• อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเหตุเกิดและความดับในอกุศลมูล​ ๓​ ได้แก่​ ราคะ​ โทสะและ​โมหะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 324
    ชื่อบทธรรม :- ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล--(หลายแง่มุม)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า
    +--“อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ราคะ โทสะ โมหะ.
    +---อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง
    อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม​ ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า
    +--“อาวุโส !
    ราคะมีโทษน้อย คลายช้า.
    โทสะมีโทษมาก คลายเร็ว.
    โมหะมีโทษมาก คลายช้า”.
    +--ถ้าเขาถามว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?”
    ดังนี้.
    +---คำตอบพึงมีว่า
    สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย
    ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้ว
    ก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง);
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น
    และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?”
    ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ;
    คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว
    ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    ---คำตอบพึงมีว่า
    #อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย
    ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    ---ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    #เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย
    โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    ---คำตอบพึงมีว่า
    #โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย
    โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/190/508.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/190/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๖/๕๐๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/256/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=324
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเหตุเกิดและความดับในอกุศลมูล​ ๓​ ได้แก่​ ราคะ​ โทสะและ​โมหะ สัทธรรมลำดับที่ : 324 ชื่อบทธรรม :- ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล--(หลายแง่มุม) --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า +--“อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ราคะ โทสะ โมหะ. +---อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม​ ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า +--“อาวุโส ! ราคะมีโทษน้อย คลายช้า. โทสะมีโทษมาก คลายเร็ว. โมหะมีโทษมาก คลายช้า”. +--ถ้าเขาถามว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +---คำตอบพึงมีว่า สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้ว ก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง); คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ; คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. ---คำตอบพึงมีว่า #อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ---ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า #เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. ---คำตอบพึงมีว่า #โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/190/508. http://etipitaka.com/read/thai/20/190/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๖/๕๐๘. http://etipitaka.com/read/pali/20/256/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=324 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
    -ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล (หลายแง่มุม) ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า “อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือราคะ โทสะ โมหะ. อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้ .... ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า “อาวุโส ! ราคะมีโทษน้อย คลายช้า. โทสะมีโทษมากคลายเร็ว. โมหะมีโทษมาก คลายช้า”. ถ้าเขาถามว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง); คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ; คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    0 Comments 0 Shares 62 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนามต่อกันโดยธรรมชาติ​
    สัทธรรมลำดับที่ : 961
    ชื่อบทธรรม : -สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนามต่อกันโดยธรรมชาติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=961
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนามต่อกันโดยธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว ถูกแล้ว ตามที่มหาสาวกเหล่านั้น เมื่อพยากรณ์ก็พยากรณ์โดยชอบ.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวฌานว่า มีเสียงเป็นเสี้ยนหนาม จริง.
    --ภิกษุ ท. ! เสี้ยนหนาม ๑๐(ทส) อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=ทสยิเม
    สิบอย่างอย่างไรเล่า ? สิบอย่าง คือ : -
    ๑--ความยินดีในการระคนด้วยหมู่ เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้ยินดีในปวิเวก ;
    ๒--การตามประกอบในสุภนิมิต เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้ตามประกอบในอสุภนิมิต ;
    ๓--การดูการเล่น เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ;
    ๔--การเกี่ยวข้องกับมาตุคาม เป็นเสี้ยนหนามแก่ พรหมจรรย์ ;
    ๕--เสียง เป็นเสี้ยนหนามแก่ ปฐมฌาน ;
    ๖--วิตกวิจาร เป็นเสี้ยนหนามแก่ ทุติยฌาน ;
    ๗--ปีติ เป็นเสี้ยนหนามแก่ ตติยฌาน ;
    ๘--อัสสาสะปัสสาสะ เป็นเสี้ยนหนามแก่ จตุตถฌาน ;
    ๙--สัญญาและเวทนา เป็นเสี้ยนหนามแก่ สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ;
    ๑๐--ราคะ เป็นเสี้ยนหนาม โทสะ เป็นเสี้ยนหนาม.

    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่มีเสี้ยนหนาม อยู่เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเป็นผู้หมดเสี้ยนหนาม อยู่เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลายเป็นผู้ไม่มีเสี้ยนหนาม หมดเสี้ยนหนาม แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=อรหนฺโต

    (ขยายความโดยท่านพุทธทาส
    หนามที่สิบ คือราคะและโทสะเป็นหนาม
    แต่ไม่ระบุว่าเป็นหนามแก่สิ่งใดเหมือนข้อบนๆ; เข้าใจว่าเป็นหนามแก่ธรรมทั่วไป.
    การที่ไม่ระบุโมหะ ว่าเป็นหนามด้วย เข้าใจว่าเป็น
    เพราะโมหะไม่มีลักษณะเสียบแทงเหมือนหนาม หรือเหมือนกับราคะและโทสะ
    )

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/120/72.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/120/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๕/๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=961
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=961
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนามต่อกันโดยธรรมชาติ​ สัทธรรมลำดับที่ : 961 ชื่อบทธรรม : -สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนามต่อกันโดยธรรมชาติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=961 เนื้อความทั้งหมด :- --สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนามต่อกันโดยธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว ถูกแล้ว ตามที่มหาสาวกเหล่านั้น เมื่อพยากรณ์ก็พยากรณ์โดยชอบ. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวฌานว่า มีเสียงเป็นเสี้ยนหนาม จริง. --ภิกษุ ท. ! เสี้ยนหนาม ๑๐(ทส) อย่างเหล่านี้ มีอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=ทสยิเม สิบอย่างอย่างไรเล่า ? สิบอย่าง คือ : - ๑--ความยินดีในการระคนด้วยหมู่ เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้ยินดีในปวิเวก ; ๒--การตามประกอบในสุภนิมิต เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้ตามประกอบในอสุภนิมิต ; ๓--การดูการเล่น เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ; ๔--การเกี่ยวข้องกับมาตุคาม เป็นเสี้ยนหนามแก่ พรหมจรรย์ ; ๕--เสียง เป็นเสี้ยนหนามแก่ ปฐมฌาน ; ๖--วิตกวิจาร เป็นเสี้ยนหนามแก่ ทุติยฌาน ; ๗--ปีติ เป็นเสี้ยนหนามแก่ ตติยฌาน ; ๘--อัสสาสะปัสสาสะ เป็นเสี้ยนหนามแก่ จตุตถฌาน ; ๙--สัญญาและเวทนา เป็นเสี้ยนหนามแก่ สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ; ๑๐--ราคะ เป็นเสี้ยนหนาม โทสะ เป็นเสี้ยนหนาม. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่มีเสี้ยนหนาม อยู่เถิด. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเป็นผู้หมดเสี้ยนหนาม อยู่เถิด. --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลายเป็นผู้ไม่มีเสี้ยนหนาม หมดเสี้ยนหนาม แล.- http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=อรหนฺโต (ขยายความโดยท่านพุทธทาส หนามที่สิบ คือราคะและโทสะเป็นหนาม แต่ไม่ระบุว่าเป็นหนามแก่สิ่งใดเหมือนข้อบนๆ; เข้าใจว่าเป็นหนามแก่ธรรมทั่วไป. การที่ไม่ระบุโมหะ ว่าเป็นหนามด้วย เข้าใจว่าเป็น เพราะโมหะไม่มีลักษณะเสียบแทงเหมือนหนาม หรือเหมือนกับราคะและโทสะ ) #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/120/72. http://etipitaka.com/read/thai/24/120/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๕/๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=961 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=961 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนามต่อกันโดยธรรมชาติ
    -สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนามต่อกันโดยธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! ถูกแล้ว ถูกแล้ว ตามที่มหาสาวกเหล่านั้น เมื่อพยากรณ์ก็พยากรณ์โดยชอบ. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวฌานว่า มีเสียงเป็นเสี้ยนหนาม จริง. ภิกษุ ท. ! เสี้ยนหนาม ๑๐ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สิบอย่างอย่างไรเล่า ? สิบอย่าง คือ : ความยินดีในการระคนด้วยหมู่ เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้ยินดีในปวิเวก ; การตามประกอบในสุภนิมิต เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้ตามประกอบในอสุภนิมิต ; การดูการเล่น เป็นเสี้ยนหนามแก่ ผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ; การเกี่ยวข้องกับมาตุคาม เป็นเสี้ยนหนามแก่ พรหมจรรย์ ; เสียง เป็นเสี้ยนหนามแก่ ปฐมฌาน ; วิตกวิจาร เป็นเสี้ยนหนามแก่ ทุติยฌาน ; ปีติ เป็นเสี้ยนหนามแก่ ตติยฌาน ; อัสสาสะปัสสาสะ เป็นเสี้ยนหนามแก่ จตุตถฌาน ; สัญญาและเวทนา เป็นเสี้ยนหนามแก่ สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ; ราคะ เป็นเสี้ยนหนาม โทสะ เป็นเสี้ยนหนาม. ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่มีเสี้ยนหนาม อยู่เถิด. ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเป็นผู้หมดเสี้ยนหนาม อยู่เถิด. ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลายเป็นผู้ไม่มีเสี้ยนหนาม หมดเสี้ยนหนาม แล.
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 305 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าพระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    สัทธรรมลำดับที่ : 590
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    ...
    --ภิกษุ ท. เรากล่าวฌานว่ามีเสียงเป็นปฏิปักษ์ -[มีหนาม (ยอกตำใจ)]
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการเป็นไฉน คือ
    ๑.ความเป็นผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่คณะเป็นปฏิปักษ์ต่อความเป็นผู้ยินดีในที่สงัด ๑
    ๒.การประกอบสุภนิมิต เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ประกอบอสุภนิมิต ๑
    ๓.การดูมหรสพที่เป็นข้าศึก เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ๑
    ๔.การติดต่อกับมาตุคาม เป็นปฏิปักษ์ต่อพรหมจรรย์ ๑
    ๕.เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน ๑
    ๖.วิตกวิจารเป็นปฏิปักษ์ต่อทุติยฌาน ๑
    ๗.ปีติเป็นปฏิปักษ์ต่อตติยฌาน ๑
    ๘.ลมอัสสาสปัสสาสะเป็นปฏิปักษ์ต่อจตุตถฌาน ๑
    ๙.สัญญาและเวทนาเป็นปฏิปักษ์ต่อสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ๑
    ๑๐.ราคะเป็นปฏิปักษ์โทสะเป็นปฏิปักษ์ --[มีหนาม (ยอกตำใจ)]​ ๑

    --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์อยู่เถิด
    --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ จงเป็นผู้หมดปฏิปักษ์อยู่เถิด
    --ภิกษุ ท. พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์
    พระอรหันต์ทั้งหลายไม่มีปฏิปักษ์ เป็นผู้หมดปฏิปักษ์ ฯ
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=อรหนฺ
    ...
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ.
    --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/119/72.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/119/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๕/๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=590
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าพระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกตำ สัทธรรมลำดับที่ : 590 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่มีหนามยอกตำ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่มีหนามยอกตำ ... --ภิกษุ ท. เรากล่าวฌานว่ามีเสียงเป็นปฏิปักษ์ -[มีหนาม (ยอกตำใจ)] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการเป็นไฉน คือ ๑.ความเป็นผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่คณะเป็นปฏิปักษ์ต่อความเป็นผู้ยินดีในที่สงัด ๑ ๒.การประกอบสุภนิมิต เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ประกอบอสุภนิมิต ๑ ๓.การดูมหรสพที่เป็นข้าศึก เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ๑ ๔.การติดต่อกับมาตุคาม เป็นปฏิปักษ์ต่อพรหมจรรย์ ๑ ๕.เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน ๑ ๖.วิตกวิจารเป็นปฏิปักษ์ต่อทุติยฌาน ๑ ๗.ปีติเป็นปฏิปักษ์ต่อตติยฌาน ๑ ๘.ลมอัสสาสปัสสาสะเป็นปฏิปักษ์ต่อจตุตถฌาน ๑ ๙.สัญญาและเวทนาเป็นปฏิปักษ์ต่อสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ๑ ๑๐.ราคะเป็นปฏิปักษ์โทสะเป็นปฏิปักษ์ --[มีหนาม (ยอกตำใจ)]​ ๑ --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์อยู่เถิด --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ จงเป็นผู้หมดปฏิปักษ์อยู่เถิด --ภิกษุ ท. พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ พระอรหันต์ทั้งหลายไม่มีปฏิปักษ์ เป็นผู้หมดปฏิปักษ์ ฯ http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=อรหนฺ ... --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด. --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ. --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/119/72. http://etipitaka.com/read/thai/24/119/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๕/๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=590 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และมีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้).
    -(กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และมีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้). ผู้ไม่มีหนามยอกตำ ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด. ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด. ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ. ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.
    0 Comments 0 Shares 277 Views 0 Reviews