #F47
    จีนทิ้งไพ่เด็ด หยุดส่งออก "แร่หายาก" 7 ชนิด กระทบการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ F-47 ของสหรัฐฯ . ผลกระทบจากสงครามการค้า และภาษีนำเข้าระหว่าง สหรัฐฯ กับ จีน ล่าสุดรัฐบาลปักกิ่งได้มีการห้ามการส่งออก "แร่หายาก" หรือ Rare Earth โดยในภาษาจีนเรียกว่า ซีถู่ (稀土) ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่ออุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การผลิตสมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ แผงโซลาร์ อาวุธ รวมไปถึงรถ EV อย่างใหญ่หลวงเนื่องจากจีนเป็นผู้ส่งออกรายสำคัญของโลก โดยการตัดสินใจห้ามส่งออก 7 แร่ธาตุหายากดังกล่าว ทำให้ราคาของ "แร่ธาตุหายาก" เหล่านี้ในตลาดโลกปรับตัวขึ้นทันที 12% . คลิกชม >> https://vt.tiktok.com/ZSrabUS5W/ . #สงครามการค้า #แร่หายาก #จีนvsสหรัฐ #RareEarth #F47
    @thedongfangbubai

    จีนทิ้งไพ่เด็ด หยุดส่งออก "แร่หายาก" 7 ชนิด กระทบการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ F-47 ของสหรัฐฯ . ผลกระทบจากสงครามการค้า และภาษีนำเข้าระหว่าง สหรัฐฯ กับ จีน ล่าสุดรัฐบาลปักกิ่งได้มีการห้ามการส่งออก "แร่หายาก" หรือ Rare Earth โดยในภาษาจีนเรียกว่า ซีถู่ (稀土) ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่ออุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การผลิตสมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ แผงโซลาร์ อาวุธ รวมไปถึงรถ EV อย่างใหญ่หลวงเนื่องจากจีนเป็นผู้ส่งออกรายสำคัญของโลก โดยการตัดสินใจห้ามส่งออก 7 แร่ธาตุหายากดังกล่าว ทำให้ราคาของ "แร่ธาตุหายาก" เหล่านี้ในตลาดโลกปรับตัวขึ้นทันที 12% . #สงครามการค้า #แร่หายาก #จีนvsสหรัฐ #RareEarth #F47

    ♬ original sound - บูรพาไม่แพ้ - บูรพาไม่แพ้
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 377 มุมมอง 0 รีวิว
  • นับตั้งแต่วันที่ 9 เม.ย.2568 เป็นต้นไป ตั้งแต่เวลา 00.01 น. (เวลาสหรัฐฯ) สหรัฐฯ ได้เริ่มเก็บภาษีศุลกากรต่างตอบแทน (Reciprocal Tariff) ตามอัตราเฉพาะที่กำหนดสำหรับแต่ละประเทศ ซึ่งไทยจะถูกเรียกเก็บภาษีในอัตรา 36% โดยจะเก็บเพิ่มจากอัตราภาษีที่เรียกเก็บอยู่แล้ว (MFN apply rate) รวมทั้งอากร ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ประเทศนั้นถูกจัดเก็บอยู่เดิม นั่นหมายความว่า สินค้าไทยโดนภาษี 36% แล้ว ทุกชนิดสินค้า ไม่มียกเว้น แต่จะยกเว้นให้สำหรับสินค้าที่ขนลงเรือหรือยานพาหนะแล้ว และอยู่ระหว่างเดินทางมายังสหรัฐฯ ก่อนเวลาดังกล่าว

    โดยอัตราภาษีต่างตอบแทนข้างต้น จะไม่ใช้กับสินค้าที่สหรัฐฯ ได้เคยประกาศใช้มาตรการไปก่อนหน้านี้ คือ วันที่ 12 มี.ค.2568 สินค้าเหล็กและอะลูมิเนียม ถูกจัดเก็บอัตราภาษีเฉพาะที่ 25% และวันที่ 3 เม.ย.2568 สินค้ารถยนต์และชิ้นส่วน ถูกจัดเก็บอัตราภาษีเฉพาะที่ 25% และภาษีต่างตอบแทนดังกล่าว ยังจะไม่ใช้กับสินค้าประเภททองแดง ยาและเวชภัณฑ์ เซมิคอนดักเตอร์ ไม้แปรรูป แร่ธาตุสำคัญบางประเภท พลังงานและผลิตภัณฑ์พลังงาน เนื่องจากสหรัฐฯ อาจจะมีการประกาศใช้ภาษีเฉพาะกับสินค้าดังกล่าวในภายหลัง คาดว่าจะเก็บเพิ่มในอัตรา 25%

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/business/detail/9680000034144

    #MGROnline #อัตราภาษี
    นับตั้งแต่วันที่ 9 เม.ย.2568 เป็นต้นไป ตั้งแต่เวลา 00.01 น. (เวลาสหรัฐฯ) สหรัฐฯ ได้เริ่มเก็บภาษีศุลกากรต่างตอบแทน (Reciprocal Tariff) ตามอัตราเฉพาะที่กำหนดสำหรับแต่ละประเทศ ซึ่งไทยจะถูกเรียกเก็บภาษีในอัตรา 36% โดยจะเก็บเพิ่มจากอัตราภาษีที่เรียกเก็บอยู่แล้ว (MFN apply rate) รวมทั้งอากร ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ประเทศนั้นถูกจัดเก็บอยู่เดิม นั่นหมายความว่า สินค้าไทยโดนภาษี 36% แล้ว ทุกชนิดสินค้า ไม่มียกเว้น แต่จะยกเว้นให้สำหรับสินค้าที่ขนลงเรือหรือยานพาหนะแล้ว และอยู่ระหว่างเดินทางมายังสหรัฐฯ ก่อนเวลาดังกล่าว • โดยอัตราภาษีต่างตอบแทนข้างต้น จะไม่ใช้กับสินค้าที่สหรัฐฯ ได้เคยประกาศใช้มาตรการไปก่อนหน้านี้ คือ วันที่ 12 มี.ค.2568 สินค้าเหล็กและอะลูมิเนียม ถูกจัดเก็บอัตราภาษีเฉพาะที่ 25% และวันที่ 3 เม.ย.2568 สินค้ารถยนต์และชิ้นส่วน ถูกจัดเก็บอัตราภาษีเฉพาะที่ 25% และภาษีต่างตอบแทนดังกล่าว ยังจะไม่ใช้กับสินค้าประเภททองแดง ยาและเวชภัณฑ์ เซมิคอนดักเตอร์ ไม้แปรรูป แร่ธาตุสำคัญบางประเภท พลังงานและผลิตภัณฑ์พลังงาน เนื่องจากสหรัฐฯ อาจจะมีการประกาศใช้ภาษีเฉพาะกับสินค้าดังกล่าวในภายหลัง คาดว่าจะเก็บเพิ่มในอัตรา 25% • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/business/detail/9680000034144 • #MGROnline #อัตราภาษี
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 201 มุมมอง 0 รีวิว
  • เซเลนสกีมีคำสั่งให้เปิดการสอบสวนถึงสาเหตุรายละเอียดของข้อตกลงแร่หายากระหว่างสหรัฐฯ กับยูเครนที่รั่วไปถึงมือสื่อ

    หลายฝ่ายเชื่อว่า เซเลนสกีกำลังพยายามเบี่ยงเบนประเด็น เพื่อพิสูจน์ว่าไม่ใช่ตัวเขาและทีมงานที่เป็นฝ่ายปล่อยข้อมูล แต่เป็นจากฝ่ายสหรัฐที่เผยข้อมูลให้สื่อรู้เอง


    หน่วยงานความมั่นคงของยูเครนทำการทดสอบเจ้าหน้าที่รัฐบาลเซเลนสกีด้วยเครื่องจับเท็จ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่เซเลนสกีมักใช้อ้างอิงในการพิสูจน์ความจริง

    เมื่อวันที่ 26 มีนาคม นักการเมืองฝ่ายค้าน "ยาโรสลาฟ เซเลซเนียก" ได้เผยแพร่รายละเอียดบางส่วนของข้อตกลงแร่ธาตุ

    ต่อมาเมื่อวันที่ 27 มีนาคมสำนักข่าว FT ได้เผยแพร่ร่างข้อตกลงฉบับเต็ม


    เซเลนสกี ไม่พอใจและตกใจมากเกี่ยวกับการรั่วไหลของรายละเอียดครั้งนี้และพยายามตามหาว่าใครอยู่เบื้องหลัง


    ในความเป็นจริง ข้อเสนอใหม่ของสหรัฐไม่ได้มีอะไรใหม่จนสร้างความฮือฮาได้มากนัก ส่วนใหญ่สับสนกับท่าทีของเซเลนสกี ว่าตั้งทีมสอบสวนขึ้นมาเพื่ออะไร


    แต่มีบางความคิดเห็นคาดเดาว่า การที่เซเลนสกีตั้งทีมงานเพื่อมาสอบสวนเรื่องนี้ เพื่อต้องการเรียกร้องให้มีการเจรจากับสหรัฐใหม่อีกครั้ง เพื่อเป็นการซื้อเวลาการหยุดยิงจากรัสเซีย

    เนื่องจากที่ผ่านมา เซเลนสกีไม่เคยแสดงออกอย่างตรงไปตรงมาเพื่อยอมรับข้อตกลง แม้จะมีท่าทียอมรับในช่วงแรกของการเจรจาแต่ละครั้ง แต่สุดท้ายก็จะหาข้ออ้างบิดพริ้วตลอดเวลา


    ส่วนหนึ่งของร่างข้อตกลงล่าสุด ที่หลุดออกมาคือ สหรัฐยังคงไม่ให้การรับประกันความปลอดภัยต่อเคียฟ ซึ่งเซเลนสกีถือว่าเป็นเงื่อนไขที่มีความสำคัญ

    ทางด้าน Scott Bessent รัฐมนตรีคลังของสหรัฐกล่าวว่า การเข้าไปลงทุนของสหรัฐเพียงพอแล้วที่จะยับยั้งการโจมตีจากรัสเซียได้ เนื่องจากถ้ารัสเซียโจมตี นั่นเท่ากับพวกเขาโจมตีสหรัฐด้วย

    แต่เซเลนสกียืนกรานไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดนี้
    เซเลนสกีมีคำสั่งให้เปิดการสอบสวนถึงสาเหตุรายละเอียดของข้อตกลงแร่หายากระหว่างสหรัฐฯ กับยูเครนที่รั่วไปถึงมือสื่อ หลายฝ่ายเชื่อว่า เซเลนสกีกำลังพยายามเบี่ยงเบนประเด็น เพื่อพิสูจน์ว่าไม่ใช่ตัวเขาและทีมงานที่เป็นฝ่ายปล่อยข้อมูล แต่เป็นจากฝ่ายสหรัฐที่เผยข้อมูลให้สื่อรู้เอง หน่วยงานความมั่นคงของยูเครนทำการทดสอบเจ้าหน้าที่รัฐบาลเซเลนสกีด้วยเครื่องจับเท็จ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่เซเลนสกีมักใช้อ้างอิงในการพิสูจน์ความจริง เมื่อวันที่ 26 มีนาคม นักการเมืองฝ่ายค้าน "ยาโรสลาฟ เซเลซเนียก" ได้เผยแพร่รายละเอียดบางส่วนของข้อตกลงแร่ธาตุ ต่อมาเมื่อวันที่ 27 มีนาคมสำนักข่าว FT ได้เผยแพร่ร่างข้อตกลงฉบับเต็ม เซเลนสกี ไม่พอใจและตกใจมากเกี่ยวกับการรั่วไหลของรายละเอียดครั้งนี้และพยายามตามหาว่าใครอยู่เบื้องหลัง ในความเป็นจริง ข้อเสนอใหม่ของสหรัฐไม่ได้มีอะไรใหม่จนสร้างความฮือฮาได้มากนัก ส่วนใหญ่สับสนกับท่าทีของเซเลนสกี ว่าตั้งทีมสอบสวนขึ้นมาเพื่ออะไร แต่มีบางความคิดเห็นคาดเดาว่า การที่เซเลนสกีตั้งทีมงานเพื่อมาสอบสวนเรื่องนี้ เพื่อต้องการเรียกร้องให้มีการเจรจากับสหรัฐใหม่อีกครั้ง เพื่อเป็นการซื้อเวลาการหยุดยิงจากรัสเซีย เนื่องจากที่ผ่านมา เซเลนสกีไม่เคยแสดงออกอย่างตรงไปตรงมาเพื่อยอมรับข้อตกลง แม้จะมีท่าทียอมรับในช่วงแรกของการเจรจาแต่ละครั้ง แต่สุดท้ายก็จะหาข้ออ้างบิดพริ้วตลอดเวลา ส่วนหนึ่งของร่างข้อตกลงล่าสุด ที่หลุดออกมาคือ สหรัฐยังคงไม่ให้การรับประกันความปลอดภัยต่อเคียฟ ซึ่งเซเลนสกีถือว่าเป็นเงื่อนไขที่มีความสำคัญ ทางด้าน Scott Bessent รัฐมนตรีคลังของสหรัฐกล่าวว่า การเข้าไปลงทุนของสหรัฐเพียงพอแล้วที่จะยับยั้งการโจมตีจากรัสเซียได้ เนื่องจากถ้ารัสเซียโจมตี นั่นเท่ากับพวกเขาโจมตีสหรัฐด้วย แต่เซเลนสกียืนกรานไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดนี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 480 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายละเอียดเพิ่มเติมในการพบปะกับสื่อมวลชนของเซเลนสกี:

    👉ยูเครนไม่ยอมรับการเป็นหนี้จากการสนับสนุนทางทหารของสหรัฐในนอดีต และสหรัฐได้แสดงออกอย่างชัดเจนว่าความช่วยเหลือในอนาคตจะไม่ฟรีอีกต่อไป

    👉ข้อตกลงแร่ธาตุของสหรัฐไม่หมือนที่เจรจากันไว้ และมันแตกต่างอย่างสิ้นเชิงในตอนนี้ เงื่อนไขที่ทั้งสองฝ่ายไม่เห็นด้วยร่วมกัน แต่มันกลับถูกนำมาเพิ่มเติมใหม่

    👉ปูตินไม่อยากให้มีการเจรจาเกิดขึ้นกับยูเครน เขากลัวการเจรจาโดยตรงกับผม เขาพยายามหาเหตุผลเพื่อยืดเวลาสงครามออกไป ในความคิดของเขา ยูเครนไม่ได้มีอำนาจอธิปไตย ซึ่งนั่นเป็นความคิดส่วนตัวของเขา

    👉ยูเครนพร้อมเปิดใจให้การเจรจากับรัสเซีย "แต่ไม่ใช่กับปูติน"

    👉หากภายในธุรกิจหรือประชาชนในภูมิภาคใดๆของรัสเซียที่พร้อมจะต่อต้านสงครามและทำงานเพื่อสันติภาพ แจ้งมาที่เรา เราพร้อมที่จะรับฟังและร่วมมือกัน

    👉ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรพร้อมส่งกองกำลังเข้าสู่ยูเครน เราเป็นสามเหลี่ยมที่จับมือกันอย่างแน่นหนา "ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และยูเครน"

    👉ยูเครนจะมีการแลกเปลี่ยนข่าวกรอง ภาพถ่ายดาวเทียม รวมทั้งได้รับใบอนุญาตจากประเทศในยุโรป ในการผลิตกระสุน ขีปนาวุธ และเทคโนโลยีป้องกันภัยทางอากาศ

    👉สัปดาห์นี้ เคียฟจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมฉุกเฉินแบบปิด(ไม่ให้บุคคลภายนอกเข้าร่วมฟัง) ของผู้นำกองทัพจากประเทศต่างๆ ที่พร้อมจะส่งกองกำลังเข้าสู่ยูเครน

    👉ก่อนหน้านี้สหรัฐรับปากจะทำงานร่วมกับซาอุดีอาระเบีย ตุรกี และพันธมิตรในยุโรป เกี่ยวกับวิธีการติดตามการโจมตีของรัสเซียต่อโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของยูเครน

    👉ยูเครนไม่เห็นด้วยที่จะให้ซาอุดีอาระเบียเข้ามากำกับดูแลโครงสร้างด้านพลังงานของเรา พวกเขาขาดอุปกรณ์ ประสบการณ์ความรู้ทางเทคนิค และความสามารถด้านข่าวกรอง

    👉การติดตามความปลอดภัยในทะเลดำ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และรัฐชายฝั่งทะเลดำ ได้แก่ โรมาเนียและบัลแกเรีย จะเป็นฝ่ายที่ต้องดูแลร่วมกัน
    รายละเอียดเพิ่มเติมในการพบปะกับสื่อมวลชนของเซเลนสกี: 👉ยูเครนไม่ยอมรับการเป็นหนี้จากการสนับสนุนทางทหารของสหรัฐในนอดีต และสหรัฐได้แสดงออกอย่างชัดเจนว่าความช่วยเหลือในอนาคตจะไม่ฟรีอีกต่อไป 👉ข้อตกลงแร่ธาตุของสหรัฐไม่หมือนที่เจรจากันไว้ และมันแตกต่างอย่างสิ้นเชิงในตอนนี้ เงื่อนไขที่ทั้งสองฝ่ายไม่เห็นด้วยร่วมกัน แต่มันกลับถูกนำมาเพิ่มเติมใหม่ 👉ปูตินไม่อยากให้มีการเจรจาเกิดขึ้นกับยูเครน เขากลัวการเจรจาโดยตรงกับผม เขาพยายามหาเหตุผลเพื่อยืดเวลาสงครามออกไป ในความคิดของเขา ยูเครนไม่ได้มีอำนาจอธิปไตย ซึ่งนั่นเป็นความคิดส่วนตัวของเขา 👉ยูเครนพร้อมเปิดใจให้การเจรจากับรัสเซีย "แต่ไม่ใช่กับปูติน" 👉หากภายในธุรกิจหรือประชาชนในภูมิภาคใดๆของรัสเซียที่พร้อมจะต่อต้านสงครามและทำงานเพื่อสันติภาพ แจ้งมาที่เรา เราพร้อมที่จะรับฟังและร่วมมือกัน 👉ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรพร้อมส่งกองกำลังเข้าสู่ยูเครน เราเป็นสามเหลี่ยมที่จับมือกันอย่างแน่นหนา "ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และยูเครน" 👉ยูเครนจะมีการแลกเปลี่ยนข่าวกรอง ภาพถ่ายดาวเทียม รวมทั้งได้รับใบอนุญาตจากประเทศในยุโรป ในการผลิตกระสุน ขีปนาวุธ และเทคโนโลยีป้องกันภัยทางอากาศ 👉สัปดาห์นี้ เคียฟจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมฉุกเฉินแบบปิด(ไม่ให้บุคคลภายนอกเข้าร่วมฟัง) ของผู้นำกองทัพจากประเทศต่างๆ ที่พร้อมจะส่งกองกำลังเข้าสู่ยูเครน 👉ก่อนหน้านี้สหรัฐรับปากจะทำงานร่วมกับซาอุดีอาระเบีย ตุรกี และพันธมิตรในยุโรป เกี่ยวกับวิธีการติดตามการโจมตีของรัสเซียต่อโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของยูเครน 👉ยูเครนไม่เห็นด้วยที่จะให้ซาอุดีอาระเบียเข้ามากำกับดูแลโครงสร้างด้านพลังงานของเรา พวกเขาขาดอุปกรณ์ ประสบการณ์ความรู้ทางเทคนิค และความสามารถด้านข่าวกรอง 👉การติดตามความปลอดภัยในทะเลดำ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และรัฐชายฝั่งทะเลดำ ได้แก่ โรมาเนียและบัลแกเรีย จะเป็นฝ่ายที่ต้องดูแลร่วมกัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 684 มุมมอง 18 0 รีวิว
  • "บิดเก่ง!"
    สถานการณ์ล่าสุด เซเลนสกียุติการลงนามข้อตกลงแร่ธาตุกับสหรัฐอีกครั้ง! โดยอ้างว่าข้อตกลงดังกล่าวขัดขวางการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป

    “รัฐธรรมนูญของยูเครนระบุชัดเจนว่าแนวทางของเรามุ่งไปที่สหภาพยุโรป” “เราไม่สามารถยอมรับสิ่งใดที่อาจขัดขวางการเข้าร่วมสหภาพยุโรปของยูเครนได้ เนื่องจากมีข้อจำกัดมาหมายที่ส่งผลกระทบต่ออำนาจอธิปไตยทางเศรษฐกิจของยูเครน” เซเลนสกีกล่าวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม

    การพลิกลิ้นของเซเลนสกีมีขึ้นหนึ่งวันหลังจากที่รายละเอียดของร่างข้อตกลงแร่ธาตุฉบับใหม่ระหว่างเคียฟและวอชิงตันถูกเปิดเผยโดยไฟแนนเชียลไทม์ส ซึ่งรายงานว่า ข้อตกลงฉบับล่าสุดที่สหรัฐเสนอ มีเงื่อนไขที่ให้วอชิงตันเข้าควบคุมทรัพยากรธรรมชาติของยูเครนได้อย่างเต็มที่ผ่านกองทุนการลงทุนร่วมสองประเทศ

    ต่อมาเซเลนสกีได้ประกาศว่า เขาบรรลุข้อตกลงกับ "บางประเทศในยุโรป" เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองและใบอนุญาตสำหรับการผลิตระบบป้องกันภัยทางอากาศและขีปนาวุธ (ยูเครนเคยขอใบอนุญาตจากสหรัฐในการผลิตระบบ Patriot แต่ถูกปฏิเสธ)


    นอกจากนี้ เซเลนสกียังยืนยันอีกครั้งว่า ไม่ยอมรับหนี้ที่เกิดขึ้นในอดีตกับสหรัฐสำหรับความช่วยเหลือที่ให้ไปก่อนหน้านี้ แต่อาจพิจารณาเปิดช่องให้กับการจ่ายสำหรับแพ็คเกจความช่วยเหลือทางทหารใหม่จากสหรัฐที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

    "เราซาบซึ้งในการสนับสนุน แต่สิ่งนี้ไม่ใช่เงินกู้และเราจะไม่ยอมรับ" เซเลนสกีกล่าวยืนยัน
    "บิดเก่ง!" สถานการณ์ล่าสุด เซเลนสกียุติการลงนามข้อตกลงแร่ธาตุกับสหรัฐอีกครั้ง! โดยอ้างว่าข้อตกลงดังกล่าวขัดขวางการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป “รัฐธรรมนูญของยูเครนระบุชัดเจนว่าแนวทางของเรามุ่งไปที่สหภาพยุโรป” “เราไม่สามารถยอมรับสิ่งใดที่อาจขัดขวางการเข้าร่วมสหภาพยุโรปของยูเครนได้ เนื่องจากมีข้อจำกัดมาหมายที่ส่งผลกระทบต่ออำนาจอธิปไตยทางเศรษฐกิจของยูเครน” เซเลนสกีกล่าวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม การพลิกลิ้นของเซเลนสกีมีขึ้นหนึ่งวันหลังจากที่รายละเอียดของร่างข้อตกลงแร่ธาตุฉบับใหม่ระหว่างเคียฟและวอชิงตันถูกเปิดเผยโดยไฟแนนเชียลไทม์ส ซึ่งรายงานว่า ข้อตกลงฉบับล่าสุดที่สหรัฐเสนอ มีเงื่อนไขที่ให้วอชิงตันเข้าควบคุมทรัพยากรธรรมชาติของยูเครนได้อย่างเต็มที่ผ่านกองทุนการลงทุนร่วมสองประเทศ ต่อมาเซเลนสกีได้ประกาศว่า เขาบรรลุข้อตกลงกับ "บางประเทศในยุโรป" เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองและใบอนุญาตสำหรับการผลิตระบบป้องกันภัยทางอากาศและขีปนาวุธ (ยูเครนเคยขอใบอนุญาตจากสหรัฐในการผลิตระบบ Patriot แต่ถูกปฏิเสธ) นอกจากนี้ เซเลนสกียังยืนยันอีกครั้งว่า ไม่ยอมรับหนี้ที่เกิดขึ้นในอดีตกับสหรัฐสำหรับความช่วยเหลือที่ให้ไปก่อนหน้านี้ แต่อาจพิจารณาเปิดช่องให้กับการจ่ายสำหรับแพ็คเกจความช่วยเหลือทางทหารใหม่จากสหรัฐที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต "เราซาบซึ้งในการสนับสนุน แต่สิ่งนี้ไม่ใช่เงินกู้และเราจะไม่ยอมรับ" เซเลนสกีกล่าวยืนยัน
    Like
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 430 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ปูตินเดี๋ยวก็ตาย ตายแล้วทุกอย่างมันก็จบ มันคือเรื่องจริง”
    ในระหว่างการเยือนปารีสเมื่อวันก่อน เซเลนสกี กล่าวให้สัมภาณ์ด้วยถ้อยคำหยาบคาย บ่งบอกถึงความในใจของเขาที่ไม่เคยต้องการสันติภาพกับรัสเซีย

    “ปูตินเดี๋ยวก็ตาย ตายแล้วทุกอย่างมันก็จบ มันคือเรื่องจริง บางทีเขาอาจจะตายก่อนที่เขาจะสร้างประวัติศาสตร์ที่ล้มเหลวในชีวิตของเขาเสร็จสิ้นซะอีก นั่นคือสิ่งที่เขากลัว ตอนนี้ผมอายุน้อยกว่าเขา คุณกล้าเดิมพันกับผมมั้ยล่ะ ว่าผมจะมีอนาคตที่ดีกว่าเขา”

    นอกจากนี้ เซเลนสกียังเพ้อต่อได้อีกว่า:
    • สหรัฐฯ ตอนนี้อยู่ภายใต้อิทธิพลของรัสเซียไปแล้ว
    • เขายอมรับว่าไม่รู้จักทรัมป์ดีพอที่จะประเมินความสัมพันธ์ของเขากับปูตินได้
    • เซเลนสกียังคงยืนยันอีกครั้งว่า “ยูเครนไม่เคยถูกล้อม” ในเคิร์สก์ พวกเขาเสร็จสิ้นภารกิจ และออกมาได้อย่างปลอดภัย
    • ตอนนี้ยูเครน เคลียร์ข้อตกลงความช่วยเหลือกับสหรัฐฯได้หมดแล้ว โดยใช้ประโยชน์จากข้อตกลงของแร่ธาตุหายาก
    “ปูตินเดี๋ยวก็ตาย ตายแล้วทุกอย่างมันก็จบ มันคือเรื่องจริง” ในระหว่างการเยือนปารีสเมื่อวันก่อน เซเลนสกี กล่าวให้สัมภาณ์ด้วยถ้อยคำหยาบคาย บ่งบอกถึงความในใจของเขาที่ไม่เคยต้องการสันติภาพกับรัสเซีย “ปูตินเดี๋ยวก็ตาย ตายแล้วทุกอย่างมันก็จบ มันคือเรื่องจริง บางทีเขาอาจจะตายก่อนที่เขาจะสร้างประวัติศาสตร์ที่ล้มเหลวในชีวิตของเขาเสร็จสิ้นซะอีก นั่นคือสิ่งที่เขากลัว ตอนนี้ผมอายุน้อยกว่าเขา คุณกล้าเดิมพันกับผมมั้ยล่ะ ว่าผมจะมีอนาคตที่ดีกว่าเขา” นอกจากนี้ เซเลนสกียังเพ้อต่อได้อีกว่า: • สหรัฐฯ ตอนนี้อยู่ภายใต้อิทธิพลของรัสเซียไปแล้ว • เขายอมรับว่าไม่รู้จักทรัมป์ดีพอที่จะประเมินความสัมพันธ์ของเขากับปูตินได้ • เซเลนสกียังคงยืนยันอีกครั้งว่า “ยูเครนไม่เคยถูกล้อม” ในเคิร์สก์ พวกเขาเสร็จสิ้นภารกิจ และออกมาได้อย่างปลอดภัย • ตอนนี้ยูเครน เคลียร์ข้อตกลงความช่วยเหลือกับสหรัฐฯได้หมดแล้ว โดยใช้ประโยชน์จากข้อตกลงของแร่ธาตุหายาก
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 362 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts