• อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเหตุเกิดและความดับในอกุศลมูล​ ๓​ ได้แก่​ ราคะ​ โทสะและ​โมหะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 324
    ชื่อบทธรรม :- ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล--(หลายแง่มุม)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า
    +--“อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ราคะ โทสะ โมหะ.
    +---อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง
    อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม​ ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า
    +--“อาวุโส !
    ราคะมีโทษน้อย คลายช้า.
    โทสะมีโทษมาก คลายเร็ว.
    โมหะมีโทษมาก คลายช้า”.
    +--ถ้าเขาถามว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?”
    ดังนี้.
    +---คำตอบพึงมีว่า
    สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย
    ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้ว
    ก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง);
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น
    และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?”
    ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ;
    คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว
    ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    ---คำตอบพึงมีว่า
    #อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย
    ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    ---ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    #เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย
    โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    ---คำตอบพึงมีว่า
    #โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย
    โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/190/508.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/190/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๖/๕๐๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/256/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=324
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเหตุเกิดและความดับในอกุศลมูล​ ๓​ ได้แก่​ ราคะ​ โทสะและ​โมหะ สัทธรรมลำดับที่ : 324 ชื่อบทธรรม :- ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล--(หลายแง่มุม) --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า +--“อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ราคะ โทสะ โมหะ. +---อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม​ ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า +--“อาวุโส ! ราคะมีโทษน้อย คลายช้า. โทสะมีโทษมาก คลายเร็ว. โมหะมีโทษมาก คลายช้า”. +--ถ้าเขาถามว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +---คำตอบพึงมีว่า สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้ว ก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง); คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ; คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. ---คำตอบพึงมีว่า #อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ---ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า #เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. ---คำตอบพึงมีว่า #โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/190/508. http://etipitaka.com/read/thai/20/190/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๖/๕๐๘. http://etipitaka.com/read/pali/20/256/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=324 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
    -ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล (หลายแง่มุม) ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า “อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือราคะ โทสะ โมหะ. อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้ .... ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า “อาวุโส ! ราคะมีโทษน้อย คลายช้า. โทสะมีโทษมากคลายเร็ว. โมหะมีโทษมาก คลายช้า”. ถ้าเขาถามว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง); คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ; คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    0 Comments 0 Shares 67 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    สัทธรรมลำดับที่ : 939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939
    ชื่อบทธรรม :- สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส
    ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ
    อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด
    เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง
    แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !”
    --ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ
    โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม
    ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น
    (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว).
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์
    ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์
    ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า
    จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”.
    --ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า :-

    (๑ หมวดตระเตรียม)
    --“จิตของเรา &​จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน;
    และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.

    (๒ หมวดพรหมวิหาร)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน
    และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเจริญ &​เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน
    ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    - ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง .
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้
    เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเจริญ &​กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน
    ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    ๑- ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    ๒- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    ๓- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    ๔- พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    ๕- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    ๖- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    ๗- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง .
    (ในกรณีแห่ง &​มุทิตาเจโตวิมุตติ และ &​อุเบกขาเจโตวิมุตติ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับกรุณาเจโตวิมุตติ) .

    (๓ หมวดสติปัฏฐาน)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้)
    อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นกายในกาย
    อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
    มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้
    อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้;
    ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    --ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง;
    --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้;
    ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า
    “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นเวทนาในเวทนา
    ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส
    มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล.
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :-
    ๑--ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง;
    ๒--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง;
    ๓--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง;
    ๔--พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง;
    ๕--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง;
    ๖--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง;
    ๗--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง.
    (ในกรณีแห่ง &​จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ &​ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง
    อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน).

    (๔.หมวดอานิสงส์)
    --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ;
    ในกาลนั้น เธอ
    จักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ;
    จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ;
    จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ;
    จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/310/?keywords=ผาสุเยว
    แล.-
    ---ขยายความโดยความเห็นของท่านพุทธทาส
    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ
    สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ
    ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง.
    อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า
    สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี
    และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนา เช่น กายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี
    สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ;
    ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา
    แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ;
    อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง).
    ---
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/238-240/160.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๘-๓๑๐/๑๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=939
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79
    ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ สัทธรรมลำดับที่ : 939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939 ชื่อบทธรรม :- สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ เนื้อความทั้งหมด :- --สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !” --ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว). --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์ ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”. --ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า :- (๑ หมวดตระเตรียม) --“จิตของเรา &​จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน; และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒ หมวดพรหมวิหาร) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ &​เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- - ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; - พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ &​กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ :- ๑- ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔- พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕- พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; ๗- พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . (ในกรณีแห่ง &​มุทิตาเจโตวิมุตติ และ &​อุเบกขาเจโตวิมุตติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับกรุณาเจโตวิมุตติ) . (๓ หมวดสติปัฏฐาน) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้) อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- --ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; --พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ &​ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่” ดังนี้. +--ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ :- ๑--ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔--พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕--พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง; ๗--พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. (ในกรณีแห่ง &​จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ &​ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน). (๔.หมวดอานิสงส์) --ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอ จักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ; จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ; จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ; จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก. http://etipitaka.com/read/pali/23/310/?keywords=ผาสุเยว แล.- ---ขยายความโดยความเห็นของท่านพุทธทาส (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง. อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนา เช่น กายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ; ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ; อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง). --- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/238-240/160. http://etipitaka.com/read/thai/23/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๐๘-๓๑๐/๑๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/23/308/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79&id=939 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=79 ลำดับสาธยายธรรม : 79 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_79.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ
    -(ในกรณีแห่งการเจริญธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ และเทวนุสสติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน ผู้ปรารถนาโดยรายละเอียด พึงดูจากที่มาแห่งกรณีนั้นๆ. สิ่งซึ่งอาจจะเป็นที่ประหลาดใจแก่พวกเรา ในที่นี้ ก็คือข้อที่ว่า อนุสสติภาวนานั้นเป็นสิ่งที่อาจเจริญได้ในทุกอิริยาบถ แม้ในขณะที่ผู้ที่เป็นพ่อแม่นอนกกลูกอยู่) . สมาธิภาวนาแต่ละอย่างๆ อาจทำได้ถึง ๗ ระดับ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ขอโอกาส ขอพระผู้มีกระภาคจงทรงแสดงธรรมนั้นโดยย่อ อันเป็นธรรมที่เมื่อข้าพระองค์ฟังแล้ว จะเป็นผู้ผู้เดียวหลีกออกไปสู่ที่สงัด เป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในธรรมเบื้องสูง แล้วแลอยู่เถิด พระเจ้าข้า !” ก็เรื่องอย่างเดียวกันนี่แหละ โมฆบุรุษบางพวกขอร้องให้เรากล่าวธรรมอย่างที่เธอถาม ครั้นเรากล่าวธรรมนั้นแล้วเขาก็ยังสำคัญแต่ในอันที่จะติดตาม เราเท่านั้น (ไม่สนใจที่จะหลีกออกอยู่ปฏิบัติผู้เดียว). “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้าพระองค์ ขอพระสุคตจงแสดงธรรมโดยย่อแก่ข้อพระองค์ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะเข้าใจ เนื้อควรแห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นทายาท (ผู้รับมรดกธรรม) แห่งภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด พระเจ้าข้า !”. ภิกษุ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า : (๑ หมวดตระเตรียม) “จิตของเรา จักเป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดี ในภายใน; และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จักไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. (๒ หมวดพรหมวิหาร) ภิกษุ ! ในกาลใดแล จิตของเธอ เป็นจิตตั้งอยู่ ดำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย ไม่เกิดขึ้นครอบงำจิตตั้งอยู่; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ เมตตาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่น แล้วด้วยดี” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; .ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ๑. ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; ๒. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; ๓. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; ๔. พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; ๕. พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; ๖. พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; ๗. พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเจริญ กรุณาเจโตวิมุตติ จักกระทำให้มาก ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้มีที่ตั้งอาศัย ไม่ให้หยุดชะงัก ให้สั่งสมรอบแล้ว ให้ตั้งมั่นแล้วด้วยดี” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ เป็นธรรมอันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้ว อย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึง เจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง . (ในกรณีแห่ง มุทิตาเจโตวิมุตติ และ อุเบกขาเจโตวิมุตติ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับข้างบนนี้) . (๓ หมวดสติปัฏฐาน) ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ (ในพรหมวิหารทั้งสี่ ดังที่กล่าวมาแล้วนี้) อันเธอเจริญ เจริญแล้วด้วยดีอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลก อยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้น เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้; ในกาลนั้นเธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้ว่า “เราจักเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอย่างเป็นประจำ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำออกซึ่งอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่” ดังนี้. ภิกษุ ! เธอพึงทำการสำเหนียกอย่างนี้แล. ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนี้ เธอ พึงเจริญซึ่งสมาธินี้ : ให้เป็นธรรมมีวิตกมีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกมีแต่เพียงวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีวิตกไม่มีวิจาร บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมเป็นไปกับด้วยปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมไม่มีปีติ บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคด้วยความยินดี บ้าง; พึงเจริญให้เป็นธรรมสหรคตด้วยอุเบกขา บ้าง. (ในกรณีแห่ง จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ มีลำดับ ๗ อย่าง อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งกายา - เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน). (หมวดอานิสงส์) ภิกษุ ! ในกาลใดแล สมาธินี้ อันเธอเจริญ เจริญด้วยดีแล้วอย่างนี้ ; ในกาลนั้น เธอจักไปโดยทิศาภาคใดๆ ก็จักไปเป็นผาสุก ; จักยืนในที่ใด ๆ ก็จักยืนเป็นผาสุก ; จักนั่งในที่ใดๆ ก็จักนั่งเป็นผาสุก ; จักสำเร็จ การนอนในที่ใด ๆ ก็จักสำเร็จการนอนเป็นผาสุก แล.
    0 Comments 0 Shares 455 Views 0 Reviews