• อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าเมื่อสังโยชน์สิบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 328
    ชื่อบทธรรม :- สังโยชน์สิบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=328
    เนื้อความทั้งหมด :- สังโยชน์สิบ
    --ภิกษุ ท. ! สังโยชน์ ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่.
    สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการ คือ
    โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ
    อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ.
    --โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
    สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท
    : เหล่านี้ คือ #โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/19/?keywords=ปญฺโจรมฺภาคิยานิ+สํโยชนานิ

    --อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
    รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา
    : เหล่านี้ คือ #อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/19/?keywords=ปญฺจุทฺธมฺภาคิยานิ+สํโยชนานิ

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๑๐ ประการ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/19/?keywords=ทส+สํโยชนา

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทาสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/16-17/13.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๘-๑๙/๑๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/18/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=328
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=328
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าเมื่อสังโยชน์สิบ สัทธรรมลำดับที่ : 328 ชื่อบทธรรม :- สังโยชน์สิบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=328 เนื้อความทั้งหมด :- สังโยชน์สิบ --ภิกษุ ท. ! สังโยชน์ ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการ คือ โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ. --โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ เป็นอย่างไรเล่า ? คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท : เหล่านี้ คือ #โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ. http://etipitaka.com/read/pali/24/19/?keywords=ปญฺโจรมฺภาคิยานิ+สํโยชนานิ --อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ เป็นอย่างไรเล่า ? คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา : เหล่านี้ คือ #อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ. http://etipitaka.com/read/pali/24/19/?keywords=ปญฺจุทฺธมฺภาคิยานิ+สํโยชนานิ --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๑๐ ประการ.- http://etipitaka.com/read/pali/24/19/?keywords=ทส+สํโยชนา #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทาสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/16-17/13. http://etipitaka.com/read/thai/24/16/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๘-๑๙/๑๓. http://etipitaka.com/read/pali/24/18/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=328 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=328 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สังโยชน์สิบ
    -สังโยชน์สิบ ภิกษุ ท. ! สังโยชน์ ๑๐ ประการเหล่านี้ มีอยู่. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการ คือ โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ. โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ เป็นอย่างไรเล่า ? คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท : เหล่านี้ คือ โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ เป็นอย่างไรเล่า ? คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา : เหล่านี้ คือ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล สัญโญชน์ ๑๐ ประการ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 995
    ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่;
    การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น
    แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ;
    เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่
    เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น.

    --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้
    เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย
    เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง
    ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่.
    ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ;
    เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
    เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน.
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น
    (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ)
    ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง.
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน
    เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น
    ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ(เปยยาล)​....
    (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น
    แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน
    ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ
    และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย
    ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้
    $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ ....
    ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้
    เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน
    ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    .... ฯลฯ....
    ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน )
    ....
    อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา
    จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ
    อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ;
    เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง
    โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ
    เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน
    เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่)
    เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น )
    แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน)
    ด้วยการกำหนดว่า
    “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต
    : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง
    เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
    เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”
    ดังนี้.
    เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น
    ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ;
    ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี
    ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ
    และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง.
    -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก :
    ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว
    จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้
    มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น
    แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.

    --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ
    โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า
    “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ)
    . . . .
    --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.-

    (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้
    เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ
    ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ;
    และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน
    ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
    อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ
    เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ;
    นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด.
    ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่
    อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้
    ).

    *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า;
    ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป.

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 995 ชื่อบทธรรม : -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 เนื้อความทั้งหมด :- --ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้วจักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. --อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพานธาตุ) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็นโอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ(เปยยาล)​.... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างต้นนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาล ไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ $เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน เข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) *--๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะอนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่ง ธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. -- อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง เข้าถึงวิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. --อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึง $เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . --อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.- (สรุปความว่า มรรคหรือปฏิปทานี้ ละโอรัมภาคิยสังโยชน์ได้ เพราะการเห็น อนิจจตา กระทั่งถึง อนัตตา รวมเป็น ๑๑ ลักษณะ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งรูปฌานทั้งสี่ แต่ละฌาณๆ; และเห็นธรรม ๑๑ อย่างนั้นอย่างเดียวกัน ใน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปรากฏอยู่ในขณะแห่งอรูปฌานสามข้างต้น แต่ละฌาณๆ เว้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ; นับว่าเป็นธรรมที่ละเอียดสุขุมที่สุด. ผู้ศึกษาพึงใคร่ครวญให้เป็นอย่างดีตรงที่ว่า มีขันธ์ห้า หรือ ขันธ์สี่ อยู่ที่จิตในขณะที่มีฌาน ดังนี้ ). *--๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/125-129/156-158. http://etipitaka.com/read/thai/13/125/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘. http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=995 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค
    -ปฏิปทาเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ก็คือมรรค อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า มีอยู่; การที่บุคคลจะไม่อาศัย ซึ่งมรรคนั้น ซึ่งปฏิปทานั้น แล้ว จักรู้จักเห็นหรือว่าจักละ ซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น : นั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ; เช่นเดียวกับการที่บุคคลไม่ถากเปือก ไม่ถากกระพี้ ของต้นไม้ใหญ่มีแก่นยืนต้นอยู่ เสียก่อน แล้วจักไปถากเอาแก่นนั้น : นั่นไม่เป็น ฐานะที่จะมีได้, ฉันใดก็ฉันนั้น. ...... อานนท์ ! มรรค และ ปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิย สังโยชน์ห้า นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสงัดจากอุปธิ เพราะละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะความระงับเฉพาะแห่งความหยาบกระด้างทางกายโดยประการทั้งปวง ก็สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่. ในปฐมฌานนั้น มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ที่กำลังทำหน้าที่อยู่) ; เธอนั้น ตามเห็นธรรมซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน. เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เขาดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีปฐมฌานเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่ง อาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียน กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะ ธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้น ๆ นั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความเข้าไปสงบระงับเสียได้ซึ่งวิตกและวิจาร จึง เข้าถึงทุติยฌาน เป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอกผุดมีขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจากสมาธิ แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... (ข้อความตรงที่ละเปยยาลไว้นี้ มีเนื้อความเต็มเหมือนในตอนที่กล่าวถึงปฐมฌานข้างบนนั้น ทุกตัวอักษร แปลกแต่คำว่าปฐมฌานเป็นทุติยฌานเท่านั้น แม้ข้อความที่ละเปยยาลไว้ในตอนตติยฌานและจตุตถฌาน ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ผู้ศึกษาพึงเติมให้เต็มเอาเอง ; จนกระทั่งถึงข้อความว่า ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปิติ ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติและสัมปชัญญะ และย่อมเสวยความสุขด้วยนามกายชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติอยู่เป็นปรกติสุข” ดังนี้ เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ .... ( มีเนื้อ ความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุข เสียได้ และเพราะละทุกข์เสียได้ เพราะ ความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อนเข้าถึงจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. .... ฯลฯ.... ( มีเนื้อความเต็มดุจในตอนปฐมฌาน ) .... อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะก้าวล่วงรูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ใส่ใจซึ่งนานัตตสัญญา จึง เข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ แล้วแลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะนั้น มีธรรม คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ( ที่กำลังทำหน้าที่อยู่ ) ๑ ; เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก เป็นอาพาธ เป็นดังผู้อื่น (ให้ยืมมา) เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เป็นของไม่ใช่ตน เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์เพียงสี่) เหล่านั้น (อันประกอบด้วยลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น ) แล้วจึง น้อมจิตไปสู่อมตธาตุ (คือนิพพาน) ด้วยการกำหนดว่า “นั่นสงบระงับ นั่นประณีต : นั่นคือธรรมชาติเป็นที่สงบระงับแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” ดังนี้. เธอดำรงอยู่ในวิปัสสนาญาณมีอากาสานัญจายตนะเป็นบาทนั้น ย่อม ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ; ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามี ๑. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ในพวกรูปฌานมีขันธ์ครบห้า; ส่วนในอรูปฌานมีขันธ์เพียงสี่ คือขาดรูปขันธ์ไป. ผู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำห้าประการ และเพราะอำนาจแห่งธัมมราคะธัมมนันทิ (อันเกิดจากการกำหนดจิตในอมตธาตุ) นั้นๆนั่นเอง. อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นอากาสานัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง วิญญาณัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “วิญญาณไม่มีที่สิ้นสุด” แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (ข้อความตรงละเปยยาลไว้นี้ มีข้อความที่ตรัสไว้เหมือนในตอนที่ตรัสถึงเรื่องอากาสานัญจายตนะข้างบนนี้ ทุกตัวอักษร แปลกแต่เปลี่ยนจากอากาสานัญจายตนะ มาเป็นวิญญาณัญจายตนะเท่านั้น แม้ในตอนอากิญจัญญายตนะที่ละไว้ ก็พึงทราบโดยนัยนี้, จนกระทั่งถึงข้อความว่า) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น. อานนท์ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะผ่านพ้นวิญญาณัญจายตนะ โดยประการทั้งปวงเสียแล้ว จึงเข้าถึง อากิญจัญญายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อะไรๆไม่มี” ดังนี้ แล้วแลอยู่. . . . . ฯลฯ . . . . (มีเนื้อความเต็มดุจในตอนอากาสานัญจายตนะ) . . . . อานนท์ ! แม้นี้แล ก็เป็นมรรค เป็นปฏิปทา เพื่อละเสียซึ่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 435 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 992
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ
    การแสวงหากาม (กาเมสนา)
    การแสวงหาภพ (ภเวสนา)
    การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.
    อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ
    สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ...
    สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ .....
    สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ .....
    ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.

    [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้
    ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้
    ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี.
    +--สำหรับคำว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น
    ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ
    เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน
    หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน
    ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี.
    +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้
    หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส
    เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ.
    +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา)
    ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น
    สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน
    ได้แก่ : -
    +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา)
    ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ
    สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน
    คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.
    ]-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด สัทธรรมลำดับที่ : 992 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ..... ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. +--สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : - +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี. ]- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354. http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    -(ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็นสัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบ หรือ มิจฉัตตะสิบ โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี. -๒๑/๓๐๓/๒๐๖. ในสูตรอื่น แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี -๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘, และ ทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี - ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ; ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก. ในสูตรอื่น แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบ หรือมัจฉัตตะสิบ เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้ แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี -๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.) อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึงพรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือกาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วยกาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.]-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 317 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 606
    ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :-
    (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ;
    (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ;
    (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ;
    (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ;
    (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ;
    (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ;
    (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว.
    อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย.

    --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย
    และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน
    เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่.

    --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ
    เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ
    มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
    มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่.
    อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก
    ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาฐานะระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 606 ชื่อบทธรรม :- ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 เนื้อความทั้งหมด :- --ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ --ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ :- (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย แต่ว่า สัทธา เป็นต้น ของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. --ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย และ สัทธา เป็นต้น ของเขาไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น #โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โสตาปนฺโน เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. --ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น #สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดี ในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น #โอปปาติกะ(อนาคามี)​ มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/23/12/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล #บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 23/11/15. http://etipitaka.com/read/thai/23/11/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๐/๑๕. http://etipitaka.com/read/pali/23/10/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=606 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=606 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์
    -(ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า เมื่อบุรุษนั้นกำลังปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์อยู่ วิราคะก็เกิดขึ้นได้ เมื่อเขาเพ่งดูเหตุแห่งความทุกข์ยิ่ง ๆ ขึ้นไป วิราคะก็ยิ่งเกิดขึ้น จนกระทั่งว่าเขาสามารถละราคะ ในหญิงคือทุกข์นั้นเสียได้. ผู้ที่ยังไม่มีความทุกข์ ก็อย่าไปปรุงแต่งเหตุแห่งความทุกข์ขึ้นมาเลย มีความสุขโดยชอบธรรมอยู่แล้วเพียงใด ก็ไม่มัวเมาในความสุขนั้น ก็จะชื่อว่า ไม่เอาความทุกข์มาทับถมตนซึ่งไม่มีความทุกข์อยู่แล้ว และมีวิราคะในความทุกข์ได้ นี้ย่อมเป็นสิ่งที่กระทำได้). ระดับต่าง ๆ แห่งบุคคลผู้ถอนตัวขึ้นจากทุกข์ ภิกษุ ท. ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก เหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. เจ็ดจำพวกเหล่าไหนเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ : (๑) บุคคลบางคน จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย ; (๒) บุคคลบางคน ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย ; (๓) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ยืนอยู่ ; (๔) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ ; (๕) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ว่ายเข้าหาฝั่ง ; (๖) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้วเดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว ; (๗) บุคคลบางคน ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๑) บุคคล จมน้ำคราวเดียวแล้วก็จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดียว แล้วจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๒) บุคคล ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. แต่ว่าสัทธาเป็นต้นของเขา ไม่ตั้งอยู่นาน ไม่เจริญ เสื่อมสิ้นไป. อย่างนี้แลเรียกว่า ผุดขึ้นครั้งหนึ่งแล้วจึงจมเลย. ภิกษุ ท. ! (๓) บุคคล ผุดขึ้นแล้วยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรม ทั้งหลาย. และ สัทธาเป็นต้นของเขา ไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วลอยยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! (๔) บุคคล ผุดขึ้นแล้วเหลียวดูรอบ ๆ อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เหลียวดูรอบ ๆ อยู่. ภิกษุ ท. ! (๕) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม และเพราะความเบาบางแห่งราคะโทสะโมหะ เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้าหาฝั่ง. ภิกษุ ท. ! (๖) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น เพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพ- พานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว เดินเข้ามาถึงที่ตื้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! (๗) บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คือ มีสัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลนั้น ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วอยู่. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้วถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยืนอยู่. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกน้ำเจ็ดจำพวก ซึ่งมีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 527 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 603
    ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่
    ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค
    ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา.
    องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ
    ๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ
    ๒.ด้วยพละ
    ๓.ด้วยชวะ
    ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง).
    --ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
    ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย
    และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า.
    ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ?
    สี่ประการคือ สมบูรณ์
    ๑.ด้วยวรรณะ
    ๒.ด้วยพละ
    ๓.ด้วยชวะ
    ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน
    ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &​ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร
    เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล
    มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)​ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”,
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน
    ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีการได้จีวร
    บิณฑบาต
    เสนาสนะ และ
    คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก
    อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า,
    ดังนี้แล.-

    [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90
    ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า
    ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
    ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม
    ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น.
    --และ
    ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97
    ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า
    ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น
    ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา
    เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าบุคคลที่ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 603 ชื่อบทธรรม :- ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603 เนื้อความทั้งหมด :- --ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ --ภิกษุ ท. ! ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่ ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา. องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ ๑.สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ๒.ด้วยพละ ๓.ด้วยชวะ ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง). --ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ สมบูรณ์ ๑.ด้วยวรรณะ ๒.ด้วยพละ ๓.ด้วยชวะ ๔.ด้วยอาโรหปริณาหะ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=วณฺณสมฺปนฺโน ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ &​ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=พลสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=ชวสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริง(อริยสัจสี่)​ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”, ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ &​ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/21/339/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺโน ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีการได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ คิลานปัจจยเภสัชชบริขารเป็นปกติ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้แล.- [ในสูตรถัดไป (จตุกฺก.อํ. ๒๑/๓๓๘/๒๖๐) http://etipitaka.com/read/pali/21/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%90 ทรงแสดงลักษณะแห่ง ภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วย ชวะ ว่า ได้แก่ภิกษุผู้กระทำให้แจ้ง #ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันไม่มีอาสวะเพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะ ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. คำว่า “ชวะ” ในที่นี้ หมายถึงความเร็วของการบรรลุธรรม ก้าวล่วงความทุกข์ เหมือนความเร็วแห่งม้ามีฝีเท้าดีฉะนั้น. --และ ในสูตรอื่น (๒๐/๓๑๖/๕๓๗) http://etipitaka.com/read/pali/20/316/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97 ทรงแสดงลักษณะภิกษุผู้สมบูรณ์ด้วยเชาว์ (ชวะ) ว่า ได้แก่ภิกษุผู้เป็น #โอปปาติกอนาคามี มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่มีการเวียนกลับจากโลกนั้น เป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้า ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/235/259. http://etipitaka.com/read/thai/21/235/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๓๗/๒๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/337/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=603 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=603 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ
    -ฝีเท้าไววัดด้วยการรู้อริยสัจ ภิกษุ ท. !ม้าอาชาไนยตัวเจริญของพระราชา ประกอบด้วยองค์สี่ ย่อมเป็นม้าที่คู่ควรแก่พระราชา เป็นราชูปโภค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นอังคาพยพของพระราชา. องค์ ๔ อะไรกันเล่า ? องค์สี่คือ สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ด้วยพละ ด้วยชวะ ด้วยอาโรหปริณาหะ (ทรวดทรง). ภิกษุ ท. ! ฉันเดียวกันกับที่ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนยย ปาหุเนยย ทักขิเณยย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลกอันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า. ธรรม ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? สี่ประการคือ สมบูรณ์ด้วยวรรณะ ด้วยพละ ด้วยชวะ ด้วยอาโรหปริณาหะ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยวรรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุใน กรณีนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร สมบูรณ์ด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลายแม้ที่ถือกันว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยพละ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละธรรมอันเป็นอกุศล เพื่อความถึงพร้อมแห่งธรรมอันเป็นกุศล มีกำลัง (จิต) ทำความเพียรก้าวไปหน้าอย่างมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยชวะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้, ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้”, ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุสมบูรณ์ด้วยอาโรหปริณาหะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีการได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชช บริขารเป็นปกติ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล ย่อมเป็นบุคคลอาหุเนย ปาหุเนย ทักขิเณย อัญชลิกรณีย และเป็นนาบุญแห่งโลก อันไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 399 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง
    สัทธรรมลำดับที่ : 561
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=561
    ชื่อบทธรรม :- ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง
    ...
    --ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้วย่อม
    มีเจโตวิมุติเป็นผล และมีเจโตวิมุติเป็นผลานิสงส์
    ย่อมมีปัญญาวิมุติเป็นผล และมีปัญญาวิมุติเป็นผลานิสงส์
    ธรรม ๕ ประการเป็นไฉนคือ
    ๑.ความสำคัญว่าไม่เที่ยง ๑
    ๒.ความสำคัญว่า​ เป็นทุกข์ใน​ สิ่งไม่เที่ยง ๑
    ๓.ความสำคัญว่า​ เป็นอนัตตาใน​ สิ่งที่เป็นทุกข์ ๑
    ๔.ความสำคัญ ในการละ ๑
    ๕.ความสำคัญ ในความคลายกำหนัด ๑
    --ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล อันบุคคลเจริญแล้วทำให้มากแล้ว
    ย่อมมีเจโตวิมุติเป็นผล และมีเจโตวิมุติเป็นผลานิสงส์
    ย่อมมีปัญญาวิมุติเป็นผล และมีปัญญาวิมุติเป็นผลานิสงส์

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ภิกษุ หลุดพ้นแล้วเป็นเจโตวิมุตต์และปัญญาวิมุตต์ ;
    ภิกษุนี้ เรา :-
    +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว”
    (อุกฺขิตฺตปลิโฆ) ดังนี้บ้าง ;
    http://etipitaka.com/read/pali/22/96/?keywords=อุกฺขิตฺตปลิโฆ
    +--เรียกว่าเป็น “ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้”
    (สงฺกิณฺณปริกฺโข) ดังนี้บ้าง ;
    +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้”
    (อพฺพุเฬฺหสิโก) ดังนี้บ้าง ;
    +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้”
    (นิรคฺคโฬ) ดังนี้บ้าง ;
    +--เรียกว่าเป็น “อริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน”
    (อริโยปนฺนทฺธโช ปนฺนภาโร วิสํยุตฺโต) ดังนี้บ้าง.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีอวิชชาอันละขาดแล้ว
    เป็นอวิชชามีรากอันถอนขึ้น​แล้ว,
    กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้นยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีชาติสังสาระเครื่องนำไปสู่ภพใหม่อันละขาดแล้ว
    เป็นชาติสังสาระมีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นได้
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีตัณหาอันละขาดแล้ว
    เป็นตัณหามีรากอันถอนขึ้น​แล้ว,
    กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่าผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้าอันละขาดแล้ว
    เป็นสังโยชน์มีรากอันถอนขึ้นแล้ว,
    กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า เป็นอริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    #มีอัส๎มิมานะอันละขาดแล้ว
    เป็นอัส๎มิมานะมีรากอันถอนขึ้น​แล้ว,
    กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน
    ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา.
    -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า
    เป็นอริยะ ผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน
    แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/76/71, 72.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/76/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๖/๗๑, ๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/96/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=561
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=561
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36
    ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง สัทธรรมลำดับที่ : 561 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=561 ชื่อบทธรรม :- ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง ... --ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้วย่อม มีเจโตวิมุติเป็นผล และมีเจโตวิมุติเป็นผลานิสงส์ ย่อมมีปัญญาวิมุติเป็นผล และมีปัญญาวิมุติเป็นผลานิสงส์ ธรรม ๕ ประการเป็นไฉนคือ ๑.ความสำคัญว่าไม่เที่ยง ๑ ๒.ความสำคัญว่า​ เป็นทุกข์ใน​ สิ่งไม่เที่ยง ๑ ๓.ความสำคัญว่า​ เป็นอนัตตาใน​ สิ่งที่เป็นทุกข์ ๑ ๔.ความสำคัญ ในการละ ๑ ๕.ความสำคัญ ในความคลายกำหนัด ๑ --ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล อันบุคคลเจริญแล้วทำให้มากแล้ว ย่อมมีเจโตวิมุติเป็นผล และมีเจโตวิมุติเป็นผลานิสงส์ ย่อมมีปัญญาวิมุติเป็นผล และมีปัญญาวิมุติเป็นผลานิสงส์ --ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ภิกษุ หลุดพ้นแล้วเป็นเจโตวิมุตต์และปัญญาวิมุตต์ ; ภิกษุนี้ เรา :- +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว” (อุกฺขิตฺตปลิโฆ) ดังนี้บ้าง ; http://etipitaka.com/read/pali/22/96/?keywords=อุกฺขิตฺตปลิโฆ +--เรียกว่าเป็น “ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้” (สงฺกิณฺณปริกฺโข) ดังนี้บ้าง ; +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้” (อพฺพุเฬฺหสิโก) ดังนี้บ้าง ; +--เรียกว่าเป็น “ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้” (นิรคฺคโฬ) ดังนี้บ้าง ; +--เรียกว่าเป็น “อริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน” (อริโยปนฺนทฺธโช ปนฺนภาโร วิสํยุตฺโต) ดังนี้บ้าง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีอวิชชาอันละขาดแล้ว เป็นอวิชชามีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้นยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีชาติสังสาระเครื่องนำไปสู่ภพใหม่อันละขาดแล้ว เป็นชาติสังสาระมีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีตัณหาอันละขาดแล้ว เป็นตัณหามีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่าผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้าอันละขาดแล้ว เป็นสังโยชน์มีรากอันถอนขึ้นแล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า เป็นอริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? -+ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ #มีอัส๎มิมานะอันละขาดแล้ว เป็นอัส๎มิมานะมีรากอันถอนขึ้น​แล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา. -+ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า เป็นอริยะ ผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/76/71, 72. http://etipitaka.com/read/thai/22/76/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๙๖/๗๑, ๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/22/96/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=561 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36&id=561 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=36 ลำดับสาธยายธรรม : 36​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_36.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง
    -ผู้หลุดพ้นแล้วมีอุปมา ๕ อย่าง ภิกษุ ท. ! เมื่อใด ภิกษุ หลุดพ้นแล้วเป็นเจโตวิมุตต์และปัญญาวิมุตต์ ; ภิกษุนี้ เรา : เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว” (อุกฺขิตฺตปลิโฆ) ดังนี้บ้าง ; เรียกว่าเป็น “ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้” (สงฺกิณฺณปริกฺโข) ดังนี้บ้าง ; เรียกว่าเป็น “ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้” (อพฺพุเฬฺหสิโก) ดังนี้บ้าง ; เรียกว่าเป็น “ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้” (นิรคฺคโฬ) ดังนี้บ้าง ; เรียกว่าเป็น “อริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน” (อริโยปนฺนทฺธโช ปนฺนภาโร วิสํยุตฺโต) ดังนี้บ้าง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี อวิชชาอันละขาดแล้ว เป็นอวิชชามีรากอันถอนขึ้นแล้ว กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้นยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอนลิ่มสลักได้แล้ว. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี ชาติสังสาระเครื่องนำไปสู่ภพใหม่อันละขาดแล้วเป็นชาติสังสาระมีรากอันถอนขึ้นแล้ว กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้รื้อรั้วล้อมออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี ตัณหาอันละขาดแล้ว เป็นตัณหามีราก อันถอนขึ้นแล้ว กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่าผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นเสียได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี โอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้งห้าอันละขาดแล้วเป็นสังโยชน์มีรากอันถอนขึ้นแล้ว, กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วนถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า ผู้ถอดกลอนประตูออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุชื่อว่า เป็นอริยะผู้ลดธง ปลงภาระ ปราศจากเครื่องผูกพัน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ มี อัส๎มิมานะอันละขาดแล้ว เป็นอัส๎มิมานะมีรากอันถอนขึ้นแล้ว กระทำให้เป็นเหมือนต้นตาลมีขั้วยอดอันด้วน ถึงความไม่มีไม่เป็น มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็น อริยะผู้ลดธงปลงภาระปราศจากเครื่องผูกพันแล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 592 มุมมอง 0 รีวิว
  • ละสังโยชน์ ให้หมดไปสู่พิพาน
    สังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์
    หรือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ มี 10 อย่าง คือ

    สังโยชน์ 10 (แบบย่อ)

    สังโยชน์เบื้องต่ำ
    1. สักกายทิฏฐิ - คิดว่ากายนี้เป็นของเรา
    2. วิจิกิจฉา - สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    3. สีลัพพตปรามาส - งมงายในคำสอนของลัทธิอื่น
    4. กามราคะ- ติดใจในกามคุณทั้ง5
    5. ปฏิฆะ(พยาบาท) - มีความกระทบทางใจ โกรธ ผูกโกรธ

    สังโยชน์เบื้องสูง
    6. รูปราคะ - ติดในใน รูปฌาน
    7. อรูปราคะ - ติดในใน อรูปฌาน
    8. มานะ - ถือตัว ยึดมั่นในตัวตน
    9. อุทธัจจะ -ฟุ้งซ่าน
    10. อวิชชา - ความไม่รู้จริง

    .............................................................................................................................................
    ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ได้แก่

    1. สักกายทิฏฐิ -มีความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นของเรา
    2. วิจิกิจฉา - มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    3. สีลัพพตปรามาส - ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้ เพียงด้วยศีลละวัตร หรือนำศีลและพรต ไปใช้เพื่อ เหตุผลอื่น ไม่ใช่เพื่อเป็นปัจจัยแก่การสิ้นกิเลส เช่นการถือศีล เพื่อเอาไว้ข่มไว้ด่า คนอื่น การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็นต้น ซึ่งรวมถึงความเชื่อถือ ในพิธีกรรม ที่งมงายด้วย
    4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณทั้ง ๕
    5. ปฏิฆะ (พยาบาท) - จิตพยาบาท อาฆาตแค้น หงุดหงิด โกรธ
    ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 ได้แก่

    6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุ หรือรูปฌาน
    7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทั้งหลาย
    8. มานะ - ถือตัว/ถ่อมตัว ยกตนเหนือกว่า/ด้อยกว่า
    9. อุทธัจจะ - มีความฟุ้งซ่าน
    10. อวิชชา - ปัญญามืดบอด มีความไม่รู้จริง

    พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อ

    พระสกทาคามี ละสังโยชน์ 3 ข้อ และ 4-5 บางส่วน (กามราคะ-ปฏิฆะ เบาบาง)

    พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อแรกได้หมด

    พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง 10 ข้อ
    ละสังโยชน์ ให้หมดไปสู่พิพาน สังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ หรือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ มี 10 อย่าง คือ สังโยชน์ 10 (แบบย่อ) สังโยชน์เบื้องต่ำ 1. สักกายทิฏฐิ - คิดว่ากายนี้เป็นของเรา 2. วิจิกิจฉา - สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 3. สีลัพพตปรามาส - งมงายในคำสอนของลัทธิอื่น 4. กามราคะ- ติดใจในกามคุณทั้ง5 5. ปฏิฆะ(พยาบาท) - มีความกระทบทางใจ โกรธ ผูกโกรธ สังโยชน์เบื้องสูง 6. รูปราคะ - ติดในใน รูปฌาน 7. อรูปราคะ - ติดในใน อรูปฌาน 8. มานะ - ถือตัว ยึดมั่นในตัวตน 9. อุทธัจจะ -ฟุ้งซ่าน 10. อวิชชา - ความไม่รู้จริง ............................................................................................................................................. ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ได้แก่ 1. สักกายทิฏฐิ -มีความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นของเรา 2. วิจิกิจฉา - มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 3. สีลัพพตปรามาส - ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้ เพียงด้วยศีลละวัตร หรือนำศีลและพรต ไปใช้เพื่อ เหตุผลอื่น ไม่ใช่เพื่อเป็นปัจจัยแก่การสิ้นกิเลส เช่นการถือศีล เพื่อเอาไว้ข่มไว้ด่า คนอื่น การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็นต้น ซึ่งรวมถึงความเชื่อถือ ในพิธีกรรม ที่งมงายด้วย 4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณทั้ง ๕ 5. ปฏิฆะ (พยาบาท) - จิตพยาบาท อาฆาตแค้น หงุดหงิด โกรธ ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 ได้แก่ 6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุ หรือรูปฌาน 7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทั้งหลาย 8. มานะ - ถือตัว/ถ่อมตัว ยกตนเหนือกว่า/ด้อยกว่า 9. อุทธัจจะ - มีความฟุ้งซ่าน 10. อวิชชา - ปัญญามืดบอด มีความไม่รู้จริง พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อ พระสกทาคามี ละสังโยชน์ 3 ข้อ และ 4-5 บางส่วน (กามราคะ-ปฏิฆะ เบาบาง) พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อแรกได้หมด พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง 10 ข้อ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 277 มุมมอง 0 รีวิว