• *****.....ผ้ายันต์ในพิธี.....ครบรอบ.....30.....ปี.....หลักเมือง.....จ.นครศรีธรรมราช.....*****

    *****.....พิธีเข้มขลัง.....เทพเทวา.....ฟ้าดินรับรู้.....พระอาทิตย์......ทรงกลด.....วันละหลายรอบ.....ผ้ายันต์ในพิธีก็สร้างน้อย.....มาก...มาก.....*****

    *****.....มีตราประทับของ.....ชมรมศรัทธาองค์พ่อ จตุคาม-รามเทพ.....ทุกผืน.....*****

    *****.....เช่าหาบูชาได้อย่างสบายใจ.....ท่านใดสนใจ.....*****

    *****.....ไอดี ไลน์.....oak_999.....ข้อความ.....หรือโทร.....089-471-5666.....*****

    #จตุคามรามเทพ #จตุคาม #รามเทพ #หลักเมือง #พังพระกาฬ #พังพกาฬ #จันทรภาณุ #พญาชิงชัย #ผ้ายันต์หลักเมืองนครศรี #ผ้ายันต์
    *****.....ผ้ายันต์ในพิธี.....ครบรอบ.....30.....ปี.....หลักเมือง.....จ.นครศรีธรรมราช.....***** *****.....พิธีเข้มขลัง.....เทพเทวา.....ฟ้าดินรับรู้.....พระอาทิตย์......ทรงกลด.....วันละหลายรอบ.....ผ้ายันต์ในพิธีก็สร้างน้อย.....มาก...มาก.....***** *****.....มีตราประทับของ.....ชมรมศรัทธาองค์พ่อ จตุคาม-รามเทพ.....ทุกผืน.....***** *****.....เช่าหาบูชาได้อย่างสบายใจ.....ท่านใดสนใจ.....***** *****.....ไอดี ไลน์.....oak_999.....ข้อความ.....หรือโทร.....089-471-5666.....***** #จตุคามรามเทพ #จตุคาม #รามเทพ #หลักเมือง #พังพระกาฬ #พังพกาฬ #จันทรภาณุ #พญาชิงชัย #ผ้ายันต์หลักเมืองนครศรี #ผ้ายันต์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 83 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลหลักเมืองชอนแก่น #ว่างว่างก็แวะมา
    ศาลหลักเมืองชอนแก่น #ว่างว่างก็แวะมา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตอน อาจารย์ปานเทพ ประกาศ ผมก็จดไว้...
    .
    ก่อนปีใหม่ไป ไหว้พระเขียวแก้ว ไหว้ศาลหลักเมือง...
    .
    พอเดินออกจากศาลหลักเมืองก็เจอ คนขาย สลากกินแบ่งรัฐบาล ก็เลยนึกถึงเลขนี้ขึ้นมา...
    .
    😁😁😁😁😁😁

    #ไม่ใช่เลขหวยนะครับ
    ตอน อาจารย์ปานเทพ ประกาศ ผมก็จดไว้... . ก่อนปีใหม่ไป ไหว้พระเขียวแก้ว ไหว้ศาลหลักเมือง... . พอเดินออกจากศาลหลักเมืองก็เจอ คนขาย สลากกินแบ่งรัฐบาล ก็เลยนึกถึงเลขนี้ขึ้นมา... . 😁😁😁😁😁😁 #ไม่ใช่เลขหวยนะครับ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1063 มุมมอง 46 0 รีวิว
  • มา สนามหลวง กับครอบครัว สักการะพระเขี้ยวแก้ว ไหว้ศาลหลักเมือง จากนั้น เรียก Bolt นั่งผ่านถนนพระอาทิตย์
    .
    เห็น สำนักบ้านพระอาทิตย์ นึกถึง ASTV - News1 นึกถึง คุณลุงสนธิ และ ทีมบ้านพระอาทิตย์ ทุกท่าน
    .
    ขอให้บุญที่ทำ กุศลที่มี ช่วยโอบอุ้ม ค้ำชู ทุกๆท่าน ให้มีควาสุขกายสุขใจ ยิ้มรับปีใหม่ที่กำลังจะมาถึง...
    .
    ขอให้ คุณลุงโสภณ ไปสู่สุขคติ สุขแล้ว สุขอยู่ สุขต่อไป...
    .
    😊😊😊😊
    มา สนามหลวง กับครอบครัว สักการะพระเขี้ยวแก้ว ไหว้ศาลหลักเมือง จากนั้น เรียก Bolt นั่งผ่านถนนพระอาทิตย์ . เห็น สำนักบ้านพระอาทิตย์ นึกถึง ASTV - News1 นึกถึง คุณลุงสนธิ และ ทีมบ้านพระอาทิตย์ ทุกท่าน . ขอให้บุญที่ทำ กุศลที่มี ช่วยโอบอุ้ม ค้ำชู ทุกๆท่าน ให้มีควาสุขกายสุขใจ ยิ้มรับปีใหม่ที่กำลังจะมาถึง... . ขอให้ คุณลุงโสภณ ไปสู่สุขคติ สุขแล้ว สุขอยู่ สุขต่อไป... . 😊😊😊😊
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว
  • โอมมณีปัทเมฮุม 16ชั้นฟ้า 15ชั้นดิน เทพ อินทร์ พรหม ยักษ์ กราบขอความเมตตาบอกกล่าวถึงศาล (หลักเมือง) ช่วยจับปิศาจ ของบ้านเมือง ลงหม้อ ถ่วงลงอบายภูมิ ด้วยเทอญ
    โอมมณีปัทเมฮุม 16ชั้นฟ้า 15ชั้นดิน เทพ อินทร์ พรหม ยักษ์ กราบขอความเมตตาบอกกล่าวถึงศาล (หลักเมือง) ช่วยจับปิศาจ ของบ้านเมือง ลงหม้อ ถ่วงลงอบายภูมิ ด้วยเทอญ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 229 มุมมอง 0 รีวิว
  • “เอกราช ช่างเหลา” สส.พรรคภูมิใจไทย แถลงต่อศาลจังหวัดขอนแก่น ปฏิเสธข้อหาในส่วนคดีอาญา และปฏิเสธที่จะชำระหลักทรัพย์ 130 ล้านบาท หรือจ่ายเงินสด 100 ล้านบาท ซึ่งครบกำหนดชำระในงวดเดือน พ.ย.นี้อีก 50 ล้านบาท อ้างว่ารอขายที่ดินทำเลทองบริเวณร้านแสงทองเดิม (ใกล้ศาลหลักเมือง) มูลค่ากว่า 300 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ณ ขณะนี้ศาลยังไม่มีคำตัดสินจากศาลออกมา

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000095488

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “เอกราช ช่างเหลา” สส.พรรคภูมิใจไทย แถลงต่อศาลจังหวัดขอนแก่น ปฏิเสธข้อหาในส่วนคดีอาญา และปฏิเสธที่จะชำระหลักทรัพย์ 130 ล้านบาท หรือจ่ายเงินสด 100 ล้านบาท ซึ่งครบกำหนดชำระในงวดเดือน พ.ย.นี้อีก 50 ล้านบาท อ้างว่ารอขายที่ดินทำเลทองบริเวณร้านแสงทองเดิม (ใกล้ศาลหลักเมือง) มูลค่ากว่า 300 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ณ ขณะนี้ศาลยังไม่มีคำตัดสินจากศาลออกมา อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000095488 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    Haha
    Angry
    23
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2257 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☆ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี
    ซึ่งแต่เดิมเรียกกันว่า
    ศาลเทพารักษ์หลักเมือง
    เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นที่เคารพนับถือของชาวจังหวัดสุพรรณบุรี
    ตั้งอยู่ในเขตเมืองโบราณสุพรรณบุรี ถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

    ☆หมู่บ้านมังกรสวรรค์ ตลาดพันปี
    ตั้งอยู่ภายในอุทยานมังกรสวรรค์ รูปแบบของหมู่บ้านได้จำลอง "เมืองลีเจียง" ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่โบราณอายุนับพันปี ที่มีรูปแบบที่สวยงามจนได้รับแต่งตั้งให้เป็นเมืองมรดกโลก
    ■■■■■■
    #สุพรรณบุรี #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #มะนาวก้าวเดิน #ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ☆ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี ซึ่งแต่เดิมเรียกกันว่า ศาลเทพารักษ์หลักเมือง เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นที่เคารพนับถือของชาวจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ในเขตเมืองโบราณสุพรรณบุรี ถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ☆หมู่บ้านมังกรสวรรค์ ตลาดพันปี ตั้งอยู่ภายในอุทยานมังกรสวรรค์ รูปแบบของหมู่บ้านได้จำลอง "เมืองลีเจียง" ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่โบราณอายุนับพันปี ที่มีรูปแบบที่สวยงามจนได้รับแต่งตั้งให้เป็นเมืองมรดกโลก ■■■■■■ #สุพรรณบุรี #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #มะนาวก้าวเดิน #ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Like
    Yay
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1698 มุมมอง 0 รีวิว
  • ร่วมเดินทางไปเช็คอิน EP.3
    》สุพรรณบุรี《
    ■หอชมวิว หมู่บ้านมังกรสวรรค์
    ■ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง
    สุพรรณบุรี
    ■big c สุพรรณบุรี
    ■ดีดี เพลส สุพรรณบุรี
    ■สมหวังที่วังยาง
    กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน ชมนาแห้ว
    061-587-1458
    ■■■■■■■■■■■■■■
    #เบื้องหลังจากถ่ายรายการสยามโสภา #มะนาวก้าวเดิน #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #สมหวังที่วังยาง #ดีดีเพลสสุพรรณบุรี #หอชมวิวหมู่บ้านมังกรสวรรค์ #ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี #สุพรรณบุรี
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ร่วมเดินทางไปเช็คอิน EP.3 》สุพรรณบุรี《 ■หอชมวิว หมู่บ้านมังกรสวรรค์ ■ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง สุพรรณบุรี ■big c สุพรรณบุรี ■ดีดี เพลส สุพรรณบุรี ■สมหวังที่วังยาง กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน ชมนาแห้ว 061-587-1458 ■■■■■■■■■■■■■■ #เบื้องหลังจากถ่ายรายการสยามโสภา #มะนาวก้าวเดิน #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #สมหวังที่วังยาง #ดีดีเพลสสุพรรณบุรี #หอชมวิวหมู่บ้านมังกรสวรรค์ #ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี #สุพรรณบุรี #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2225 มุมมอง 524 0 รีวิว
  • งานประเพณีแข่งเรือประจำปี 67 ณ บริเวณริมแม่น้ำ ข้างศาลหลักเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม ถึงวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2567
    งานประเพณีแข่งเรือประจำปี 67 ณ บริเวณริมแม่น้ำ ข้างศาลหลักเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม ถึงวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2567
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
  • งานประเพณีทิ้งกระจาด ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ถึงวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2567
    งานประเพณีทิ้งกระจาด ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ถึงวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2567
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 116 มุมมอง 0 รีวิว
  • ป้อมปราการ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

    กำแพงเมืองพระนครกรุงรัตนโกสินทร์นั้นสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 7 กิโลเมตร ครอบคลุมเขตเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ มีป้อมสังเกตุการณ์จำนวนถึง 14 ป้อม ป้อมปราการที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งมี 14 ป้อม คือ

    1. ป้อมพระสุเมรุ ป้อมที่อยู่เหนือสุดของเกาะรัตนโกสินทร์
    2. ป้อมยุคุนธร ตรงหน้าวัดบวรนิเวศวิหาร บัดนี้เหลือแต่กำแพงและประตูเมืองเท่านั้น
    3. ป้อมมหาปราบ ระหว่างสะพานเฉลิมวันชาติกับแยกผ่านฟ้าลีลาศ ตรงหัวโค้งถนนพระสุเมรุ
    4. ป้อมมหากาฬ เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ
    5. ป้อมหมู่ทะลวง (ทลวง) ใกล้หัวถนนหลวง ตรงข้ามสวนรมณีนาถและร้านเครื่องหวายข้างสวนรมณีนาถ แต่ก่อนสวนรมณีนาถคือเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ก่อนถูกยุบเป็นสวนสาธารณะกับพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ ส่วนป้อมหมู่ทลวงโดนทุบทิ้งไปบางส่วนเมื่อเมื่อปี พ.ศ. 2440 เพื่อนำอิฐไปสร้างทางรถไฟจากอยุธยาไปบ้านภาชีและแก่งคอย
    6. ป้อมเสือทะยาน (ทยาน) อยู่ใกล้สะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) ตรงโรงแรมมิรามา
    7. ป้อมมหาไชย ปัจจุบันคือธนาคารทหารไทย สาขาวังบูรพา หัวถนนเยาวราช แถวสะพานหัน ทุบทิ้งเมื่อปลายธันวาคม พ.ศ. 2469
    8. ป้อมจักรเพชร ป้อมที่อยู่ใต้สุดของเกาะรัตนโกสินทร์ อยู่ตรงปากคลองรอบกรุง เชิงสะพานพุทธยอดฟ้า
    9. ป้อมผีเสื้อ ปัจจุบันปากคลองคูเมืองเดิมด้านใต้ ฝั่งปากคลองตลาด
    10. ป้อมมหาฤกษ์ ปัจจุบันอยู่ในบริเวณโรงเรียนราชินี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับป้อมวิชัยประสิทธิ์ซึ่งอยู่ฝั่งธนบุรี
    11. ป้อมมหายักษ์ อยู่บริเวณท่าเตียน แถว ๆ ตึกกรมการค้าภายใน เก่า
    12. ป้อมพระจันทร์ ปัจจุบันคือท่าพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    13. ป้อมพระอาทิตย์ ปัจจุบันคือเชิงสะพานพระปิ่นเกล้า ปากคลองคูเมืองเดิม
    14. ป้อมอิสินธร ปัจจุบันคือพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตรงข้ามซอยชนะสงคราม ทางลัดเข้าวัดชนะสงคราม

    โดยประตูเมืองและกำแพงเมือง ทางทิศเหนือนั้นกรมศิลปากรได้บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นประตูเมืองตามแบบในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นประตูยอด โดยแตกต่างจากประตูไม้ทาดินแดงในสมัยรัชกาลที่ 1 และประตูก่ออิฐข้างบนซึ่งใช้เป็นหอรบในสมัยรัชกาลที่ 3

    ส่วนกำแพงเมืองทางด้านป้อมมหากาฬนั้น ได้ถูกรื้อถอนออกเป็นจำนวนมากเพื่อสร้างถนน และที่อยู่อาศัย จะเหลือให้เห็นเพียงระยะประมาณ 100 เมตร ติดต่อกับตัวป้อมมหากาฬ ด้านหลังกำแพงปัจจุบันเป็นสวนสาธารณะ เป็นอีกหนึ่งสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวกรุงเทพมหานครและนักท่องเที่ยว

    ทั้งนี้เนื่องจากรัชกาลที่ 1 ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านความมั่นคงมาตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า และมีตำแหน่งเป็น “แม่ทัพ” เมื่อครั้งสมัยกรุงธนบุรี ทำให้ทรงเชี่ยวชาญการศึก และเข้าใจตำราพิไชยสงคราม การตั้งหลักเมืองของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีการอ้างอิงการตั้งทัพหรือแต่งทัพ ที่สอดคล้องกับภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม

    รัชกาลที่ 1 เข้าพระราชหฤทัยชัยภูมิของ “บางกอก” ที่มีลักษณะตรงกับการตั้งทัพตามคติ “นาคนาม” กล่าวคือ เป็นบริเวณที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ดังนั้น ในการเลือกที่ตั้งศูนย์กลางของเมือง และการตั้ง “หลักเมือง” พระองค์จึงทรงเล็งเห็นประเด็นของ “ชัยภูมิ” เป็นลำดับแรก จากนั้นจึงดูฤกษ์ยาม วัน และเดือน ที่เหมาะสมตามคติ “โหราศาสตร์” ในการลงหลักเมืองตามมาเป็นลำดับ

    และเมื่อได้ดูลักษณะรูปร่างของการวางผังของ กำแพงเมืองพระนครจะเหมือนลักษณะคันธนู โดยยึดหลักฮวงจุ้ยของจีนมาประกอบการวางผังกำแพงเมือง หากสังเกตุดีๆ จะเห็นว่าสายธนูจะง้างออกไปทางทิศตะวันออก ส่วนลูกธนูจะพุ่งไปทางทิศตะวันตกอันเป็นทิศที่ตั้งของคู่ปรับสำคัญนั่นคือเมืองอังวะ พม่านั่นเอง
    .
    อ้างอิง
    พินิจพระนคร 2475-2545, กรมแผนที่ทหาร, กองบัญชาการทหารสูงสุด, พ.ศ. 2549
    แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2450 - 2550, โดย บัณฑิต จุลาสัยและคณะ, กรุงเทพฯ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2550
    เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 5
    เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 6
    เอกสารชุดกระทรวงมหาดไทย สมัยรัชกาลที่ 7
    เพจบางกอกไอเลิฟยู

    เรียบเรียงโดย เพจเกร็ดประวัติศาสตร์ v2

    #Thaitimes
    ป้อมปราการ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ กำแพงเมืองพระนครกรุงรัตนโกสินทร์นั้นสร้างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 7 กิโลเมตร ครอบคลุมเขตเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ มีป้อมสังเกตุการณ์จำนวนถึง 14 ป้อม ป้อมปราการที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งมี 14 ป้อม คือ 1. ป้อมพระสุเมรุ ป้อมที่อยู่เหนือสุดของเกาะรัตนโกสินทร์ 2. ป้อมยุคุนธร ตรงหน้าวัดบวรนิเวศวิหาร บัดนี้เหลือแต่กำแพงและประตูเมืองเท่านั้น 3. ป้อมมหาปราบ ระหว่างสะพานเฉลิมวันชาติกับแยกผ่านฟ้าลีลาศ ตรงหัวโค้งถนนพระสุเมรุ 4. ป้อมมหากาฬ เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ 5. ป้อมหมู่ทะลวง (ทลวง) ใกล้หัวถนนหลวง ตรงข้ามสวนรมณีนาถและร้านเครื่องหวายข้างสวนรมณีนาถ แต่ก่อนสวนรมณีนาถคือเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร ก่อนถูกยุบเป็นสวนสาธารณะกับพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ ส่วนป้อมหมู่ทลวงโดนทุบทิ้งไปบางส่วนเมื่อเมื่อปี พ.ศ. 2440 เพื่อนำอิฐไปสร้างทางรถไฟจากอยุธยาไปบ้านภาชีและแก่งคอย 6. ป้อมเสือทะยาน (ทยาน) อยู่ใกล้สะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) ตรงโรงแรมมิรามา 7. ป้อมมหาไชย ปัจจุบันคือธนาคารทหารไทย สาขาวังบูรพา หัวถนนเยาวราช แถวสะพานหัน ทุบทิ้งเมื่อปลายธันวาคม พ.ศ. 2469 8. ป้อมจักรเพชร ป้อมที่อยู่ใต้สุดของเกาะรัตนโกสินทร์ อยู่ตรงปากคลองรอบกรุง เชิงสะพานพุทธยอดฟ้า 9. ป้อมผีเสื้อ ปัจจุบันปากคลองคูเมืองเดิมด้านใต้ ฝั่งปากคลองตลาด 10. ป้อมมหาฤกษ์ ปัจจุบันอยู่ในบริเวณโรงเรียนราชินี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับป้อมวิชัยประสิทธิ์ซึ่งอยู่ฝั่งธนบุรี 11. ป้อมมหายักษ์ อยู่บริเวณท่าเตียน แถว ๆ ตึกกรมการค้าภายใน เก่า 12. ป้อมพระจันทร์ ปัจจุบันคือท่าพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 13. ป้อมพระอาทิตย์ ปัจจุบันคือเชิงสะพานพระปิ่นเกล้า ปากคลองคูเมืองเดิม 14. ป้อมอิสินธร ปัจจุบันคือพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตรงข้ามซอยชนะสงคราม ทางลัดเข้าวัดชนะสงคราม โดยประตูเมืองและกำแพงเมือง ทางทิศเหนือนั้นกรมศิลปากรได้บูรณะเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นประตูเมืองตามแบบในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นประตูยอด โดยแตกต่างจากประตูไม้ทาดินแดงในสมัยรัชกาลที่ 1 และประตูก่ออิฐข้างบนซึ่งใช้เป็นหอรบในสมัยรัชกาลที่ 3 ส่วนกำแพงเมืองทางด้านป้อมมหากาฬนั้น ได้ถูกรื้อถอนออกเป็นจำนวนมากเพื่อสร้างถนน และที่อยู่อาศัย จะเหลือให้เห็นเพียงระยะประมาณ 100 เมตร ติดต่อกับตัวป้อมมหากาฬ ด้านหลังกำแพงปัจจุบันเป็นสวนสาธารณะ เป็นอีกหนึ่งสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวกรุงเทพมหานครและนักท่องเที่ยว ทั้งนี้เนื่องจากรัชกาลที่ 1 ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านความมั่นคงมาตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า และมีตำแหน่งเป็น “แม่ทัพ” เมื่อครั้งสมัยกรุงธนบุรี ทำให้ทรงเชี่ยวชาญการศึก และเข้าใจตำราพิไชยสงคราม การตั้งหลักเมืองของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีการอ้างอิงการตั้งทัพหรือแต่งทัพ ที่สอดคล้องกับภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม รัชกาลที่ 1 เข้าพระราชหฤทัยชัยภูมิของ “บางกอก” ที่มีลักษณะตรงกับการตั้งทัพตามคติ “นาคนาม” กล่าวคือ เป็นบริเวณที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ดังนั้น ในการเลือกที่ตั้งศูนย์กลางของเมือง และการตั้ง “หลักเมือง” พระองค์จึงทรงเล็งเห็นประเด็นของ “ชัยภูมิ” เป็นลำดับแรก จากนั้นจึงดูฤกษ์ยาม วัน และเดือน ที่เหมาะสมตามคติ “โหราศาสตร์” ในการลงหลักเมืองตามมาเป็นลำดับ และเมื่อได้ดูลักษณะรูปร่างของการวางผังของ กำแพงเมืองพระนครจะเหมือนลักษณะคันธนู โดยยึดหลักฮวงจุ้ยของจีนมาประกอบการวางผังกำแพงเมือง หากสังเกตุดีๆ จะเห็นว่าสายธนูจะง้างออกไปทางทิศตะวันออก ส่วนลูกธนูจะพุ่งไปทางทิศตะวันตกอันเป็นทิศที่ตั้งของคู่ปรับสำคัญนั่นคือเมืองอังวะ พม่านั่นเอง . อ้างอิง พินิจพระนคร 2475-2545, กรมแผนที่ทหาร, กองบัญชาการทหารสูงสุด, พ.ศ. 2549 แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2450 - 2550, โดย บัณฑิต จุลาสัยและคณะ, กรุงเทพฯ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2550 เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 5 เอกสารชุดกระทรวงนครบาล สมัยรัชกาลที่ 6 เอกสารชุดกระทรวงมหาดไทย สมัยรัชกาลที่ 7 เพจบางกอกไอเลิฟยู เรียบเรียงโดย เพจเกร็ดประวัติศาสตร์ v2 #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1009 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🇹🇭พิธีเปิดบ่อลูกรังวัดบ่อทอง บุญฤทธิ์ขันน้ำมนต์ปู่หลักเมืองนิมิตรอักขระอักษร "โอม" สัญลักษณ์แห่งความร่ำรวย สัญลักษณ์แห่งความสำเร็จ ขจัดอุปสรรค์ทั้งหลาย และความโชคดี
    🇹🇭คำว่า โอม หมายถึง การเรียกขานพระนามของ 3 มหาเทพผู้ยิ่งใหญ่
    🇹🇭โอม ยังสามารถแยกออกเป็นคำๆ ซึ่งมีที่มาโดยการเปล่งเสียงแต่ละคำของมหาเทพได้อีก ดังนี้
    1. ตัว อะ ออกจากพระพักตร์ ทางทิศเหนือของมหาเทพ
    2. ตัว อุ ออกจากพระพักตร์ ทางทิศตะวันตกของมหาเทพ
    3. ตัว มะ ออกจากพระพักตร์ ทางทิศใต้ของมหาเทพ
    4. ตัว . (พินทุ) ออกจากพระพักตร์ ทางทิศตะวันออกของมหาเทพ
    5. เสียง นาท (เสียงที่มนุษย์ไม่สามารถได้ยินและเข้าใจได้) ออกจากกลางพระพักตร์ของมหาเทพ
    🇹🇭เมื่อท่านผู้ศรัทธาเดินผ่านเทวาลัย หรือมหาเทพองค์ใดๆ ควรพนมมือขึ้นเพื่อทำความเคารพ และให้เอ่ยคำว่า โอม สั้นๆ เพียงคำเดียว ฉะนั้นในบทสวดมนต์ของเทพทุกองค์ในศาสนาพราหมณ์ จะขึ้นต้นด้วยคำว่า โอม และในรูปวาดมหาเทพเกือบทุกรูป จะปรากฏเครื่องหมาย โอม อยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งในภาพ ซึ่งเครื่องหมาย โอม อันศักดิ์สิทธิ์นี้ ปรากฏคู่กับเครื่องหมาย พินทุ เสมออันจะเป็นเครื่องหมายที่นำความปรารถนา สุขสมหวังมาให้สามารถขจัดอุปสรรคทั้งหลายให้หมดสิ้น และชี้นำเหล่าโยคีไปสู่ปรีชาญาณ
    🇹🇭ข้าพเจ้าขอน้อมสักการะเครื่องหมาย โอม อันศักดิ์สิทธิ์นี้….จะขอพร จะกราบหรือกระทำสิ่งใดก็ตามแต่ ให้เอ่ยคำว่า โอม เสมอหัวใจหลักของศาสนาเลยทีเดียว!!
    🇹🇭อักขระ โอม เกิดจากการเรียกพระนามของพระตรีมูรติทั้ง 3 รวมกันเป็นคำเดียว ซึ่งแยกได้ดังนี้
    - พระศิวะ อะ มาจากเสียงสุดท้ายของคำว่า พระศิวะ (อะ)
    - พระวิษณุ อุ มาจากเสียงสุดท้ายของคำว่า พระวิษณุ (อุ)
    - พระพรหม มะ มาจากเสียงสุดท้ายของคำว่า พระพรหมมะ (มะ)
    🇹🇭อย่างไรก็ตาม ในการใช้ โอม แทนคำว่า สาธุ ก็จะถูกต้องตามหลักศาสนาพุทธ ดังนั้น โอม เป็นพยางค์ศักดิ์สิทธิ์ เป็นคำที่ถูกเอ่ยถี่ที่สุด
    🇹🇭ในการสวดมนต์ทุกบทของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ให้เอ่ยคำว่า โอม

    --------------------------------------------------------- #โชคลาภ #พระพิฆเนศ #โอม #บ่อลูกรังวัดบ่อทอง #หลวงพ่อเกตุสุวรรณ #วัดบ่อทอง
    🇹🇭พิธีเปิดบ่อลูกรังวัดบ่อทอง บุญฤทธิ์ขันน้ำมนต์ปู่หลักเมืองนิมิตรอักขระอักษร "โอม" สัญลักษณ์แห่งความร่ำรวย สัญลักษณ์แห่งความสำเร็จ ขจัดอุปสรรค์ทั้งหลาย และความโชคดี 🇹🇭คำว่า โอม หมายถึง การเรียกขานพระนามของ 3 มหาเทพผู้ยิ่งใหญ่ 🇹🇭โอม ยังสามารถแยกออกเป็นคำๆ ซึ่งมีที่มาโดยการเปล่งเสียงแต่ละคำของมหาเทพได้อีก ดังนี้ 1. ตัว อะ ออกจากพระพักตร์ ทางทิศเหนือของมหาเทพ 2. ตัว อุ ออกจากพระพักตร์ ทางทิศตะวันตกของมหาเทพ 3. ตัว มะ ออกจากพระพักตร์ ทางทิศใต้ของมหาเทพ 4. ตัว . (พินทุ) ออกจากพระพักตร์ ทางทิศตะวันออกของมหาเทพ 5. เสียง นาท (เสียงที่มนุษย์ไม่สามารถได้ยินและเข้าใจได้) ออกจากกลางพระพักตร์ของมหาเทพ 🇹🇭เมื่อท่านผู้ศรัทธาเดินผ่านเทวาลัย หรือมหาเทพองค์ใดๆ ควรพนมมือขึ้นเพื่อทำความเคารพ และให้เอ่ยคำว่า โอม สั้นๆ เพียงคำเดียว ฉะนั้นในบทสวดมนต์ของเทพทุกองค์ในศาสนาพราหมณ์ จะขึ้นต้นด้วยคำว่า โอม และในรูปวาดมหาเทพเกือบทุกรูป จะปรากฏเครื่องหมาย โอม อยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งในภาพ ซึ่งเครื่องหมาย โอม อันศักดิ์สิทธิ์นี้ ปรากฏคู่กับเครื่องหมาย พินทุ เสมออันจะเป็นเครื่องหมายที่นำความปรารถนา สุขสมหวังมาให้สามารถขจัดอุปสรรคทั้งหลายให้หมดสิ้น และชี้นำเหล่าโยคีไปสู่ปรีชาญาณ 🇹🇭ข้าพเจ้าขอน้อมสักการะเครื่องหมาย โอม อันศักดิ์สิทธิ์นี้….จะขอพร จะกราบหรือกระทำสิ่งใดก็ตามแต่ ให้เอ่ยคำว่า โอม เสมอหัวใจหลักของศาสนาเลยทีเดียว!! 🇹🇭อักขระ โอม เกิดจากการเรียกพระนามของพระตรีมูรติทั้ง 3 รวมกันเป็นคำเดียว ซึ่งแยกได้ดังนี้ - พระศิวะ อะ มาจากเสียงสุดท้ายของคำว่า พระศิวะ (อะ) - พระวิษณุ อุ มาจากเสียงสุดท้ายของคำว่า พระวิษณุ (อุ) - พระพรหม มะ มาจากเสียงสุดท้ายของคำว่า พระพรหมมะ (มะ) 🇹🇭อย่างไรก็ตาม ในการใช้ โอม แทนคำว่า สาธุ ก็จะถูกต้องตามหลักศาสนาพุทธ ดังนั้น โอม เป็นพยางค์ศักดิ์สิทธิ์ เป็นคำที่ถูกเอ่ยถี่ที่สุด 🇹🇭ในการสวดมนต์ทุกบทของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ให้เอ่ยคำว่า โอม --------------------------------------------------------- #โชคลาภ #พระพิฆเนศ #โอม #บ่อลูกรังวัดบ่อทอง #หลวงพ่อเกตุสุวรรณ #วัดบ่อทอง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 794 มุมมอง 0 รีวิว