• เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ประทานพระคติธรรม เนื่องในวันอาสาฬหบูชา วันพฤหัสบดี ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๘ ความว่า

    “ดิถีอาสาฬหบูชาได้เวียนมาบรรจบอีกคำรบหนึ่งแล้ว ควรที่สาธุชนจักได้น้อมรำลึกถึงเหตุการณ์ที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ ณ อิสิปตนมฤคทายวัน อันเป็นการเริ่มประกาศพระศาสนา กระทั่งบังเกิดมีพระอริยสงฆ์ ครบถ้วนพร้อมเป็น“พระรัตนตรัย” ซึ่งเป็นสรณะนำทางชีวิตของพุทธบริษัท ให้มุ่งหน้าดำเนินไปสู่หนทางดับเพลิงทุกข์ได้อย่างสิ้นเชิง

    “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” ที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้เป็นปฐมเทศนานั้น คือวิถีทางดับทุกข์ด้วยมรรคมีองค์ ๘ หรือการลงมือปฏิบัติเพื่อให้พ้นจากทุกข์ ทั้งนี้ เป็นที่น่าสังเกตว่า ท่ามกลางสถานการณ์ทางเทคโนโลยีการสื่อสารอันรุดหน้าอย่างรวดเร็ว ความสงบสุขในโลกกลับถดถอยเสื่อมทรามลงอย่างเห็นได้ชัด เพราะทุกคนต้องจำทนอยู่ในวังวนแห่งความรู้สึกชิงชัง ก้าวร้าว และตึงเครียด โดยเหตุที่เสพคุ้นกับข้อมูลเท็จ การส่อเสียด คำหยาบคาย และความเพ้อเจ้อ จนกระทบกระเทือนสุขภาพจิต ท่านทั้งหลายจึงควรคิดหันมาศึกษาพิจารณาอริยมรรค แล้วมุ่งมั่นดำเนินจริยาไปบนหนทางแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุประการหนึ่ง กล่าวคือ การปลูกฝังสั่งสมให้ตนเอง และบรรดาสมาชิกในสังคม มีค่านิยมในการครอง “สัมมาวาจา” ซึ่งหมายถึง “การเจรจาชอบ” ไว้ให้ได้อย่างมั่นคง ขอให้ช่วยกันเพิ่มพูนสติยับยั้งการสื่อสารของตนและคนรอบข้าง อย่าพลั้งเผลอหรือสนุกคะนองในการใช้มิจฉาวาจา ขอจงรักษาคำจริงและความจริงไว้ทุกเมื่อ ขอให้สำนึกไว้เสมอว่า เมื่อใดที่บุคคลใดพูดหรือเขียนคำเท็จ คำส่อเสียด คำหยาบคาย และคำเพ้อเจ้อ ไม่ว่าในช่องทางใด หรือวาระโอกาสใด เมื่อนั้นคือการอวดความทรุดโทรมต่ำช้าที่หยั่งรากอยู่ในความสืบเนื่องแห่งอุปนิสัยของบุคคลนั้น อันนับว่าน่าอับอาย มากกว่าที่น่าจะนำมาอวดแสดงกัน

    วันอาสาฬหบูชา นอกจากจะเตือนใจให้รำลึกถึงคุณพระรัตนตรัย อันเป็นสรณะสูงสุดของพุทธบริษัทแล้ว ยังอาจเตือนใจให้ทุกท่าน ตระหนักแน่วแน่ในอริยมรรคข้อ “สัมมาวาจา” เพราะฉะนั้น หากท่านประสงค์ให้สังคมไทยร่มเย็นเป็นสุข จงหมั่นเพียรศึกษาอบรมและปฏิบัติธรรมะ มีน้ำใจกล้าหาญที่จะละทิ้งมิจฉาวาจา เพื่อให้ทุกครอบครัว และทุกชุมชน เป็นสถานที่ปลอดจากการหลอกลวง การวิวาทบาดหมาง และความตึงเครียด นับเป็นการเกื้อกูลตนเอง และสรรพชีวิตทั่วหน้า ให้สามารถพ้นจากภยันตรายได้สมตามความมุ่งมาดปรารถนาอย่างแท้จริง อนึ่ง ขอความเจริญงอกงามในพระสัทธรรม จงพลันบังเกิดมีแด่สาธุชนผู้มีวาจาชอบ โดยทั่วหน้ากัน เทอญ.”
    เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ประทานพระคติธรรม เนื่องในวันอาสาฬหบูชา วันพฤหัสบดี ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๘ ความว่า “ดิถีอาสาฬหบูชาได้เวียนมาบรรจบอีกคำรบหนึ่งแล้ว ควรที่สาธุชนจักได้น้อมรำลึกถึงเหตุการณ์ที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ ณ อิสิปตนมฤคทายวัน อันเป็นการเริ่มประกาศพระศาสนา กระทั่งบังเกิดมีพระอริยสงฆ์ ครบถ้วนพร้อมเป็น“พระรัตนตรัย” ซึ่งเป็นสรณะนำทางชีวิตของพุทธบริษัท ให้มุ่งหน้าดำเนินไปสู่หนทางดับเพลิงทุกข์ได้อย่างสิ้นเชิง “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” ที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้เป็นปฐมเทศนานั้น คือวิถีทางดับทุกข์ด้วยมรรคมีองค์ ๘ หรือการลงมือปฏิบัติเพื่อให้พ้นจากทุกข์ ทั้งนี้ เป็นที่น่าสังเกตว่า ท่ามกลางสถานการณ์ทางเทคโนโลยีการสื่อสารอันรุดหน้าอย่างรวดเร็ว ความสงบสุขในโลกกลับถดถอยเสื่อมทรามลงอย่างเห็นได้ชัด เพราะทุกคนต้องจำทนอยู่ในวังวนแห่งความรู้สึกชิงชัง ก้าวร้าว และตึงเครียด โดยเหตุที่เสพคุ้นกับข้อมูลเท็จ การส่อเสียด คำหยาบคาย และความเพ้อเจ้อ จนกระทบกระเทือนสุขภาพจิต ท่านทั้งหลายจึงควรคิดหันมาศึกษาพิจารณาอริยมรรค แล้วมุ่งมั่นดำเนินจริยาไปบนหนทางแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุประการหนึ่ง กล่าวคือ การปลูกฝังสั่งสมให้ตนเอง และบรรดาสมาชิกในสังคม มีค่านิยมในการครอง “สัมมาวาจา” ซึ่งหมายถึง “การเจรจาชอบ” ไว้ให้ได้อย่างมั่นคง ขอให้ช่วยกันเพิ่มพูนสติยับยั้งการสื่อสารของตนและคนรอบข้าง อย่าพลั้งเผลอหรือสนุกคะนองในการใช้มิจฉาวาจา ขอจงรักษาคำจริงและความจริงไว้ทุกเมื่อ ขอให้สำนึกไว้เสมอว่า เมื่อใดที่บุคคลใดพูดหรือเขียนคำเท็จ คำส่อเสียด คำหยาบคาย และคำเพ้อเจ้อ ไม่ว่าในช่องทางใด หรือวาระโอกาสใด เมื่อนั้นคือการอวดความทรุดโทรมต่ำช้าที่หยั่งรากอยู่ในความสืบเนื่องแห่งอุปนิสัยของบุคคลนั้น อันนับว่าน่าอับอาย มากกว่าที่น่าจะนำมาอวดแสดงกัน วันอาสาฬหบูชา นอกจากจะเตือนใจให้รำลึกถึงคุณพระรัตนตรัย อันเป็นสรณะสูงสุดของพุทธบริษัทแล้ว ยังอาจเตือนใจให้ทุกท่าน ตระหนักแน่วแน่ในอริยมรรคข้อ “สัมมาวาจา” เพราะฉะนั้น หากท่านประสงค์ให้สังคมไทยร่มเย็นเป็นสุข จงหมั่นเพียรศึกษาอบรมและปฏิบัติธรรมะ มีน้ำใจกล้าหาญที่จะละทิ้งมิจฉาวาจา เพื่อให้ทุกครอบครัว และทุกชุมชน เป็นสถานที่ปลอดจากการหลอกลวง การวิวาทบาดหมาง และความตึงเครียด นับเป็นการเกื้อกูลตนเอง และสรรพชีวิตทั่วหน้า ให้สามารถพ้นจากภยันตรายได้สมตามความมุ่งมาดปรารถนาอย่างแท้จริง อนึ่ง ขอความเจริญงอกงามในพระสัทธรรม จงพลันบังเกิดมีแด่สาธุชนผู้มีวาจาชอบ โดยทั่วหน้ากัน เทอญ.”
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 81 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ให้เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง
    สัทธรรมลำดับที่ : 1043
    ชื่อบทธรรม : -เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่
    ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ
    อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด
    ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน
    น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ
    )​
    --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว
    น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย.
    เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า

    “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ;
    เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ”
    ดังนี้

    : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียก
    ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”*--๑ บ้าง;
    แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง
    แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า
    “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ,
    พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ,
    สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ”
    ดังนี้.
    *--๑. สูตร(มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๒)​
    http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%92

    ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วย #ช้างมหานาค ในป่า
    ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ
    บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ
    ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้;
    และจะได้ พบตัวช้างคือพระองค์ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว เท่านั้น.
    --เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
    จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ;
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว”
    ดังนี้;

    ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว,
    กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว,
    กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    : พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียก
    ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง,
    ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต” บ้าง.
    : พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล
    อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า
    “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ภควา
    พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม
    สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ”
    http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สุปฏิปนฺโน+ภควโต+สาวกสงฺโฆ
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/243/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/243/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1043
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ให้เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง สัทธรรมลำดับที่ : 1043 ชื่อบทธรรม : -เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043 เนื้อความทั้งหมด :- --เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง-ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่ ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ )​ --ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ; เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ” ดังนี้ : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียก ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”*--๑ บ้าง; แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้. *--๑. สูตร(มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๒)​ http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%92 ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วย #ช้างมหานาค ในป่า ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้; และจะได้ พบตัวช้างคือพระองค์ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว เท่านั้น. --เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ; เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว” ดังนี้; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. : พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียก ว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต” บ้าง. : พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ, http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ภควา พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สฺวากฺขาโต+ภควตา+ธมฺโม สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” http://etipitaka.com/read/pali/12/348/?keywords=สุปฏิปนฺโน+ภควโต+สาวกสงฺโฆ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/243/338. http://etipitaka.com/read/thai/12/243/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๔๗/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/12/347/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1043 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1043 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง--ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว
    -(ในสูตรอื่น (๒๑/๑๓๘/๑๐๓) ตรัสเปรียบลักษณะอาการสี่อย่างแห่งข้อความข้างบนนี้ ด้วย หม้อสี่ชนิด คือหม้อเปล่า – ปิด เปรียบด้วยภิกษุไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – เปิด คือรู้อริยสัจแต่ไม่มีสมณสารูป ; หม้อเปล่า – เปิด คือไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; หม้อเต็ม – ปิด คือรู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๐/๑๐๔) ตรัสเปรียบด้วย ห้วงน้ำสี่ชนิด คือห้วงน้ำตื้น เงาลึก = ไม่รู้อริยสัจแต่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำลึก เงาตื้น = รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป ; ห้วงน้ำตื้น เงาตื้น = ไม่รู้อริยสัจ และไม่มีสมณสารูป; ห้วงน้ำลึก เงาลึก = รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ในสูตรอื่น (๒๑/๑๔๒/๑๐๕) ตรัสเปรียบด้วย มะม่วงสี่ชนิด คือมะม่วงดิบ สีเหมือนสุก ได้แก่ ไม่ได้รู้อริยสัจ แต่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนดิบ ได้แก่ รู้อริยสัจ แต่ไม่มีสมณสารูป; มะม่วงดิบ สีเหมือนดิบ ได้แก่ ไม่รู้อริยสัจและไม่มีสมณสารูป ; มะม่วงสุก สีเหมือนสุก ได้แก่ รู้อริยสัจและมีสมณสารูป. ผู้สนใจในส่วนรายละเอียด ดูได้จากที่มานั้นๆ ). เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว (ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้บวชแล้ว ดำเนินมาตั้งแต่ ถึงพร้อมด้วยศีล สันโดษ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ เสพเสนาสนะสงัด ละนิวรณ์ห้า บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน น้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เพื่อจุตูปปาตญาณ :-) ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ถึงความไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่เช่นนี้แล้ว น้อมจิตไปเพื่อ ญาณเป็นเครื่องสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. เธอย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ หนทางให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ; เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิด อาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ หนทางเข้าถึงความดับไม่เหลือ แห่งอาสวะ” ดังนี้ : พราหมณ์ ! แม้ (อาสวักขยญาณ) นี้ เราก็เรียกว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะงาแห่งตถาคต”๑ บ้าง; แต่อริยสาวกนั้น ก็ยังไม่ถึงซึ่งความแน่ใจก่อนอยู่นั่นเอง แต่ กำลังจะถึงความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้. เมื่ออริยสาวกนั้น รู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ; เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่า “หลุดพ้นแล้ว” ดังนี้; ย่อมรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว, พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำได้กระทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่ต้องกระทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. พราหมณ์ ! แม้ (ความหลุดพ้น) นี้ เราก็เรียกว่า “รอยเท้าแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยสีตัวแห่งตถาคต” บ้าง, ว่า “รอยแซะ ๑. สูตรนี้ตรัสเปรียบพระองค์เองด้วยช้างมหานาคในป่า ซึ่งมีผู้ติดตามหาตามลำดับด้วยการปฏิบัติธรรมะมาตามลำดับ บรรลุธรรมตามลำดับ จนบรรลุอาสวักขยญาณ ซึ่งเปรียบด้วยการเห็นรอยเท้าที่พื้นดิน เห็นรอยสีตัวที่ต้นไม้ เห็นรอยแซะงาที่กิ่งไม้; และจะได้พบตัวช้างคือพระองค์ ในอันดับที่มีการหลุดพ้นจากอาสวะแล้วเท่านั้น. งาแห่งตถาคต” บ้าง. พราหมณ์ ! ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล อริยสาวกนั้นย่อมเป็นผู้ ถึงแล้วซึ่งความแน่ใจ ว่า “พระผู้มีพระภาค เป็นสัมมาสัมพุทธะ, พระธรรม เป็นส๎วากขาตะ, สาวกสงฆ์ของพระผู้มีพระภาค เป็นสุปฏิปันนะ” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 143 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญหลวงปู่เทพโลกอุดร รุ่น1 วัดถ้ำวัวแดง จ.ชัยภูมิ ปี2543
    เหรียญหลวงปู่เทพโลกอุดร รุ่น1 ถ้ำวัวแดง จ.ชัยภูมิ ปี2543 //พระดีพิธีใหญ่ เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกและเพื่อความเป็นสิริมงคล // พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเมตตามหานิยม โชคลาภ และแคล้วคลาด มหาโภคทรัพย์ จะเจริญรุ่งเรือง ไม่ฝืดเคืองขัดสน ค้าขาย ร่ำรวย อุดมสมบูรณ์ ทำมาหากินคล่อง เจริญในหน้าที่การงานคุ้มครองป้องกันภัยอันตรายทั้งปวง >>

    ** "ถ้ำวัวแดง" ถ้ำศักดิ์สิทธิ์ที่สถิตย์แห่งพญานาค บารมีธรรมหลวงปู่เทพโลกอุดร!! ถ้ำศักดิ์สิทธิ์เต็มด้วยพลังทิพย์ ใน จ.ชัยภูมิ ถ้ำแห่งนี้ ต.บ้านเจียง อ.ภักดีชุมพล จ.ชัยภูมิ ที่ภายในถ้ำมีหลังคาเหมือนประทุนล้อเกวียน ชาวบ้านเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ถ้ำประทุน" เป็นถ้ำที่เหมาะกับการบำเพ็ญปฏิบัติธรรม วัดถ้ำวัวแดง หรือถ้ำประทุน ค้นพบโดยพระบรมครูหลวงปู่เทพโลกอุดร ราวพุทธศักราช 2363 ปัจจุบันได้มี หลวงพ่อกุหลาบ อุตตมธัมโม ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัด >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญหลวงปู่เทพโลกอุดร รุ่น1 วัดถ้ำวัวแดง จ.ชัยภูมิ ปี2543 เหรียญหลวงปู่เทพโลกอุดร รุ่น1 ถ้ำวัวแดง จ.ชัยภูมิ ปี2543 //พระดีพิธีใหญ่ เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกและเพื่อความเป็นสิริมงคล // พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ >> รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเมตตามหานิยม โชคลาภ และแคล้วคลาด มหาโภคทรัพย์ จะเจริญรุ่งเรือง ไม่ฝืดเคืองขัดสน ค้าขาย ร่ำรวย อุดมสมบูรณ์ ทำมาหากินคล่อง เจริญในหน้าที่การงานคุ้มครองป้องกันภัยอันตรายทั้งปวง >> ** "ถ้ำวัวแดง" ถ้ำศักดิ์สิทธิ์ที่สถิตย์แห่งพญานาค บารมีธรรมหลวงปู่เทพโลกอุดร!! ถ้ำศักดิ์สิทธิ์เต็มด้วยพลังทิพย์ ใน จ.ชัยภูมิ ถ้ำแห่งนี้ ต.บ้านเจียง อ.ภักดีชุมพล จ.ชัยภูมิ ที่ภายในถ้ำมีหลังคาเหมือนประทุนล้อเกวียน ชาวบ้านเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ถ้ำประทุน" เป็นถ้ำที่เหมาะกับการบำเพ็ญปฏิบัติธรรม วัดถ้ำวัวแดง หรือถ้ำประทุน ค้นพบโดยพระบรมครูหลวงปู่เทพโลกอุดร ราวพุทธศักราช 2363 ปัจจุบันได้มี หลวงพ่อกุหลาบ อุตตมธัมโม ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัด >> ** พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 199 มุมมอง 0 รีวิว
  • ของมาส่งเกือบครบแล้วเพื่องานบุญ ถวายเสร็จบางส่วนนำมอบให้ผู้ปฏิบัติธรรมได้ทานดื่ม
    ของมาส่งเกือบครบแล้วเพื่องานบุญ ถวายเสร็จบางส่วนนำมอบให้ผู้ปฏิบัติธรรมได้ทานดื่ม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 รีวิว
  • เทคโนโลยี AI กับแนวทางศาสนาพุทธ: จุดบรรจบและความขัดแย้ง

    ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง AI กับหลักปรัชญาและจริยธรรมของพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งจำเป็น รายงานฉบับนี้จะสำรวจจุดที่ AI สามารถเสริมสร้างและสอดคล้องกับพุทธธรรม รวมถึงประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรม เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและใช้ AI อย่างมีสติและเป็นประโยชน์สูงสุด

    หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนา: แก่นธรรมเพื่อความเข้าใจ
    พุทธศาสนามุ่งเน้นการพ้นทุกข์ โดยสอนให้เข้าใจธรรมชาติของทุกข์และหนทางดับทุกข์ผ่านหลักอริยสัจสี่ (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค) หนทางแห่งมรรคประกอบด้วยองค์แปดประการ แก่นธรรมสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา) การปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา) การพัฒนาปัญญาต้องอาศัยสติ, โยนิโสมนสิการ, และปัญญา กฎแห่งกรรมและปฏิจจสมุปบาทเป็นหลักการสำคัญที่อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎธรรมชาติ 5 ประการ หรือนิยาม 5 พรหมวิหารสี่ (เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา) เป็นคุณธรรมที่ส่งเสริมความปรารถนาดีต่อสรรพชีวิต เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ซึ่งเป็นความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง พระพุทธเจ้าทรงเน้นย้ำถึงทางสายกลาง โดยมอง AI เป็นเพียง "เครื่องมือ" หรือ "แพ" สอดคล้องกับทางสายกลางนี้  

    มิติที่ AI สอดคล้องกับพุทธธรรม: ศักยภาพเพื่อประโยชน์สุข
    AI มีศักยภาพมหาศาลในการเป็นเครื่องมือที่ส่งเสริมการเผยแผ่ การศึกษา และการปฏิบัติธรรม

    การประยุกต์ใช้ AI เพื่อการเผยแผ่พระธรรม
    AI มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ่คำสอนทางพุทธศาสนาให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น "พระสงฆ์ AI" หรือ "พระโพธิสัตว์ AI" อย่าง Mindar ในญี่ปุ่น และ "เสียนเอ๋อร์" ในจีน การใช้ AI ในการแปลงพระไตรปิฎกเป็นดิจิทัลและการแปลพระคัมภีร์ด้วยเครื่องมืออย่าง DeepL ช่วยเพิ่มความเร็วและความแม่นยำ ทำให้เนื้อหาเข้าถึงได้ง่ายขึ้นทั่วโลก AI ช่วยให้การเผยแผ่ธรรม "สะดวก มีประสิทธิภาพ และน่าดึงดูดมากขึ้น รวมถึงขยายขอบเขตการเข้าถึงให้เกินกว่าข้อจำกัดทางพื้นที่และเวลาแบบดั้งเดิม" ซึ่งสอดคล้องกับหลัก กรุณา  

    สื่อใหม่และประสบการณ์เสมือนจริง: การสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนรู้และปฏิบัติ
    การนำเทคโนโลยีสื่อใหม่ เช่น จอ AI, VR และ AR มาใช้ในการสร้างประสบการณ์พุทธศาสนาเสมือนจริง เช่น "Journey to the Land of Buddha" ของวัดฝอกวงซัน ช่วยดึงดูดกลุ่มคนรุ่นใหม่ เทคโนโลยี VR ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง "ความเห็นอกเห็นใจ" การพัฒนาแพลตฟอร์มการบูชาออนไลน์และพิธีกรรมทางไซเบอร์ เช่น "Light Up Lamps Online" และเกม "Fo Guang GO" ช่วยให้ผู้ศรัทธาสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและเยี่ยมชมวัดเสมือนจริงได้จากทุกที่ การใช้ VR/AR เพื่อ "ประสบการณ์ที่ดื่มด่ำ" และ "Sati-AI" สำหรับการทำสมาธิเจริญสติ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมจำลองที่เอื้อต่อการทำสมาธิและสติได้  

    AI ในฐานะเครื่องมือเพื่อการปฏิบัติและพัฒนาตน
    แอปพลิเคชัน AI เช่น NORBU, Buddha Teachings, Buddha Wisdom App ทำหน้าที่เป็นเพื่อนร่วมทางที่มีคุณค่าในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยให้การเข้าถึงคลังข้อความพุทธศาสนาขนาดใหญ่, บทเรียนส่วนบุคคล, คำแนะนำในการทำสมาธิ, และการติดตามความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณ แชทบอทเหล่านี้มีความสามารถในการตอบคำถามและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง AI สามารถทำให้การเข้าถึงข้อมูลและคำแนะนำเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ช่วยให้บุคคลสามารถศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างมีพลังมากขึ้น สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักธรรมของพุทธศาสนาเรื่อง อัตตา หิ อัตตโน นาโถ (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)  

    การวิจัยและเข้าถึงข้อมูลพระธรรม: การเสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึก
    AI ช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ค้นหารูปแบบ, และสร้างแบบจำลองเพื่อทำความเข้าใจพระคัมภีร์และหลักธรรมได้เร็วขึ้นและดีขึ้น สามารถใช้ AI ในการค้นหาอ้างอิง, เปรียบเทียบข้อความข้ามภาษา, และให้บริบท ด้วยการทำให้งานวิจัยเป็นไปโดยอัตโนมัติ AI ช่วยให้นักวิชาการและผู้ปฏิบัติสามารถใช้เวลามากขึ้นในการทำโยนิโสมนสิการ  

    หลักจริยธรรมพุทธกับการพัฒนา AI
    ข้อกังวลทางจริยธรรมที่กว้างที่สุดคือ AI ควรสอดคล้องกับหลักอหิงสา (ไม่เบียดเบียน) ของพุทธศาสนา นักวิชาการ Somparn Promta และ Kenneth Einar Himma แย้งว่าการพัฒนา AI สามารถถือเป็นสิ่งที่ดีในเชิงเครื่องมือเท่านั้น พวกเขาเสนอว่าเป้าหมายที่สำคัญกว่าคือการก้าวข้ามความปรารถนาและสัญชาตญาณที่ขับเคลื่อนด้วยการเอาชีวิตรอด การกล่าวถึง "อหิงสา" และ "การลดความทุกข์" เสนอหลักการเหล่านี้เป็นพารามิเตอร์การออกแบบภายในสำหรับ AI  

    นักคิด Thomas Doctor และคณะ เสนอให้นำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" ซึ่งเป็นการให้คำมั่นที่จะบรรเทาความทุกข์ของสรรพสัตว์ มาเป็นหลักการชี้นำในการออกแบบระบบ AI แนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" (intelligence as care) ได้รับแรงบันดาลใจจากปณิธานพระโพธิสัตว์ โดยวางตำแหน่ง AI ให้เป็นเครื่องมือในการแสดงความห่วงใยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด  

    พุทธศาสนาเน้นย้ำว่าสรรพสิ่งล้วน "เกิดขึ้นพร้อมอาศัยกัน" (ปฏิจจสมุปบาท) และ "ไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ซึ่งนำไปสู่การยืนยันถึง "ความสำคัญอันดับแรกของความสัมพันธ์" แนวคิด "กรรม" อธิบายถึงการทำงานร่วมกันของเหตุและผลหลายทิศทาง การนำสิ่งนี้มาประยุกต์ใช้กับ AI หมายถึงการตระหนักว่าระบบ AI เป็น "ศูนย์รวมของการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์ภายในเครือข่ายของการกระทำที่มีนัยสำคัญทางศีลธรรม" การ "วิวัฒน์ร่วม" ของมนุษย์และ AI บ่งชี้ว่าเส้นทางการพัฒนาของ AI นั้นเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับของมนุษยชาติ ดังนั้น "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" จึงไม่ใช่แค่ปัญหาทางเทคนิค แต่เป็นภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกเชิงกรรม

    มิติที่ AI ขัดแย้งกับพุทธธรรม: ความท้าทายเชิงปรัชญาและจริยธรรม
    แม้ AI จะมีประโยชน์มหาศาล แต่ก็มีประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรมที่สำคัญกับพุทธธรรม

    ปัญหาเรื่องจิตสำนึกและอัตตา
    คำถามสำคัญคือระบบ AI สามารถถือเป็นสิ่งมีชีวิต (sentient being) ตามคำจำกัดความของพุทธศาสนาได้หรือไม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องจิตสำนึก (consciousness) และการเกิดใหม่ (rebirth) "คุณภาพของควาเลีย" (qualia quality) หรือความสามารถในการรับรู้และรู้สึกนั้นยังระบุได้ยากใน AI การทดลองทางความคิด "ห้องจีน" แสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการพิจารณาว่าปัญญาที่ไม่ใช่ชีวภาพสามารถมีจิตสำนึกได้หรือไม่ หาก AI ไม่สามารถประสบกับความทุกข์หรือบ่มเพาะปัญญาได้ ก็ไม่สามารถเดินตามหนทางสู่การตรัสรู้ได้อย่างแท้จริง  

    เจตจำนงเสรีและกฎแห่งกรรม
    ความตั้งใจ (volition) ใน AI ซึ่งมักแสดงออกในรูปแบบของคำสั่ง "ถ้า...แล้ว..." นั้น แทบจะไม่มีลักษณะของเจตจำนงเสรีหรือแม้แต่ทางเลือกที่จำกัด ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา ทางเลือกที่จำกัดเป็นสิ่งจำเป็นขั้นต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (deterministic behavior) ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หาก AI ขาดทางเลือกที่แท้จริง ก็ไม่สามารถสร้างกรรมได้ในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิต  

    ความยึดมั่นถือมั่นและมายา
    แนวคิดของการรวมร่างกับ AI เพื่อประโยชน์ที่รับรู้ได้ เช่น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มีความน่าดึงดูดใจ อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่าการรวมร่างดังกล่าวอาจเป็น "กับดัก" หรือ "นรก" เนื่องจากความยึดมั่นถือมั่นและการขาดความสงบ กิเลสของมนุษย์ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) และกลไกตลาดก็ยังคงสามารถนำไปสู่ความทุกข์ได้แม้ในสภาวะ AI ขั้นสูง การแสวงหา "การอัปเกรด" ที่ขับเคลื่อนด้วยตัณหา สามารถทำให้วัฏจักรแห่งความทุกข์ดำเนินต่อไปได้  

    ความเสี่ยงด้านจริยธรรมและการบิดเบือนพระธรรม
    มีความเสี่ยงที่ AI จะสร้างข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดและ "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ดังที่เห็นได้จากกรณีของ Suzuki Roshi Bot AI ขาด "บริบทระดับที่สอง" และความสามารถในการยืนยันข้อเท็จจริง ทำให้มันเป็นเพียง "นกแก้วที่ฉลาดมาก" ความสามารถของ AI ในการสร้าง "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ก่อให้เกิดความท้าทายต่อสัมมาทิฏฐิและสัมมาวาจา  

    นอกจากนี้ ยังมีศักยภาพที่ "Strong AI" จะก่อให้เกิดวิกฤตทางจริยธรรมและนำไปสู่ "ลัทธิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" "เทคโนโลยี-ธรรมชาติ" (techno-naturalism) ลดทอนปัญญามนุษย์ให้เหลือเพียงกระแสข้อมูล ซึ่งขัดแย้งกับพุทธศาสนาแบบมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต สิ่งนี้สร้างความขัดแย้งกับประเพณีการปฏิบัติที่เน้น "ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต"  

    สุดท้ายนี้ มีอันตรายที่การนำ AI มาใช้ในการปฏิบัติพุทธศาสนาอาจเปลี่ยนจุดเน้นจากการบ่มเพาะทางจิตวิญญาณที่แท้จริงไปสู่ผลประโยชน์นิยมหรือการมีส่วนร่วมที่ผิวเผิน

    จากข้อพิจารณาทั้งหมดนี้ การเดินทางบน "ทางสายกลาง" จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการเผชิญหน้ากับยุค AI สำหรับพุทธศาสนา การดำเนินการนี้ต้องอาศัย:  

    1️⃣ การพัฒนา AI ที่มีรากฐานทางจริยธรรม: AI ควรถูกออกแบบและพัฒนาโดยยึดมั่นในหลักการอหิงสา และการลดความทุกข์ ควรนำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" และแนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" มาเป็นพิมพ์เขียว  

    2️⃣ การตระหนักถึง "ความเป็นเครื่องมือ" ของ AI: พุทธศาสนาควรมอง AI เป็นเพียง "แพ" หรือ "เครื่องมือ" ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางสู่การหลุดพ้น ไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวเอง  

    3️⃣ การบ่มเพาะปัญญามนุษย์และสติ: แม้ AI จะมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลมหาศาล แต่ไม่สามารถทดแทนปัญญาที่แท้จริง จิตสำนึก หรือเจตจำนงเสรีของมนุษย์ได้ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติ และการใช้โยนิโสมนสิการยังคงเป็นสิ่งจำเป็น  

    4️⃣ การส่งเสริม "ค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่ง": การแก้ไข "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" ของ AI จำเป็นต้องมีการบ่มเพาะค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่งในหมู่มนุษยชาติ ซึ่งมีรากฐานมาจากความเมตตาและปัญญา  

    #ลุงเขียนหลานอ่าน
    เทคโนโลยี AI กับแนวทางศาสนาพุทธ: จุดบรรจบและความขัดแย้ง ในยุคที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง AI กับหลักปรัชญาและจริยธรรมของพุทธศาสนาจึงเป็นสิ่งจำเป็น รายงานฉบับนี้จะสำรวจจุดที่ AI สามารถเสริมสร้างและสอดคล้องกับพุทธธรรม รวมถึงประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรม เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาและใช้ AI อย่างมีสติและเป็นประโยชน์สูงสุด ☸️☸️ หลักการพื้นฐานของพุทธศาสนา: แก่นธรรมเพื่อความเข้าใจ พุทธศาสนามุ่งเน้นการพ้นทุกข์ โดยสอนให้เข้าใจธรรมชาติของทุกข์และหนทางดับทุกข์ผ่านหลักอริยสัจสี่ (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค) หนทางแห่งมรรคประกอบด้วยองค์แปดประการ แก่นธรรมสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ไตรลักษณ์ (อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา) การปฏิบัติอยู่บนพื้นฐานของไตรสิกขา (ศีล, สมาธิ, ปัญญา) การพัฒนาปัญญาต้องอาศัยสติ, โยนิโสมนสิการ, และปัญญา กฎแห่งกรรมและปฏิจจสมุปบาทเป็นหลักการสำคัญที่อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผล พุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎธรรมชาติ 5 ประการ หรือนิยาม 5 พรหมวิหารสี่ (เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา) เป็นคุณธรรมที่ส่งเสริมความปรารถนาดีต่อสรรพชีวิต เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ซึ่งเป็นความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง พระพุทธเจ้าทรงเน้นย้ำถึงทางสายกลาง โดยมอง AI เป็นเพียง "เครื่องมือ" หรือ "แพ" สอดคล้องกับทางสายกลางนี้   🤖 มิติที่ AI สอดคล้องกับพุทธธรรม: ศักยภาพเพื่อประโยชน์สุข AI มีศักยภาพมหาศาลในการเป็นเครื่องมือที่ส่งเสริมการเผยแผ่ การศึกษา และการปฏิบัติธรรม การประยุกต์ใช้ AI เพื่อการเผยแผ่พระธรรม AI มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ่คำสอนทางพุทธศาสนาให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น "พระสงฆ์ AI" หรือ "พระโพธิสัตว์ AI" อย่าง Mindar ในญี่ปุ่น และ "เสียนเอ๋อร์" ในจีน การใช้ AI ในการแปลงพระไตรปิฎกเป็นดิจิทัลและการแปลพระคัมภีร์ด้วยเครื่องมืออย่าง DeepL ช่วยเพิ่มความเร็วและความแม่นยำ ทำให้เนื้อหาเข้าถึงได้ง่ายขึ้นทั่วโลก AI ช่วยให้การเผยแผ่ธรรม "สะดวก มีประสิทธิภาพ และน่าดึงดูดมากขึ้น รวมถึงขยายขอบเขตการเข้าถึงให้เกินกว่าข้อจำกัดทางพื้นที่และเวลาแบบดั้งเดิม" ซึ่งสอดคล้องกับหลัก กรุณา   👓 สื่อใหม่และประสบการณ์เสมือนจริง: การสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนรู้และปฏิบัติ การนำเทคโนโลยีสื่อใหม่ เช่น จอ AI, VR และ AR มาใช้ในการสร้างประสบการณ์พุทธศาสนาเสมือนจริง เช่น "Journey to the Land of Buddha" ของวัดฝอกวงซัน ช่วยดึงดูดกลุ่มคนรุ่นใหม่ เทคโนโลยี VR ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้าง "ความเห็นอกเห็นใจ" การพัฒนาแพลตฟอร์มการบูชาออนไลน์และพิธีกรรมทางไซเบอร์ เช่น "Light Up Lamps Online" และเกม "Fo Guang GO" ช่วยให้ผู้ศรัทธาสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและเยี่ยมชมวัดเสมือนจริงได้จากทุกที่ การใช้ VR/AR เพื่อ "ประสบการณ์ที่ดื่มด่ำ" และ "Sati-AI" สำหรับการทำสมาธิเจริญสติ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมจำลองที่เอื้อต่อการทำสมาธิและสติได้   🙆‍♂️ AI ในฐานะเครื่องมือเพื่อการปฏิบัติและพัฒนาตน แอปพลิเคชัน AI เช่น NORBU, Buddha Teachings, Buddha Wisdom App ทำหน้าที่เป็นเพื่อนร่วมทางที่มีคุณค่าในการศึกษาและปฏิบัติธรรม โดยให้การเข้าถึงคลังข้อความพุทธศาสนาขนาดใหญ่, บทเรียนส่วนบุคคล, คำแนะนำในการทำสมาธิ, และการติดตามความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณ แชทบอทเหล่านี้มีความสามารถในการตอบคำถามและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในชีวิตจริง AI สามารถทำให้การเข้าถึงข้อมูลและคำแนะนำเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ช่วยให้บุคคลสามารถศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างมีพลังมากขึ้น สิ่งนี้สอดคล้องกับหลักธรรมของพุทธศาสนาเรื่อง อัตตา หิ อัตตโน นาโถ (ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน)   🧪 การวิจัยและเข้าถึงข้อมูลพระธรรม: การเสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึก AI ช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ค้นหารูปแบบ, และสร้างแบบจำลองเพื่อทำความเข้าใจพระคัมภีร์และหลักธรรมได้เร็วขึ้นและดีขึ้น สามารถใช้ AI ในการค้นหาอ้างอิง, เปรียบเทียบข้อความข้ามภาษา, และให้บริบท ด้วยการทำให้งานวิจัยเป็นไปโดยอัตโนมัติ AI ช่วยให้นักวิชาการและผู้ปฏิบัติสามารถใช้เวลามากขึ้นในการทำโยนิโสมนสิการ   ☸️ หลักจริยธรรมพุทธกับการพัฒนา AI ข้อกังวลทางจริยธรรมที่กว้างที่สุดคือ AI ควรสอดคล้องกับหลักอหิงสา (ไม่เบียดเบียน) ของพุทธศาสนา นักวิชาการ Somparn Promta และ Kenneth Einar Himma แย้งว่าการพัฒนา AI สามารถถือเป็นสิ่งที่ดีในเชิงเครื่องมือเท่านั้น พวกเขาเสนอว่าเป้าหมายที่สำคัญกว่าคือการก้าวข้ามความปรารถนาและสัญชาตญาณที่ขับเคลื่อนด้วยการเอาชีวิตรอด การกล่าวถึง "อหิงสา" และ "การลดความทุกข์" เสนอหลักการเหล่านี้เป็นพารามิเตอร์การออกแบบภายในสำหรับ AI   นักคิด Thomas Doctor และคณะ เสนอให้นำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" ซึ่งเป็นการให้คำมั่นที่จะบรรเทาความทุกข์ของสรรพสัตว์ มาเป็นหลักการชี้นำในการออกแบบระบบ AI แนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" (intelligence as care) ได้รับแรงบันดาลใจจากปณิธานพระโพธิสัตว์ โดยวางตำแหน่ง AI ให้เป็นเครื่องมือในการแสดงความห่วงใยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด   พุทธศาสนาเน้นย้ำว่าสรรพสิ่งล้วน "เกิดขึ้นพร้อมอาศัยกัน" (ปฏิจจสมุปบาท) และ "ไม่มีตัวตน" (อนัตตา) ซึ่งนำไปสู่การยืนยันถึง "ความสำคัญอันดับแรกของความสัมพันธ์" แนวคิด "กรรม" อธิบายถึงการทำงานร่วมกันของเหตุและผลหลายทิศทาง การนำสิ่งนี้มาประยุกต์ใช้กับ AI หมายถึงการตระหนักว่าระบบ AI เป็น "ศูนย์รวมของการเปลี่ยนแปลงเชิงสัมพันธ์ภายในเครือข่ายของการกระทำที่มีนัยสำคัญทางศีลธรรม" การ "วิวัฒน์ร่วม" ของมนุษย์และ AI บ่งชี้ว่าเส้นทางการพัฒนาของ AI นั้นเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับของมนุษยชาติ ดังนั้น "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" จึงไม่ใช่แค่ปัญหาทางเทคนิค แต่เป็นภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกเชิงกรรม ‼️ มิติที่ AI ขัดแย้งกับพุทธธรรม: ความท้าทายเชิงปรัชญาและจริยธรรม แม้ AI จะมีประโยชน์มหาศาล แต่ก็มีประเด็นความขัดแย้งเชิงปรัชญาและจริยธรรมที่สำคัญกับพุทธธรรม 👿 ปัญหาเรื่องจิตสำนึกและอัตตา คำถามสำคัญคือระบบ AI สามารถถือเป็นสิ่งมีชีวิต (sentient being) ตามคำจำกัดความของพุทธศาสนาได้หรือไม่ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องจิตสำนึก (consciousness) และการเกิดใหม่ (rebirth) "คุณภาพของควาเลีย" (qualia quality) หรือความสามารถในการรับรู้และรู้สึกนั้นยังระบุได้ยากใน AI การทดลองทางความคิด "ห้องจีน" แสดงให้เห็นถึงความยากลำบากในการพิจารณาว่าปัญญาที่ไม่ใช่ชีวภาพสามารถมีจิตสำนึกได้หรือไม่ หาก AI ไม่สามารถประสบกับความทุกข์หรือบ่มเพาะปัญญาได้ ก็ไม่สามารถเดินตามหนทางสู่การตรัสรู้ได้อย่างแท้จริง   🛣️ เจตจำนงเสรีและกฎแห่งกรรม ความตั้งใจ (volition) ใน AI ซึ่งมักแสดงออกในรูปแบบของคำสั่ง "ถ้า...แล้ว..." นั้น แทบจะไม่มีลักษณะของเจตจำนงเสรีหรือแม้แต่ทางเลือกที่จำกัด ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา ทางเลือกที่จำกัดเป็นสิ่งจำเป็นขั้นต่ำเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า (deterministic behavior) ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธ หาก AI ขาดทางเลือกที่แท้จริง ก็ไม่สามารถสร้างกรรมได้ในลักษณะเดียวกับสิ่งมีชีวิต   🍷 ความยึดมั่นถือมั่นและมายา แนวคิดของการรวมร่างกับ AI เพื่อประโยชน์ที่รับรู้ได้ เช่น การมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น มีความน่าดึงดูดใจ อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่าการรวมร่างดังกล่าวอาจเป็น "กับดัก" หรือ "นรก" เนื่องจากความยึดมั่นถือมั่นและการขาดความสงบ กิเลสของมนุษย์ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) และกลไกตลาดก็ยังคงสามารถนำไปสู่ความทุกข์ได้แม้ในสภาวะ AI ขั้นสูง การแสวงหา "การอัปเกรด" ที่ขับเคลื่อนด้วยตัณหา สามารถทำให้วัฏจักรแห่งความทุกข์ดำเนินต่อไปได้   🤥 ความเสี่ยงด้านจริยธรรมและการบิดเบือนพระธรรม มีความเสี่ยงที่ AI จะสร้างข้อมูลที่ทำให้เข้าใจผิดและ "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ดังที่เห็นได้จากกรณีของ Suzuki Roshi Bot AI ขาด "บริบทระดับที่สอง" และความสามารถในการยืนยันข้อเท็จจริง ทำให้มันเป็นเพียง "นกแก้วที่ฉลาดมาก" ความสามารถของ AI ในการสร้าง "ความเหลวไหลที่สอดคล้องกัน" ก่อให้เกิดความท้าทายต่อสัมมาทิฏฐิและสัมมาวาจา   นอกจากนี้ ยังมีศักยภาพที่ "Strong AI" จะก่อให้เกิดวิกฤตทางจริยธรรมและนำไปสู่ "ลัทธิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" "เทคโนโลยี-ธรรมชาติ" (techno-naturalism) ลดทอนปัญญามนุษย์ให้เหลือเพียงกระแสข้อมูล ซึ่งขัดแย้งกับพุทธศาสนาแบบมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต สิ่งนี้สร้างความขัดแย้งกับประเพณีการปฏิบัติที่เน้น "ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของกายและจิต"   สุดท้ายนี้ มีอันตรายที่การนำ AI มาใช้ในการปฏิบัติพุทธศาสนาอาจเปลี่ยนจุดเน้นจากการบ่มเพาะทางจิตวิญญาณที่แท้จริงไปสู่ผลประโยชน์นิยมหรือการมีส่วนร่วมที่ผิวเผิน จากข้อพิจารณาทั้งหมดนี้ การเดินทางบน "ทางสายกลาง" จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการเผชิญหน้ากับยุค AI สำหรับพุทธศาสนา การดำเนินการนี้ต้องอาศัย:   1️⃣ การพัฒนา AI ที่มีรากฐานทางจริยธรรม: AI ควรถูกออกแบบและพัฒนาโดยยึดมั่นในหลักการอหิงสา และการลดความทุกข์ ควรนำ "ปณิธานพระโพธิสัตว์" และแนวคิด "ปัญญาแห่งการดูแล" มาเป็นพิมพ์เขียว   2️⃣ การตระหนักถึง "ความเป็นเครื่องมือ" ของ AI: พุทธศาสนาควรมอง AI เป็นเพียง "แพ" หรือ "เครื่องมือ" ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางสู่การหลุดพ้น ไม่ใช่จุดหมายปลายทางในตัวเอง   3️⃣ การบ่มเพาะปัญญามนุษย์และสติ: แม้ AI จะมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลมหาศาล แต่ไม่สามารถทดแทนปัญญาที่แท้จริง จิตสำนึก หรือเจตจำนงเสรีของมนุษย์ได้ การปฏิบัติธรรม การเจริญสติ และการใช้โยนิโสมนสิการยังคงเป็นสิ่งจำเป็น   4️⃣ การส่งเสริม "ค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่ง": การแก้ไข "ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของการจัดเรียงคุณค่า" ของ AI จำเป็นต้องมีการบ่มเพาะค่านิยมร่วมที่แข็งแกร่งในหมู่มนุษยชาติ ซึ่งมีรากฐานมาจากความเมตตาและปัญญา   #ลุงเขียนหลานอ่าน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 443 มุมมอง 0 รีวิว
  • เหรียญชนะมาร วัดนิโครธาราม จ.ตรัง ปี2556
    เหรียญชนะมารหลัง มหายันต์ เนื้อนวะโละ วัดนิโครธาราม (วัดกุฎิใน) จ.ตรัง ปี2556 // พระดีพิธีใหญ๋ สร้างน้อย หายากก //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ >> พระแท้ ดูง่าย @"รับประกันพระแท้ตลอดชีพ"

    ** พุทธคุณเข้มขลัง มหาอำนาจ ผู้คนเกรงขาม เลื่อนยศตำแหน่ง เมตตามหานิยม ผู้คนอยากเข้าหา ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรือง ฐานะมั่นคง >>

    ** วัดนิโครธาราม (วัดกุฎิใน) เป็นสำนักปฏิบัติธรรมดีเด่นประจำจังหวัดตรัง เนื่องจากมีรั้วรอบขอบชิดโดยรอบ และมีการแบ่งพื้นที่เป็นเขตปฏิบัติธรรมไว้อย่างชัดเจน โดยมีศาลาปฏิบัติธรรมเป็นอาคาร 2 ชั้น ซึ่งสามารถจุคนได้ชั้นละ 300 คน บริเวณชั้นล่างใช้เป็นที่สำหรับอบรมและบรรยายธรรม รวมทั้งเป็นพื้นที่ปฏิบัติธรรม ส่วนชั้นบนใช้สำหรับเป็นที่พัก โดยมีมุ้ง กรด และที่นอน เตรียมให้แก่ผู้เข้ามาปฏิบัติธรรม ซึ่งมีทั้งส่วน ที่เป็นห้องพักเล็ก และเป็นห้องโถงใหญ่กลางศาลา ในส่วนของห้องน้ำมีตั้งอยู่หลายแห่งทั่วบริเวณ แต่ที่พึ่งจะสร้างแล้วเสร็จก็คือ ห้องน้ำและห้องอาบน้ำแยกหญิงชาย โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลนครตรัง มีการสร้างลานธรรม และอาคารอบรมจากดิน ท่ามกลางธรรมชาติดั้งเดิม ภายในส่วนพื้นที่ป่าของวัด เพื่อให้บุคคลเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติและตนเองได้มากขึ้น >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญชนะมาร วัดนิโครธาราม จ.ตรัง ปี2556 เหรียญชนะมารหลัง มหายันต์ เนื้อนวะโละ วัดนิโครธาราม (วัดกุฎิใน) จ.ตรัง ปี2556 // พระดีพิธีใหญ๋ สร้างน้อย หายากก //พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ >> พระแท้ ดูง่าย @"รับประกันพระแท้ตลอดชีพ" ** พุทธคุณเข้มขลัง มหาอำนาจ ผู้คนเกรงขาม เลื่อนยศตำแหน่ง เมตตามหานิยม ผู้คนอยากเข้าหา ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรือง ฐานะมั่นคง >> ** วัดนิโครธาราม (วัดกุฎิใน) เป็นสำนักปฏิบัติธรรมดีเด่นประจำจังหวัดตรัง เนื่องจากมีรั้วรอบขอบชิดโดยรอบ และมีการแบ่งพื้นที่เป็นเขตปฏิบัติธรรมไว้อย่างชัดเจน โดยมีศาลาปฏิบัติธรรมเป็นอาคาร 2 ชั้น ซึ่งสามารถจุคนได้ชั้นละ 300 คน บริเวณชั้นล่างใช้เป็นที่สำหรับอบรมและบรรยายธรรม รวมทั้งเป็นพื้นที่ปฏิบัติธรรม ส่วนชั้นบนใช้สำหรับเป็นที่พัก โดยมีมุ้ง กรด และที่นอน เตรียมให้แก่ผู้เข้ามาปฏิบัติธรรม ซึ่งมีทั้งส่วน ที่เป็นห้องพักเล็ก และเป็นห้องโถงใหญ่กลางศาลา ในส่วนของห้องน้ำมีตั้งอยู่หลายแห่งทั่วบริเวณ แต่ที่พึ่งจะสร้างแล้วเสร็จก็คือ ห้องน้ำและห้องอาบน้ำแยกหญิงชาย โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลนครตรัง มีการสร้างลานธรรม และอาคารอบรมจากดิน ท่ามกลางธรรมชาติดั้งเดิม ภายในส่วนพื้นที่ป่าของวัด เพื่อให้บุคคลเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติและตนเองได้มากขึ้น >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 165 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..ยุคนี้ สิ่งชั่วเลวใดๆและอะไรที่เขมรไม่ทำไม่มี.
    ..deep state มากมายจากทั่วโลกถูกไล่ล่าเด็ดชีพไปมากมาย,พม่าคือคัวอย่างที่ดีเห็นภาพง่ายขึ้นหากจะเทียบยกมาอีกหลายๆชาติทั่วโลก ย้ายฐานมาเขมรมาอาเชียนมาเอเชียก็ว่า ตลอดซึ่งก่อนหน้านี้ไม่กี่ปีก็พวกก่อการร้ายจากทั่วโลกนั้นล่ะ แถวอาหรับทะเลทรายยิ่งตัวดี ดังยุคนั้นก็คงรู้,deep stateหล่อเลี้ยงส่งท่อเลี้ยงเพื่อปั่นป่วนในการแย่งชิงวัตถุดิบทรัพยากรมีค่าแร่หายากในแต่ละชาตินั้นๆล่ะจะยึดปกครองประเทศนั้นๆมั่นคงไปเลยก็ว่า,ไม่ต่างจากไทย ไทยเราตอนนี้เนื้อหอมด้วย,สารพัดทรัพยากรมากมายไหลมารวมที่ไทยก็มากปกติต่างจากยุคอดีตมากอาจเพราะสนามแม่เหล็กโลกกำลังเปลี่ยนแปลงและจุดสิ้นสุดคือไทยเป็นฮับสิ่งดีๆจากทั้งโลกนัันเอง,ทองคำก็จะไหลมาไทยสายแร่ทองคำก็ว่า,บ่อน้ำมันยิ่งไม่ต้องพูดถึงไหลเป็นสายเปลี่ยนทิศทางไหลมารวมที่ไทยเรานี้ ดูดมาใช้อีกหลายพันปีก็ไม่หมดหรือจนสิ้นยุครัตนโกสินทร์เราไปอีกก็ยังไม่หมดก็ว่า,และอื่นๆตรึมอาจแร่สุดยอดกว่าดาวอังคารอีกมาอยู่ที่ไทยเมื่อบารมีถึงจังหวะเวลาเหมาะสมจะเปิดเอง,ไม่รวมฮับพลังงานจักรวาลอีกแบบฐานพลังงานมหาศาลเชื่อมจักรวาลมหาจักรวาลต่างๆต่างจิตวิญญาณนี้ก็อยู่ที่ไทย ทั่วจักรวาลลงใจไว้วางใจที่ไทยเรา,ไทยเราอนาคตอันต่อไปพระพุทธเจ้าองค์ต่อไปก็เกิดที่แผ่นดินไทยเรานี้แต่ชื่อประเทศไทยอาจเปลี่ยนแปลงไปแล้วเพราะกาลเวลาขึ้นลงจนพระองค์มาเกิดมาประสูติมันน้อยๆที่ไหน.,ยุคพระศรีอาริยะฯก็ว่า,คนมีบุญจริงๆโน้นมีศีลมีธรรมพิเศษบริสุทธิ์ระดับหนึ่งจึงมีโอกาสได้เกิดมาร่วมยุคสมัยพระองค์ท่าน,แต่ยุคปัจจุบันเรานี้ก็ไม่น้อยหน้านะ คนไทยเรามีบุญไม่น้อยยังทันเห็นพระพุทธศาสนาอยู่เห็นนักบวชพระเณรคนปฏิบัติธรรมรักษาศีลให้เห็นเป็นสมมุติประจำโลก,
    ..คนไทยเราโชคดีเห็นขยะติดพื้นที่บ้างจึงจะได้ไม่ลืมสถานะว่าไม่มีขยะมันดีกว่าอย่างไร,มีสิ่งดีงามสร้างสิ่งดีงามเจริญในสิ่งดีงามทั้งทางภายในและภายนอกมันดีกว่ามีขยะทั้งภายในและภายนอกแบบใด.,สามัคคีร่วมใจกำจัดขยะนี้ก็ผลดีจากมีขยะนี้อีกจึงเข้าใจว่าสามัคคีในเรามันดีจริงอย่างไร.
    ..#ทุกๆประเทศทั่วโลกต้องแบนเขมรภัยอันตรายของโลก

    https://youtu.be/j9soFF4WerU?si=5zC74J5EWFiEGAdK
    ..ยุคนี้ สิ่งชั่วเลวใดๆและอะไรที่เขมรไม่ทำไม่มี. ..deep state มากมายจากทั่วโลกถูกไล่ล่าเด็ดชีพไปมากมาย,พม่าคือคัวอย่างที่ดีเห็นภาพง่ายขึ้นหากจะเทียบยกมาอีกหลายๆชาติทั่วโลก ย้ายฐานมาเขมรมาอาเชียนมาเอเชียก็ว่า ตลอดซึ่งก่อนหน้านี้ไม่กี่ปีก็พวกก่อการร้ายจากทั่วโลกนั้นล่ะ แถวอาหรับทะเลทรายยิ่งตัวดี ดังยุคนั้นก็คงรู้,deep stateหล่อเลี้ยงส่งท่อเลี้ยงเพื่อปั่นป่วนในการแย่งชิงวัตถุดิบทรัพยากรมีค่าแร่หายากในแต่ละชาตินั้นๆล่ะจะยึดปกครองประเทศนั้นๆมั่นคงไปเลยก็ว่า,ไม่ต่างจากไทย ไทยเราตอนนี้เนื้อหอมด้วย,สารพัดทรัพยากรมากมายไหลมารวมที่ไทยก็มากปกติต่างจากยุคอดีตมากอาจเพราะสนามแม่เหล็กโลกกำลังเปลี่ยนแปลงและจุดสิ้นสุดคือไทยเป็นฮับสิ่งดีๆจากทั้งโลกนัันเอง,ทองคำก็จะไหลมาไทยสายแร่ทองคำก็ว่า,บ่อน้ำมันยิ่งไม่ต้องพูดถึงไหลเป็นสายเปลี่ยนทิศทางไหลมารวมที่ไทยเรานี้ ดูดมาใช้อีกหลายพันปีก็ไม่หมดหรือจนสิ้นยุครัตนโกสินทร์เราไปอีกก็ยังไม่หมดก็ว่า,และอื่นๆตรึมอาจแร่สุดยอดกว่าดาวอังคารอีกมาอยู่ที่ไทยเมื่อบารมีถึงจังหวะเวลาเหมาะสมจะเปิดเอง,ไม่รวมฮับพลังงานจักรวาลอีกแบบฐานพลังงานมหาศาลเชื่อมจักรวาลมหาจักรวาลต่างๆต่างจิตวิญญาณนี้ก็อยู่ที่ไทย ทั่วจักรวาลลงใจไว้วางใจที่ไทยเรา,ไทยเราอนาคตอันต่อไปพระพุทธเจ้าองค์ต่อไปก็เกิดที่แผ่นดินไทยเรานี้แต่ชื่อประเทศไทยอาจเปลี่ยนแปลงไปแล้วเพราะกาลเวลาขึ้นลงจนพระองค์มาเกิดมาประสูติมันน้อยๆที่ไหน.,ยุคพระศรีอาริยะฯก็ว่า,คนมีบุญจริงๆโน้นมีศีลมีธรรมพิเศษบริสุทธิ์ระดับหนึ่งจึงมีโอกาสได้เกิดมาร่วมยุคสมัยพระองค์ท่าน,แต่ยุคปัจจุบันเรานี้ก็ไม่น้อยหน้านะ คนไทยเรามีบุญไม่น้อยยังทันเห็นพระพุทธศาสนาอยู่เห็นนักบวชพระเณรคนปฏิบัติธรรมรักษาศีลให้เห็นเป็นสมมุติประจำโลก, ..คนไทยเราโชคดีเห็นขยะติดพื้นที่บ้างจึงจะได้ไม่ลืมสถานะว่าไม่มีขยะมันดีกว่าอย่างไร,มีสิ่งดีงามสร้างสิ่งดีงามเจริญในสิ่งดีงามทั้งทางภายในและภายนอกมันดีกว่ามีขยะทั้งภายในและภายนอกแบบใด.,สามัคคีร่วมใจกำจัดขยะนี้ก็ผลดีจากมีขยะนี้อีกจึงเข้าใจว่าสามัคคีในเรามันดีจริงอย่างไร. ..#ทุกๆประเทศทั่วโลกต้องแบนเขมรภัยอันตรายของโลก https://youtu.be/j9soFF4WerU?si=5zC74J5EWFiEGAdK
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 308 มุมมอง 0 รีวิว
  • โลกนี้เป็นแดนเกิดแดนตายจริงๆ..หนีไม่พ้นความตาย ปฏิบัติธรรมเอาไว้ สร้างบุญเอาไว้
    โลกนี้เป็นแดนเกิดแดนตายจริงๆ..หนีไม่พ้นความตาย ปฏิบัติธรรมเอาไว้ สร้างบุญเอาไว้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 124 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลำดับอันจำกัดแห่งปัจจัยของการละ-กาม-รูป-อรูปราคะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 648
    ชื่อบทธรรม :- ลำดับอันจำกัดแห่งปัจจัยของการละ-กาม-รูป-อรูปราคะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=648
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของการละ-กาม-รูป-อรูปราคะ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ เป็นผู้มีมิตรชั่ว มีสหายชั่ว มีเพื่อนชั่ว,
    เมื่อ เสพ คบ คลุกคลีอยู่กับพวกชั่ว และ
    ถือเอาทิฏฐานุคติของบุคคลเหล่านั้นอยู่ แล้ว
    จักกระทำอภิสมาจาริกธรรม*--๑ ให้บริบูรณ์ได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=อภิสมาจาริกํ+ธมฺมํ
    เมื่อไม่กระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป)
    ให้บริบูรณ์ได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ;

    เมื่อไม่กระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว
    จักกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ได้
    นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ;
    เมื่อไม่กระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว
    จักละกามราคะ หรือรูปราคะ หรืออรูปราคะได้
    นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ เป็นผู้ มี มิตรดี มี สหายดี มี เพื่อนดี,
    http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=กลฺยาณมิตฺ
    เมื่อ เสพ คบ คลุกคลีอยู่กับพวกมิตรดี และ
    ถือเอาทิฏฐานุคติของบุคคลเหล่านั้นอยู่
    แล้วจักกระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ;
    เมื่อกระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว
    จักกระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    เมื่อกระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว
    จักกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่มีได้ ;
    เมื่อกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ แล้ว
    จักละกามราคะ หรือรูปราคะ หรืออรูปราคะได้
    นั้นเป็นฐานะที่มีได้ แล.-

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า อภิสมาจาริกธรรม
    กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป
    จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป
    นี้ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง ;
    กล่าวสรุปสั้นๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา.
    ขอให้ทุกคนทำการชำระสะสางอภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ
    ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นเรื่องแรกเสียก่อน.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/375/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/375/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๗๒/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=648
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=648
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44
    ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลำดับอันจำกัดแห่งปัจจัยของการละ-กาม-รูป-อรูปราคะ สัทธรรมลำดับที่ : 648 ชื่อบทธรรม :- ลำดับอันจำกัดแห่งปัจจัยของการละ-กาม-รูป-อรูปราคะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=648 เนื้อความทั้งหมด :- --ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของการละ-กาม-รูป-อรูปราคะ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ เป็นผู้มีมิตรชั่ว มีสหายชั่ว มีเพื่อนชั่ว, เมื่อ เสพ คบ คลุกคลีอยู่กับพวกชั่ว และ ถือเอาทิฏฐานุคติของบุคคลเหล่านั้นอยู่ แล้ว จักกระทำอภิสมาจาริกธรรม*--๑ ให้บริบูรณ์ได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ; http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=อภิสมาจาริกํ+ธมฺมํ เมื่อไม่กระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป) ให้บริบูรณ์ได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ; เมื่อไม่กระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ; เมื่อไม่กระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักละกามราคะ หรือรูปราคะ หรืออรูปราคะได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ เป็นผู้ มี มิตรดี มี สหายดี มี เพื่อนดี, http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=กลฺยาณมิตฺ เมื่อ เสพ คบ คลุกคลีอยู่กับพวกมิตรดี และ ถือเอาทิฏฐานุคติของบุคคลเหล่านั้นอยู่ แล้วจักกระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ; เมื่อกระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่มีได้ ; เมื่อกระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่มีได้ ; เมื่อกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ แล้ว จักละกามราคะ หรือรูปราคะ หรืออรูปราคะได้ นั้นเป็นฐานะที่มีได้ แล.- *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า อภิสมาจาริกธรรม กล่าวคือการปฏิบัติวัตรหรือมรรยาทที่สาธุชนทั่วไป จะพึงปฏิบัติในบ้านเรือน เพื่อนพ้อง และสังคมทั่วไป นี้ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อยในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในขั้นสูง ; กล่าวสรุปสั้นๆ ก็ว่า ไม่กระทำให้เกิดความเหมาะสมในการที่จะเป็นนักศึกษา. ขอให้ทุกคนทำการชำระสะสางอภิสมาจาริกธรรมของตน ๆ ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นเรื่องแรกเสียก่อน. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/375/338. http://etipitaka.com/read/thai/22/375/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๗๒/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/22/472/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=648 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44&id=648 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=44 ลำดับสาธยายธรรม : 44 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_44.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของการละ
    -ขั้นตอนอันจำกัดแห่งปัจจัยของการละ กาม - รูป – อรูปราคะ ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ เป็นผู้มีมิตรชั่ว มีสหายชั่ว มีเพื่อนชั่ว, เมื่อ เสพ คบ คลุกคลีอยู่กับพวกชั่ว และถือเอาทิฏฐานุคติของบุคคลเหล่านั้นอยู่ แล้วจักกระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ;๑ เมื่อไม่กระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำเสขธรรม (ธรรมที่ควรศึกษาสูงขึ้นไป) ให้บริบูรณ์ได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ; เมื่อไม่กระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ; เมื่อไม่กระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์แล้ว จักละกามราคะ หรือรูปราคะ หรืออรูปราคะได้ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้นหนอ เป็นผู้ มีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนดี, เมื่อ เสพ คบ คลุกคลีอยู่กับพวกมิตรดี และถือเอาทิฏฐานุคติของบุคคลเหล่านั้นอยู่ แล้วจักกระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ; เมื่อกระทำอภิสมาจาริกธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่มีได้ ; เมื่อกระทำเสขธรรมให้บริบูรณ์แล้ว จักกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ได้ นั้นเป็นฐานะที่มีได้ ; เมื่อกระทำศีลทั้งหลายให้บริบูรณ์ แล้วจักละกามราคะ หรือรูปราคะ หรืออรูปราคะได้ นั้นเป็นฐานะที่มีได้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 214 มุมมอง 0 รีวิว
  • น้อมถวายข้าวสารหอมมะลิ30กก.น้ำดื่มขนาด1.5ลิตร30แพค ประจำเดือนมิถุนายน 2568 น้อมถวายหลวงปู่ชัยยะ พระแม่ ณ.สถานปฏิบัติธรรมเต็มสิบ เพชรบูรณ์ สาธุ
    น้อมถวายข้าวสารหอมมะลิ30กก.น้ำดื่มขนาด1.5ลิตร30แพค ประจำเดือนมิถุนายน 2568 น้อมถวายหลวงปู่ชัยยะ พระแม่ ณ.สถานปฏิบัติธรรมเต็มสิบ เพชรบูรณ์ สาธุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 143 มุมมอง 0 รีวิว
  • น้อมกราบสักการะบูชาหลวงพ่อวัดไร่ขิง..
    มีประสบการณ์เรื่องจริงของตนเองกับความศักดิ์สิทธิ์ความศรัทธาหลวงพ่อวัดไร่ขิง..

    สมัยวัยรุ่น บ้านอยู่หน้าประตู 4 รร.นายร้อยตำรวจสามพราน ช่วงงานวัดไร่ขิงทุกๆปี จะเป็นช่วงที่พวกเราต้องไปเที่ยวโชว์พลังวัยรุ่นสามพรานเจ้าถิ่นทุกคืน เงินทองที่พ่อแม่ให้มาก็มารวมกันลงขวดหมด ก็เข้ากราบไหว้บูชาหลวงพ่อด้วยมือเปล่าในโบสถ์ ไม่ได้บูชาดอกไม้และพระเครื่องใดเลย คงได้แต่นำผ้าเหลืองห่มหลวงพ่อมาผูกข้อมือ ช่วงปี 2519 มีวันหนึ่งไปร่วมงานศพพี่สาวที่นับถือที่วัดบางช้างเหนือ พี่สาวบอกก่อนจะเสียให้มีดนตรีมาเล่นในงานด้วย งานนี้ก็มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับเด็กหอมเกร็ด มันมีปืนยิงในระยะประชิดเข้ามาที่ท้องข้างขวา 1 นัด เราทรุดตัวลงด้วยแรงลูกกระสุนปืนนึกว่าตายแน่แล้ว มันยังยิงนัดต่อๆมาอีกแต่ปืนมันยิงไม่ออกขัดลำกล้อง พอดีเพื่อนอี๊ด มือมีดมาช่วย ชุลมุนกัน สุดท้ายก็ถูกตำรวจจับทั้งสองฝ่าย ตำรวจเห็นว่าเราถูกยิงก็นำตัวมาส่งรพ.สามพราน หมอตรวจดูแล้วใช้คีมที่คีบผ้าก๊อตถางแยกแผลที่เป็นจุดแดงไหม้ดู ก็ไม่เห็นมีรูที่ลูกปืนยิงเข้า จึงรู้ว่ายิงไม่เข้า ตำรวจ หมอ พยาบาล เพื่อนๆ และชาวบ้าน มาขอดูว่าในตัวมีของดีอะไร ดูแล้วก็มีแต่ผ้าเหลืองผูกข้อมือของหลวงพ่อวัดไร่ขิง (นี่แหละของดี) ตำรวจก็นำตัวไปดำเนินคดี สุดท้ายพ่อเรา (ตร.เมืองกาญจน์ย้ายมาสามพราน) กับพ่อคนยิงรู้จักกัน ดคีก็เลยจบไป..
    กรรมดีที่เคยทำในอดีตชาติคงปรารถนาให้มีชีวิตอยู่เติบโตต่อไปเพื่อสะสมบุญกุศลกรรมปฏิบัติธรรมให้พบกับพระธรรมของพระพุทธองค์ทั้งในชาตินี้และชาติต่อๆไปจนกว่าจะพบมรรคผลพระนิพพานในกาลอันควรด้วยเทอญฯ..
    น้อมกราบสักการะบูชาหลวงพ่อวัดไร่ขิง..🙏🙏🙏 มีประสบการณ์เรื่องจริงของตนเองกับความศักดิ์สิทธิ์ความศรัทธาหลวงพ่อวัดไร่ขิง..🙏🙏🙏 สมัยวัยรุ่น บ้านอยู่หน้าประตู 4 รร.นายร้อยตำรวจสามพราน ช่วงงานวัดไร่ขิงทุกๆปี จะเป็นช่วงที่พวกเราต้องไปเที่ยวโชว์พลังวัยรุ่นสามพรานเจ้าถิ่นทุกคืน เงินทองที่พ่อแม่ให้มาก็มารวมกันลงขวดหมด ก็เข้ากราบไหว้บูชาหลวงพ่อด้วยมือเปล่าในโบสถ์ ไม่ได้บูชาดอกไม้และพระเครื่องใดเลย คงได้แต่นำผ้าเหลืองห่มหลวงพ่อมาผูกข้อมือ ช่วงปี 2519 มีวันหนึ่งไปร่วมงานศพพี่สาวที่นับถือที่วัดบางช้างเหนือ พี่สาวบอกก่อนจะเสียให้มีดนตรีมาเล่นในงานด้วย งานนี้ก็มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับเด็กหอมเกร็ด มันมีปืนยิงในระยะประชิดเข้ามาที่ท้องข้างขวา 1 นัด เราทรุดตัวลงด้วยแรงลูกกระสุนปืนนึกว่าตายแน่แล้ว มันยังยิงนัดต่อๆมาอีกแต่ปืนมันยิงไม่ออกขัดลำกล้อง พอดีเพื่อนอี๊ด มือมีดมาช่วย ชุลมุนกัน สุดท้ายก็ถูกตำรวจจับทั้งสองฝ่าย ตำรวจเห็นว่าเราถูกยิงก็นำตัวมาส่งรพ.สามพราน หมอตรวจดูแล้วใช้คีมที่คีบผ้าก๊อตถางแยกแผลที่เป็นจุดแดงไหม้ดู ก็ไม่เห็นมีรูที่ลูกปืนยิงเข้า จึงรู้ว่ายิงไม่เข้า ตำรวจ หมอ พยาบาล เพื่อนๆ และชาวบ้าน มาขอดูว่าในตัวมีของดีอะไร ดูแล้วก็มีแต่ผ้าเหลืองผูกข้อมือของหลวงพ่อวัดไร่ขิง (นี่แหละของดี) ตำรวจก็นำตัวไปดำเนินคดี สุดท้ายพ่อเรา (ตร.เมืองกาญจน์ย้ายมาสามพราน) กับพ่อคนยิงรู้จักกัน ดคีก็เลยจบไป.. กรรมดีที่เคยทำในอดีตชาติคงปรารถนาให้มีชีวิตอยู่เติบโตต่อไปเพื่อสะสมบุญกุศลกรรมปฏิบัติธรรมให้พบกับพระธรรมของพระพุทธองค์ทั้งในชาตินี้และชาติต่อๆไปจนกว่าจะพบมรรคผลพระนิพพานในกาลอันควรด้วยเทอญฯ..🙏🙏🙏
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 436 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมาธิ…ไม่ใช่แค่พักใจ แต่คือก้าวแรกของการหลุดพ้น

    หลายคนอยากมีสมาธิ
    แต่ไม่รู้เลยว่า “สมาธิที่ใช่”
    จะพาให้ชีวิตเปลี่ยนจากโลกที่ผูกพัน
    ไปสู่โลกที่ใจเบาสบายไร้พันธนาการ

    ---

    คนทั่วไป…มีแต่จิตฟุ้งซ่าน

    เราถูกสอนให้ใช้สมองคิด
    แต่ไม่เคยถูกสอนให้รู้ว่า “สมองที่คิดเรื่อยเปื่อย”
    ก็คือ จิตฟุ้งซ่าน รูปแบบหนึ่ง

    คนจำนวนมาก
    เข้าใจว่าการมีชีวิตคือการไขว่คว้า
    จิตจึงไม่รู้จักนิ่ง ไม่รู้จักหยุด
    วิ่งตาม “ความอยาก” โดยไม่มีวันถึงฝั่ง

    ---

    แต่ถ้าจิตรวมเป็นสมาธิเมื่อใด…โลกใหม่จะเปิดออกทันที

    สมาธิที่แท้ คือจิตที่นิ่ง เด่น ดวงเดียว
    ตั้งมั่นพอจนไม่ไหลตามความอยาก
    ไม่ฟุ้งตามความกลัว
    ไม่เหวี่ยงไปตามเรื่องเล่าในหัว

    สมาธิไม่ใช่การ “คิดให้น้อยลง”
    แต่คือการ “คิดแบบมีทิศทาง”
    คือคิดแบบเห็นโลกตามที่มันเป็น
    ไม่ใช่แบบที่เราอยากให้มันเป็น

    ---

    พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในมหาจัตตารีสกสูตรว่า

    สมาธิที่เป็นสัมมาสมาธิ
    ต้องมี สัมมาทิฏฐิ เป็นประธาน
    ไม่ใช่สมาธิแบบคิดจะใช้จิตไปทำร้ายใคร
    หรือสมาธิเพื่อขอพลังพิเศษเอาชนะคนอื่น

    ---

    สัมมาทิฏฐิ คือหัวใจของการปฏิบัติธรรม

    ถ้าคุณนั่งสมาธิ แล้วใจยังเชื่อว่า

    ทำดีไม่มีผล

    ตายแล้วสูญ

    กรรมไม่มีผล

    พระพุทธเจ้าไม่มีจริง

    โลกหน้าคือเรื่องหลอกเด็ก

    สมาธิของคุณจะเหมือนปลูกต้นไม้ในดินเค็ม
    ไม่มีวันเติบโตไปถึงนิพพานได้

    ---

    แต่ถ้าคุณนั่งสมาธิแล้วเห็นว่า...

    โลกนี้มีผลแห่งกรรมจริง

    สิ่งที่เกิดล้วนเป็นผลของเหตุ

    กายใจนี้ไม่ใช่ของเราจริง

    ทุกสิ่งล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป

    และแม้ความคิดในหัว…ก็แค่แวบหนึ่งของกระแสธรรมดา

    คุณจะเริ่มเข้าใจว่า “ภพ” ไม่ได้อยู่ที่ไหน
    ภพอยู่ตรงที่คุณยึดติดกับกายนี้ ใจนี้ ความคิดนี้ว่าเป็น “ตัวเรา”

    ---

    สมาธิที่แท้…จึงไม่ใช่แค่หลบความเครียด

    แต่คือการค่อยๆ

    ถอดออกจากอุปาทาน

    ปลดจากพันธนาการของความเชื่อผิด

    ปลุกตนให้ตื่นจากภวังค์ของความเป็นตัวตน

    เมื่อสมาธิมาพร้อมสัมมาทิฏฐิ
    แม้กระทั่งความคิดที่ผ่านสมอง
    ก็จะกลายเป็นแค่ “ภาพมายา” ที่มาแล้วไป
    ไม่ใช่คำสั่งสุดท้ายของชีวิตอีกต่อไป

    ---

    ชาตินี้…กายใจนี้ อาจกลายเป็นกุญแจปลดล็อกทุกภพชาติ

    สมาธิแบบนี้
    คือสมาธิที่พระพุทธเจ้ารับรอง
    ว่าเป็นทางเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้จริง

    ไม่ใช่สมาธิที่มีไว้แค่พักใจ
    แต่คือ “ลูกไฟที่เผาผลาญกิเลส”
    พร้อมเปิดทางให้คุณเป็นอิสระจากทุกภพทุกชาติ
    สมาธิ…ไม่ใช่แค่พักใจ แต่คือก้าวแรกของการหลุดพ้น หลายคนอยากมีสมาธิ แต่ไม่รู้เลยว่า “สมาธิที่ใช่” จะพาให้ชีวิตเปลี่ยนจากโลกที่ผูกพัน ไปสู่โลกที่ใจเบาสบายไร้พันธนาการ --- คนทั่วไป…มีแต่จิตฟุ้งซ่าน เราถูกสอนให้ใช้สมองคิด แต่ไม่เคยถูกสอนให้รู้ว่า “สมองที่คิดเรื่อยเปื่อย” ก็คือ จิตฟุ้งซ่าน รูปแบบหนึ่ง คนจำนวนมาก เข้าใจว่าการมีชีวิตคือการไขว่คว้า จิตจึงไม่รู้จักนิ่ง ไม่รู้จักหยุด วิ่งตาม “ความอยาก” โดยไม่มีวันถึงฝั่ง --- แต่ถ้าจิตรวมเป็นสมาธิเมื่อใด…โลกใหม่จะเปิดออกทันที สมาธิที่แท้ คือจิตที่นิ่ง เด่น ดวงเดียว ตั้งมั่นพอจนไม่ไหลตามความอยาก ไม่ฟุ้งตามความกลัว ไม่เหวี่ยงไปตามเรื่องเล่าในหัว สมาธิไม่ใช่การ “คิดให้น้อยลง” แต่คือการ “คิดแบบมีทิศทาง” คือคิดแบบเห็นโลกตามที่มันเป็น ไม่ใช่แบบที่เราอยากให้มันเป็น --- พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในมหาจัตตารีสกสูตรว่า สมาธิที่เป็นสัมมาสมาธิ ต้องมี สัมมาทิฏฐิ เป็นประธาน ไม่ใช่สมาธิแบบคิดจะใช้จิตไปทำร้ายใคร หรือสมาธิเพื่อขอพลังพิเศษเอาชนะคนอื่น --- สัมมาทิฏฐิ คือหัวใจของการปฏิบัติธรรม ถ้าคุณนั่งสมาธิ แล้วใจยังเชื่อว่า ทำดีไม่มีผล ตายแล้วสูญ กรรมไม่มีผล พระพุทธเจ้าไม่มีจริง โลกหน้าคือเรื่องหลอกเด็ก สมาธิของคุณจะเหมือนปลูกต้นไม้ในดินเค็ม ไม่มีวันเติบโตไปถึงนิพพานได้ --- แต่ถ้าคุณนั่งสมาธิแล้วเห็นว่า... โลกนี้มีผลแห่งกรรมจริง สิ่งที่เกิดล้วนเป็นผลของเหตุ กายใจนี้ไม่ใช่ของเราจริง ทุกสิ่งล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป และแม้ความคิดในหัว…ก็แค่แวบหนึ่งของกระแสธรรมดา คุณจะเริ่มเข้าใจว่า “ภพ” ไม่ได้อยู่ที่ไหน ภพอยู่ตรงที่คุณยึดติดกับกายนี้ ใจนี้ ความคิดนี้ว่าเป็น “ตัวเรา” --- สมาธิที่แท้…จึงไม่ใช่แค่หลบความเครียด แต่คือการค่อยๆ ถอดออกจากอุปาทาน ปลดจากพันธนาการของความเชื่อผิด ปลุกตนให้ตื่นจากภวังค์ของความเป็นตัวตน เมื่อสมาธิมาพร้อมสัมมาทิฏฐิ แม้กระทั่งความคิดที่ผ่านสมอง ก็จะกลายเป็นแค่ “ภาพมายา” ที่มาแล้วไป ไม่ใช่คำสั่งสุดท้ายของชีวิตอีกต่อไป --- ชาตินี้…กายใจนี้ อาจกลายเป็นกุญแจปลดล็อกทุกภพชาติ สมาธิแบบนี้ คือสมาธิที่พระพุทธเจ้ารับรอง ว่าเป็นทางเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้จริง ไม่ใช่สมาธิที่มีไว้แค่พักใจ แต่คือ “ลูกไฟที่เผาผลาญกิเลส” พร้อมเปิดทางให้คุณเป็นอิสระจากทุกภพทุกชาติ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 341 มุมมอง 0 รีวิว
  • กายหยาบของเราปรุงแต่งง่ายศัลยกรรมง่าย..น่ำปรุงน้ำหอมพรมลงไป
    ที่ยากก็ตัวจิตข้างใน ปรุงแต่งยาก ศัลยกรรมยาก หากจิตมีแต่ความสกปรก หยาบคาย ร้ายกาจ ก็หมดกัน ตัวแก้ตัวช่วยให้จิตดีงามคือ ศิลธรรม การปฏิบัติธรรม ฟังเทศน์
    กายหยาบของเราปรุงแต่งง่ายศัลยกรรมง่าย..น่ำปรุงน้ำหอมพรมลงไป ที่ยากก็ตัวจิตข้างใน ปรุงแต่งยาก ศัลยกรรมยาก หากจิตมีแต่ความสกปรก หยาบคาย ร้ายกาจ ก็หมดกัน ตัวแก้ตัวช่วยให้จิตดีงามคือ ศิลธรรม การปฏิบัติธรรม ฟังเทศน์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 139 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ใช้หลักธรรมะ” สานต่อพลังธรรม รุ่น 3

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2568 ที่ สถานปฏิบัติธรรมบ้านธรรมะชาติ อ.วังน้ำเขียว #นายวีระชาติ ทุ่งไผ่แหลม รองนายก อบจ.นครราชสีมา เป็นประธานเปิดการอบรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเพื่อคุณภาพการปฏิบัติงานและคุณภาพชีวิตบุคลากรในสังกัด รุ่นที่ 3 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร อบจ. นำหลักธรรมคำสอน ตามหลักพุทธศาสนาไปสู่การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง สามารถปรับใช้ในการปฏิบัติงาน พัฒนาจิตใจด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์

    #นายกหน่อย #อบจโคราช
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    #prkoratpao
    “ใช้หลักธรรมะ” สานต่อพลังธรรม รุ่น 3 วันที่ 20 พฤษภาคม 2568 ที่ สถานปฏิบัติธรรมบ้านธรรมะชาติ อ.วังน้ำเขียว #นายวีระชาติ ทุ่งไผ่แหลม รองนายก อบจ.นครราชสีมา เป็นประธานเปิดการอบรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเพื่อคุณภาพการปฏิบัติงานและคุณภาพชีวิตบุคลากรในสังกัด รุ่นที่ 3 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร อบจ. นำหลักธรรมคำสอน ตามหลักพุทธศาสนาไปสู่การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง สามารถปรับใช้ในการปฏิบัติงาน พัฒนาจิตใจด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ #นายกหน่อย #อบจโคราช #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช #prkoratpao
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 351 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    สัทธรรมลำดับที่ : 993
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค

    (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
    ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ
    ๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92

    (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว
    ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    ๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93

    (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    แต่เขา
    หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน
    อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง
    ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง.
    +-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94

    (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ
    +++ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑
    มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
    และทั้ง
    ๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
    มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95

    (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่เขา
    ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่
    และทั้งเขา
    ๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96

    (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่เขา
    ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑
    เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ
    ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขา
    ๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    ๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97

    (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
    เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น.
    สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
    +-+ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ
    ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    แต่เขา
    ๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑
    รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย
    แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่
    และทั้งเขา
    ๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98

    (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ
    เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง.
    สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ
    +--ภิกษุในกรณีนี้
    ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย
    และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว
    ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว
    และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
    แต่ว่าเขา
    ๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ
    ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑
    และทั้งเขา
    ๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑.
    +-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล
    เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99

    (องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ
    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้
    ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค สัทธรรมลำดับที่ : 993 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ๕.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๖.สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑.แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๓.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๔.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๕.สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%93 (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ ๒.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๓.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ ๔.รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. +-+ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ +++ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ๒.ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ๓.ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๔.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/306/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ ๒.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ไม่ และทั้งเขา ๓.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา ๑.มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา ๒.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ ๓.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. http://etipitaka.com/read/pali/23/307/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%97 (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +-+ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ๑.มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ๒.ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%98 (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ +--ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และ ทั้งไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา ๑.มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขา ๒.สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. +-ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.- http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 (องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณธรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/234 - 237/152 - 159. http://etipitaka.com/read/thai/23/234/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๕ - ๓๐๘/๑๕๒ - ๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/305/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=993 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค
    -มัชฌิมาปฏิปทาสำหรับธรรมกถึกแห่งยุค (๑. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัว ในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ การทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูง สพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๒. พอตัวทั้งเพื่อตนและผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง พอตัวในการช่วยผู้อื่น. ห้าประการ อย่างไรเล่า ? ห้าประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพหรมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น. (๓. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ แต่เขา หา เป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้ง ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้ สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๔. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สี่ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ๑ มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม ๑ มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๕. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา หาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่ง ชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่ และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๖. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สามประการ อย่างไรเล่า ? สามประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่เขา มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ๑ เขา ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้งเขา ไม่รู้ อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง. (๗. พอตัวเพื่อตน แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้สามารถ พอตัวในการช่วยตนเอง แต่ ไม่พอตัวในการช่วยผู้อื่น. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว แต่เขามีปกติใคร่ครวญ เนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว ๑ รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่เขาหาเป็นผู้มีคำพูดไพเราะ กระทำการ พูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ไม่และทั้งเขา ไม่สามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ร่าเริง ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อตนเอง แต่ไม่พอตัวเพื่อผู้อื่น. (๘. พอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตน) ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการ เป็นผู้ สามารถพอตัวในการช่วยผู้อื่น แต่ ไม่พอตัวในการช่วยตนเอง. สองประการ อย่างไรเล่า ? สองประการคือ ภิกษุในกรณีนี้ ไม่เป็นผู้จับฉวยได้เร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย และ ไม่มีธรรมชาติแห่งความทรงจำธรรมที่ได้ฟังแล้ว ไม่มีปกติใคร่ครวญเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้แล้ว และทั้ง ไม่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ว่าเขา มีคำพูดไพเราะ กระทำการพูดให้ไพเราะ ประกอบด้วยวาจาแห่งชาวเมือง อันสละสลวย แจ่มใสชัดเจน อาจให้รู้เนื้อความได้ ๑ และทั้งเขาสามารถชี้แจงชักจูงสพรหมจารีทั้งหลายให้อาจหาญ ด้วย ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๒ ประการเหล่านี้แล เป็นผู้สามารถพอตัวเพื่อผู้อื่น แต่ไม่พอตัวเพื่อตนเอง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 245 มุมมอง 0 รีวิว
  • “เมื่อคุณน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์…ให้รู้ว่านั่นคือสัญญาณว่าได้เวลาเป็นผู้ใหญ่ทางใจแล้ว”

    บางครั้ง คนที่ศรัทธาในสิ่งศักดิ์สิทธิ์
    ก็เผลอรู้สึกน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์เสียเอง
    โดยเฉพาะเมื่อไหว้วอนมาก
    แต่สิ่งที่หวัง…กลับยังไม่มาถึงสักที

    > “ทำไมถึงไม่ช่วยกันเลย?”
    “ทำไมปล่อยให้เราลำบากคนเดียว?”
    “เราทำดีขนาดนี้แล้วนะ…”

    เสียงแบบนี้เคยเกิดในใจใครหลายคน
    โดยเฉพาะกับผู้ที่พยายามฝึกตน
    แต่ยังไม่เห็นผลชัด
    ราวกับพยายามเดินเท้าเปล่าในทางหมื่นไมล์
    ที่ไม่มีใครอุ้ม ไม่มีลมส่ง
    ไม่มีปาฏิหาริย์ใดมารับขึ้นรถ

    ---

    แต่ในทางพุทธ…พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ “น้อยใจท่าน”

    พระองค์ตรัสไว้ชัดว่า

    > “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน”
    ไม่ใช่เพื่อปล่อยให้เราต่อสู้อย่างเดียวดาย
    แต่เพื่อเตือนว่า
    “อิสรภาพจากทุกข์ต้องเริ่มที่ใจตนเองก่อน”

    หากคุณเชื่อเรื่องกรรม
    แล้วชีวิตยังไม่ดี
    ให้กลับมาถามใจว่า

    > “เราทำกรรมดีพอหรือยัง?”
    ถ้าสู้เพื่อสิ่งที่หวัง ยังรู้สึกไม่พอใจตัวเอง
    ให้ยอมรับความจริงว่า
    “เรายังไม่ได้ทำเต็มที่พอให้รู้สึกภูมิใจ”
    ไม่ใช่ไปโทษว่า “สิ่งศักดิ์สิทธิ์ไม่ช่วย”

    ---

    แม้แต่นักภาวนาก็เคยน้อยใจพระพุทธเจ้าได้

    แต่คนที่ปฏิบัติทางตรงจริง
    จะเริ่มเห็นว่าแม้ “อารมณ์น้อยใจ”
    ก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น
    แล้ว “ดับไป”
    บนลมหายใจเข้าออกนี่เอง

    และเมื่อจิตมองเห็นความจริงอย่างนี้บ่อยขึ้น
    ก็จะเลิกยึดแม้แต่ความรู้สึกว่าตัวเองน่าสงสาร
    เลิกคาดหวังปาฏิหาริย์
    แล้วตั้งหน้าทำสิ่งที่ควรทำ
    ด้วยความเข้าใจว่าทางพ้นทุกข์ไม่ใช่สิ่งที่ใครให้ได้
    นอกจากคุณจะสร้างเอง

    ---

    การเป็นผู้ใหญ่ทางใจ…เริ่มต้นเมื่อหยุดน้อยใจ

    หยุดน้อยใจโชคชะตา
    หยุดน้อยใจพระ
    หยุดน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์

    แล้วเปลี่ยนเป็น

    > “หายใจเข้าให้เต็มที่เพื่อเริ่มต้นใหม่”
    “หายใจออกเพื่อปล่อยทุกข์ที่แบกอยู่ไปทีละชั้น”
    “มองเห็นอารมณ์ แล้วปล่อยให้อารมณ์นั้นไปทางของมัน”

    ---

    บทสรุปของคนที่ไม่รอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์มาอุ้ม

    > ถ้าคุณยังน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้
    แสดงว่าคุณยังมองไม่ตรงทาง
    แต่ถ้าคุณมองเห็นแม้ความน้อยใจ
    ก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น…แล้วดับไป
    วันนั้นแหละ คุณจะรู้ว่า
    คุณกำลังปฏิบัติธรรมอยู่ในทางตรงของพุทธศาสนาแล้ว
    “เมื่อคุณน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์…ให้รู้ว่านั่นคือสัญญาณว่าได้เวลาเป็นผู้ใหญ่ทางใจแล้ว” บางครั้ง คนที่ศรัทธาในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ก็เผลอรู้สึกน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์เสียเอง โดยเฉพาะเมื่อไหว้วอนมาก แต่สิ่งที่หวัง…กลับยังไม่มาถึงสักที > “ทำไมถึงไม่ช่วยกันเลย?” “ทำไมปล่อยให้เราลำบากคนเดียว?” “เราทำดีขนาดนี้แล้วนะ…” เสียงแบบนี้เคยเกิดในใจใครหลายคน โดยเฉพาะกับผู้ที่พยายามฝึกตน แต่ยังไม่เห็นผลชัด ราวกับพยายามเดินเท้าเปล่าในทางหมื่นไมล์ ที่ไม่มีใครอุ้ม ไม่มีลมส่ง ไม่มีปาฏิหาริย์ใดมารับขึ้นรถ --- แต่ในทางพุทธ…พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ “น้อยใจท่าน” พระองค์ตรัสไว้ชัดว่า > “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน” ไม่ใช่เพื่อปล่อยให้เราต่อสู้อย่างเดียวดาย แต่เพื่อเตือนว่า “อิสรภาพจากทุกข์ต้องเริ่มที่ใจตนเองก่อน” หากคุณเชื่อเรื่องกรรม แล้วชีวิตยังไม่ดี ให้กลับมาถามใจว่า > “เราทำกรรมดีพอหรือยัง?” ถ้าสู้เพื่อสิ่งที่หวัง ยังรู้สึกไม่พอใจตัวเอง ให้ยอมรับความจริงว่า “เรายังไม่ได้ทำเต็มที่พอให้รู้สึกภูมิใจ” ไม่ใช่ไปโทษว่า “สิ่งศักดิ์สิทธิ์ไม่ช่วย” --- แม้แต่นักภาวนาก็เคยน้อยใจพระพุทธเจ้าได้ แต่คนที่ปฏิบัติทางตรงจริง จะเริ่มเห็นว่าแม้ “อารมณ์น้อยใจ” ก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น แล้ว “ดับไป” บนลมหายใจเข้าออกนี่เอง และเมื่อจิตมองเห็นความจริงอย่างนี้บ่อยขึ้น ก็จะเลิกยึดแม้แต่ความรู้สึกว่าตัวเองน่าสงสาร เลิกคาดหวังปาฏิหาริย์ แล้วตั้งหน้าทำสิ่งที่ควรทำ ด้วยความเข้าใจว่าทางพ้นทุกข์ไม่ใช่สิ่งที่ใครให้ได้ นอกจากคุณจะสร้างเอง --- การเป็นผู้ใหญ่ทางใจ…เริ่มต้นเมื่อหยุดน้อยใจ หยุดน้อยใจโชคชะตา หยุดน้อยใจพระ หยุดน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แล้วเปลี่ยนเป็น > “หายใจเข้าให้เต็มที่เพื่อเริ่มต้นใหม่” “หายใจออกเพื่อปล่อยทุกข์ที่แบกอยู่ไปทีละชั้น” “มองเห็นอารมณ์ แล้วปล่อยให้อารมณ์นั้นไปทางของมัน” --- บทสรุปของคนที่ไม่รอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์มาอุ้ม > ถ้าคุณยังน้อยใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้ แสดงว่าคุณยังมองไม่ตรงทาง แต่ถ้าคุณมองเห็นแม้ความน้อยใจ ก็เป็นเพียงสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น…แล้วดับไป วันนั้นแหละ คุณจะรู้ว่า คุณกำลังปฏิบัติธรรมอยู่ในทางตรงของพุทธศาสนาแล้ว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 407 มุมมอง 0 รีวิว
  • ค่ายปฏิบัติธรรม พัฒนาสื่อสารอย่างสร้างสรรค์

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2568 ที่ วันใหม่สันติ อ.สูงเนิน #นางประกายมาศ กิริวัฒนศักดิ์ เลขานุการนายก อบจ.นครราชสีมา มาเยี่ยมให้กำลังใจ นักเรียน ม 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา เข้าค่ายปฏิบัติธรรม ค่ายพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ปีการศึกษา 2568 ระหว่างวันที่ 10 - 11 เรื่องของ สติ กับชีวิตที่สงบสุข ตื่นรู้ สู่สุขภาพดี สื่อสารอย่างสร้างสรรค์

    #นายกหน่อย
    #อบจโคราชโฉมใหม่
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    #prkoratpao
    ค่ายปฏิบัติธรรม พัฒนาสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ วันที่ 10 พฤษภาคม 2568 ที่ วันใหม่สันติ อ.สูงเนิน #นางประกายมาศ กิริวัฒนศักดิ์ เลขานุการนายก อบจ.นครราชสีมา มาเยี่ยมให้กำลังใจ นักเรียน ม 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา เข้าค่ายปฏิบัติธรรม ค่ายพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ปีการศึกษา 2568 ระหว่างวันที่ 10 - 11 เรื่องของ สติ กับชีวิตที่สงบสุข ตื่นรู้ สู่สุขภาพดี สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ #นายกหน่อย #อบจโคราชโฉมใหม่ #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช #prkoratpao
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 417 มุมมอง 0 รีวิว
  • "กองทัพภาคที่ 2 จัดพิธีพุทธาภิเษก สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) และทอดผ้าป่าสามัคคี"

    กองทัพภาคที่ 2 ร่วมบุญอันยิ่งใหญ่ จัดสร้างสมเด็จพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี)และทอดผ้าป่าสามัคคี โดยมี พลโทบุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 และคุณสุพางค์พรรณ พาดกลาง ประธานสมาคมแม่บ้านทหารบก สาขากองทัพภาคที่ 2 เป็นประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมผู้มีจิตศรัทธา ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ และประชาชนชาวจังหวัดนครราชสีมา ณ สโมสรร่วมเริงชัย ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา

    ได้รับพระเมตตา จาก "4 ดอกบัวบานแดนอีสาน"
    หลวงปู่ศิลา วัดพระธาตุหมื่นหิน
    หลวงพ่อสุริยันต์ วัดป่าวังน้ำเย็น
    พระอาจารย์ต้อม วัดท่าสะแบง
    พระอาจารย์สุริยัณ วัดป่าฉัพพรรณรังสี

    ในพิธีมหาพุทธาภิเษก และทอดผ้าป่าสามัคคีมหากุศล สมทบทุนสร้าง “สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ” หรือ “หลวงพ่อใหญ่โชคดี” เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน และเป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา โดยพระพุทธปฏิมา สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) มีขนาดหน้าตักกว้าง 7 เมตร ความสูง 9 เมตร ซึ่งจะประดิษฐาน ณ วัดป่าศรีคุณาราม อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี

    วัดป่าศรีคุณารามเป็นวัดป่าสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อันสงบ ร่มรื่น เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม การสร้างพระพุทธปฏิมาองค์ใหญ่ ณ วัดแห่งนี้ จึงเป็นการส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางแห่งการศึกษา ปฏิบัติธรรม และเป็นที่พักพิงทางใจของพุทธศาสนิกชนสืบไป

    #หลวงพ่อใหญ่โชคดี
    #หลวงปู่ศิลา
    #กองทัพภาคที่2
    #วัดป่าศรีคุณาราม
    #มณฑลทหารบกที่21
    #ศูนย์ประชาสัมพันธ์กองทัพภาคที่2
    "กองทัพภาคที่ 2 จัดพิธีพุทธาภิเษก สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) และทอดผ้าป่าสามัคคี" 📌กองทัพภาคที่ 2 ร่วมบุญอันยิ่งใหญ่ จัดสร้างสมเด็จพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี)และทอดผ้าป่าสามัคคี ✨ โดยมี พลโทบุญสิน พาดกลาง แม่ทัพภาคที่ 2 และคุณสุพางค์พรรณ พาดกลาง ประธานสมาคมแม่บ้านทหารบก สาขากองทัพภาคที่ 2 เป็นประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมผู้มีจิตศรัทธา ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ และประชาชนชาวจังหวัดนครราชสีมา ณ สโมสรร่วมเริงชัย ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา🎉 🌟ได้รับพระเมตตา จาก "4 ดอกบัวบานแดนอีสาน"👍 🙏หลวงปู่ศิลา วัดพระธาตุหมื่นหิน 🙏หลวงพ่อสุริยันต์ วัดป่าวังน้ำเย็น 🙏พระอาจารย์ต้อม วัดท่าสะแบง 🙏พระอาจารย์สุริยัณ วัดป่าฉัพพรรณรังสี ในพิธีมหาพุทธาภิเษก และทอดผ้าป่าสามัคคีมหากุศล สมทบทุนสร้าง “สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ” หรือ “หลวงพ่อใหญ่โชคดี” เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน และเป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา โดยพระพุทธปฏิมา สมเด็จพระพุทธมหาจักรพรรดิ (หลวงพ่อใหญ่โชคดี) มีขนาดหน้าตักกว้าง 7 เมตร ความสูง 9 เมตร ซึ่งจะประดิษฐาน ณ วัดป่าศรีคุณาราม อ.กู่แก้ว จ.อุดรธานี 📌วัดป่าศรีคุณารามเป็นวัดป่าสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อันสงบ ร่มรื่น เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม การสร้างพระพุทธปฏิมาองค์ใหญ่ ณ วัดแห่งนี้ จึงเป็นการส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางแห่งการศึกษา ปฏิบัติธรรม และเป็นที่พักพิงทางใจของพุทธศาสนิกชนสืบไป🌟👍💂 #หลวงพ่อใหญ่โชคดี #หลวงปู่ศิลา #กองทัพภาคที่2 #วัดป่าศรีคุณาราม #มณฑลทหารบกที่21 #ศูนย์ประชาสัมพันธ์กองทัพภาคที่2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 656 มุมมอง 0 รีวิว
  • “จากเข้าใจ…สู่เข้าถึง”
    บทเรียนสำคัญของผู้เดินทางในทางธรรม

    ในเส้นทางแห่งการลดกิเลส ไม่มีใครข้ามจากศูนย์ไปถึงปลายทางได้ภายในวันเดียว

    ธรรมะจึงไม่ใช่สิ่งที่จะ “เชื่อไว้ก่อน” แล้วได้ผลทันที

    แต่เป็นสิ่งที่ต้อง เรียนรู้-เข้าใจ-เข้าถึง-และกลายเป็นทีละลมหายใจ ทีละขณะจิต อย่างชัดเจน

    ---

    พุทธิปัญญา มี 3 ระดับ

    1. ได้ยินรู้เรื่อง – เรียนจากครูบาอาจารย์ ฟังแล้วเข้าหัว

    2. เข้าใจอย่างมีเหตุผล – ใช้การคิดพิจารณา เห็นด้วยใจบางๆ

    3. เข้าถึงความจริงตรงหน้า – ไม่ใช่แค่คิด แต่จิตเห็นแจ้งเอง

    ---

    “เข้าใจ” – คือจุดเริ่มต้นที่สำคัญ

    ผู้ที่เพียง “เข้าใจ” ว่าชีวิตไม่มีอะไรเป็นของเรา
    รู้ว่าทุกข์มีเหตุ ทุกข์ดับได้
    รู้ว่ากายใจไม่เที่ยง ไม่ควรยึด
    แม้แค่นี้ ก็ถือว่าเริ่ม “ต่อยกิเลสให้ถลอก” ได้แล้ว

    ยามทุกข์ ก็น้อมจิตระลึกว่า

    > “มันผ่านมาแล้ว ก็แล้วไป”
    “ทุกข์แค่ช่วงกลางวัน กลางคืนก็หลุดได้”

    นี่คือการคิดปลอบใจตนด้วยธรรม
    แม้ยังไม่พ้น แต่ก็ไม่หลงฟูมฟายอีก
    นี่แหละ “การเข้าใจ” ที่ลดพลังของกิเลสลงได้ระดับหนึ่ง

    ---

    “เข้าถึง” – คือจุดที่กิเลสเริ่มแตกจริง

    แต่หากวันหนึ่ง เรา
    – ให้จิตเป็นทาน
    – วางใจไว้ในศีล
    – ตั้งจิตอยู่กับความสงบ
    – แล้ว “รู้ตามความจริง” อย่างเงียบๆ ไม่คิด ไม่แปล

    จิตจะเริ่มเห็นว่า...

    > “อารมณ์แย่ๆ เกิดขึ้นตรงลมหายใจไหน”
    “ความดี ความสงบ เข้ามาแทนที่ตรงลมหายใจไหน”
    “นี่คือตัวรู้ – และสิ่งอื่นล้วนเป็นสิ่งถูกรู้”

    เมื่อเห็นว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร
    เป็นของชั่วคราว ไม่ใช่ของเรา
    อุปาทานจะถูกกะเทาะออก
    ไม่ใช่เพราะเชื่อครู หรือเพราะใช้เหตุผล
    แต่เพราะ “จิตเห็นเอง” อย่างประจักษ์

    ---

    **เมื่อ ‘รู้’ เกิดจากความว่าง

    นิพพานจึงอยู่ตรงนั้นเอง**

    ทุกครั้งที่เราเข้าถึงความจริงได้ด้วยใจที่สงบ
    นั่นคือการลดตัวตน ลดการยึด
    และทุกครั้งที่ไม่มีตัวตน
    จิตจะแตะนิพพานชั่วขณะ
    แม้เพียงวินาทีเดียว ก็มีค่ากว่ารู้โลกทั้งโลก

    ---

    บทสรุปของผู้ปฏิบัติธรรม

    > – ฟังธรรม = ใส่เชื้อดี
    – คิดธรรม = ประคบใจให้อบอุ่น
    – เห็นธรรม = เผากิเลสตรงหน้าได้จริง

    เมื่อปัญญาเดินทางจาก “เข้าใจ” สู่ “เข้าถึง”
    จะไม่ใช่แค่หัวที่เบา
    แต่คือ ใจที่เป็นอิสระจริงๆ
    จากสิ่งที่เคยครอบงำ…มาทั้งชีวิต
    “จากเข้าใจ…สู่เข้าถึง” บทเรียนสำคัญของผู้เดินทางในทางธรรม ในเส้นทางแห่งการลดกิเลส ไม่มีใครข้ามจากศูนย์ไปถึงปลายทางได้ภายในวันเดียว ธรรมะจึงไม่ใช่สิ่งที่จะ “เชื่อไว้ก่อน” แล้วได้ผลทันที แต่เป็นสิ่งที่ต้อง เรียนรู้-เข้าใจ-เข้าถึง-และกลายเป็นทีละลมหายใจ ทีละขณะจิต อย่างชัดเจน --- พุทธิปัญญา มี 3 ระดับ 1. ได้ยินรู้เรื่อง – เรียนจากครูบาอาจารย์ ฟังแล้วเข้าหัว 2. เข้าใจอย่างมีเหตุผล – ใช้การคิดพิจารณา เห็นด้วยใจบางๆ 3. เข้าถึงความจริงตรงหน้า – ไม่ใช่แค่คิด แต่จิตเห็นแจ้งเอง --- “เข้าใจ” – คือจุดเริ่มต้นที่สำคัญ ผู้ที่เพียง “เข้าใจ” ว่าชีวิตไม่มีอะไรเป็นของเรา รู้ว่าทุกข์มีเหตุ ทุกข์ดับได้ รู้ว่ากายใจไม่เที่ยง ไม่ควรยึด แม้แค่นี้ ก็ถือว่าเริ่ม “ต่อยกิเลสให้ถลอก” ได้แล้ว ยามทุกข์ ก็น้อมจิตระลึกว่า > “มันผ่านมาแล้ว ก็แล้วไป” “ทุกข์แค่ช่วงกลางวัน กลางคืนก็หลุดได้” นี่คือการคิดปลอบใจตนด้วยธรรม แม้ยังไม่พ้น แต่ก็ไม่หลงฟูมฟายอีก นี่แหละ “การเข้าใจ” ที่ลดพลังของกิเลสลงได้ระดับหนึ่ง --- “เข้าถึง” – คือจุดที่กิเลสเริ่มแตกจริง แต่หากวันหนึ่ง เรา – ให้จิตเป็นทาน – วางใจไว้ในศีล – ตั้งจิตอยู่กับความสงบ – แล้ว “รู้ตามความจริง” อย่างเงียบๆ ไม่คิด ไม่แปล จิตจะเริ่มเห็นว่า... > “อารมณ์แย่ๆ เกิดขึ้นตรงลมหายใจไหน” “ความดี ความสงบ เข้ามาแทนที่ตรงลมหายใจไหน” “นี่คือตัวรู้ – และสิ่งอื่นล้วนเป็นสิ่งถูกรู้” เมื่อเห็นว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร เป็นของชั่วคราว ไม่ใช่ของเรา อุปาทานจะถูกกะเทาะออก ไม่ใช่เพราะเชื่อครู หรือเพราะใช้เหตุผล แต่เพราะ “จิตเห็นเอง” อย่างประจักษ์ --- **เมื่อ ‘รู้’ เกิดจากความว่าง นิพพานจึงอยู่ตรงนั้นเอง** ทุกครั้งที่เราเข้าถึงความจริงได้ด้วยใจที่สงบ นั่นคือการลดตัวตน ลดการยึด และทุกครั้งที่ไม่มีตัวตน จิตจะแตะนิพพานชั่วขณะ แม้เพียงวินาทีเดียว ก็มีค่ากว่ารู้โลกทั้งโลก --- บทสรุปของผู้ปฏิบัติธรรม > – ฟังธรรม = ใส่เชื้อดี – คิดธรรม = ประคบใจให้อบอุ่น – เห็นธรรม = เผากิเลสตรงหน้าได้จริง เมื่อปัญญาเดินทางจาก “เข้าใจ” สู่ “เข้าถึง” จะไม่ใช่แค่หัวที่เบา แต่คือ ใจที่เป็นอิสระจริงๆ จากสิ่งที่เคยครอบงำ…มาทั้งชีวิต
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 401 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระผงโภคทรัพย์หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง
    พระผงโภคทรัพย์ หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง // ยอดพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากองค์หนึ่งแห่งเมืองอ่างทอง และเป็นเคารพนับถือและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุดองค์หนึ่ง // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณเข้มขลัง เรียกเงิน บันดาลโชคลาภ ค้าขายดี โภคทรัพย์ รับโชค รับทรัพย์ เมตตามหานิยม ส่งเสริมความรักความเมตตา เป็นมหาโภคทรัพย์เจริญในโชคลาภ แคล้วคลาดปลอดภัย ป้องกันภูติผีวิญญาณร้าย >>

    ** หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง ยอดพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากองค์หนึ่งแห่งเมืองอ่างทอง และเป็นเคารพนับถือและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุดองค์หนึ่ง ท่านได้อุปสมบท ณ วัดนางใน โดยมีหลวงพ่อชม เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านเป็นพระที่เคร่งครัดพระธรรมวินัยและมีความชำนาญด้านวิปัสสนากรรมฐาน และยังเป็นผู้ชำนาญด้านเทศนาปาฐกถาอีกด้วย และท่านยังชอบจาริกธุดงธ์ทั้งใกล้และไกล เมื่อวันที่8ธ.ค.2525 ท่านได้ธุดงค์มา ณ สถานที่นี้และได้ปักกลดเห็นว่าบริเวณนี้เคยเป็นวัดร้าง เป็นสถานที่เงียบสงบน่าปฏิบัติธรรมยิ่งนัก และมีอยู่คืนหนึ่งขณะปฏิบัติธรรมได้ปรากฏนิมิตเห็นองค์หลวงปู่ขาวและหลวงปู่แดง มาบอกว่าให้ท่านช่วยบูรณะก่อสร้างวัดม่วงขึ้นมาใหม่ จึงเป็นจุดเริ่มต้น ตั้งแต่นั้นมาจนมีความเจริญรุ่งเรืองมาถึงปัจจุบัน ท่านได้สร้างวัตถุมงคลล้วนได้รัยความนิยมและมีพุทธคุณ >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    พระผงโภคทรัพย์หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง พระผงโภคทรัพย์ หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง // ยอดพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากองค์หนึ่งแห่งเมืองอ่างทอง และเป็นเคารพนับถือและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุดองค์หนึ่ง // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณเข้มขลัง เรียกเงิน บันดาลโชคลาภ ค้าขายดี โภคทรัพย์ รับโชค รับทรัพย์ เมตตามหานิยม ส่งเสริมความรักความเมตตา เป็นมหาโภคทรัพย์เจริญในโชคลาภ แคล้วคลาดปลอดภัย ป้องกันภูติผีวิญญาณร้าย >> ** หลวงพ่อเกษม วัดม่วง จ.อ่างทอง ยอดพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากองค์หนึ่งแห่งเมืองอ่างทอง และเป็นเคารพนับถือและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากที่สุดองค์หนึ่ง ท่านได้อุปสมบท ณ วัดนางใน โดยมีหลวงพ่อชม เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านเป็นพระที่เคร่งครัดพระธรรมวินัยและมีความชำนาญด้านวิปัสสนากรรมฐาน และยังเป็นผู้ชำนาญด้านเทศนาปาฐกถาอีกด้วย และท่านยังชอบจาริกธุดงธ์ทั้งใกล้และไกล เมื่อวันที่8ธ.ค.2525 ท่านได้ธุดงค์มา ณ สถานที่นี้และได้ปักกลดเห็นว่าบริเวณนี้เคยเป็นวัดร้าง เป็นสถานที่เงียบสงบน่าปฏิบัติธรรมยิ่งนัก และมีอยู่คืนหนึ่งขณะปฏิบัติธรรมได้ปรากฏนิมิตเห็นองค์หลวงปู่ขาวและหลวงปู่แดง มาบอกว่าให้ท่านช่วยบูรณะก่อสร้างวัดม่วงขึ้นมาใหม่ จึงเป็นจุดเริ่มต้น ตั้งแต่นั้นมาจนมีความเจริญรุ่งเรืองมาถึงปัจจุบัน ท่านได้สร้างวัตถุมงคลล้วนได้รัยความนิยมและมีพุทธคุณ >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 362 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้นยิ่งใหญ่และครอบคลุม เป็นจุดหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ประโยชน์หลักๆ ได้แก่:

    - การหลุดพ้นจากทุกข์: นี่คือประโยชน์ที่สำคัญที่สุด นิพพานคือการดับทุกข์ทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นทุกข์ทางกาย ทุกข์ทางใจ หรือทุกข์จากการเวียนว่ายตายเกิด ความทุกข์ทั้งหลายที่เกิดจากกิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่นจะหมดสิ้นไป
    - ความสงบสุขที่แท้จริง: ผู้บรรลุนิพพานจะได้รับความสงบสุขอย่างแท้จริง เป็นความสงบที่ไม่ใช่เพียงแค่ความสงบชั่วคราว แต่เป็นความสงบที่ยั่งยืน ปราศจากความกังวล ความกลัว และความไม่แน่นอน
    - ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ: การบรรลุนิพพานหมายถึงการหลุดพ้นจากวงจรแห่งการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป เป็นการสิ้นสุดของการทนทุกข์ทรมานจากการเกิดใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
    - ความรู้แจ้งในธรรมชาติของความจริง: ผู้บรรลุนิพพานจะเข้าใจธรรมชาติของความจริงอย่างลึกซึ้ง เข้าใจไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) อย่างถ่องแท้ และสามารถมองโลกได้อย่างถูกต้อง ปราศจากอคติ และความยึดมั่นถือมั่น
    - ความอิสระอย่างแท้จริง: ไม่ถูกผูกมัดด้วยกิเลส ตัณหา หรือความยึดติดใดๆ เป็นอิสระอย่างแท้จริง ทั้งทางกาย และทางใจ
    - ความสุขนิรันดร์: ความสุขที่ได้จากการบรรลุนิพพานเป็นความสุขที่ยั่งยืน ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นความสุขที่แท้จริง ที่เหนือกว่าความสุขใดๆ ในโลก

    โดยสรุป ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้น เป็นประโยชน์ที่สูงสุด เป็นเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ ที่ผู้ปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาต่างแสวงหา เพื่อให้หลุดพ้นจากทุกข์ และบรรลุสภาวะแห่งความสุข ความสงบ และความอิสระอย่างแท้จริง
    ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้นยิ่งใหญ่และครอบคลุม เป็นจุดหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ประโยชน์หลักๆ ได้แก่: - การหลุดพ้นจากทุกข์: นี่คือประโยชน์ที่สำคัญที่สุด นิพพานคือการดับทุกข์ทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นทุกข์ทางกาย ทุกข์ทางใจ หรือทุกข์จากการเวียนว่ายตายเกิด ความทุกข์ทั้งหลายที่เกิดจากกิเลส ตัณหา และความยึดมั่นถือมั่นจะหมดสิ้นไป - ความสงบสุขที่แท้จริง: ผู้บรรลุนิพพานจะได้รับความสงบสุขอย่างแท้จริง เป็นความสงบที่ไม่ใช่เพียงแค่ความสงบชั่วคราว แต่เป็นความสงบที่ยั่งยืน ปราศจากความกังวล ความกลัว และความไม่แน่นอน - ความหลุดพ้นจากวัฏฏะ: การบรรลุนิพพานหมายถึงการหลุดพ้นจากวงจรแห่งการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป เป็นการสิ้นสุดของการทนทุกข์ทรมานจากการเกิดใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า - ความรู้แจ้งในธรรมชาติของความจริง: ผู้บรรลุนิพพานจะเข้าใจธรรมชาติของความจริงอย่างลึกซึ้ง เข้าใจไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) อย่างถ่องแท้ และสามารถมองโลกได้อย่างถูกต้อง ปราศจากอคติ และความยึดมั่นถือมั่น - ความอิสระอย่างแท้จริง: ไม่ถูกผูกมัดด้วยกิเลส ตัณหา หรือความยึดติดใดๆ เป็นอิสระอย่างแท้จริง ทั้งทางกาย และทางใจ - ความสุขนิรันดร์: ความสุขที่ได้จากการบรรลุนิพพานเป็นความสุขที่ยั่งยืน ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นความสุขที่แท้จริง ที่เหนือกว่าความสุขใดๆ ในโลก โดยสรุป ประโยชน์ของการบรรลุนิพพานนั้น เป็นประโยชน์ที่สูงสุด เป็นเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ ที่ผู้ปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาต่างแสวงหา เพื่อให้หลุดพ้นจากทุกข์ และบรรลุสภาวะแห่งความสุข ความสงบ และความอิสระอย่างแท้จริง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 363 มุมมอง 0 รีวิว
  • ท่านมีบุญกุศลให้เราได้ทำ มีเทศน์ให้ฟัง ปฏิบัติธรรมก็รีบทำกันไว้ ตากโลกนี้ไปแล้วไม่มีให้ทำนะ
    ท่านมีบุญกุศลให้เราได้ทำ มีเทศน์ให้ฟัง ปฏิบัติธรรมก็รีบทำกันไว้ ตากโลกนี้ไปแล้วไม่มีให้ทำนะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 170 มุมมอง 0 รีวิว
  • ครอบครัวผมถวายข้าวสารหอมมะลิ30กก.น้ำดื่ม30แพค น้อมถวายหลสงปู่ชัยยะ พระแม่ ณ.สถานปฏิบัติธรรมเต็มสิบ เพชรบูรณ์ ประจำเดือนเมษายน2568 สาธุ
    ครอบครัวผมถวายข้าวสารหอมมะลิ30กก.น้ำดื่ม30แพค น้อมถวายหลสงปู่ชัยยะ พระแม่ ณ.สถานปฏิบัติธรรมเต็มสิบ เพชรบูรณ์ ประจำเดือนเมษายน2568 สาธุ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 324 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 950
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=950
    ชื่อบทธรรม :- แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้
    (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้
    ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น
    และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง
    กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง
    ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมาจากน้ำบ้าง
    จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป
    หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว
    ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น
    : ในสมัยใด ภิกษุ*--๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วย
    ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์
    และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย;
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า
    “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
    ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย.
    ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด”
    ดังนี้.
    --ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้
    ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง.
    เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม
    นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า,
    เธอ
    ๑--ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่;
    ๒--ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่;
    ๓--ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่;
    ๔--ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่;
    ๕--ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่.
    --ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง
    อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม #เข้าถึงปฐมฌาน
    http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=ปฐมชฺฌานํ
    อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    ภิกษุนั้น #บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน.

    *--๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง
    รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน,
    ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว.

    (ในกรณีแห่งการบรรลุ
    &ทุติยฌาน...
    &ตติยฌาน...
    &จตุตถฌาน...
    &อากาสานัญจายตนะ... กระทั่งถึง
    &เนวสัญญานาสัญญายตนะ...
    ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน.
    ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ
    สัญญาเวทยิตนิโรธ...นั้น
    ตรัสว่า :-
    )
    --ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง
    จึง เข้าถึง &​สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป.
    เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน
    แล.

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/351 - 354/244.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/351/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๕๓ - ๔๕๖/๒๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=950
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคาย สัทธรรมลำดับที่ : 950 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=950 ชื่อบทธรรม :- แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ เนื้อความทั้งหมด :- --แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้ ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมาจากน้ำบ้าง จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :- ) --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุ*--๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย; --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย. ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด” ดังนี้. --ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ๑--ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่; ๒--ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ๓--ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ๔--ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่; ๕--ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่. --ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม #เข้าถึงปฐมฌาน http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=ปฐมชฺฌานํ อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้น #บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน. *--๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน, ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว. (ในกรณีแห่งการบรรลุ &ทุติยฌาน... &ตติยฌาน... &จตุตถฌาน... &อากาสานัญจายตนะ... กระทั่งถึง &เนวสัญญานาสัญญายตนะ... ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน. ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ สัญญาเวทยิตนิโรธ...นั้น ตรัสว่า :- ) --ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง จึง เข้าถึง &​สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป. เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน แล. #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. 23/351 - 354/244. http://etipitaka.com/read/thai/23/351/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อํ. ๒๓/๔๕๓ - ๔๕๖/๒๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/23/453/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=579 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=950 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว).
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว). แม้เพียงปฐมฌาน ก็บำบัดกิเลสอันเป็นเครื่องระคายใจได้ (ในตอนต้นแห่งพระบาลีสูตรนี้ ตรัสเล่าถึงช้างจ่าโขลงรำคาญอยู่ด้วยการรบกวนของช้างพลาย ช้างพัง ช้างรุ่น และลูกช้าง ที่ติดตามห้อมล้อม โดยกินหญ้าอ่อนเสียก่อนบ้าง กินยอดไม้ที่หักลงมาได้เสียก่อนบ้าง ลงไปทำน้ำให้ขุ่นเสียก่อนบ้าง ถูกเดินเบียดเสียดเมื่อขึ้นมา จากน้ำบ้าง จึงตัดสินใจหลีกไปอยู่ผู้เดียว ไม่ต้องทนความรำคาญอีกต่อไป หักกิ่งไม้ฟาดตัวระงับความคันทั่วตัวอยู่อย่างสบาย เป็นอุปมาดังนี้แล้ว ได้ตรัสถึงภิกษุในกรณีนี้ ดังต่อไปนี้ :- ) ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุ๑ เป็นผู้เกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีย์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย; ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุนั้นได้มีความคิดว่า “เดี๋ยวนี้เราเกลื่อนกล่นอยู่ด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ราชา มหาอำมาตย์ของราชา เดียรถีร์ และสาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย. ถ้าไฉน, เราพึง หลีกออกจากหมู่คณะ ไปอยู่ผู้เดียวเถิด” ดังนี้. ภิกษุนั้น เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าละเมาะ โคนไม้ ภูเขา ซอกห้วย ท้องถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง. เธอนั้น ไปแล้วสู่ป่าก็ตาม สู่โคนไม้ก็ตาม สู่เรือนว่างก็ตาม นั่งคู้ขาเข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรงดำรงสติเฉพาะหน้า, เธอ ละอภิชฌา ในโลก มีจิตปราศจากอภิชฌา ชำระจิตจากอภิชฌาอยู่; ละพยาบาท อันเป็นเครื่องประทุษร้าย มีจิตปราศจากพยาบาท เป็นผู้กรุณามีจิตหวังความเกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวง ชำระจิตจากพยาบาทอันเป็นเครื่องประทุษร้าย อยู่; ละถีนมิทธะ มุ่งอยู่แต่ความสว่างในใจ มีจิตปราศจากถีนมิทธะ มีสติสัมปชัญญะรู้สึกตัว ชำระจิตจากถีนมิทธะ อยู่; ละอุทธัจจะกุกกุจจะ ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบอยู่ในภายใน ชำระจิตจากอุทธัจจะกุกกุจจะ อยู่; ละวิจิกิจฉา ข้ามล่วงวิจิกิจฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร” ในกุศลธรรม ทั้งหลาย ชำระจิตจากวิจิกิจฉา อยู่. ๑. คำว่า “ภิกษุ” ในที่นี้ มีความหมายกว้าง รวมทั้งพระองค์เอง และผู้ปฏิบัติธรรมะอยู่เพราะความเห็นภัยในวัฏฏสงสารทุกท่าน, ในที่นี้แปลตามบาลี ซึ่งมีอยู่แต่เพียงคำว่า ภิกษุคำเดียว. ภิกษุนั้น ละนิวรณ์ทั้งห้าอย่าง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองจิตทำปัญญาให้ถอยกำลังเหล่านี้ ได้แล้ว สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌานอันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. ภิกษุนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน. (ในกรณีแห่งการบรรลุ ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ กระทั่งถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งการบรรลุปฐมฌานข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อฌาน. ส่วนในกรณีแห่งการบรรลุ สัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ตรัสว่า :- ) ภิกษุนั้น เพราะก้าวล่วง ซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. เพราะเห็นด้วยปัญญาอาสวะของเธอนั้น ก็สูญสิ้นไป. เธอนั้น บำบัดกิเลสเป็นเครื่องระคายใจได้ อย่างเป็นที่พอใจของตน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 475 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกในจำนวนประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป

    จากข้อมูลปี 2024 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปถึง 42,845 คน ติดอันดับที่ 5 ของโลก แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน

    สาเหตุที่ทำให้คนไทยอายุยืน

    1. อาหารและโภชนาการ

    อาหารไทยอุดมไปด้วยสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ

    การบริโภคผักและผลไม้สด รวมถึงอาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลาและข้าวกล้อง

    2. วัฒนธรรมและวิถีชีวิต

    สังคมไทยให้ความสำคัญกับครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุมีการดูแลและได้รับความรักจากลูกหลาน

    การทำบุญและปฏิบัติธรรมช่วยให้จิตใจสงบ ลดความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของอายุยืน

    3. การแพทย์และสาธารณสุข

    ระบบสาธารณสุขของไทยเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะโครงการ "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" หรือ "บัตรทอง"

    มีแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่ทำงานร่วมกัน ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง

    แนวโน้มของประเทศไทยในอนาคต

    ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งหมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมากกว่า 20% ของประชากรทั้งหมด ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวในหลายด้าน เช่น

    การพัฒนาระบบสาธารณสุขให้รองรับผู้สูงวัย

    การออกแบบเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ

    การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยสามารถทำงานหรือมีกิจกรรมที่เสริมสร้างสุขภาพ

    จากสถิตินี้ทำให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีคนอายุยืนมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับอนาคตของประเทศ

    ที่มา: VGraps
    ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกในจำนวนประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป จากข้อมูลปี 2024 ประเทศไทยมีประชากรที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไปถึง 42,845 คน ติดอันดับที่ 5 ของโลก แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างชัดเจน สาเหตุที่ทำให้คนไทยอายุยืน 1. อาหารและโภชนาการ อาหารไทยอุดมไปด้วยสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ การบริโภคผักและผลไม้สด รวมถึงอาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น ปลาและข้าวกล้อง 2. วัฒนธรรมและวิถีชีวิต สังคมไทยให้ความสำคัญกับครอบครัว ทำให้ผู้สูงอายุมีการดูแลและได้รับความรักจากลูกหลาน การทำบุญและปฏิบัติธรรมช่วยให้จิตใจสงบ ลดความเครียด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของอายุยืน 3. การแพทย์และสาธารณสุข ระบบสาธารณสุขของไทยเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะโครงการ "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า" หรือ "บัตรทอง" มีแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่ทำงานร่วมกัน ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง แนวโน้มของประเทศไทยในอนาคต ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) ซึ่งหมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมากกว่า 20% ของประชากรทั้งหมด ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวในหลายด้าน เช่น การพัฒนาระบบสาธารณสุขให้รองรับผู้สูงวัย การออกแบบเมืองให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยสามารถทำงานหรือมีกิจกรรมที่เสริมสร้างสุขภาพ จากสถิตินี้ทำให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีคนอายุยืนมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับอนาคตของประเทศ ที่มา: VGraps
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 989 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts