• มาเลเซียเอาบ้าง งดแจกถุงพลาสติก

    ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2567 เป็นต้นไป ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านค้าปลีก ร้านสะดวกซื้อ ร้านขายยา และร้านเพื่อสุขภาพและความงามในประเทศมาเลเซียกว่า 8,000 แห่งทั่วประเทศ จะงดแจกถุงพลาสติดแบบใช้ครั้งเดียว (Single-use plastic bags) อย่างเป็นทางการ หากลูกค้าไม่ได้นำถุงพลาสติกมาเอง สามารถหาซื้อถุงรีไซเคิลได้ที่ร้านค้า ตามแคมเปญ "Say No to Single-Use Plastics" ของกระทรวงการเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น

    นายหงา กอร์ มิง รมว.การเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น กล่าวว่า เครือข่ายร้านค้าปลีกชั้นนำบางแห่งได้เริ่มงดแจกถุงพลาสติกแล้ว แต่บัดนี้พวกเขาได้ลงนามความร่วมมือครั้งใหญ่ โดยจะเริ่มในสัปดาห์หน้า คาดว่าจะช่วยลดการใช้ถุงพลาสติกได้ปีละ 200 ล้านใบ ลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัด และยืดอายุการใช้งานหลุมฝังกลบขยะที่มีอยู่

    ที่ผ่านมารัฐบาลมาเลเซียต้องแบกรับต้นทุนการจัดการขยะมูลฝอยและการทำความสะอาดพื้นที่สาธารณะ สูงกว่า 2,000 ล้านริงกิตต่อปี และกำลังดำเนินการเพื่อลดการพึ่งพาหลุมฝังกลบ ซึ่งปัจจุบันประเทศมาเลเซียมีหลุมฝังกลบขยะที่ไม่ถูกสุขอนามัย 114 แห่ง มีเพียง 22 แห่งที่ถูกสุขอนามัย ซึ่งการเปิดหลุมฝังกลบขยะและการปรับปรุงหลุมฝังกลบขยะเดิมต้องใช้ต้นทุนสูงมาก

    นอกจากนี้ ทางกระทรวงฯ กำลังจัดทำร่างกฎหมายจัดการผู้ที่ทิ้งขยะโดยขาดความรับผิดชอบ และจะนำเสนอต่อรัฐสภาในปี 2568 เพื่อแก้ปัญหาขยะล้นเมืองอย่างจริงจัง และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ประเทศ เนื่องจากยุคนี้เป็นยุคของโซเชียลมีเดีย หากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเที่ยวที่นี่ แล้วถ่ายคลิปลงติ๊กต็อก ชื่อเสียงของประเทศจะได้รับผลกระทบ ที่ผ่านมามีการบังคับใช้กฎหมายและประสบความสำเร็จในประเทศที่พัฒนาแล้วหลายแห่ง การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีจึงเป็นเรื่องสำคัญที่สุด

    ร้านค้าปลีกในมาเลเซียที่เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย 99 Speedmart 2,533 สาขา 7-Eleven 2,400 สาขา KK Mart 808 สาขา Watsons 733 สาขา Guardian 602 สาขา emart24 65 สาขา ส่วนห้างสรรพสินค้า อาทิ กลุ่ม GCH Retail (Giant / Cold Storage / Mercato) 93 สาขา AEON 35 สาขา AEON Big 21 สาขา Mydin 78 สาขา Lotus's 68 สาขา The Store 50 สาขา TF Value Mart 45 สาขา Econsave 33 สาขา NSK Trade City 32 สาขา Lulu 5 สาขา เป็นต้น

    สำหรับประเทศไทย ภาครัฐได้ผลักดันนโยบายงดแจกถุงพลาสติกตามห้างสรรพสินค้า ร้านค้าปลีก และร้านสะดวกซื้อ ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2563 เป็นต้นมา แต่ก็เป็นที่วิจารณ์ว่าการจำหน่ายถุงพลาสติกแทนการแจก เป็นการผลักภาระให้ผู้บริโภค

    #Newskit #งดแจกถุงพลาสติก #มาเลเซีย
    มาเลเซียเอาบ้าง งดแจกถุงพลาสติก ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2567 เป็นต้นไป ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านค้าปลีก ร้านสะดวกซื้อ ร้านขายยา และร้านเพื่อสุขภาพและความงามในประเทศมาเลเซียกว่า 8,000 แห่งทั่วประเทศ จะงดแจกถุงพลาสติดแบบใช้ครั้งเดียว (Single-use plastic bags) อย่างเป็นทางการ หากลูกค้าไม่ได้นำถุงพลาสติกมาเอง สามารถหาซื้อถุงรีไซเคิลได้ที่ร้านค้า ตามแคมเปญ "Say No to Single-Use Plastics" ของกระทรวงการเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น นายหงา กอร์ มิง รมว.การเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น กล่าวว่า เครือข่ายร้านค้าปลีกชั้นนำบางแห่งได้เริ่มงดแจกถุงพลาสติกแล้ว แต่บัดนี้พวกเขาได้ลงนามความร่วมมือครั้งใหญ่ โดยจะเริ่มในสัปดาห์หน้า คาดว่าจะช่วยลดการใช้ถุงพลาสติกได้ปีละ 200 ล้านใบ ลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัด และยืดอายุการใช้งานหลุมฝังกลบขยะที่มีอยู่ ที่ผ่านมารัฐบาลมาเลเซียต้องแบกรับต้นทุนการจัดการขยะมูลฝอยและการทำความสะอาดพื้นที่สาธารณะ สูงกว่า 2,000 ล้านริงกิตต่อปี และกำลังดำเนินการเพื่อลดการพึ่งพาหลุมฝังกลบ ซึ่งปัจจุบันประเทศมาเลเซียมีหลุมฝังกลบขยะที่ไม่ถูกสุขอนามัย 114 แห่ง มีเพียง 22 แห่งที่ถูกสุขอนามัย ซึ่งการเปิดหลุมฝังกลบขยะและการปรับปรุงหลุมฝังกลบขยะเดิมต้องใช้ต้นทุนสูงมาก นอกจากนี้ ทางกระทรวงฯ กำลังจัดทำร่างกฎหมายจัดการผู้ที่ทิ้งขยะโดยขาดความรับผิดชอบ และจะนำเสนอต่อรัฐสภาในปี 2568 เพื่อแก้ปัญหาขยะล้นเมืองอย่างจริงจัง และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ประเทศ เนื่องจากยุคนี้เป็นยุคของโซเชียลมีเดีย หากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเที่ยวที่นี่ แล้วถ่ายคลิปลงติ๊กต็อก ชื่อเสียงของประเทศจะได้รับผลกระทบ ที่ผ่านมามีการบังคับใช้กฎหมายและประสบความสำเร็จในประเทศที่พัฒนาแล้วหลายแห่ง การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีจึงเป็นเรื่องสำคัญที่สุด ร้านค้าปลีกในมาเลเซียที่เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย 99 Speedmart 2,533 สาขา 7-Eleven 2,400 สาขา KK Mart 808 สาขา Watsons 733 สาขา Guardian 602 สาขา emart24 65 สาขา ส่วนห้างสรรพสินค้า อาทิ กลุ่ม GCH Retail (Giant / Cold Storage / Mercato) 93 สาขา AEON 35 สาขา AEON Big 21 สาขา Mydin 78 สาขา Lotus's 68 สาขา The Store 50 สาขา TF Value Mart 45 สาขา Econsave 33 สาขา NSK Trade City 32 สาขา Lulu 5 สาขา เป็นต้น สำหรับประเทศไทย ภาครัฐได้ผลักดันนโยบายงดแจกถุงพลาสติกตามห้างสรรพสินค้า ร้านค้าปลีก และร้านสะดวกซื้อ ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2563 เป็นต้นมา แต่ก็เป็นที่วิจารณ์ว่าการจำหน่ายถุงพลาสติกแทนการแจก เป็นการผลักภาระให้ผู้บริโภค #Newskit #งดแจกถุงพลาสติก #มาเลเซีย
    Like
    8
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 451 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไทยเป็นปลายทางขยะโลก!? (ตอน 2: ข้อมูลชี้...การนำเข้าขยะพุ่งและมีมากมายหลายชนิด)
    .
    จากกรณีพบขยะเทศบาลในตู้คอนเทนเนอร์สินค้าที่บริษัท เอสซีจี อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นผู้นำเข้าจากประเทศสหรัฐอเมริกา โดยที่มีการสำแดงว่าเป็นเศษกระดาษ เรื่องดังกล่าว กรมศุลกากรไม่ได้เปิดเผยสู่สาธารณะ แต่ด้วยข้อมูลที่เล็ดลอดออกมา ทำให้มีสื่อมวลชนบางสำนักหยิบมานำเสนอ เหตุการณ์ที่มีลักษณะเป็นการลักลอบนี้จึงได้เผยตัวสู่สาธารณะ
    .
    ในทางลึกมีข้อมูลว่า เฉพาะในรอบปีนี้ ซึ่งนับตามจำนวนเวลาก็คือประมาณ 7 เดือน มีการตรวจพบปัญหาลักษณะเดียวกันของผู้นำเข้ารายนี้มาแล้วถึง 3 ครั้ง
    .
    สิ่งที่เกิดขึ้นนี้เป็นมิติของการลักลอบ ซึ่งมักไม่มีการเปิดเผยข้อมูลออกมาอย่างชัดเจน ส่วนในมิติที่มีข้อมูลสถิติเป็นทางการ เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง ผู้อำนวยการมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้นำเสนอผ่านการแถลงข่าวร่วมกับกรรณิการ์ กิจติเวชกุล รองประธานกลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (FTA Watch) ในหัวข้อ “เมื่อขยะโลกหลั่งไหลเข้าไทย เราจะรอดพ้นจากสถานการณ์ดังกล่าวได้อย่างไร” เมื่อวันที่ 13 กันยายน ที่ผ่านมา ระบุว่า
    .
    “จากการติดตามปัญหาการส่งออกขยะในหมู่ประเทศสมาชิกของอียู (สหภาพยุโรป) ตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา ได้มีการส่งขยะกลุ่มนี้เข้ามายังประเทศไทยสูงทีเดียว ประเทศไทยกลายเป็นปลายทางของการส่งออกขยะกระดาษและกระดาษแข็ง เป็นอันดับ 3 ในภูมิภาคนี้ รองจากอินโดนีเซียและเวียดนาม นอกจากนี้ไทยยังเป็นปลายทางอันดับ 4 ของขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่นำเข้าจากสหภาพยุโรป รองมาจากอินโดนีเซีย เวียดนาม และมาเลเซีย”
    .
    ตามสถิติของกรมศุลกากรที่เพ็ญโฉมค้นมานำเสนอ ไม่มีการแสดงปริมาณการนำเข้าของเสียเหล่านั้น แต่ได้แสดงเป็นมูลค่า ซึ่งในส่วนของเศษกระดาษมีมูลค่าสูงถึงระดับมากกว่า 10,000 ล้านบาทต่อปี ในขณะที่ประเภทส่วนประกอบทางไฟฟ้าของเครื่องจักรและอุปกรณ์ ที่เพ็ญโฉมบอกว่าเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์นั้น มูลค่าในแต่ละปีสูงประมาณ 4,000-5,000 ล้านบาท
    .
    “เราจะเห็นว่าการนำเข้าขยะกระดาษและขยะอิล็กทรอนิกส์ ซึ่งแม้ว่าประเทศไทยจะมีกฎหมายห้ามนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์แล้ว แต่ยังมีพิกัดหนึ่งที่เป็นตัวรวมของขยะอิเล็กทรอนิกส์หลายประเภทและเศษโลหะที่นำเข้ามา เศษพลาสติกบางอย่างที่ปนเข้ามาในพิกัด 8548 จะเห็นว่า ถ้าดูจากกราฟ สหรัฐอเมริกาคือประเทศที่ส่งออกขยะกลุ่มนี้มายังประเทศไทยสูงที่สุด ถ้าเทียบกับประเทศอื่นๆ”
    .
    ไม่เพียงพิกัด 8548 แต่พิกัด 4704 ที่เป็นรายการเศษกระดาษ คิดจากมูลค่าการนำเข้าสูงสุดก็มีต้นทางมาจากประเทศสหรัฐฯ เช่นเดียวกัน ส่วนลำดับรองลงมาได้แก่สหราชอาณาจักรและญี่ปุ่น ในขณะที่ประเทศลำดับรองที่ส่งออกขยะพิกัด 8548 มาไทยในมูลค่าที่สูงรองจากสหรัฐฯ ได้แก่จีนและญี่ปุ่น
    .
    นอกจากนั้น เพ็ญโฉมยังเปิดเผยข้อมูลในส่วนของขยะหรือกากของเสียอุตสาหกรรม โดยยกสถิติเกี่ยวกับเศษอะลูมิเนียมมานำเสนอด้วย
    .
    “อะลูมิเนียมดรอส ยกตัวอย่างปี 2560 - 2567 ประเทศไทยมีการนำเข้าอะลูมิเนียม ซึ่งตัวที่เป็นปัญหา ไม่ว่าจะกรณีที่พบที่วินโพรเสส นครปฐม และอีกหลายที่ เราจะเรียกว่า อะลูมิเนียมดรอส ซึ่งคือกากอะลูมิเนียม แต่เวลาแสดงพิกัดการนำเข้า จะเรียกว่าเป็นผงอะลูมีเนียม หรือเป็นเศษชิ้นส่วนอะลูมิเนียม พวกนี้สามารถนำเข้ามาได้ และมีการนำเข้าเยอะทีเดียว จากปี 2560 – 2567 เป็นปริมาณหลายล้านตัน
    .
    “อย่างการนำเข้ากาก/เศษอะลูมิเนียม ปี 67 จากมกราคม - มิถุนายน ครึ่งปี มีการนำเข้ามาถึง 335 ล้านกิโลกรัม หรืออย่างตัวผงและเกล็ดอะลูมิเนียม เพียงครึ่งปีนี้ก็นำเข้ามากว่า 580,000 กิโลกรัม แต่บางปีก็มีการนำเข้ามากกว่านั้น ซึ่งเราคิดว่า การนำเข้าผงอะลูมิเนียมจากปี 60-67 แนวโน้มมันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คำถามว่า นำเข้าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะอะไร อันนี้เราคิดว่าต้องย้อนมาดูนโยบายเรื่องการส่งเสริมกิจการรีไซเคิลและเศรษฐกิจหมุนเวียน”
    .
    อย่างไรก็ตาม สำหรับประเด็นมิตินโยบาย เราจะนำเสนอในตอนต่อๆ ไป
    ...
    ...
    เรียบเรียงโดย ปานรักษ์ วัฒกะวงศ์ มูลนิธิบูรณะนิเวศ

    อ่านตอนที่ 1 ไทยเป็นปลายทางขยะโลก!? (ตอน 1: ทวงถามความรับผิดชอบ กรณีนำเข้าเศษกระดาษ แต่มี “ขยะเทศบาล” ปนมาด้วย)
    https://shorturl.asia/k2SJG

    #Thaitimes
    ไทยเป็นปลายทางขยะโลก!? (ตอน 2: ข้อมูลชี้...การนำเข้าขยะพุ่งและมีมากมายหลายชนิด) . จากกรณีพบขยะเทศบาลในตู้คอนเทนเนอร์สินค้าที่บริษัท เอสซีจี อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นผู้นำเข้าจากประเทศสหรัฐอเมริกา โดยที่มีการสำแดงว่าเป็นเศษกระดาษ เรื่องดังกล่าว กรมศุลกากรไม่ได้เปิดเผยสู่สาธารณะ แต่ด้วยข้อมูลที่เล็ดลอดออกมา ทำให้มีสื่อมวลชนบางสำนักหยิบมานำเสนอ เหตุการณ์ที่มีลักษณะเป็นการลักลอบนี้จึงได้เผยตัวสู่สาธารณะ . ในทางลึกมีข้อมูลว่า เฉพาะในรอบปีนี้ ซึ่งนับตามจำนวนเวลาก็คือประมาณ 7 เดือน มีการตรวจพบปัญหาลักษณะเดียวกันของผู้นำเข้ารายนี้มาแล้วถึง 3 ครั้ง . สิ่งที่เกิดขึ้นนี้เป็นมิติของการลักลอบ ซึ่งมักไม่มีการเปิดเผยข้อมูลออกมาอย่างชัดเจน ส่วนในมิติที่มีข้อมูลสถิติเป็นทางการ เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง ผู้อำนวยการมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้นำเสนอผ่านการแถลงข่าวร่วมกับกรรณิการ์ กิจติเวชกุล รองประธานกลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (FTA Watch) ในหัวข้อ “เมื่อขยะโลกหลั่งไหลเข้าไทย เราจะรอดพ้นจากสถานการณ์ดังกล่าวได้อย่างไร” เมื่อวันที่ 13 กันยายน ที่ผ่านมา ระบุว่า . “จากการติดตามปัญหาการส่งออกขยะในหมู่ประเทศสมาชิกของอียู (สหภาพยุโรป) ตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา ได้มีการส่งขยะกลุ่มนี้เข้ามายังประเทศไทยสูงทีเดียว ประเทศไทยกลายเป็นปลายทางของการส่งออกขยะกระดาษและกระดาษแข็ง เป็นอันดับ 3 ในภูมิภาคนี้ รองจากอินโดนีเซียและเวียดนาม นอกจากนี้ไทยยังเป็นปลายทางอันดับ 4 ของขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่นำเข้าจากสหภาพยุโรป รองมาจากอินโดนีเซีย เวียดนาม และมาเลเซีย” . ตามสถิติของกรมศุลกากรที่เพ็ญโฉมค้นมานำเสนอ ไม่มีการแสดงปริมาณการนำเข้าของเสียเหล่านั้น แต่ได้แสดงเป็นมูลค่า ซึ่งในส่วนของเศษกระดาษมีมูลค่าสูงถึงระดับมากกว่า 10,000 ล้านบาทต่อปี ในขณะที่ประเภทส่วนประกอบทางไฟฟ้าของเครื่องจักรและอุปกรณ์ ที่เพ็ญโฉมบอกว่าเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์นั้น มูลค่าในแต่ละปีสูงประมาณ 4,000-5,000 ล้านบาท . “เราจะเห็นว่าการนำเข้าขยะกระดาษและขยะอิล็กทรอนิกส์ ซึ่งแม้ว่าประเทศไทยจะมีกฎหมายห้ามนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์แล้ว แต่ยังมีพิกัดหนึ่งที่เป็นตัวรวมของขยะอิเล็กทรอนิกส์หลายประเภทและเศษโลหะที่นำเข้ามา เศษพลาสติกบางอย่างที่ปนเข้ามาในพิกัด 8548 จะเห็นว่า ถ้าดูจากกราฟ สหรัฐอเมริกาคือประเทศที่ส่งออกขยะกลุ่มนี้มายังประเทศไทยสูงที่สุด ถ้าเทียบกับประเทศอื่นๆ” . ไม่เพียงพิกัด 8548 แต่พิกัด 4704 ที่เป็นรายการเศษกระดาษ คิดจากมูลค่าการนำเข้าสูงสุดก็มีต้นทางมาจากประเทศสหรัฐฯ เช่นเดียวกัน ส่วนลำดับรองลงมาได้แก่สหราชอาณาจักรและญี่ปุ่น ในขณะที่ประเทศลำดับรองที่ส่งออกขยะพิกัด 8548 มาไทยในมูลค่าที่สูงรองจากสหรัฐฯ ได้แก่จีนและญี่ปุ่น . นอกจากนั้น เพ็ญโฉมยังเปิดเผยข้อมูลในส่วนของขยะหรือกากของเสียอุตสาหกรรม โดยยกสถิติเกี่ยวกับเศษอะลูมิเนียมมานำเสนอด้วย . “อะลูมิเนียมดรอส ยกตัวอย่างปี 2560 - 2567 ประเทศไทยมีการนำเข้าอะลูมิเนียม ซึ่งตัวที่เป็นปัญหา ไม่ว่าจะกรณีที่พบที่วินโพรเสส นครปฐม และอีกหลายที่ เราจะเรียกว่า อะลูมิเนียมดรอส ซึ่งคือกากอะลูมิเนียม แต่เวลาแสดงพิกัดการนำเข้า จะเรียกว่าเป็นผงอะลูมีเนียม หรือเป็นเศษชิ้นส่วนอะลูมิเนียม พวกนี้สามารถนำเข้ามาได้ และมีการนำเข้าเยอะทีเดียว จากปี 2560 – 2567 เป็นปริมาณหลายล้านตัน . “อย่างการนำเข้ากาก/เศษอะลูมิเนียม ปี 67 จากมกราคม - มิถุนายน ครึ่งปี มีการนำเข้ามาถึง 335 ล้านกิโลกรัม หรืออย่างตัวผงและเกล็ดอะลูมิเนียม เพียงครึ่งปีนี้ก็นำเข้ามากว่า 580,000 กิโลกรัม แต่บางปีก็มีการนำเข้ามากกว่านั้น ซึ่งเราคิดว่า การนำเข้าผงอะลูมิเนียมจากปี 60-67 แนวโน้มมันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คำถามว่า นำเข้าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะอะไร อันนี้เราคิดว่าต้องย้อนมาดูนโยบายเรื่องการส่งเสริมกิจการรีไซเคิลและเศรษฐกิจหมุนเวียน” . อย่างไรก็ตาม สำหรับประเด็นมิตินโยบาย เราจะนำเสนอในตอนต่อๆ ไป ... ... เรียบเรียงโดย ปานรักษ์ วัฒกะวงศ์ มูลนิธิบูรณะนิเวศ อ่านตอนที่ 1 ไทยเป็นปลายทางขยะโลก!? (ตอน 1: ทวงถามความรับผิดชอบ กรณีนำเข้าเศษกระดาษ แต่มี “ขยะเทศบาล” ปนมาด้วย) https://shorturl.asia/k2SJG #Thaitimes
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 661 มุมมอง 0 รีวิว
  • บันทึกไว้เมื่อ 22 ก.ย. 2018 วันนี้เมื่อหกปีก่อน

    เมื่อวานไปธุระบางกะปิ หิวข้าวแต่ยังต้องไปที่อื่นต่อ เลยหาซื้อไวตามิลค์เจแบบขวดวันทูโกกินรองท้อง ขณะยืนดื่มอยู่หน้าถังขยะ ชายอาการเหมือนคนเป็นโรคประสาทอย่างแรง มีผ้าปิดคาดปากเดินหิ้วถุงพลาสติกขนาดใหญ่หลายถุง ตรงรี่มาเปิดฝาถัง นัยว่าจะหาขยะที่รีไซเคิลได้ไปขาย ปากเขาก็พูดเพ้อพร่ำอะไรอยู่คนเดียวไม่หยุด เหมือนกำลังทะเลาะกับใครเรื่องการเมือง

    ความจริงข้าพเจ้าคุ้นหน้าเขามาก เหมือนเคยเห็นแถวละแวกใกล้เคียงสันติอโศกบ่อยๆ แต่คนนั้นเขาไม่มีอาการเหมือนคนนี้ที่พูดเสียงดังคนเดียว หรือคือคนหน้าคล้าย

    ก่อนหน้าเขาจะมาหาขยะในถังตรงจุดที่ข้าพเจ้ายืนอยู่ เราก็เจอกันแล้วรอบหนึ่ง ที่ฝั่งตรงข้ามถนน แสดงว่ามีวาสนาต่อกัน พอดีข้าพเจ้าดื่มหมดขวด แรกทีเดียวตั้งใจใส่ลงถัง เพราะจะแบกไปด้วยก็หนัก แต่ก็รู้สึกไม่ดีนัก เพราะไปปะปนกับขยะอื่นทั้งที่ควรแยกขายได้

    พอดีอะไรเช่นนี้ ชายผู้มีความไม่ปกติทางจิต มาช่วยได้อย่างเหมาะเจาะ เหมาะใจยิ่งนัก ข้าพเจ้าจึงยื่นขวดเปล่าให้เขาด้วยไมตรี ซึ่งเขาก็เข้าใจ รับหมับทันที ขณะที่ปากยังคงพูดเพ้อไม่หยุดเสียงลั่นจนคนที่รอรถและเดินผ่านไปมาแถวนั้นพากันมองมาด้วยอาการอันหลากหลาย คงคละเคล้าปะปนกันระหว่างปลงสังเวช กับกริ่งเกรงไม่ไว้ใจ

    แต่ข้าพเจ้าสบายตัว สบายใจแล้ว ขยะในมือได้อยู่ถูกที่กับคนที่ต้องการและจะนำไปแลกเป็นรายได้เลี้ยงตัว ไม่ได้ทำให้เกิดขยะส่วนรวมเพิ่ม นับเป็นเรื่องน่ายินดี จึงจากกันด้วยประการฉะนี้เอง

    #บันทึก
    #thaitimes
    #รีไซเคิล
    #ขยะ
    #ขวดแก้ว
    #อาการทางจิต
    #ข้อคิด
    #ความทรงจำ
    บันทึกไว้เมื่อ 22 ก.ย. 2018 วันนี้เมื่อหกปีก่อน เมื่อวานไปธุระบางกะปิ หิวข้าวแต่ยังต้องไปที่อื่นต่อ เลยหาซื้อไวตามิลค์เจแบบขวดวันทูโกกินรองท้อง ขณะยืนดื่มอยู่หน้าถังขยะ ชายอาการเหมือนคนเป็นโรคประสาทอย่างแรง มีผ้าปิดคาดปากเดินหิ้วถุงพลาสติกขนาดใหญ่หลายถุง ตรงรี่มาเปิดฝาถัง นัยว่าจะหาขยะที่รีไซเคิลได้ไปขาย ปากเขาก็พูดเพ้อพร่ำอะไรอยู่คนเดียวไม่หยุด เหมือนกำลังทะเลาะกับใครเรื่องการเมือง ความจริงข้าพเจ้าคุ้นหน้าเขามาก เหมือนเคยเห็นแถวละแวกใกล้เคียงสันติอโศกบ่อยๆ แต่คนนั้นเขาไม่มีอาการเหมือนคนนี้ที่พูดเสียงดังคนเดียว หรือคือคนหน้าคล้าย ก่อนหน้าเขาจะมาหาขยะในถังตรงจุดที่ข้าพเจ้ายืนอยู่ เราก็เจอกันแล้วรอบหนึ่ง ที่ฝั่งตรงข้ามถนน แสดงว่ามีวาสนาต่อกัน พอดีข้าพเจ้าดื่มหมดขวด แรกทีเดียวตั้งใจใส่ลงถัง เพราะจะแบกไปด้วยก็หนัก แต่ก็รู้สึกไม่ดีนัก เพราะไปปะปนกับขยะอื่นทั้งที่ควรแยกขายได้ พอดีอะไรเช่นนี้ ชายผู้มีความไม่ปกติทางจิต มาช่วยได้อย่างเหมาะเจาะ เหมาะใจยิ่งนัก ข้าพเจ้าจึงยื่นขวดเปล่าให้เขาด้วยไมตรี ซึ่งเขาก็เข้าใจ รับหมับทันที ขณะที่ปากยังคงพูดเพ้อไม่หยุดเสียงลั่นจนคนที่รอรถและเดินผ่านไปมาแถวนั้นพากันมองมาด้วยอาการอันหลากหลาย คงคละเคล้าปะปนกันระหว่างปลงสังเวช กับกริ่งเกรงไม่ไว้ใจ แต่ข้าพเจ้าสบายตัว สบายใจแล้ว ขยะในมือได้อยู่ถูกที่กับคนที่ต้องการและจะนำไปแลกเป็นรายได้เลี้ยงตัว ไม่ได้ทำให้เกิดขยะส่วนรวมเพิ่ม นับเป็นเรื่องน่ายินดี จึงจากกันด้วยประการฉะนี้เอง #บันทึก #thaitimes #รีไซเคิล #ขยะ #ขวดแก้ว #อาการทางจิต #ข้อคิด #ความทรงจำ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 940 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ศรีวัฒนธรรม จะพาไปร่วมกิจกรรมสานกระเป๋า ด้วยซองกาแฟ กับกลุ่มฝึกอาชีพชุมชนช่างนาค-สะพานยาว เขตคลองสาน
    การสานกระเป๋าจากซองกาแฟ เป็นการรีไซเคิลวัสดุเหลือใช้ เป็นการประหยัดเงิน และเป็นงานฝีมือที่สวยงาม เหมาะสำหรับผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบงานประดิษฐ์ และรักษ์โลก
    อุปกรณ์
    ซองกาแฟสำเร็จรูปเปล่า
    กรรไกร
    เข็มเย็บผ้า
    ด้าย
    ผ้าสำหรับทำซับใน
    ซิป
    ไม้บรรทัด
    ดินสอ
    วิธีทำ
    เตรียมซองกาแฟ ล้างให้สะอาด ตากให้แห้ง ตัดก้นและปากซองออก
    พับซองกาแฟตามแนวยาว กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร
    สอดหัวท้ายซองกาแฟเข้าด้วยกัน เย็บแม็กให้ติดกัน
    เริ่มสานซองกาแฟด้วยลายฟันปลา สานจากฐานขึ้นมาเรื่อยๆ จนได้ขนาดตามต้องการ
    ตัดผ้าสำหรับทำซับในกระเป๋าให้มีขนาดเล็กกว่าใบกระเป๋า เย็บติดกับใบกระเป๋า
    เย็บซิปติดกับปากกระเป๋า
    เทคนิค
    เลือกซองกาแฟที่มีสีสันสวยงาม เพื่อเพิ่มความน่าสนใจ
    สามารถสานลายอื่นๆ เพิ่มเติมได้ เช่น ลายตาราง ลายขัด
    เพิ่มสายสะพายกระเป๋า โดยใช้เชือก หนัง หรือวัสดุอื่นๆ
    #อาสาพาสุข #สยามโสภา #ผู้สูงอายุ #ชุมชน #ฝึกอาชีพ #สานกระเป๋า #ตระกร้า #ซองกาแฟ #ชุมชนช่างนาค #เขตคลองสาน #thaitimes #thaitimesชุมชน
    #ศรีวัฒนธรรม จะพาไปร่วมกิจกรรมสานกระเป๋า ด้วยซองกาแฟ กับกลุ่มฝึกอาชีพชุมชนช่างนาค-สะพานยาว เขตคลองสาน การสานกระเป๋าจากซองกาแฟ เป็นการรีไซเคิลวัสดุเหลือใช้ เป็นการประหยัดเงิน และเป็นงานฝีมือที่สวยงาม เหมาะสำหรับผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบงานประดิษฐ์ และรักษ์โลก อุปกรณ์ ซองกาแฟสำเร็จรูปเปล่า กรรไกร เข็มเย็บผ้า ด้าย ผ้าสำหรับทำซับใน ซิป ไม้บรรทัด ดินสอ วิธีทำ เตรียมซองกาแฟ ล้างให้สะอาด ตากให้แห้ง ตัดก้นและปากซองออก พับซองกาแฟตามแนวยาว กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร สอดหัวท้ายซองกาแฟเข้าด้วยกัน เย็บแม็กให้ติดกัน เริ่มสานซองกาแฟด้วยลายฟันปลา สานจากฐานขึ้นมาเรื่อยๆ จนได้ขนาดตามต้องการ ตัดผ้าสำหรับทำซับในกระเป๋าให้มีขนาดเล็กกว่าใบกระเป๋า เย็บติดกับใบกระเป๋า เย็บซิปติดกับปากกระเป๋า เทคนิค เลือกซองกาแฟที่มีสีสันสวยงาม เพื่อเพิ่มความน่าสนใจ สามารถสานลายอื่นๆ เพิ่มเติมได้ เช่น ลายตาราง ลายขัด เพิ่มสายสะพายกระเป๋า โดยใช้เชือก หนัง หรือวัสดุอื่นๆ #อาสาพาสุข #สยามโสภา #ผู้สูงอายุ #ชุมชน #ฝึกอาชีพ #สานกระเป๋า #ตระกร้า #ซองกาแฟ #ชุมชนช่างนาค #เขตคลองสาน #thaitimes #thaitimesชุมชน
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1683 มุมมอง 528 0 รีวิว
  • Camper
    Pelotas 27205-190 Dark Brown Full Grain Leather
    Size. EUR 38 /24(25) cm
    ⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️ Good Condition

    🔥 Price : 850฿

    รองเท้า Camper รุ่น Pelotas แบรนด์ดังเกาะมายอร์ก้าของสเปน สี Dark Brown สำหรับผู้หญิง สายแคมป์
    มีสไตล์ที่โดดเด่น

    👉 รายละเอียด :
    ✅ อัพเปอร์ : หนังลูกวัวฟอกฝาด(ฟูลเกรน)สีน้ำตาลเข้ม (ได้รับการรับรองว่าใช้หนังจากโรงฟอกหนังที่ได้รับการจัดอันดับโดย Leather Working Group (LWG) โดยได้รับการประเมินและส่งเสริมแนวปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนในอุตสาหกรรมเครื่องหนัง
    ✅ ซับใน : หนังลูกวัว 68% ผ้า 32% (PET รีไซเคิล 100%)
    ✅ แผ่นรองฝ่าเท้า : แบบถอดได้พร้อมระบบกันกระแทก
    ✅ พื้นรองเท้าด้านนอก : ออกแบบพื้นให้เป็นทรงกลมเหมือนลูกโป่งวัสดุผลิตจากยางดูดซับแรงกดกระแทกและเพิ่มการยึดเกาะได้ดี เย็บพื้นเพื่อความทนทาน
    ✅ สภาพรองเท้า : ดี 85%+
    ✅ ไซส์ EUR 38 ยาว 24 cm (วัดจริง 25)
    Camper Pelotas 27205-190 Dark Brown Full Grain Leather Size. EUR 38 /24(25) cm ⭐️⭐️⭐️⭐️⭐️ Good Condition 🔥 Price : 850฿ รองเท้า Camper รุ่น Pelotas แบรนด์ดังเกาะมายอร์ก้าของสเปน สี Dark Brown สำหรับผู้หญิง สายแคมป์ มีสไตล์ที่โดดเด่น 👉 รายละเอียด : ✅ อัพเปอร์ : หนังลูกวัวฟอกฝาด(ฟูลเกรน)สีน้ำตาลเข้ม (ได้รับการรับรองว่าใช้หนังจากโรงฟอกหนังที่ได้รับการจัดอันดับโดย Leather Working Group (LWG) โดยได้รับการประเมินและส่งเสริมแนวปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนในอุตสาหกรรมเครื่องหนัง ✅ ซับใน : หนังลูกวัว 68% ผ้า 32% (PET รีไซเคิล 100%) ✅ แผ่นรองฝ่าเท้า : แบบถอดได้พร้อมระบบกันกระแทก ✅ พื้นรองเท้าด้านนอก : ออกแบบพื้นให้เป็นทรงกลมเหมือนลูกโป่งวัสดุผลิตจากยางดูดซับแรงกดกระแทกและเพิ่มการยึดเกาะได้ดี เย็บพื้นเพื่อความทนทาน ✅ สภาพรองเท้า : ดี 85%+ ✅ ไซส์ EUR 38 ยาว 24 cm (วัดจริง 25)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 165 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 669 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี
    ========================================
    .
    โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า...
    .
    "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"...
    .
    "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"...
    .
    "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้"
    .
    โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม
    .
    แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้)
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    .
    ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่..
    - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
    - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
    - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด
    - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน)
    - บริษัท พีที พลัส จำกัด
    - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ)
    - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด
    .
    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง
    ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้
    .
    ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก
    .
    ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่
    .
    ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น
    .
    ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน
    .
    ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง
    .
    ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน
    .
    ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย
    .
    ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา
    .
    ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา
    .
    ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย
    .
    ============================================
    สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    ============================================
    ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่
    https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack...
    (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค)
    -------------------------------------------------------------
    เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/
    .
    สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่...
    .
    Spotify
    https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE
    .
    ============================================
    รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่
    .
    ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ======================================== . โครงการบทเพลงเทิดพระเกียรติ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี เกิดขึ้นจากการริเริ่มของสมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมป์ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับศิลปินกลุ่มนักประพันธ์เพลงจิตอาสา และคณะบุคคลผู้มีความจงรักภักดี นำโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ศิลปินศิลปาธร สาขาดนตรีปี พ.ศ.2560 ได้ร่วมกันสร้างสรรค์และจัดทำอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรติถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงขึ้น โดยมีจุดประสงค์นอกจากเพื่อเทิดพระเกียรติแล้ว ยังเป็นการนำเสนอบทเพลงที่ถ่ายทอดเรื่องราวอันซาบซึ้งประทับใจและเป็นที่จดจำของปวงชนชาวไทยเกี่ยวกับพระองค์ท่านจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ บทเพลง ในการนี้ พงศ์พรหม หัวหน้าโครงการที่ดูแลในส่วนของการสร้างสรรค์บทเพลงได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของงานว่า... . "ผมจะมีความคุ้นเคยกับศิลปินนักร้องกลุ่มหนึ่งที่ถวายงานการแสดงให้สมเด็จพระพันปีฯ มานานนับสิบปี อาทิเช่น คุณอิสริยา คูประเสริฐ คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ พันเอกนายแพทย์วิภู กำเหนิดดี คุณอภิภู โสรพิมาย.. เรามักสนทนากันบ่อยๆ ว่าสมเด็จพระพันปีท่านไม่มีเพลงของพระองค์ท่านให้นึกถึงได้เลย เราก็ช่วยกันคิดว่ามีเพลงอะไรบ้างนะที่เราพอจะคุ้นเคย ก็นึกไม่ออก เราก็เลยเอ่ยปากตั้งใจกันไว้ว่าสักวันเมื่อมีโอกาสอำนวยเรามาช่วยกันทำเพลงถวายพระองค์ท่านสักชุดหนึ่งดีไหม ทุกคนก็เห็นว่าดี ก็ลั่นวาจากันไว้อย่างนั้น จนกระทั่งเมื่อต้นปีที่แล้ว พ.ศ. 2565 เป็นปีที่สมเด็จพระพันปีหลวงฯ ท่านจะมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ผมก็คิดว่านี่แหละที่เป็นโอกาสที่ดี ก็เลยนัดมาเจอกันแล้วเริ่มงานกันตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2565 โดยตั้งใจว่าต้องทำให้เสร็จสองเพลงก่อน ให้ทันวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ก็มีเพลงแรกชื่อ "เพลงไหมแพรวา" คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ขับร้อง อีกเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" คุณกันยารัตน์ กุยสุวรรณ ขับร้อง ก็ทำกันเสร็จทันออกมาให้ได้ฟังกันในวันเฉลิมพระชนม์พรรษาปีที่แล้ว จากนั้นเราก็แต่งเพลงเพิ่ม มีนักร้องมาร่วมอีกหลายคน อาทิ คุณสุนทรี เวชานนท์ คุณปาน ธนพร แวกประยูร ม.ล.วันรัชดา วรวุฒิ กลุ่มนักร้องเยาวชนจากว๊อยซ์อคาเดมีหกคน.. ได้ทำการบันทึกเสียงมาเรื่อยๆ จนเสร็จสิ้นครบทั้ง 10 เพลงเมื่อเดือนมกราคม 2566 ต้นปีนี้เอง โดยที่ศิลปินทุกคนไม่ว่าจะขับร้องหรือเล่นดนตรี รวมทั้งนักแต่งเพลงที่มาช่วยกันทำงานทุกคน ต่างมาร่วมกันทำงานนี้ถวายด้วยจิตอาสา ไม่มีใครคิดค่าทำงานใดๆ ทั้งสิ้น"... . "แต่แน่นอนว่าการทำงานโครงการขนาดนี้ย่อมมีค่าใช้จ่าย ในขั้นแรกก็มีเพื่อนๆ ที่มีความจงรักภักดีสองสามท่านช่วยกันสนับสนุนให้งานเริ่มดำเนินไปได้ ต่อมาเนื่องจากผมเป็นนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ผมนำโครงการไปปรึกษากับเพื่อนนักเรียนเก่าราชวิทย์ด้วยกัน คือ พ.ต.อ.ศุภชัชจ์ เปี่ยมมนัส ก็เลยได้สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มาสนับสนุนงบประมาณในขั้นตอนการบันทึกเสียง ประสานงานหาผู้สนับสนุนในส่วนของห้องบันทึกเสียง การผลิตมิวสิควิดิโอ การผลิตแพคเกจ จนกระทั่งกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมดสำเร็จเสร็จสิ้น"... . "เมื่อผลงานทั้งหมดบันทึกเสียงเสร็จ ผมได้นำโครงการไปเรียนปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่อีกสองท่านว่าจะทำการเผยแพร่โครงการออกไปอย่างไรบ้าง ท่านแรกคือคุณสมยศ เกียรติอร่ามกุล ผู้บริหารท่านหนึ่งของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และอีกท่านคือ คุณประสพ เรียงเงิน ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมโดยทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสจะทำการผลิตสารคดีเพลงจำนวนหกเรื่อง และละครเทิดพระเกียรติอีกสามเรื่อง โดยทางกระทรวงวัฒนธรรมจะรับผิดชอบในการดูแลและเผยแพร่คอนเท้นท์ ประชาสัมพันธ์ทางภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเฉลิมฉลองและถวายพระพรในช่วงวโรกาสวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้" . โครงการอัลบั้มบทเพลงเทิดพระเกียรตินี้ จะทำการผลิตออกมาในรูปของแพคเกจที่ประณีตสวยงามสมพระเกียรติ กล่องบรรจุใช้กระดาษรีไซเคิลของไทยและหมึกถั่วเหลืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในแพคเกจประกอบไปด้วยภาพวาดปกพระฉายาสาทิสลักษณ์โดยศิลปินทัศนศิลป์ นิติกร กรัยวิเชียร โปสการ์ดภาพวาดพระฉายาสาทิสลักษณ์ โดยศิลปินทัศนศิลป์ สุวิทย์ ใจป้อม จำนวน 10 ภาพ ภาพประกอบด้านในโดยศิลปิน ปันนรัตน์ บวรภัคพาณิช และเครดิตการ์ดยูเอสบีขนาดความจุ 16 กิกาไบ๊ต์ ท่ีบรรจุไฟล์เพลงรายละเอียดสูงทั้งสิบเพลง ทั้งแบบเพลงเต็มและแบ๊คกิ้งแทร็ค ไฟล์มิวสิควิดิโอขนาดฟูลเอชดีทั้งสิบเพลง และข้อมูลของบทเพลงในอัลบั้ม . แพคเกจอัลบั้มนี้จะไม่มีวางจำหน่าย แต่จะเผยแพร่ผ่านทางกิจกรรมที่ไม่แสวงผลกำไรทางการค้าเท่านั้น ผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์บทเพลงได้ฟรีผ่านทางเฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ (หรือตามลิ๊งค์ที่อยู่ล่างสุดในโพสนี้) รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ . . ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของโครงการที่ให้ความอนุเคราะห์จนโครงการ คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปีนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่.. - สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส - กระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม - บริษัท ธนัทเฮิร์บ พาณิชย์ จำกัด - บริษัท IFCG จำกัด (มหาชน) - บริษัท พีที พลัส จำกัด - บริษัท ลอรีส จำกัด (ออด๊าซ) - บริษัท ไทย ทีเอเอ็น อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด . ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเพลงทั้งสิบเพลง ในอัลบั้มชุดนี้บทเพลงที่ประพันธขึ้นประกอบด้วยบทเพลงทั้งสิ้น ๑๐ เพลง ดังนี้ . ๑. บทเพลงชื่อ "เพลงไหมแพรวา" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ภาณุ เทศะศิริ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวาที่สมเด็จพระพันปีทรงอุปถัมภ์จนกลายเป็นราชินีผ้าไหมไทยที่เลื่องลือทั่วโลก . ๒. บทเพลงชื่อ "สุดหัวใจ" ขับร้องโดย กันยารัตน์ กุยสุวรรณ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นการถ่ายทอดความรักความผูกพันที่พสกนิกรชาวไทยมีต่อสมเด็จพระพันปีผ่านมุมมองข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ . ๓. บทเพลงชื่อ "ปลูกวันแม่ เกี่ยววันพ่อ" ขับร้องโดย ดลชัย บุณยะรัตเวช ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องของชาวนาและเกษตรแผนใหม่ตามแนวพระราชดำริและการรักษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่น . ๔. บทเพลงชื่อ "โพธิ์ทองของปวงไทย" ขับร้องโดย ด.ญ. มนภทริตา ทองเกิด, ด.ญ. จิรัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ธนัชญา ศรีนุช, ด.ญ. ศิตภัทร ตันติเวสส, ด.ญ. นภัสร์นันท์ วงศ์วิวัฒน์, ด.ญ. ปวริศา เติมจิตรอารีย์ ประพันธ์คำร้องโดย ชโลธร ควรหาเวช ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นการบรรยายพระมหากรุณาธิคุณและพระกรณีกิจมากมายที่พระพันปีทรงทุ่มเท ผ่านมุมมองเยาวชน . ๕. บทเพลงชื่อ "พ่อเป็นน้ำ แม่เป็นป่า" ขับร้องโดย หม่อมหลวงวันรัชดา วรวุฒิ และตัวแทนชาวไทยภูเขาหกเผ่า ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย โอฬาร เนตรหาญ เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ตามแนวพระราชดำริและความผูกพันของชาวไทยภูเขากับพระพันปีหลวง . ๖. บทเพลงชื่อ "ภาพพันปี" ขับร้องโดย อิสริยา คูประเสริฐ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ธนชัย ยงพิพัฒน์วงศ์ และ ชาตรี ทับละม่อม เรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เป็นเพลงพรรณาให้เห็นความรักและความทุ่มเทของพระพันปีที่มีต่อพสกนิกร ผ่านภาพถ่ายมากมายที่ประทับอยู่ในความทรงจำของคนไทยมานานแสนนาน . ๗. บทเพลงชื่อ "คนโขน" ขับร้องโดย อภิภู โสรพิมาย ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดย ศรีจิตรา นานานุกูล และ พงศ์พรหม สนิทวงศ์ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระพันปีที่มีต่อนาฏศิลป์โขนไทย . ๘. บทเพลงชื่อ "กายเราคือเสาหลัก" ขับร้องโดย พันเอกนายแพทย์วิภู กำเนิดดี ประพันธ์ทำนอง-คำร้องและเรียบเรียงดนตรีโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา - เป็นเพลงเกี่ยวกับตำรวจตระเวนชายแดน ความรักที่พวกเขามีต่อชาติ ต่อสถาบัน และความห่วงใยเมตตาของพระเจ้าอยู่หัวและพระราชินีที่มีต่อพวกเขา . ๙. บทเพลงชื่อ "ศิลปาชีพ" ขับร้องโดย สุนทรี เวชานนท์ ประพันธ์ทำนองโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล ประพันธ์คำร้องโดย พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เรียบเรียงดนตรีโดย วีระ วัฒนะจันทรกุล และ ปวรินทร์ พิเกณฑ์ - ถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านศิลปาชีพ โดยถ่ายทอดด้วยภาษาพื้นถิ่นล้านนา . ๑๐. บทเพลงชื่อ "กางเขนแดง หัวใจขาว" ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร (ปาน ธนพร) ประพันธ์คำร้องโดย ชาตรี ทับละม่อม ประพันธ์ทำนองและเรียบเรียงดนตรีโดย รัฐกรณ์ โกมล - เรื่องราวเกี่ยวกับแพทย์พยาบาลที่เสียสละตนเองเพื่อสืบสานปณิธานพระพันปีที่ทรงเป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย . ============================================ สามารถดาวน์โหลดเพลงทั้งหมดมาฟังฟรีได้ที่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/rvjqypbout7k... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ============================================ ต้องการนำบทเพลงไปขับร้องหรือทำกิจกรรม ดาวน์โหลด Backingtrack ที่นี่ https://soundcloud.com/pongprom.../sets/backingtrack... (ดาวน์โหลดอยู่ที่เครื่องหมาย ••• บนแทร็ค) ------------------------------------------------------------- เฟซบุ๊คเพจของโครงการ https://www.facebook.com/songsforqueensirikit/ . สามารถ Streaming เพลงจากอัลบั้ม #คีตามาลัยเทิดไท้พระพันปี ที่... . Spotify https://open.spotify.com/album/3ctqdqlVfGywJ4vLIaE3GE . ============================================ รักพระพันปี กรุณาช่วยกันกดไล๊ค์ กดแชร์ ร่วมกันเผยแพร่ .
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 649 มุมมอง 0 รีวิว
  • การอดอาหาร กระตุ้นให้เกิดออโตฟาจี ซึ่งเป็นกระบวนการทางธรรมชาติ ที่เซลล์จะรีไซเคิล และกำจัดส่วนประกอบที่เสียหาย หรือทำงานผิดปกติ เพื่อรักษาสุขภาพของเซลล์ (2 นาที 12 วินาที)
    การอดอาหาร กระตุ้นให้เกิดออโตฟาจี ซึ่งเป็นกระบวนการทางธรรมชาติ ที่เซลล์จะรีไซเคิล และกำจัดส่วนประกอบที่เสียหาย หรือทำงานผิดปกติ เพื่อรักษาสุขภาพของเซลล์ (2 นาที 12 วินาที)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 171 มุมมอง 11 0 รีวิว