• รู้จักใช้ เข้าใจเงิน ตอนที่ 7 การสร้างความมั่นคงด้านการเงินแก่ครอบครัว
    .
    ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพ่อแม่และการเป็นครอบครัวที่อบอุ่นโยงใยกับการจัดการเรื่องการเงินอย่างไม่อ่จหลีกเลี่ยงได้ การที่คนสองคนมาร่วมชีวิตกันและมีลูก คือทางเลือกของชีวิตที่ทั้งสองได้ตัดสินใจแล้ว ดังนั้นจึงต้องร่วมกันรับผิดชอบให้ครอบครัวมีความสุข มีความเป็นปึกแผ่นด้านการเงิน ซึ่งจะนำไปสู่ความมั่นคงของทุกๆคนในครอบครัว
    .
    ในเบื้องแรก สามีภรรยาต้องพูดจาตกลงกันให้ชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการเงินทองของครอบครัว เช่น จะรวมกระเป๋าและแยกกระเป๋ากันอย่างไร ค่าใช้จ่ายของครอบครัวจะรับผิดชอบกันอย่างไร ข้อพิจารณาในเรื่องนี้มีดังนี้
    .
    การตัดสินใจทางการเงินของพ่อแม่จะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน การซื้อสิ่งของที่มีราคาสูงและผูกมัดทางการเงินของครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นการซื้อรถยนต์ ซื้อบ้าน ซื้อที่ดิน ลงทุนธุรกิจ ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องมีการปรึกษาหารือ และตัดสินใจร่วมกันเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายทราบถึงภาระผูกพันที่จะเกิดขึ้น
    .
    การใช้จ่ายที่ต่างคนต่างทำ เช่น การใช้บัตรเครดิต การเล่นหุ้น เล่นแชร์ การร่วมลงทุนกับผู้อื่น ควรให้แต่ละฝ่ายได้รับรู้ เพราะเป็นบุคคลเดียวกันตามกฏหมาย (ในกรณีจดทะเบียนสมรส) ทั้งพ่อและแม่ต้องรับรู้ข้อมูลและรับผิดชอบสถานะการเงินของครอบครัวร่วมกัน ถ้าฝ่ายหนึ่งใช้เงินอย่างเดียวโดยไม่ยอมรับรู้เรื่องรายได้ ไม่ยอมหรือไม่ร่วมปรึกษาหารือในการวางแผนการเงินของครอบครัว ความมั่นคงทางการเงินของครอบครัวก็เกิดขึ้นไม่ได้
    .
    การวางแผนการเงินของครอบครัวเป็นเรื่องสำคัญที่พ่อแม่จะต้องจัดไว้ในลำดับสำคัญสูงสุด การจดบันทึกข้อมูลการใช้จ่ายในแต่ละเดือนจะทำให้เห็นภาพรวมของการใช้จ่าย ซึ่งจะเป็นปัจจัยนำไปสู่ความสามารถในการออมของครอบครัว ในการสร้างความมั้นคงด้านการเงินให้แก่ครอบครัว ประเด็นที่พึงพิจารณามีดังต่อไปนี้
    .
    1.ความมั่งคั่งและการมีรายได้ต่อช่วงเวลานั้นแตกต่างกัน ถ้าเปรียบเงินเหมือนน้ำที่อยู่ในถัง รายได้เสมือนน้ำที่ไหลออกจากก้นถังในช่วงเวลาหนึ่ง ถ้าน้ำไหลเข้าถังมากกว่าน้ำที่ไหลออก ปริมาณน้ำในถังที่ได้สะสมมาก่อนหน้า ก็จะมากขึ้น แต่ถ้าน้ำไหลออกจากถังในช่วงเวลาหนึ่งมากกว่าน้ำไหลเข้า ดังนั้น ปริมาณน้ำในถังที่สะสมมาก่อนหน้าก็จะลดลง ความมั่งคั่งก็คือปริมาณน้ำที่อยู่ในถัง ส่วนรายได้ก็คือปริมาณน้ำที่ไหลเข้าถึงในช่วงเวลานั้น
    .
    ความมั่งคั่งวัด ณ จุดหนึ่งของเวลา ส่วนการมีรายได้เป็นการวัดต่อช่วงเวลา เช่น บ้านมีมูลค่า 3 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวามคม 2568 เป็นความมั่งคั่ง ส่วนรายได้ 5 หมื่นบาทต่อเดือนเป็นการมีรายได้
    .
    สองสิ่งนี้แตกต่างกัน ความมั่งคั่งมีนัยผูกพันกับอนาคตที่จะมีรายได้ให้ใช้ ส่วนการมีรายได้นั้นมีนัยผูกพันกับช่วงเวลาสั้นๆ บางครอบครัวอาจมีรายได้ต่อเดือนมาก แต่อาจไม่มีความมั่งคั่งก็เป็นได้ กล่าวคือ ถึงมีรายได้มากก็ใช้ไปจนหมด ไม่เหลือไว้สร้างความมั่งคั่งซึ่งจะทำให้มีรายได้เพิ่มเติมอีกเลยในอนาคต
    .
    การสร้างความมั่งคั่งของครอบครัวต้องเน้นไปที่การสะสมความมั่งคั่งในระยะยาว ในแต่ละเดือนจะต้องมีรายได้มากกว่าการใช้จ่าย ซึงหมายถึงมีเงินออมนั่นเอง จึงจะทำให้ความมั่งคั่งเพิ่มพูนขึ้นได้ และความมั่งคั่งนี้จะเป็นฐานของการหารายได้เพิ่มเติมอีกทางหนึ่งสำหรับครอบครัวนอกเหนือจากการออกแรงทำงาน
    .
    2.การใช้จ่ายเงินอย่างชาญฉลาด สอดคล้องกับเงินในกระเป๋าเป็นเรื่องสำคัญ สุภาษิต “การหาเงินเป็นเรื่องสำคัญ แต่การรู้จักใช้เงินนั้นสำคัญกว่า” เป็นจริงทุกยุคสมัย..... พ่อแม่จำนวนมากทำงานหนักหาเงินเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวโดยมีต้นทุนที่ต้องจ่าย นั่นคือมีเวลาให้ลูกน้อยลง ทำให้ความเอาใจใส่และผูกพันกับลูกลดลงน้อยลงไปด้วย
    .
    พ่อแม่เหล่านี้ มักเน้นการหารายได้แต่เพียงอย่างเดียวจนละเลยความสำคัญของการใช้จ่าย รายได้ส่วนหนึ่งมักถูกนำไปใช้จ่ายเพื่อชดเชยที่ใกล้ชิดลูกน้อยลง จนอาจทำให้เงินออมขนาดใหญ่ในแต่ละเดือนเกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้น การทุ่มเทหาเงินทองในกรณีนี้จึงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครอบครัวมากดังที่เข้าใจ หรือคาดหวัง บางครอบครัวกว่าจะรู้ตัวว่าไม่คุ้มก็ต่อเมื่อได้สูญเสียความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัวหรือสูญเสียลูกไปแล้ว
    .
    การทำงานหนักเพื่อหาเงินและใช้จ่ายเงินเพื่อดำรงชีพและหาความสุขไม่ใช่เรื่องเสียหาย เช่นเดียวกับการมีบัตรเครดิตและการกู้ยืม ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นบริการด้านการเงินที่มีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและช่วยให้บรรลุความต้องการในชีวิต ประเด็นสำคัญอยู่ที่ความเหมาะสมระหว่างสถานะทางการเงินของครอบครัวกับหนี้ที่ก่อขึ้น
    .
    3.จะไม่กู้เงินเพื่อสิ่งอื่นใด นอกจากที่อยู่อาศัย การศึกษา หรือเหตุฉุกเฉินด้านปัญหาสุขภาพ นี่คือความเชื่ออย่างนึงของคนในโลกตะวันตก ที่เข้าใจเรื่องการใช้เงินมายาวนานกว่าคนเอเชีย
    .
    การมีที่อยู่อาศัยของตนเอง เป็นพื้นฐานของความมั่งคงในชีวิต นักจิตวิทยาบอกว่า ลึกเข้าไปในใจของมนุษย์ทุกคน บ้านคือตัวแทนของแม่ เพราะบ้านป้องกัน แสงแดด ลมฝน และความหนาวเย็น ก่อให้เกิดความสุขสบายปลอดภัย เฉกเช่นเดียวกับครรภ์มารดา
    .
    การที่ครอบครัวจะมีบ้านเป็นของตนเองนั้นควรเป็นเป้าหมายแรกของพ่อแม่ เพราะทำให้ไม่ต้องจ่ายค่าเช่าบ้าน ซึ่งค่าเช่านี้อาจแปรเปลี่ยนเป็นเงินผ่อนซื้อบ้านในแต่ละเดือนได้ หากมีการกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านหลังเดียวกันนี้ ผู้จ่ายค่าเช่าทุกเดือนไม่มีความหวังว่าจะได้เป็นเจ้าของบ้านในวันข้างหน้า ซึ่งต่างจากผู้ซื้อบ้านที่มีโอกาสในวันข้างหน้าที่จะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอยู่อาศัยอีก เนื่องจากเป็นเจ้าของบ้านเอง นอกจากนี้ภายใต้กฏหมายไทย ไม่อาจใช้ค่าเช่าบ้านเป็นค่าลดหย่อนสำหรับการเสียถาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี แต่ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านสามารถหักเป็นค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 50,000 บาท
    .
    อย่างไรก็ดี การผ่อนซื้อบ้านเป็นภาระการเงินที่หนักหน่วง เพราะไม่เพียงแต่ต้องจ่ายเงินผ่อนชำระทุกเดือนเท่านั้น ยังมีระยะเวลาผูกพันอันยาวนานเกี่ยวข้องอีกด้วย การผ่อนบ้านจึงเป็นการตัดสินใจครั้งสำคัญของครอบครัว ซึ่งต้องคำนึงถึงราคาบ้าน ความสามารถในการผ่อนชำระแต่ละเดือน อัตราดอกเบี้ยในปัจจุบันและอนาคต ความแน่นอนของรายได้ ระยะเวลาแห่งการผูกมัด ศักยภาพการเพิ่มขึ้นของมูลค่าบ้าน ตลอดจน “ความแพง” ของบ้านในภาพรวม
    .
    ยกตัวอย่าง “ความแพง” ของบ้านเพื่อประกอบการพิจารณา : ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนชำระ 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 1,322 บาท ดังนั้นต้องจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 158,640 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท (ถ้าผ่อนส่ง 20 ปี ต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 316,080 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท)
    .
    ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 5 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนส่ง 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 66,100 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 7.93 ล้านบาท และถ้าผ่อนส่ง 15 ปี ต้องชำระเดือนละ 53,750 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้นประมาณ 9.68 ล้านบาท หรืออีกเกือบหนึ่งเท่าของราคาบ้าน
    .
    ถึงแม้การกู้ยืมจะทำให้บ้าน “แพง” ขึ้นมาก แต่ก็ทำให้สามารถมีบ้านอยู่อาศัยที่เป็นของตนเองในอนาคต และมูลค่าบ้านก็อาจเพิ่มขึ้นอีกด้วย ดังนั้นจึงควรใคร่ครวญทั้งในด้าน “ความแพง” อันเกิดจากดอกเบี้ย ความมีคุณค่าของบ้านในปัจจุบันและมูลค่าบ้านในอนาคตประกอบกัน
    รู้จักใช้ เข้าใจเงิน ตอนที่ 7 การสร้างความมั่นคงด้านการเงินแก่ครอบครัว . ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพ่อแม่และการเป็นครอบครัวที่อบอุ่นโยงใยกับการจัดการเรื่องการเงินอย่างไม่อ่จหลีกเลี่ยงได้ การที่คนสองคนมาร่วมชีวิตกันและมีลูก คือทางเลือกของชีวิตที่ทั้งสองได้ตัดสินใจแล้ว ดังนั้นจึงต้องร่วมกันรับผิดชอบให้ครอบครัวมีความสุข มีความเป็นปึกแผ่นด้านการเงิน ซึ่งจะนำไปสู่ความมั่นคงของทุกๆคนในครอบครัว . ในเบื้องแรก สามีภรรยาต้องพูดจาตกลงกันให้ชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการเงินทองของครอบครัว เช่น จะรวมกระเป๋าและแยกกระเป๋ากันอย่างไร ค่าใช้จ่ายของครอบครัวจะรับผิดชอบกันอย่างไร ข้อพิจารณาในเรื่องนี้มีดังนี้ . การตัดสินใจทางการเงินของพ่อแม่จะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน การซื้อสิ่งของที่มีราคาสูงและผูกมัดทางการเงินของครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นการซื้อรถยนต์ ซื้อบ้าน ซื้อที่ดิน ลงทุนธุรกิจ ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องมีการปรึกษาหารือ และตัดสินใจร่วมกันเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายทราบถึงภาระผูกพันที่จะเกิดขึ้น . การใช้จ่ายที่ต่างคนต่างทำ เช่น การใช้บัตรเครดิต การเล่นหุ้น เล่นแชร์ การร่วมลงทุนกับผู้อื่น ควรให้แต่ละฝ่ายได้รับรู้ เพราะเป็นบุคคลเดียวกันตามกฏหมาย (ในกรณีจดทะเบียนสมรส) ทั้งพ่อและแม่ต้องรับรู้ข้อมูลและรับผิดชอบสถานะการเงินของครอบครัวร่วมกัน ถ้าฝ่ายหนึ่งใช้เงินอย่างเดียวโดยไม่ยอมรับรู้เรื่องรายได้ ไม่ยอมหรือไม่ร่วมปรึกษาหารือในการวางแผนการเงินของครอบครัว ความมั่นคงทางการเงินของครอบครัวก็เกิดขึ้นไม่ได้ . การวางแผนการเงินของครอบครัวเป็นเรื่องสำคัญที่พ่อแม่จะต้องจัดไว้ในลำดับสำคัญสูงสุด การจดบันทึกข้อมูลการใช้จ่ายในแต่ละเดือนจะทำให้เห็นภาพรวมของการใช้จ่าย ซึ่งจะเป็นปัจจัยนำไปสู่ความสามารถในการออมของครอบครัว ในการสร้างความมั้นคงด้านการเงินให้แก่ครอบครัว ประเด็นที่พึงพิจารณามีดังต่อไปนี้ . 1.ความมั่งคั่งและการมีรายได้ต่อช่วงเวลานั้นแตกต่างกัน ถ้าเปรียบเงินเหมือนน้ำที่อยู่ในถัง รายได้เสมือนน้ำที่ไหลออกจากก้นถังในช่วงเวลาหนึ่ง ถ้าน้ำไหลเข้าถังมากกว่าน้ำที่ไหลออก ปริมาณน้ำในถังที่ได้สะสมมาก่อนหน้า ก็จะมากขึ้น แต่ถ้าน้ำไหลออกจากถังในช่วงเวลาหนึ่งมากกว่าน้ำไหลเข้า ดังนั้น ปริมาณน้ำในถังที่สะสมมาก่อนหน้าก็จะลดลง ความมั่งคั่งก็คือปริมาณน้ำที่อยู่ในถัง ส่วนรายได้ก็คือปริมาณน้ำที่ไหลเข้าถึงในช่วงเวลานั้น . ความมั่งคั่งวัด ณ จุดหนึ่งของเวลา ส่วนการมีรายได้เป็นการวัดต่อช่วงเวลา เช่น บ้านมีมูลค่า 3 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวามคม 2568 เป็นความมั่งคั่ง ส่วนรายได้ 5 หมื่นบาทต่อเดือนเป็นการมีรายได้ . สองสิ่งนี้แตกต่างกัน ความมั่งคั่งมีนัยผูกพันกับอนาคตที่จะมีรายได้ให้ใช้ ส่วนการมีรายได้นั้นมีนัยผูกพันกับช่วงเวลาสั้นๆ บางครอบครัวอาจมีรายได้ต่อเดือนมาก แต่อาจไม่มีความมั่งคั่งก็เป็นได้ กล่าวคือ ถึงมีรายได้มากก็ใช้ไปจนหมด ไม่เหลือไว้สร้างความมั่งคั่งซึ่งจะทำให้มีรายได้เพิ่มเติมอีกเลยในอนาคต . การสร้างความมั่งคั่งของครอบครัวต้องเน้นไปที่การสะสมความมั่งคั่งในระยะยาว ในแต่ละเดือนจะต้องมีรายได้มากกว่าการใช้จ่าย ซึงหมายถึงมีเงินออมนั่นเอง จึงจะทำให้ความมั่งคั่งเพิ่มพูนขึ้นได้ และความมั่งคั่งนี้จะเป็นฐานของการหารายได้เพิ่มเติมอีกทางหนึ่งสำหรับครอบครัวนอกเหนือจากการออกแรงทำงาน . 2.การใช้จ่ายเงินอย่างชาญฉลาด สอดคล้องกับเงินในกระเป๋าเป็นเรื่องสำคัญ สุภาษิต “การหาเงินเป็นเรื่องสำคัญ แต่การรู้จักใช้เงินนั้นสำคัญกว่า” เป็นจริงทุกยุคสมัย..... พ่อแม่จำนวนมากทำงานหนักหาเงินเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวโดยมีต้นทุนที่ต้องจ่าย นั่นคือมีเวลาให้ลูกน้อยลง ทำให้ความเอาใจใส่และผูกพันกับลูกลดลงน้อยลงไปด้วย . พ่อแม่เหล่านี้ มักเน้นการหารายได้แต่เพียงอย่างเดียวจนละเลยความสำคัญของการใช้จ่าย รายได้ส่วนหนึ่งมักถูกนำไปใช้จ่ายเพื่อชดเชยที่ใกล้ชิดลูกน้อยลง จนอาจทำให้เงินออมขนาดใหญ่ในแต่ละเดือนเกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้น การทุ่มเทหาเงินทองในกรณีนี้จึงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครอบครัวมากดังที่เข้าใจ หรือคาดหวัง บางครอบครัวกว่าจะรู้ตัวว่าไม่คุ้มก็ต่อเมื่อได้สูญเสียความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัวหรือสูญเสียลูกไปแล้ว . การทำงานหนักเพื่อหาเงินและใช้จ่ายเงินเพื่อดำรงชีพและหาความสุขไม่ใช่เรื่องเสียหาย เช่นเดียวกับการมีบัตรเครดิตและการกู้ยืม ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นบริการด้านการเงินที่มีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและช่วยให้บรรลุความต้องการในชีวิต ประเด็นสำคัญอยู่ที่ความเหมาะสมระหว่างสถานะทางการเงินของครอบครัวกับหนี้ที่ก่อขึ้น . 3.จะไม่กู้เงินเพื่อสิ่งอื่นใด นอกจากที่อยู่อาศัย การศึกษา หรือเหตุฉุกเฉินด้านปัญหาสุขภาพ นี่คือความเชื่ออย่างนึงของคนในโลกตะวันตก ที่เข้าใจเรื่องการใช้เงินมายาวนานกว่าคนเอเชีย . การมีที่อยู่อาศัยของตนเอง เป็นพื้นฐานของความมั่งคงในชีวิต นักจิตวิทยาบอกว่า ลึกเข้าไปในใจของมนุษย์ทุกคน บ้านคือตัวแทนของแม่ เพราะบ้านป้องกัน แสงแดด ลมฝน และความหนาวเย็น ก่อให้เกิดความสุขสบายปลอดภัย เฉกเช่นเดียวกับครรภ์มารดา . การที่ครอบครัวจะมีบ้านเป็นของตนเองนั้นควรเป็นเป้าหมายแรกของพ่อแม่ เพราะทำให้ไม่ต้องจ่ายค่าเช่าบ้าน ซึ่งค่าเช่านี้อาจแปรเปลี่ยนเป็นเงินผ่อนซื้อบ้านในแต่ละเดือนได้ หากมีการกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านหลังเดียวกันนี้ ผู้จ่ายค่าเช่าทุกเดือนไม่มีความหวังว่าจะได้เป็นเจ้าของบ้านในวันข้างหน้า ซึ่งต่างจากผู้ซื้อบ้านที่มีโอกาสในวันข้างหน้าที่จะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอยู่อาศัยอีก เนื่องจากเป็นเจ้าของบ้านเอง นอกจากนี้ภายใต้กฏหมายไทย ไม่อาจใช้ค่าเช่าบ้านเป็นค่าลดหย่อนสำหรับการเสียถาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี แต่ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านสามารถหักเป็นค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 50,000 บาท . อย่างไรก็ดี การผ่อนซื้อบ้านเป็นภาระการเงินที่หนักหน่วง เพราะไม่เพียงแต่ต้องจ่ายเงินผ่อนชำระทุกเดือนเท่านั้น ยังมีระยะเวลาผูกพันอันยาวนานเกี่ยวข้องอีกด้วย การผ่อนบ้านจึงเป็นการตัดสินใจครั้งสำคัญของครอบครัว ซึ่งต้องคำนึงถึงราคาบ้าน ความสามารถในการผ่อนชำระแต่ละเดือน อัตราดอกเบี้ยในปัจจุบันและอนาคต ความแน่นอนของรายได้ ระยะเวลาแห่งการผูกมัด ศักยภาพการเพิ่มขึ้นของมูลค่าบ้าน ตลอดจน “ความแพง” ของบ้านในภาพรวม . ยกตัวอย่าง “ความแพง” ของบ้านเพื่อประกอบการพิจารณา : ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนชำระ 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 1,322 บาท ดังนั้นต้องจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 158,640 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท (ถ้าผ่อนส่ง 20 ปี ต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 316,080 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท) . ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 5 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนส่ง 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 66,100 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 7.93 ล้านบาท และถ้าผ่อนส่ง 15 ปี ต้องชำระเดือนละ 53,750 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้นประมาณ 9.68 ล้านบาท หรืออีกเกือบหนึ่งเท่าของราคาบ้าน . ถึงแม้การกู้ยืมจะทำให้บ้าน “แพง” ขึ้นมาก แต่ก็ทำให้สามารถมีบ้านอยู่อาศัยที่เป็นของตนเองในอนาคต และมูลค่าบ้านก็อาจเพิ่มขึ้นอีกด้วย ดังนั้นจึงควรใคร่ครวญทั้งในด้าน “ความแพง” อันเกิดจากดอกเบี้ย ความมีคุณค่าของบ้านในปัจจุบันและมูลค่าบ้านในอนาคตประกอบกัน
    0 Comments 0 Shares 17 Views 0 Reviews
  • วิเคราะห์สถานการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้น และคำแนะนำที่เป็นรูปธรรมสำหรับการเตรียมตัวรับมือยุคใหม่

    ---

    1. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Deep Analysis)

    สิ่งที่คุณวิเคราะห์มานั้นมีความเป็นไปได้สูง และสอดคล้องกับแนวโน้มที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบัน (AI, Automation, Digitalization, และการเปลี่ยนผ่านของเศรษฐกิจโลก) นี่คือมุมมองที่ลึกขึ้นสำหรับแต่ละประเด็น

    1.1 ธุรกิจเก่าจะล่มสลาย - แรงงานตกงานเป็นจำนวนมาก

    Real Data: ยอดขายของธุรกิจดั้งเดิมลดลงจริง และอัตราการปิดกิจการเพิ่มขึ้น

    AI Disruption: AI และ Automation แทนที่แรงงานที่ไร้ทักษะ คนที่ไม่ Reskill จะตกงานแน่นอน

    Middle-Class Crisis: รายได้ชนชั้นกลางถูกกดดัน หนี้สินครัวเรือนสูงขึ้น

    → การเตรียมตัว:
    ✅ Upskill & Reskill อย่างต่อเนื่อง
    ✅ พัฒนาอาชีพทางเลือก (Freelance, Online Business, Tech Skills)
    ✅ วางแผนการเงินแบบอนุรักษ์นิยม (ลดหนี้, สร้าง Passive Income)

    ---

    1.2 ธุรกิจยุคใหม่จะถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี

    Tech-Driven Economy: คนที่เก่งเทคโนโลยีจะเป็นกลุ่มที่มั่งคั่ง

    Job Market Shift: สายงานดั้งเดิมหดตัว แต่สายงาน Tech, Data Science, AI, และ Digital Business จะเติบโต

    New Wealth Creation: คนทำงานออนไลน์จะมีโอกาสสร้างความมั่งคั่งได้ง่ายขึ้น

    → การเตรียมตัว:
    ✅ ฝึก Coding, Data Analysis, Blockchain, Digital Marketing
    ✅ เรียนรู้ AI Tools (ChatGPT, MidJourney, Copilot, Automation Tools)
    ✅ สร้างรายได้จาก Gig Economy, Online Business, Digital Assets

    ---

    1.3 ภาษาอังกฤษ, คอมพิวเตอร์, เทรดดิ้ง, และสุขภาพจิตเป็นทักษะจำเป็น

    Linguistic Economy: คนที่สื่อสารได้หลายภาษา (โดยเฉพาะอังกฤษ) ได้เปรียบ

    Financial Intelligence: การเทรดหุ้น, สินค้าโภคภัณฑ์, Crypto จะเป็นทางเลือกของคนฉลาดด้านการเงิน

    Mental Health Crisis: คนที่ปรับตัวไม่ได้จะเกิดภาวะเครียดและซึมเศร้า

    → การเตรียมตัว:
    ✅ ฝึก ภาษาอังกฤษ + ภาษาที่สาม (จีน/สเปน/ญี่ปุ่น/เยอรมัน)
    ✅ เรียน พื้นฐานการลงทุน, Financial Literacy, Asset Allocation
    ✅ ฝึก สมาธิ, Mental Resilience, Self-Healing Skills

    ---

    1.4 ร้านค้าออฟไลน์ล้มหาย ธุรกิจออนไลน์ครองเมือง

    Retail Apocalypse: ร้านค้าที่มีหน้าร้านจะลดลง 60-80%

    E-Commerce Dominance: Shopee, Lazada, Amazon, TikTok Shop จะเป็นช่องทางหลักของการค้า

    → การเตรียมตัว:
    ✅ ทำธุรกิจออนไลน์ให้เป็น (E-Commerce, Digital Marketing, Dropshipping, Affiliate, Influencer Economy)
    ✅ ลงทุนในโลจิสติกส์ & AI-driven Sales

    ---

    1.5 คนรวยยิ่งรวยขึ้น คนจนจะยิ่งจนลง

    Wealth Inequality: 1% ของประชากรโลกถือครองทรัพย์สิน 90% ของโลก

    Rich Get Richer: คนที่เข้าใจการลงทุนจะเพิ่มทรัพย์สินได้มหาศาล

    Poor Get Poorer: คนที่ไม่มี Financial Literacy จะจมอยู่กับหนี้

    → การเตรียมตัว:
    ✅ ศึกษาและลงทุนในสินทรัพย์ที่สร้าง Passive Income
    ✅ หลีกเลี่ยงหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Bad Debt)
    ✅ สร้าง Mindset แบบเจ้าของกิจการ (Owner Mindset vs. Employee Mindset)

    ---

    1.6 คนจำนวนมากจะหนีความจริงไปอยู่ในวัดและโลกเสมือน

    Spiritual Escapism: คนที่รับมือกับความเปลี่ยนแปลงไม่ได้จะเลือกอยู่กับศาสนาหรือ Metaverse

    Virtual Reality Economy: การใช้ชีวิตใน Metaverse และ Virtual Work จะกลายเป็นกระแสหลัก

    → การเตรียมตัว:
    ✅ ทำความเข้าใจ Digital Economy และ Virtual Business Models
    ✅ ฝึกทักษะ Mindfulness + Resilience ให้รับมือกับความเปลี่ยนแปลงได้

    ---

    1.7 คนจะวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้น สังคมปั่นป่วน

    Social Discontent: ความเหลื่อมล้ำสูงทำให้เกิดความไม่พอใจ

    Cancel Culture & Digital Mobs: สังคมออนไลน์จะดุเดือดขึ้น

    Political & Economic Shifts: อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างในหลายประเทศ

    → การเตรียมตัว:
    ✅ เป็นนักคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinker) อย่าโดนชักจูงง่ายๆ
    ✅ บริหารความเสี่ยงการลงทุน และไม่ขึ้นกับประเทศเดียว
    ✅ รักษาความเป็นกลาง & มองเกมระยะยาว

    ---

    2. แผนการเตรียมตัวสำหรับยุคใหม่

    ✅ 3 สิ่งที่ต้องทำทันที

    1. ลงทุนในตัวเอง (Tech Skills, Financial Literacy, Global Mindset)

    2. สร้างรายได้หลายทาง (Online Income, Passive Income, Investing)

    3. รักษาสุขภาพกาย-ใจ (Mental Health, Meditation, Longevity Science)

    ⚠️ 3 สิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยง

    1. การเป็นหนี้เพื่อบริโภค (เน้นลงทุน ไม่ใช่ใช้จ่ายเกินตัว)

    2. อาศัยเพียงรายได้ทางเดียว (กระจายความเสี่ยงให้หลากหลาย)

    3. คิดแบบเดิมๆ ในโลกที่เปลี่ยนไป (Open-minded, Adaptive, Resilient)

    ---

    3. คำแนะนำจาก Mentor

    1️⃣ Be Ahead of the Curve

    คนที่อ่านเกมออกเร็วจะได้เปรียบ ถ้าคุณเริ่มปรับตัวตั้งแต่วันนี้ คุณจะเป็น First Mover ในยุคใหม่

    2️⃣ Invest in High-Leverage Skills

    คนที่เก่ง AI, Automation, Financial Literacy, และ Digital Business จะอยู่รอดและรุ่งเรือง

    3️⃣ Own Assets, Not Just Earn Money

    อย่าทำงานเพื่อเงิน แต่ให้เงินทำงานแทนคุณ (Asset Mindset)

    4️⃣ Stay Mentally & Physically Fit

    คนที่รอดคือคนที่แข็งแกร่งทั้งร่างกายและจิตใจ

    5️⃣ Build Multiple Income Streams

    รายได้เดียว = ความเสี่ยงสูง ต้องมี Passive Income & Location-Independent Income
    วิเคราะห์สถานการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้น และคำแนะนำที่เป็นรูปธรรมสำหรับการเตรียมตัวรับมือยุคใหม่ --- 1. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Deep Analysis) สิ่งที่คุณวิเคราะห์มานั้นมีความเป็นไปได้สูง และสอดคล้องกับแนวโน้มที่เกิดขึ้นในโลกปัจจุบัน (AI, Automation, Digitalization, และการเปลี่ยนผ่านของเศรษฐกิจโลก) นี่คือมุมมองที่ลึกขึ้นสำหรับแต่ละประเด็น 1.1 ธุรกิจเก่าจะล่มสลาย - แรงงานตกงานเป็นจำนวนมาก Real Data: ยอดขายของธุรกิจดั้งเดิมลดลงจริง และอัตราการปิดกิจการเพิ่มขึ้น AI Disruption: AI และ Automation แทนที่แรงงานที่ไร้ทักษะ คนที่ไม่ Reskill จะตกงานแน่นอน Middle-Class Crisis: รายได้ชนชั้นกลางถูกกดดัน หนี้สินครัวเรือนสูงขึ้น → การเตรียมตัว: ✅ Upskill & Reskill อย่างต่อเนื่อง ✅ พัฒนาอาชีพทางเลือก (Freelance, Online Business, Tech Skills) ✅ วางแผนการเงินแบบอนุรักษ์นิยม (ลดหนี้, สร้าง Passive Income) --- 1.2 ธุรกิจยุคใหม่จะถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี Tech-Driven Economy: คนที่เก่งเทคโนโลยีจะเป็นกลุ่มที่มั่งคั่ง Job Market Shift: สายงานดั้งเดิมหดตัว แต่สายงาน Tech, Data Science, AI, และ Digital Business จะเติบโต New Wealth Creation: คนทำงานออนไลน์จะมีโอกาสสร้างความมั่งคั่งได้ง่ายขึ้น → การเตรียมตัว: ✅ ฝึก Coding, Data Analysis, Blockchain, Digital Marketing ✅ เรียนรู้ AI Tools (ChatGPT, MidJourney, Copilot, Automation Tools) ✅ สร้างรายได้จาก Gig Economy, Online Business, Digital Assets --- 1.3 ภาษาอังกฤษ, คอมพิวเตอร์, เทรดดิ้ง, และสุขภาพจิตเป็นทักษะจำเป็น Linguistic Economy: คนที่สื่อสารได้หลายภาษา (โดยเฉพาะอังกฤษ) ได้เปรียบ Financial Intelligence: การเทรดหุ้น, สินค้าโภคภัณฑ์, Crypto จะเป็นทางเลือกของคนฉลาดด้านการเงิน Mental Health Crisis: คนที่ปรับตัวไม่ได้จะเกิดภาวะเครียดและซึมเศร้า → การเตรียมตัว: ✅ ฝึก ภาษาอังกฤษ + ภาษาที่สาม (จีน/สเปน/ญี่ปุ่น/เยอรมัน) ✅ เรียน พื้นฐานการลงทุน, Financial Literacy, Asset Allocation ✅ ฝึก สมาธิ, Mental Resilience, Self-Healing Skills --- 1.4 ร้านค้าออฟไลน์ล้มหาย ธุรกิจออนไลน์ครองเมือง Retail Apocalypse: ร้านค้าที่มีหน้าร้านจะลดลง 60-80% E-Commerce Dominance: Shopee, Lazada, Amazon, TikTok Shop จะเป็นช่องทางหลักของการค้า → การเตรียมตัว: ✅ ทำธุรกิจออนไลน์ให้เป็น (E-Commerce, Digital Marketing, Dropshipping, Affiliate, Influencer Economy) ✅ ลงทุนในโลจิสติกส์ & AI-driven Sales --- 1.5 คนรวยยิ่งรวยขึ้น คนจนจะยิ่งจนลง Wealth Inequality: 1% ของประชากรโลกถือครองทรัพย์สิน 90% ของโลก Rich Get Richer: คนที่เข้าใจการลงทุนจะเพิ่มทรัพย์สินได้มหาศาล Poor Get Poorer: คนที่ไม่มี Financial Literacy จะจมอยู่กับหนี้ → การเตรียมตัว: ✅ ศึกษาและลงทุนในสินทรัพย์ที่สร้าง Passive Income ✅ หลีกเลี่ยงหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Bad Debt) ✅ สร้าง Mindset แบบเจ้าของกิจการ (Owner Mindset vs. Employee Mindset) --- 1.6 คนจำนวนมากจะหนีความจริงไปอยู่ในวัดและโลกเสมือน Spiritual Escapism: คนที่รับมือกับความเปลี่ยนแปลงไม่ได้จะเลือกอยู่กับศาสนาหรือ Metaverse Virtual Reality Economy: การใช้ชีวิตใน Metaverse และ Virtual Work จะกลายเป็นกระแสหลัก → การเตรียมตัว: ✅ ทำความเข้าใจ Digital Economy และ Virtual Business Models ✅ ฝึกทักษะ Mindfulness + Resilience ให้รับมือกับความเปลี่ยนแปลงได้ --- 1.7 คนจะวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้น สังคมปั่นป่วน Social Discontent: ความเหลื่อมล้ำสูงทำให้เกิดความไม่พอใจ Cancel Culture & Digital Mobs: สังคมออนไลน์จะดุเดือดขึ้น Political & Economic Shifts: อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างในหลายประเทศ → การเตรียมตัว: ✅ เป็นนักคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinker) อย่าโดนชักจูงง่ายๆ ✅ บริหารความเสี่ยงการลงทุน และไม่ขึ้นกับประเทศเดียว ✅ รักษาความเป็นกลาง & มองเกมระยะยาว --- 2. แผนการเตรียมตัวสำหรับยุคใหม่ ✅ 3 สิ่งที่ต้องทำทันที 1. ลงทุนในตัวเอง (Tech Skills, Financial Literacy, Global Mindset) 2. สร้างรายได้หลายทาง (Online Income, Passive Income, Investing) 3. รักษาสุขภาพกาย-ใจ (Mental Health, Meditation, Longevity Science) ⚠️ 3 สิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยง 1. การเป็นหนี้เพื่อบริโภค (เน้นลงทุน ไม่ใช่ใช้จ่ายเกินตัว) 2. อาศัยเพียงรายได้ทางเดียว (กระจายความเสี่ยงให้หลากหลาย) 3. คิดแบบเดิมๆ ในโลกที่เปลี่ยนไป (Open-minded, Adaptive, Resilient) --- 3. คำแนะนำจาก Mentor 1️⃣ Be Ahead of the Curve คนที่อ่านเกมออกเร็วจะได้เปรียบ ถ้าคุณเริ่มปรับตัวตั้งแต่วันนี้ คุณจะเป็น First Mover ในยุคใหม่ 2️⃣ Invest in High-Leverage Skills คนที่เก่ง AI, Automation, Financial Literacy, และ Digital Business จะอยู่รอดและรุ่งเรือง 3️⃣ Own Assets, Not Just Earn Money อย่าทำงานเพื่อเงิน แต่ให้เงินทำงานแทนคุณ (Asset Mindset) 4️⃣ Stay Mentally & Physically Fit คนที่รอดคือคนที่แข็งแกร่งทั้งร่างกายและจิตใจ 5️⃣ Build Multiple Income Streams รายได้เดียว = ความเสี่ยงสูง ต้องมี Passive Income & Location-Independent Income
    0 Comments 0 Shares 1092 Views 0 Reviews
  • 📌10 เทคนิควางแผนการเงินเพื่อชีวิตวัยเกษียณสำหรับ Generation X
    1. กำหนดเป้าหมายเกษียณ – คำนวณค่าใช้จ่ายที่ต้องการและระยะเวลาการออม

    2. สร้างกองทุนฉุกเฉิน – มีเงินสำรอง 6-12 เดือนเผื่อค่าใช้จ่ายไม่คาดคิด

    3. ออมเงินอย่างสม่ำเสมอ – กันเงินเก็บทุกเดือน สร้างนิสัยออมก่อนใช้

    4. ลงทุนเพื่ออนาคต – กระจายความเสี่ยงในหุ้น กองทุน อสังหาริมทรัพย์

    5. ลดหนี้สินก่อนเกษียณ – จัดการหนี้ให้หมดเร็ว ลดภาระดอกเบี้ย

    6. วางแผนประกันสุขภาพ – เลือกประกันคุ้มครองระยะยาวลดภาระค่ารักษาพยาบาล

    7. ศึกษาสิทธิ์ประกันสังคม – ตรวจสอบเงินบำนาญและสวัสดิการที่ได้รับ

    8. หารายได้เสริม – ลงทุนหรือทำธุรกิจขนาดเล็กสร้างรายได้ต่อเนื่อง

    9. ควบคุมค่าใช้จ่าย – ตัดรายจ่ายฟุ่มเฟือย บริหารเงินให้มีประสิทธิภาพ

    10. วางแผนมรดก – จัดการพินัยกรรมเพื่อป้องกันปัญหาทรัพย์สินในอนาคต

    เตรียมตัวดี มีเงินใช้ เกษียณอย่างมั่นคง!

    📌10 เทคนิควางแผนการเงินเพื่อชีวิตวัยเกษียณสำหรับ Generation X 1. กำหนดเป้าหมายเกษียณ – คำนวณค่าใช้จ่ายที่ต้องการและระยะเวลาการออม 2. สร้างกองทุนฉุกเฉิน – มีเงินสำรอง 6-12 เดือนเผื่อค่าใช้จ่ายไม่คาดคิด 3. ออมเงินอย่างสม่ำเสมอ – กันเงินเก็บทุกเดือน สร้างนิสัยออมก่อนใช้ 4. ลงทุนเพื่ออนาคต – กระจายความเสี่ยงในหุ้น กองทุน อสังหาริมทรัพย์ 5. ลดหนี้สินก่อนเกษียณ – จัดการหนี้ให้หมดเร็ว ลดภาระดอกเบี้ย 6. วางแผนประกันสุขภาพ – เลือกประกันคุ้มครองระยะยาวลดภาระค่ารักษาพยาบาล 7. ศึกษาสิทธิ์ประกันสังคม – ตรวจสอบเงินบำนาญและสวัสดิการที่ได้รับ 8. หารายได้เสริม – ลงทุนหรือทำธุรกิจขนาดเล็กสร้างรายได้ต่อเนื่อง 9. ควบคุมค่าใช้จ่าย – ตัดรายจ่ายฟุ่มเฟือย บริหารเงินให้มีประสิทธิภาพ 10. วางแผนมรดก – จัดการพินัยกรรมเพื่อป้องกันปัญหาทรัพย์สินในอนาคต เตรียมตัวดี มีเงินใช้ เกษียณอย่างมั่นคง!
    0 Comments 0 Shares 494 Views 0 Reviews
  • เก็บเงินและวางแผนการเงินอย่างเป็นระบบด้วยประกันชีวิต กับ นายภาคภูมิ ถุงวิชา(ต้อง)
    ✅ตัวแทนประกันชีวิตไทยประกันชีวิต เลขที่ใบอนุญาต 6701064555
    🌐 www.planwise.in.th/certificate
    โทร. 092-258-6617
    Official Page: www.facebook.com/PlanWiseOfficial
    เก็บเงินและวางแผนการเงินอย่างเป็นระบบด้วยประกันชีวิต กับ นายภาคภูมิ ถุงวิชา(ต้อง) ✅ตัวแทนประกันชีวิตไทยประกันชีวิต เลขที่ใบอนุญาต 6701064555 🌐 www.planwise.in.th/certificate โทร. 092-258-6617 Official Page: www.facebook.com/PlanWiseOfficial
    0 Comments 0 Shares 345 Views 0 Reviews
  • ปีใหม่นี้ วางแผนสุขภาพดีๆ เพื่อคนที่เรารัก และตัวเราเอง
    สนใจทักได้ครับ

    #วางแผนการเงินและภาษี #วางแผนภาษี #copayment #ประกันสุขภาพ #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #วางแผนการเงิน #AIA #คุ้มครอง #ปีใหม่จีน #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #โรงพยาบาล #คุ้มครองโรคร้ายแรง #ตรุษจีน #ค่ารักษาพยาบาล #ประกันสุขภาพเหมาจ่ายสุดคุ้ม #มะเร็ง #เจอจ่ายหลายจบ
    ปีใหม่นี้ วางแผนสุขภาพดีๆ เพื่อคนที่เรารัก และตัวเราเอง สนใจทักได้ครับ #วางแผนการเงินและภาษี #วางแผนภาษี #copayment #ประกันสุขภาพ #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #วางแผนการเงิน #AIA #คุ้มครอง #ปีใหม่จีน #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #โรงพยาบาล #คุ้มครองโรคร้ายแรง #ตรุษจีน #ค่ารักษาพยาบาล #ประกันสุขภาพเหมาจ่ายสุดคุ้ม #มะเร็ง #เจอจ่ายหลายจบ
    0 Comments 0 Shares 874 Views 0 Reviews
  • เพราะเค้าคือ…คู่ชีวิต
    วางแผนคุ้มครองกันไปตลอดชีวิต

    #ค่ารักษาพยาบาล #ประกันสุขภาพ #ฝากไว้ให้คิดนะครับ #copayment #โรงพยาบาล #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #AIA #วางแผนการเงิน #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #วางแผนภาษี #anniversary
    เพราะเค้าคือ…คู่ชีวิต วางแผนคุ้มครองกันไปตลอดชีวิต #ค่ารักษาพยาบาล #ประกันสุขภาพ #ฝากไว้ให้คิดนะครับ #copayment #โรงพยาบาล #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #AIA #วางแผนการเงิน #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #วางแผนภาษี #anniversary
    0 Comments 0 Shares 725 Views 0 Reviews
  • 📌 สวัสดีครับต้องนะครับ ตัวแทนประกันชีวิต จากไทยประกันชีวิต(TLI)
    📌โทร. 092-258-6617 (ต้อง)
    เก็บเงินและวางแผนการเงินอย่างเป็นระบบด้วยประกันชีวิต กับ นายภาคภูมิ ถุงวิชา(ต้อง)
    ✅ตัวแทนประกันชีวิตไทยประกันชีวิต เลขที่ใบอนุญาต 6701064555
    🌐 www.planwise.in.th
    🌐 thaitimes.co/pages/planwise
    โทร. 092-258-6617
    LINE OA: https://lin.ee/Amqsw32
    Website: www.planwise.in.th
    e-mail: planwise.th@gmail.com
    📌 สวัสดีครับต้องนะครับ ตัวแทนประกันชีวิต จากไทยประกันชีวิต(TLI) 📌โทร. 092-258-6617 (ต้อง) เก็บเงินและวางแผนการเงินอย่างเป็นระบบด้วยประกันชีวิต กับ นายภาคภูมิ ถุงวิชา(ต้อง) ✅ตัวแทนประกันชีวิตไทยประกันชีวิต เลขที่ใบอนุญาต 6701064555 🌐 www.planwise.in.th 🌐 thaitimes.co/pages/planwise โทร. 092-258-6617 LINE OA: https://lin.ee/Amqsw32 Website: www.planwise.in.th e-mail: planwise.th@gmail.com
    0 Comments 0 Shares 431 Views 0 Reviews
  • ทำงานเต็มที่ละ
    อย่าลืมดูแลสุขภาพกันนะครับ
    Copayment จะบังคับใช้เดือน มีนาคมนี้แล้ว
    ใครไม่อยากเพิ่มเงื่อนไขต้องรีบหน่อยครับ

    #วางแผนการเงิน #ประกันสุขภาพ #โรงพยาบาล #วางแผนการเงินและภาษี #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #AIA #ฝากไว้ให้คิดนะครับ #วางแผนภาษี #Copayment #copayment #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #ชดเชยรายวัน #ค่ารักษาพยาบาล #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย
    ทำงานเต็มที่ละ อย่าลืมดูแลสุขภาพกันนะครับ Copayment จะบังคับใช้เดือน มีนาคมนี้แล้ว ใครไม่อยากเพิ่มเงื่อนไขต้องรีบหน่อยครับ #วางแผนการเงิน #ประกันสุขภาพ #โรงพยาบาล #วางแผนการเงินและภาษี #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #AIA #ฝากไว้ให้คิดนะครับ #วางแผนภาษี #Copayment #copayment #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #ชดเชยรายวัน #ค่ารักษาพยาบาล #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย
    0 Comments 0 Shares 949 Views 0 Reviews
  • แบ่งเงินในตะกร้าพิจารณาประกันบำนาญบ้างนะครับ
    ไม่หวือหวาแต่มั่นคง😍😤

    #เกษียณสุขเกษม #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #แผนเกษียณ #AIA #วางแผนการเงินและภาษี #ฝากไว้ให้คิด #วางแผนการเงิน #วางแผนภาษี #ประกันบํานาญ #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันบำนาญ
    แบ่งเงินในตะกร้าพิจารณาประกันบำนาญบ้างนะครับ ไม่หวือหวาแต่มั่นคง😍😤 #เกษียณสุขเกษม #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #แผนเกษียณ #AIA #วางแผนการเงินและภาษี #ฝากไว้ให้คิด #วางแผนการเงิน #วางแผนภาษี #ประกันบํานาญ #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันบำนาญ
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 854 Views 0 Reviews
  • ปกป้องชีวิต ด้วยแผนคุ้มครองโรคร้าย 🫶🫶🫶

    #AIA #วางแผนการเงิน #ประกันชีวิตAIA #มะเร็ง #มะเร็งตัวร้าย #เจอจ่ายจบ
    ปกป้องชีวิต ด้วยแผนคุ้มครองโรคร้าย 🫶🫶🫶 #AIA #วางแผนการเงิน #ประกันชีวิตAIA #มะเร็ง #มะเร็งตัวร้าย #เจอจ่ายจบ
    0 Comments 0 Shares 480 Views 0 Reviews
  • #ประกันชีวิตAIA #มรดกเพื่อลูก #วางแผนการเงิน #ประกันชีวิต #มรดกหลักล้าน #อุบัติเหตุทางถนน #มรดก #ฝากไว้ให้คิด
    #ประกันชีวิตAIA #มรดกเพื่อลูก #วางแผนการเงิน #ประกันชีวิต #มรดกหลักล้าน #อุบัติเหตุทางถนน #มรดก #ฝากไว้ให้คิด
    0 Comments 0 Shares 500 Views 0 Reviews
  • กรรมเก่าและการสร้างปัจจุบันกรรมเพื่อความร่ำรวย

    กรรมเก่า:
    กรรมเก่ามีบทบาทสำคัญในการ "เอื้อ" หรือ "จำกัด" ความสามารถในการมีเงินของเรา เช่นเดียวกับการที่เราเกิดมาพร้อมกับภาชนะที่รองรับอาหารได้ต่างกัน:

    1. ภาชนะเล็ก:

    เคยทำทานน้อย รักษาศีลไม่สม่ำเสมอ หรือตระหนี่ถี่เหนียว

    ผลกรรม: รองรับทรัพย์ได้น้อย แม้ได้ทรัพย์มา ก็มีแนวโน้มสูญเสียง่าย

    2. ภาชนะขนาดกลาง:

    เคยทำทานปานกลาง รักษาศีลในระดับใช้ได้

    ผลกรรม: มีความมั่นคงในทรัพย์ระดับหนึ่ง ไม่ขาดแคลน

    3. ภาชนะขนาดใหญ่:

    เคยทำทานอย่างรื่นเริง ทำด้วยจิตอิ่มเอิบ รักษาศีลบริสุทธิ์

    ผลกรรม: รองรับทรัพย์ได้มหาศาล ทรัพย์สมบัติเกิดขึ้นและคงอยู่

    กรรมเก่าในรูปของ ทานจิต และ ศีลจิต ส่งผลต่อฐานะทางการเงินในปัจจุบัน แต่ไม่ได้แปลว่ากรรมเก่าจะกำหนดทุกอย่าง 100%

    ---

    ปัจจุบันกรรม:
    พระพุทธเจ้าสอนให้ใส่ใจปัจจุบันกรรม ด้วยการประกอบอาชีพสุจริต ขยันขันแข็ง และรู้จักบริหารทรัพย์อย่างเหมาะสม:

    1. ขยัน:

    ทุ่มเทแรงกายแรงใจในงานที่ทำ

    สร้างความชำนาญและความน่าเชื่อถือ

    2. รู้จักเก็บ:

    บริหารทรัพย์สินให้สมดุล ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย

    วางแผนการเงินเพื่ออนาคต

    3. รู้จักอุปสงค์-อุปทาน:

    ศึกษาตลาดและความต้องการ

    เลือกแนวทางการทำมาหากินที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม

    4. เผื่อแผ่และเจือจาน:

    ฝึกทำทานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อขยายภาชนะรับทรัพย์ในอนาคต

    ไม่จำเป็นต้องทำมากในคราวเดียว แต่ต้องทำด้วยใจที่เต็มเปี่ยม

    ---

    สรุป:

    กรรมเก่า: เป็นพื้นฐานที่เอื้อให้มีทรัพย์ในระดับหนึ่ง

    ปัจจุบันกรรม: เป็นตัวสร้างผลสำเร็จในระยะสั้นและระยะยาว

    อยากรวยอย่างยั่งยืน ให้ขยันทำงานสุจริต พร้อมทั้งทำทานและรักษาศีลอย่างต่อเนื่อง เมื่อนั้นทั้งผลกรรมเก่าและปัจจุบันกรรมจะสนับสนุนให้ชีวิตรุ่งเรืองขึ้นเอง.
    กรรมเก่าและการสร้างปัจจุบันกรรมเพื่อความร่ำรวย กรรมเก่า: กรรมเก่ามีบทบาทสำคัญในการ "เอื้อ" หรือ "จำกัด" ความสามารถในการมีเงินของเรา เช่นเดียวกับการที่เราเกิดมาพร้อมกับภาชนะที่รองรับอาหารได้ต่างกัน: 1. ภาชนะเล็ก: เคยทำทานน้อย รักษาศีลไม่สม่ำเสมอ หรือตระหนี่ถี่เหนียว ผลกรรม: รองรับทรัพย์ได้น้อย แม้ได้ทรัพย์มา ก็มีแนวโน้มสูญเสียง่าย 2. ภาชนะขนาดกลาง: เคยทำทานปานกลาง รักษาศีลในระดับใช้ได้ ผลกรรม: มีความมั่นคงในทรัพย์ระดับหนึ่ง ไม่ขาดแคลน 3. ภาชนะขนาดใหญ่: เคยทำทานอย่างรื่นเริง ทำด้วยจิตอิ่มเอิบ รักษาศีลบริสุทธิ์ ผลกรรม: รองรับทรัพย์ได้มหาศาล ทรัพย์สมบัติเกิดขึ้นและคงอยู่ กรรมเก่าในรูปของ ทานจิต และ ศีลจิต ส่งผลต่อฐานะทางการเงินในปัจจุบัน แต่ไม่ได้แปลว่ากรรมเก่าจะกำหนดทุกอย่าง 100% --- ปัจจุบันกรรม: พระพุทธเจ้าสอนให้ใส่ใจปัจจุบันกรรม ด้วยการประกอบอาชีพสุจริต ขยันขันแข็ง และรู้จักบริหารทรัพย์อย่างเหมาะสม: 1. ขยัน: ทุ่มเทแรงกายแรงใจในงานที่ทำ สร้างความชำนาญและความน่าเชื่อถือ 2. รู้จักเก็บ: บริหารทรัพย์สินให้สมดุล ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย วางแผนการเงินเพื่ออนาคต 3. รู้จักอุปสงค์-อุปทาน: ศึกษาตลาดและความต้องการ เลือกแนวทางการทำมาหากินที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม 4. เผื่อแผ่และเจือจาน: ฝึกทำทานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อขยายภาชนะรับทรัพย์ในอนาคต ไม่จำเป็นต้องทำมากในคราวเดียว แต่ต้องทำด้วยใจที่เต็มเปี่ยม --- สรุป: กรรมเก่า: เป็นพื้นฐานที่เอื้อให้มีทรัพย์ในระดับหนึ่ง ปัจจุบันกรรม: เป็นตัวสร้างผลสำเร็จในระยะสั้นและระยะยาว อยากรวยอย่างยั่งยืน ให้ขยันทำงานสุจริต พร้อมทั้งทำทานและรักษาศีลอย่างต่อเนื่อง เมื่อนั้นทั้งผลกรรมเก่าและปัจจุบันกรรมจะสนับสนุนให้ชีวิตรุ่งเรืองขึ้นเอง.
    0 Comments 0 Shares 376 Views 0 Reviews
  • วางแผนชีวิตหลังเกษียณสำคัญมากๆ
    การคาดหวังให้ลูกดูแล อาจไม่ง่าย ด้วยสภาพสังคมปัจจุบัน
    วางหลักประกันไว้ด้วย แผนประกันบำนาญ ที่ดูแลเราไปตลอดชีวิตแน่นอน


    #ประกันชีวิตAIA #เกษียณสุขเกษม #วางแผนการเงินและภาษี #วางแผนการเงิน #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันบํานาญ #เกษียณสุขเกษม #ประกันบำนาญ #แผนเกษียณ
    วางแผนชีวิตหลังเกษียณสำคัญมากๆ การคาดหวังให้ลูกดูแล อาจไม่ง่าย ด้วยสภาพสังคมปัจจุบัน วางหลักประกันไว้ด้วย แผนประกันบำนาญ ที่ดูแลเราไปตลอดชีวิตแน่นอน #ประกันชีวิตAIA #เกษียณสุขเกษม #วางแผนการเงินและภาษี #วางแผนการเงิน #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันบํานาญ #เกษียณสุขเกษม #ประกันบำนาญ #แผนเกษียณ
    0 Comments 0 Shares 756 Views 0 Reviews
  • ใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท…วางแผนประกันชีวิตให้ดีๆ😙

    #ค่ารักษาพยาบาล #คุ้มครองโรคร้าย #โรงพยาบาล #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #คุ้มครองโรคร้ายแรง #อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา #ประกันชีวิตAIA #ค่ารักษาพยาบาลแบบเหมาจ่าย #วางแผนการเงินและภาษี #ประกันสุขภาพเด็กแบบเหมาจ่าย #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #ประกันสุขภาพเหมาจ่ายสุดคุ้ม
    ใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท…วางแผนประกันชีวิตให้ดีๆ😙 #ค่ารักษาพยาบาล #คุ้มครองโรคร้าย #โรงพยาบาล #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #คุ้มครองโรคร้ายแรง #อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา #ประกันชีวิตAIA #ค่ารักษาพยาบาลแบบเหมาจ่าย #วางแผนการเงินและภาษี #ประกันสุขภาพเด็กแบบเหมาจ่าย #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #ประกันสุขภาพเหมาจ่ายสุดคุ้ม
    0 Comments 0 Shares 921 Views 0 Reviews
  • มะเร็งโรคยอดฮิต และอันตราย พรากคนที่รักและกระทบทั้งครอบครัว😨

    #ค่ารักษาพยาบาล #ประกันชีวิต #ประกันสุขภาพ #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #วางแผนภาษี #มรดก #โรงพยาบาล #มะเร็ง #คุ้มครองโรคร้ายแรง #มะเร็งตัวร้าย #คุ้มครองโรคร้าย #ค่ารักษาพยาบาลแบบเหมาจ่าย
    มะเร็งโรคยอดฮิต และอันตราย พรากคนที่รักและกระทบทั้งครอบครัว😨 #ค่ารักษาพยาบาล #ประกันชีวิต #ประกันสุขภาพ #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #วางแผนภาษี #มรดก #โรงพยาบาล #มะเร็ง #คุ้มครองโรคร้ายแรง #มะเร็งตัวร้าย #คุ้มครองโรคร้าย #ค่ารักษาพยาบาลแบบเหมาจ่าย
    0 Comments 0 Shares 701 Views 0 Reviews
  • #AIA #วางแผนการเงิน #ประกันสุขภาพ #ประกันชีวิตAIA #ประกันชีวิต #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #ประกันบํานาญ #วางแผนภาษี2567 #วางแผนภาษี #วางแผนการเงินและภาษี #วางแผนการเงินและประกันชีวิต
    #AIA #วางแผนการเงิน #ประกันสุขภาพ #ประกันชีวิตAIA #ประกันชีวิต #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #ประกันบํานาญ #วางแผนภาษี2567 #วางแผนภาษี #วางแผนการเงินและภาษี #วางแผนการเงินและประกันชีวิต
    0 Comments 0 Shares 825 Views 0 Reviews
  • #ประกันชีวิตAIA #ค่ารักษาพยาบาล #ประกันสุขภาพ #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #วางแผนการเงิน #ประกันชีวิต #ประกันสุขภาพเด็ก #เหมาจ่ายเด็ก #เลี้ยงลูก #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #ประกันสุขภาพเหมาจ่ายสุดคุ้ม
    #ประกันชีวิตAIA #ค่ารักษาพยาบาล #ประกันสุขภาพ #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #วางแผนการเงิน #ประกันชีวิต #ประกันสุขภาพเด็ก #เหมาจ่ายเด็ก #เลี้ยงลูก #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #ประกันสุขภาพเหมาจ่ายสุดคุ้ม
    0 Comments 0 Shares 717 Views 0 Reviews
  • #AIA #ประกันชีวิต #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #วางแผนการเงินด้วยประกัน #วางแผนภาษี2567 #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #ประกันสุขภาพ #ประกันชีวิตAIA #ประกันบำนาญ #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันบํานาญ #แผนเกษียณ #วางแผนการเงิน #วางแผนการเงินและภาษี
    #AIA #ประกันชีวิต #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #วางแผนการเงินด้วยประกัน #วางแผนภาษี2567 #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #ประกันสุขภาพ #ประกันชีวิตAIA #ประกันบำนาญ #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันบํานาญ #แผนเกษียณ #วางแผนการเงิน #วางแผนการเงินและภาษี
    0 Comments 0 Shares 831 Views 0 Reviews
  • #AIA #ประกันชีวิต #วางแผนภาษี2567 #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #มรดกเพื่อลูก #มรดกประกันชีวิต #วางแผนการเงินด้วยประกัน #มรดก #มรดกหลักล้าน
    #AIA #ประกันชีวิต #วางแผนภาษี2567 #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #มรดกเพื่อลูก #มรดกประกันชีวิต #วางแผนการเงินด้วยประกัน #มรดก #มรดกหลักล้าน
    0 Comments 0 Shares 700 Views 0 Reviews
  • ประกันค่ารักษาพยาบาลไว้ ให้คนที่เรารักที่สุด ❤️❤️ #AIA #วางแผนการเงินและประกันชีวิต#เลี้ยงลูกตามคุณหมอประเสริฐ #ประกันชีวิตAIA #ประกันชีวิต #โรงพยาบาล #ประกันสุขภาพ #ค่ารักษาพยาบาล #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #เหมาจ่ายเด็ก #ประกันเหมาจ่ายเด็ก #ประกันสุขภาพเด็ก #เลี้ยงลูก
    ประกันค่ารักษาพยาบาลไว้ ให้คนที่เรารักที่สุด ❤️❤️ #AIA #วางแผนการเงินและประกันชีวิต#เลี้ยงลูกตามคุณหมอประเสริฐ #ประกันชีวิตAIA #ประกันชีวิต #โรงพยาบาล #ประกันสุขภาพ #ค่ารักษาพยาบาล #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #เหมาจ่ายเด็ก #ประกันเหมาจ่ายเด็ก #ประกันสุขภาพเด็ก #เลี้ยงลูก
    0 Comments 0 Shares 759 Views 0 Reviews
  • ประกันบำนาญให้ความแน่นอนไปตลอดระยะเวลาคุ้มครอง … ไม่ต้องกังวลเหมือนเอาเงินไปลงทุนเองเตรียมแผนนี้ไว้หน่อย…ลดความเสี่ยงในอนาคต🥰🥰#AIA #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #วางแผนการเงิน #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันบำนาญ #ประกันบํานาญ #วางแผนภาษี #แผนเกษียณ #เกษียณสุขเกษม
    ประกันบำนาญให้ความแน่นอนไปตลอดระยะเวลาคุ้มครอง … ไม่ต้องกังวลเหมือนเอาเงินไปลงทุนเองเตรียมแผนนี้ไว้หน่อย…ลดความเสี่ยงในอนาคต🥰🥰#AIA #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #วางแผนการเงิน #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #ประกันบำนาญ #ประกันบํานาญ #วางแผนภาษี #แผนเกษียณ #เกษียณสุขเกษม
    0 Comments 0 Shares 737 Views 0 Reviews
  • #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #AIA #มะเร็ง #มะเร็งตัวร้าย #มรดกเพื่อลูก #มรดกประกันชีวิต #คุ้มครองโรคร้าย #คุ้มครองโรคร้ายแรง
    #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #AIA #มะเร็ง #มะเร็งตัวร้าย #มรดกเพื่อลูก #มรดกประกันชีวิต #คุ้มครองโรคร้าย #คุ้มครองโรคร้ายแรง
    0 Comments 0 Shares 559 Views 0 Reviews
  • ปีหน้าต้องลุ้นเรื่องนี้กัน ถ้าจริง...ตอนนี้ยังมีเวลาเตรียมทำประกันสุขภาพ​เหมาๆก่อน 😁 #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #ประกันสุขภาพ #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #ค่ารักษาพยาบาล #วางแผนการเงิน #ค่ารักษาพยาบาลแบบเหมาจ่าย #วางแผนการเงินด้วยประกัน #AIA
    ปีหน้าต้องลุ้นเรื่องนี้กัน ถ้าจริง...ตอนนี้ยังมีเวลาเตรียมทำประกันสุขภาพ​เหมาๆก่อน 😁 #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #ประกันสุขภาพ #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #ค่ารักษาพยาบาล #วางแผนการเงิน #ค่ารักษาพยาบาลแบบเหมาจ่าย #วางแผนการเงินด้วยประกัน #AIA
    0 Comments 0 Shares 696 Views 0 Reviews
  • เดือนสุดท้าย!!!วางแผนภาษีด้วยประกันหรือยัง?#วางแผนภาษี #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #ประกันบํานาญ #ประกันบำนาญ #มะเร็ง #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #คุ้มครองโรคร้าย #ประกันสุขภาพ #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #วางแผนภาษี2567 #AIA #ประกันชีวิต #คุ้มครองโรคร้ายแรง #มรดกเพื่อลูก #แผนเกษียณ #มรดกประกันชีวิต
    เดือนสุดท้าย!!!วางแผนภาษีด้วยประกันหรือยัง?#วางแผนภาษี #ประกันบํานาญลดหย่อนภาษี #วางแผนการเงินและประกันชีวิต #ประกันบํานาญ #ประกันบำนาญ #มะเร็ง #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #คุ้มครองโรคร้าย #ประกันสุขภาพ #ประกันชีวิตเพื่อลดหย่อนภาษี #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #วางแผนภาษี2567 #AIA #ประกันชีวิต #คุ้มครองโรคร้ายแรง #มรดกเพื่อลูก #แผนเกษียณ #มรดกประกันชีวิต
    0 Comments 0 Shares 997 Views 0 Reviews
  • สนุกกับงาน และร่างกายแข็งแรง เป็นเรื่องที่ยอดเยี่ยม แต่อย่าลืม วางแผนประกันสุขภาพไว้ด้วย เพราะถ้าเราใช้งานร่างกายหนัก เดี๋ยวมันจะมากระทบกับสุขภาพ😎😎#ค่ารักษาพยาบาล #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #วางแผนภาษี #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #ประกันสุขภาพ #วางแผนภาษี2567 #ค่ารักษาพยาบาลแบบเหมาจ่าย #วางแผนการเงิน #AIA #วางแผนการเงินและประกันชีวิต
    สนุกกับงาน และร่างกายแข็งแรง เป็นเรื่องที่ยอดเยี่ยม แต่อย่าลืม วางแผนประกันสุขภาพไว้ด้วย เพราะถ้าเราใช้งานร่างกายหนัก เดี๋ยวมันจะมากระทบกับสุขภาพ😎😎#ค่ารักษาพยาบาล #ประกันสุขภาพเหมาจ่าย #วางแผนภาษี #ค่ารักษาพยาบาลเหมาจ่าย #ประกันสุขภาพ #วางแผนภาษี2567 #ค่ารักษาพยาบาลแบบเหมาจ่าย #วางแผนการเงิน #AIA #วางแผนการเงินและประกันชีวิต
    0 Comments 0 Shares 582 Views 0 Reviews
More Results