• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะและทางไปสู่สัมมัติตตนิยาม
    สัทธรรมลำดับที่ : 970
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=970
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย.
    เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ?
    (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป
    http://etipitaka.com/read/pali/18/452/?keywords=นิพฺพานคามิญฺจ
    ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-​ )
    --กายคตาสติ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สมถะและวิปัสสนา
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สติปัฏฐานสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --สัมมัปปธานสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อิทธิบาทสี่
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อินทรีย์ห้า
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --พละห้า
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --โพชฌงค์เจ็ด
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --อริยอัฏฐังคิกมรรค
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว.
    --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว
    จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท.
    พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย.
    นี้แล #เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/453/?keywords=อนุสาสนีติ
    --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒/๖๗๔ - ๖๘๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/441/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%94
    --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๐ - ๔๕๓/๗๒๐ - ๗๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/450/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92%E0%B9%90

    --ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ
    แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน)
    อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.*--๑
    หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : -
    ๑--ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ;
    ๒--ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น);
    ๓--ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น);
    ๔--ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ;
    ๕--ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ
    ๖--เป็นผู้มีปัญญาทราม(ทุปฺปญฺโญ)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ทุปฺปญฺโญ

    *--๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้.

    กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
    แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ
    ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ :-
    ๑--ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ;
    ๒--ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ;
    ๓--ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ;
    ๔--ประกอบด้วยศรัทธา;
    ๕--ประกอบด้วยฉันทะ; และ
    ๖--เป็นผู้ที่มีปัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ปญฺญวา
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.-

    (กัมมาวรณภาวะ - มีกรรมเป็นเครื่องกั้น หมายถึง วิปฏิสารแห่งจิต เพราะได้ทำกรรมชั่วไว้,
    กิเลสาวรณภาวะ - มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น หมายถึง กิเลสโดยเฉพาะคือ มิจฉาทิฏฐิที่เป็นพื้นฐานแห่งจิต,
    วิปากาวรณภาวะ - หมายถึง วิบากที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์ที่ไม่อาจจะเข้าใจธรรมได้).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/388/357.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/388/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๘๖/๓๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=970
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะและทางไปสู่สัมมัติตตนิยาม สัทธรรมลำดับที่ : 970 ชื่อบทธรรม :- ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=970 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป http://etipitaka.com/read/pali/18/452/?keywords=นิพฺพานคามิญฺจ ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-​ ) --กายคตาสติ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สมถะและวิปัสสนา : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สติปัฏฐานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --สัมมัปปธานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อิทธิบาทสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อินทรีย์ห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --พละห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --โพชฌงค์เจ็ด : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --อริยอัฏฐังคิกมรรค : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. --ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว. --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. นี้แล #เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา. http://etipitaka.com/read/pali/18/453/?keywords=อนุสาสนีติ --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒/๖๗๔ - ๖๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/441/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%94 --- สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๐ - ๔๕๓/๗๒๐ - ๗๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/450/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92%E0%B9%90 --ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม --ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน) อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.*--๑ หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : - ๑--ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ; ๒--ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น); ๓--ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น); ๔--ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ; ๕--ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ ๖--เป็นผู้มีปัญญาทราม(ทุปฺปญฺโญ)​. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ทุปฺปญฺโญ *--๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้. กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค. --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ :- ๑--ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ; ๒--ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ; ๓--ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ; ๔--ประกอบด้วยศรัทธา; ๕--ประกอบด้วยฉันทะ; และ ๖--เป็นผู้ที่มีปัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ปญฺญวา --ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.- (กัมมาวรณภาวะ - มีกรรมเป็นเครื่องกั้น หมายถึง วิปฏิสารแห่งจิต เพราะได้ทำกรรมชั่วไว้, กิเลสาวรณภาวะ - มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น หมายถึง กิเลสโดยเฉพาะคือ มิจฉาทิฏฐิที่เป็นพื้นฐานแห่งจิต, วิปากาวรณภาวะ - หมายถึง วิบากที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์ที่ไม่อาจจะเข้าใจธรรมได้). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/388/357. http://etipitaka.com/read/thai/22/388/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๘๖/๓๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=970 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
    -(ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค. ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี, เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม, อริยมรรค - อนริยมรรค, กุศลธรรม - อกุศลธรรม, ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์, เป็นธรรม - เป็นอธรรม, ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ, เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ, เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา, ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส, มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร, มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน, เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ, เป็นธรรมของสัตบุรุษ ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น, ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ, ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ, ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก, ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง, ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี. - ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔). ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? (ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :-) กายคตาสติ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สมถะและวิปัสสนา : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สติปัฏฐานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. สัมมัปปธานสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อิทธิบาทสี่ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อินทรีย์ห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. พละห้า : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. โพชฌงค์เจ็ด : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค. ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว. ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. นี้แล เป็นวจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา. สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒, ๔๕๐ - ๔๕๓/๖๗๔ - ๖๘๔, ๗๒๐ – ๗๕๑. ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน) อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.๑ หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ; ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น); ๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้. กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค. ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น); ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ; ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ เป็นผู้มีปัญญาทราม. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย. หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ : ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ; ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ; ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ; ประกอบด้วยศรัทธา; ประกอบด้วยฉันทะ; และ เป็นผู้ที่มีปัญญา. ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 51 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาผู้บอกทางและผู้เดินทางมีการหลุดพ้นอย่างเดียวกัน
    สัทธรรมลำดับที่ : 602
    ชื่อบทธรรม :- ผู้บอกทางและผู้เดินทางมีการหลุดพ้นอย่างเดียวกัน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=602
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้บอกทางและผู้เดินทางมีการหลุดพ้นอย่างเดียวกัน ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างพระอรหันต์ผู้เลิศทางปัญญากับสัมมาสัมพุทธเจ้า
    --ภิกษุ ท. ! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ
    หลุดพ้นแล้วจาก รูป
    เพราะความเบื่อหน่าย ความคลายกำหนัด ความดับ และความไม่ยึดมั่น
    จึงได้ นามว่า “สัมมาสัมพุทธะ”.
    --ภิกษุ ท. ! แม้ภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์
    ก็หลุดพ้นแล้วจากรูป
    เพราะความเบื่อหน่าย ความคลายกำหนัด ความดับ และความไม่ยึดมั่น
    จึงได้นามว่า “ปัญญาวิมุตต์”.

    (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ได้ตรัสไว้
    มีข้อความแสดงหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่กล่าวแล้ว).

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเป็นผู้หลุดพ้นจากรูปเป็นต้นด้วยกันทั้งสองพวกแล้ว
    อะไรเป็นความผิดแผกแตกต่างกัน
    อะไรเป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกัน
    อะไรเป็นเครื่องกระทำให้แตกต่างกัน
    ระหว่างตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์?
    --ภิกษุ ท. ! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ
    ได้ทำมรรคที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น
    ได้ทำมรรคที่ยังไม่มีใครรู้ให้มีคนรู้
    ได้ทำมรรคที่ยังไม่มีใครกล่าวให้เป็นมรรคที่กล่าวกันแล้ว
    ตถาคตเป็นมัคคัญญู (รู้มรรค)
    เป็นมัคควิทู (รู้แจ้งมรรค)
    เป็นมัคคโกวิโท (ฉลาดในมรรค).

    --ภิกษุ ท. ! ส่วนสาวกทั้งหลายในกาลนี้
    เป็นมัคคานุคา (ผู้เดินตามมรรค)
    เป็นผู้ตามมาในภายหลัง.

    --ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความผิดแผกแตกต่างกัน
    เป็นความมุ่งหมาย ที่แตกต่างกัน เป็นเครื่องกระทำให้แตกต่างกัน
    ระหว่าง ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับ ภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์.-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/81/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ปญฺญาวิมุตฺโต

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/81/125.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/81/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๑/๑๒๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/81/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=602
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=602
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาผู้บอกทางและผู้เดินทางมีการหลุดพ้นอย่างเดียวกัน สัทธรรมลำดับที่ : 602 ชื่อบทธรรม :- ผู้บอกทางและผู้เดินทางมีการหลุดพ้นอย่างเดียวกัน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=602 เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้บอกทางและผู้เดินทางมีการหลุดพ้นอย่างเดียวกัน ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างพระอรหันต์ผู้เลิศทางปัญญากับสัมมาสัมพุทธเจ้า --ภิกษุ ท. ! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ หลุดพ้นแล้วจาก รูป เพราะความเบื่อหน่าย ความคลายกำหนัด ความดับ และความไม่ยึดมั่น จึงได้ นามว่า “สัมมาสัมพุทธะ”. --ภิกษุ ท. ! แม้ภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์ ก็หลุดพ้นแล้วจากรูป เพราะความเบื่อหน่าย ความคลายกำหนัด ความดับ และความไม่ยึดมั่น จึงได้นามว่า “ปัญญาวิมุตต์”. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ได้ตรัสไว้ มีข้อความแสดงหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่กล่าวแล้ว). --ภิกษุ ท. ! เมื่อเป็นผู้หลุดพ้นจากรูปเป็นต้นด้วยกันทั้งสองพวกแล้ว อะไรเป็นความผิดแผกแตกต่างกัน อะไรเป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกัน อะไรเป็นเครื่องกระทำให้แตกต่างกัน ระหว่างตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์? --ภิกษุ ท. ! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ ได้ทำมรรคที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น ได้ทำมรรคที่ยังไม่มีใครรู้ให้มีคนรู้ ได้ทำมรรคที่ยังไม่มีใครกล่าวให้เป็นมรรคที่กล่าวกันแล้ว ตถาคตเป็นมัคคัญญู (รู้มรรค) เป็นมัคควิทู (รู้แจ้งมรรค) เป็นมัคคโกวิโท (ฉลาดในมรรค). --ภิกษุ ท. ! ส่วนสาวกทั้งหลายในกาลนี้ เป็นมัคคานุคา (ผู้เดินตามมรรค) เป็นผู้ตามมาในภายหลัง. --ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความผิดแผกแตกต่างกัน เป็นความมุ่งหมาย ที่แตกต่างกัน เป็นเครื่องกระทำให้แตกต่างกัน ระหว่าง ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับ ภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์.- http://etipitaka.com/read/pali/17/81/?keywords=สมฺมาสมฺพุทฺโธ+ปญฺญาวิมุตฺโต #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/81/125. http://etipitaka.com/read/thai/17/81/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๑/๑๒๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/81/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=602 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=602 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้บอกทางและผู้เดินทางมีการหลุดพ้นอย่างเดียวกัน--ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างพระอรหันต์ผู้เลิศทางปัญญากับสัมมาสัมพุทธเจ้า
    -(ข้อความนี้แสดงว่า จะอาศัยความหมายหรือคำแปลของคำว่า สัทธาวิมุตต์ กายสักขี ทิฏฐิปัตต์ มาเป็นเครื่องตัดสินว่าพวกไหนเหนือกว่าหรือดีกว่า นั้นไม่อาจจะทำได้ เพราะแต่ละพวกยังอยู่ในระยะแห่งการปฏิบัติที่สูงต่ำอย่างไรก็ได้ เว้นไว้แต่จะถือเอาความหมายแห่งชื่อที่บัญญัติไว้เพื่อแสดงผลอันชัดเจนแล้ว เช่น ชื่อว่า โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์เป็นต้น). ผู้บอกทางและผู้เดินทางมีการหลุดพ้นอย่างเดียวกัน ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างพระอรหันต์ผู้เลิศทางปัญญากับสัมมาสัมพุทธเจ้า ภิกษุ ท. ! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ หลุดพ้นแล้วจาก รูป เพราะความเบื่อหน่าย ความคลายกำหนัด ความดับ และความไม่ยึดมั่น จึงได้ นามว่า “สัมมาสัมพุทธะ”. ภิกษุ ท. ! แม้ภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์ ก็หลุดพ้นแล้วจากรูป เพราะความเบื่อหน่าย ความคลายกำหนัด ความดับ และความไม่ยึดมั่น จึงได้นามว่า “ปัญญาวิมุตต์”. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็ได้ตรัสไว้ มีข้อความแสดงหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปที่กล่าวแล้ว). ภิกษุ ท. ! เมื่อเป็นผู้หลุดพ้นจากรูปเป็นต้นด้วยกันทั้งสองพวกแล้ว อะไรเป็นความผิดแผกแตกต่างกัน อะไรเป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกัน อะไรเป็นเครื่องกระทำให้แตกต่างกัน ระหว่างตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์? ภิกษุ ท. ! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ ได้ทำมรรคที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น ได้ทำมรรคที่ยังไม่มีใครรู้ให้มีคนรู้ ได้ทำมรรคที่ยังไม่มีใครกล่าวให้เป็นมรรคที่กล่าวกันแล้ว ตถาคตเป็นมัคคัญญู (รู้มรรค) เป็นมัคควิทู (รู้แจ้งมรรค) เป็นมัคคโกวิโท (ฉลาดในมรรค). ภิกษุ ท. ! ส่วนสาวกทั้งหลายในกาลนี้ เป็นมัคคานุคา (ผู้เดินตามมรรค) เป็นผู้ตามมาในภายหลัง. ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความผิดแผกแตกต่างกัน เป็นความมุ่งหมาย ที่แตกต่างกัน เป็นเครื่องกระทำให้แตกต่างกัน ระหว่างตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับภิกษุผู้ปัญญาวิมุตต์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 49 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าด้วยเบญจขันธ์ที่ควรความรอบรู้
    สัทธรรมลำดับที่ : 187
    ชื่อบทธรรม :- ตอน ๒ ว่าด้วยเบญจขันธ์โดยสรุป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=187
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ตอน ๒ ว่าด้วยเบญจขันธ์โดยสรุป
    --เบญจขันธ์เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงสิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ (ปริญฺเญยฺยา)​
    http://etipitaka.com/read/pali/17/33/?keywords=ปริญฺเญยฺยา
    พวกเธอทั้งหลายจงฟังข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้,
    เวทนา เป็น สิ่งที่ควรรอบรู้,
    สัญญาเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้,
    สังขารทั้งหลาย เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้, และ
    วิญญาณ เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้.
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เรียกว่า สิ่งที่ควรรอบรู้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/26/54.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/26/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๓/๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/33/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=187
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=187
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าด้วยเบญจขันธ์ที่ควรความรอบรู้ สัทธรรมลำดับที่ : 187 ชื่อบทธรรม :- ตอน ๒ ว่าด้วยเบญจขันธ์โดยสรุป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=187 เนื้อความทั้งหมด :- ตอน ๒ ว่าด้วยเบญจขันธ์โดยสรุป --เบญจขันธ์เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงสิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ (ปริญฺเญยฺยา)​ http://etipitaka.com/read/pali/17/33/?keywords=ปริญฺเญยฺยา พวกเธอทั้งหลายจงฟังข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้, เวทนา เป็น สิ่งที่ควรรอบรู้, สัญญาเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้, สังขารทั้งหลาย เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้, และ วิญญาณ เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้. --ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เรียกว่า สิ่งที่ควรรอบรู้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/26/54. http://etipitaka.com/read/thai/17/26/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๓/๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/33/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=187 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=187 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ตอน ๒ ว่าด้วยเบญจขันธ์โดยสรุป
    -ตอน ๒ ว่าด้วยเบญจขันธ์โดยสรุป เบญจขันธ์เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงสิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ .... พวกเธอทั้งหลายจงฟังข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! รูป เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้, เวทนา เป็น สิ่งที่ควรรอบรู้, สัญญาเป็นสิ่งที่ควรรอบรู้, สังขารทั้งหลาย เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้, และวิญญาณ เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้. ภิกษุ ท. ! สิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เรียกว่า สิ่งที่ควรรอบรู้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัมมัตตะในนามว่าอริยมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 969
    ชื่อบทธรรม :- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และ
    ธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=อริย+อนริโย
    --ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
    (มิจฉาปัญญา)​มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    (มิจฉาสีลา)​มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    (มิจฉาสมาธิ)​มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    มิจฉาญาณะ
    มิจฉาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อนริยมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
    (สัมมาปัญญา)​สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    (สัมมาสีลา)​สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    (สัมมาสมาธิ)​สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ
    สัมมาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อริยมรรค.-

    (ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง
    สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค.
    ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก
    คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า
    สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี,
    เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม,
    อริยมรรค - อนริยมรรค,
    กุศลธรรม - อกุศลธรรม,
    ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์,
    เป็นธรรม - เป็นอธรรม,
    ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ,
    เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ,
    เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา,
    ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส,
    มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร,
    มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน,
    เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ,
    เป็นธรรมของสัตบุรุษ -ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ,
    ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น,
    ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ,
    ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ,
    ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก,
    ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง,
    ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง,
    ดังนี้ก็มี.
    --- ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔
    http://etipitaka.com/read/pali/24/258/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%94 -​ http://etipitaka.com/read/pali/24/265/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/218/145 - 146.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/218/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๒/๑๔๕ - ๑๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=969
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัมมัตตะในนามว่าอริยมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 969 ชื่อบทธรรม :- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969 เนื้อความทั้งหมด :- --สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และ ธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง. http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=อริย+อนริโย --ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ (มิจฉาปัญญา)​มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ (มิจฉาสีลา)​มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ (มิจฉาสมาธิ)​มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อนริยมรรค. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ (สัมมาปัญญา)​สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ (สัมมาสีลา)​สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ (สัมมาสมาธิ)​สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อริยมรรค.- (ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค. ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี, เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม, อริยมรรค - อนริยมรรค, กุศลธรรม - อกุศลธรรม, ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์, เป็นธรรม - เป็นอธรรม, ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ, เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ, เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา, ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส, มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร, มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน, เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ, เป็นธรรมของสัตบุรุษ -ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น, ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ, ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ, ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก, ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง, ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี. --- ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔ http://etipitaka.com/read/pali/24/258/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%94 -​ http://etipitaka.com/read/pali/24/265/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/218/145 - 146. http://etipitaka.com/read/thai/24/218/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๒/๑๔๕ - ๑๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=969 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    -[สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่าสัมมาปฏิปทา ; ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑) ตรัสเรียกว่า สัมมาปฏิบัติ ก็มี. อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา ในสูตรบางแห่ง (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑) ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี. (ตรัสเรียกปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑).เป็นอันว่า ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ; ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง]. สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง. ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า อนริยมรรค. ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า อริยมรรค.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 68 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ
    สัทธรรมลำดับที่ : 601
    ชื่อบทธรรม :-ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=601
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ

    (หมวดของพระอริยบุคคล)
    (พระเถระชื่อสวิฏฐะ นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ สัทธาวิมุตต์
    พระมหาโกฏฐิตะ นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ กายสักขี
    พระสารีบุตร นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ ทิฏฐิปัตต์
    ซึ่งล้วนแต่ตนได้อาศัยปฏิบัติจนบรรลุของตน ๆ มาแล้ว
    จึงชวนกันไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค เพื่อขอทราบว่าในสามอย่างนั้น
    อย่างไหนจะสมควรกว่า งดงามกว่า ประณีตกว่า.
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบว่า :-​ )​

    --สารีบุตร ! มันไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า
    ในบุคคล ๓ พวกนั้น พวกไหนจะงดงามกว่า ประณีตกว่า.
    --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้ก็มีอยู่ คือ
    พวก &​สัทธาวิมุตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล
    แต่พวก &​กายสักขี ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี
    แม้พวก &​ทิฏฐิปัตต์ ก็ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/20/148/?keywords=สทฺธาวิมุตฺโต+กายสกฺขิ+ทิฏฺฐิปฺปตฺโต
    จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก
    นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.

    --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็มีอยู่อีกว่า
    พวก กายสักขี ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล
    ส่วนพวก สัทธาวิมุตต์และพวกทิฏฐิปัตต์ ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี
    จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก
    นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.

    --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็ยังมีอยู่อีกว่า
    พวก ทิฏฐิปัตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล
    ส่วนพวก สัทธาวิมุตต์และพวกกายสักขี เป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี ก็ยังมีอยู่ ;
    --สารีบุตร ! จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก
    นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/114/460.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/114/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๔๘/๔๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/148/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=601
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=601
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ สัทธรรมลำดับที่ : 601 ชื่อบทธรรม :-ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=601 เนื้อความทั้งหมด :- --ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใครเพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ (หมวดของพระอริยบุคคล) (พระเถระชื่อสวิฏฐะ นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ สัทธาวิมุตต์ พระมหาโกฏฐิตะ นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ กายสักขี พระสารีบุตร นิยมชมชอบการปฏิบัติแบบ ทิฏฐิปัตต์ ซึ่งล้วนแต่ตนได้อาศัยปฏิบัติจนบรรลุของตน ๆ มาแล้ว จึงชวนกันไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค เพื่อขอทราบว่าในสามอย่างนั้น อย่างไหนจะสมควรกว่า งดงามกว่า ประณีตกว่า. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบว่า :-​ )​ --สารีบุตร ! มันไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ พวกนั้น พวกไหนจะงดงามกว่า ประณีตกว่า. --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้ก็มีอยู่ คือ พวก &​สัทธาวิมุตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล แต่พวก &​กายสักขี ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี แม้พวก &​ทิฏฐิปัตต์ ก็ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี http://etipitaka.com/read/pali/20/148/?keywords=สทฺธาวิมุตฺโต+กายสกฺขิ+ทิฏฺฐิปฺปตฺโต จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า. --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็มีอยู่อีกว่า พวก กายสักขี ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล ส่วนพวก สัทธาวิมุตต์และพวกทิฏฐิปัตต์ ยังเป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า. --สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็ยังมีอยู่อีกว่า พวก ทิฏฐิปัตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่อ อรหัตตผล ส่วนพวก สัทธาวิมุตต์และพวกกายสักขี เป็นเพียง สกทาคามีหรืออนาคามี ก็ยังมีอยู่ ; --สารีบุตร ! จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/114/460. http://etipitaka.com/read/thai/20/114/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๑๔๘/๔๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/20/148/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=601 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=601 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใคร--เพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ
    -(บาลีนี้แสดงว่า ไม่อาจจะถือเอาคำพูดเป็นหลัก เพราะคำๆเดียวกันมีความหมายต่างกันได้ และเป็นเหตุให้เถียงกันหรือดูหมิ่นกัน; เป็นสิ่งที่ต้องระวัง). ไม่อาจจะกล่าวว่าใครดีกว่าใคร เพราะอาศัยเหตุสักว่าชื่อ (หมวดของพระอริยบุคคล) (พระเถระชื่อสวิฏฐะนิยมชมชอบการปฏิบัติแบบสัทธาวิมุตต์ พระมหาโกฏฐิตะนิยมชมชอบการปฏิบัติแบบกายสักขี พระสารีบุตรนิยมชมชอบการปฏิบัติแบบทิฏฐิปัตต์ ซึ่งล้วนแต่ตนได้อาศัยปฏิบัติจนบรรลุของตน ๆ มาแล้ว จึงชวนกันไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค เพื่อขอทราบว่าในสามอย่างนั้น อย่างไหนจะสมควรกว่า งดงามกว่า ประณีตกว่า. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบว่า :-) สารีบุตร ! มันไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ พวกนั้น พวกไหนจะงดงามกว่า ประณีตกว่า. สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้ก็มีอยู่ คือ พวก สัทธาวิมุตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่ออรหัตตผล แต่พวกกายสักขียังเป็นเพียงสกทาคามีหรืออนาคามี แม้พวกทิฏฐิปัตต์ก็ยังเป็นเพียงสกทาคามีหรืออนาคามี จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวกนั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า. สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็มีอยู่อีกว่า พวก กายสักขี ปฏิบัติแล้วเพื่ออรหัตตผล ส่วนพวกสัทธาวิมุตต์และพวกทิฏฐิปัตต์ ยังเป็นเพียงสกทาคามีหรืออนาคามี จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวก นั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า. สารีบุตร ! ฐานะที่เป็นไปได้นี้ก็ยังมีอยู่อีกว่า พวก ทิฏฐิปัตต์ ปฏิบัติแล้วเพื่ออรหัตตผล ส่วนพวกสัทธาวิมุตต์และพวกกายสักขี เป็นเพียงสกทาคามีหรืออนาคามี ก็ยังมีอยู่ ; สารีบุตร ! จึงไม่เป็นการง่ายที่จะพยากรณ์โดยส่วนเดียวว่า ในบุคคล ๓ จำพวกนั้น พวกไหนงดงามกว่า ประณีตกว่า.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 58 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 185
    ชื่อบทธรรม :- ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=185
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน....แก่พวกเธอ.
    เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์ เราจักกล่าว บัดนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้
    บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ
    ย่อม ตามเห็นอยู่เป็นประจำ ซึ่งรูป ว่า
    “นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นอัตตาของเรา”(อตฺตาติ)​
    http://etipitaka.com/read/pali/17/24/?keywords=เอโสหมสฺมิ+อตฺตาติ
    ดังนี้.
    แต่รูปนั้น ย่อมแปรปรวน ย่อมเป็นโดยประการอื่น แก่เขา.
    เพราะความแปรปรวนเป็นโดยประการอื่นแห่งรูป
    โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้นแก่บุถุชนนั้น.

    (ในกรณีแห่ง
    เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ
    ก็มี ข้อความที่ตรัสเหมือนกับในกรณี แห่งรูป
    ).
    --ภิกษุ ท. ! #ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/17/34.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔/๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/24/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=185
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=185
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 185 ชื่อบทธรรม :- ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=185 เนื้อความทั้งหมด :- --ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน(อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน....แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์ เราจักกล่าว บัดนี้. --ภิกษุ ท. ! ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อม ตามเห็นอยู่เป็นประจำ ซึ่งรูป ว่า “นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นอัตตาของเรา”(อตฺตาติ)​ http://etipitaka.com/read/pali/17/24/?keywords=เอโสหมสฺมิ+อตฺตาติ ดังนี้. แต่รูปนั้น ย่อมแปรปรวน ย่อมเป็นโดยประการอื่น แก่เขา. เพราะความแปรปรวนเป็นโดยประการอื่นแห่งรูป โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้นแก่บุถุชนนั้น. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มี ข้อความที่ตรัสเหมือนกับในกรณี แห่งรูป ). --ภิกษุ ท. ! #ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/17/34. http://etipitaka.com/read/thai/17/17/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔/๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/24/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=185 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=185 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน
    -ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน....แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์ เราจักกล่าว บัดนี้. ภิกษุ ท. ! ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อม ตามเห็นอยู่เป็นประจำ ซึ่งรูป ว่า “นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นอัตตาของเรา” ดังนี้. แต่รูปนั้น ย่อมแปรปรวน ย่อมเป็นโดยประการอื่น แก่เขา. เพราะความแปรปรวนเป็นโดยประการอื่นแห่งรูป โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้นแก่บุถุชนนั้น. (ในกรณีแห่ง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ก็มี ข้อความที่ตรัสเหมือนกับในกรณีแห่งรูป). ภิกษุ ท. ! ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 60 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 968
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ.
    เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    มิจฉาปฏิปทานี้คือ
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #มิจฉาปฏิปทา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=มิจฺฉาปฏิปทา

    --ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    สัมมาปฏิปทานี้คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สัมมาปฏิปทา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/23/?keywords=สมฺมาปฏิปทา
    -
    [สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา ;
    ในสูตรอื่น
    (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    )
    ตรัสเรียกว่า #สัมมาปฏิบัติ ก็มี.อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา
    ในสูตรบางแห่ง
    (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    )

    ตรัสเรียก #ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี.

    (ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี -
    ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91
    ).
    เป็นอันว่า
    ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร
    ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ;
    ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง
    ]

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/65-67.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๕-๖๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=968
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 968 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น. --ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? มิจฉาปฏิปทานี้คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #มิจฉาปฏิปทา. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=มิจฺฉาปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? สัมมาปฏิปทานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สัมมาปฏิปทา. http://etipitaka.com/read/pali/19/23/?keywords=สมฺมาปฏิปทา - [สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา ; ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ) ตรัสเรียกว่า #สัมมาปฏิบัติ ก็มี.อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา ในสูตรบางแห่ง (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑ http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ) ตรัสเรียก #ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี. (ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑ http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91 ). เป็นอันว่า ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ; ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง ] #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/65-67. http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๕-๖๗. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=968 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    -(ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์ พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม; แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน, และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย. เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้. อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่นจำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็น กัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง, ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น ซึ่งได้กล่าวไว้ในหมายเหตุท้ายหัวข้อนั้นๆ ที่หน้า ๑๔๑๙, ๑๔๒๑, ๑๔๕๘ แห่งหนังสือนี้ ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง, นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง). อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น. ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? มิจฉาปฏิปทานี้คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มิจฉาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? สัมมาปฏิปทานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สัมาปฏิปทา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 133 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาสมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น
    สัทธรรมลำดับที่ : 600
    ชื่อบทธรรม :- สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=600
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น
    (ระบบลัทธิพรหมจรรย์จึงไม่เหมือนกัน)
    --ภิกษุทั้งหลาย(ท. !) พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ผู้มีวาทะอย่างนี้
    อันพวกเธอพึงกล่าวตอบอย่างนี้ว่าท่านผู้มีอายุทั้งหลาย
    ธรรม ๔ ประการ อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้รู้ ผู้เห็น
    เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสแล้ว มีอยู่
    ที่พวกเราเห็นธรรมเหล่านี้ในตน
    จึงกล่าวอย่างนี้ว่า
    --ภิกษุ ท. !
    สมณะ (ที่หนึ่ง) มีในธรรมวินัยนี้แหละ ;
    สมณะที่สอง มีในธรรมวินัยนี้ ;
    สมณะที่สาม มีในธรรมวินัยนี้ ;
    สมณะที่สี่ มีในธรรมวินัยนี้.
    ลัทธิอื่น ว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น :
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบ อย่างนี้เถิด.-

    ธรรม ๔ อย่างเป็นไฉน?๔ อย่าง คือ
    ๑. ความเลื่อมใสในพระศาสดาของพวกเรา มีอยู่
    ๒. ความเลื่อมใสในพระธรรม มีอยู่
    ๓. ความกระทำให้บริบูรณ์ในศีล มีอยู่
    ๔. ทั้งคฤหัสถ์(ครองเรือน)​และบรรพชิต(ออกบวช)​
    ผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน เป็นที่น่ารัก น่าพอใจ มีอยู่
    --ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล
    อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสแล้ว
    ที่พวกเราเล็งเห็นธรรมเหล่านี้ในตน

    (บาลีนี้แสดงว่า ไม่อาจจะถือเอาคำพูดเป็นหลัก
    เพราะคำๆเดียวกันมีความหมายต่างกันได้ และเป็นเหตุให้เถียงกันหรือดูหมิ่นกัน;
    เป็นสิ่งที่ต้องระวัง).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/128/154.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๒๘/๑๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=600
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=600
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาสมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น สัทธรรมลำดับที่ : 600 ชื่อบทธรรม :- สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=600 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น (ระบบลัทธิพรหมจรรย์จึงไม่เหมือนกัน) --ภิกษุทั้งหลาย(ท. !) พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ผู้มีวาทะอย่างนี้ อันพวกเธอพึงกล่าวตอบอย่างนี้ว่าท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการ อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสแล้ว มีอยู่ ที่พวกเราเห็นธรรมเหล่านี้ในตน จึงกล่าวอย่างนี้ว่า --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) มีในธรรมวินัยนี้แหละ ; สมณะที่สอง มีในธรรมวินัยนี้ ; สมณะที่สาม มีในธรรมวินัยนี้ ; สมณะที่สี่ มีในธรรมวินัยนี้. ลัทธิอื่น ว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น : --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบ อย่างนี้เถิด.- ธรรม ๔ อย่างเป็นไฉน?๔ อย่าง คือ ๑. ความเลื่อมใสในพระศาสดาของพวกเรา มีอยู่ ๒. ความเลื่อมใสในพระธรรม มีอยู่ ๓. ความกระทำให้บริบูรณ์ในศีล มีอยู่ ๔. ทั้งคฤหัสถ์(ครองเรือน)​และบรรพชิต(ออกบวช)​ ผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน เป็นที่น่ารัก น่าพอใจ มีอยู่ --ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล อันพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสแล้ว ที่พวกเราเล็งเห็นธรรมเหล่านี้ในตน (บาลีนี้แสดงว่า ไม่อาจจะถือเอาคำพูดเป็นหลัก เพราะคำๆเดียวกันมีความหมายต่างกันได้ และเป็นเหตุให้เถียงกันหรือดูหมิ่นกัน; เป็นสิ่งที่ต้องระวัง). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/128/154. http://etipitaka.com/read/thai/12/89/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑๒๘/๑๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/12/128/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=600 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=600 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น
    -สมณะแห่งลัทธิหนึ่ง ๆ ต่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น (ระบบลัทธิพรหมจรรย์จึงไม่เหมือนกัน) ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) มีในธรรมวินัยนี้แหละ ; สมณะที่สอง มีในธรรมวินัยนี้ ; สมณะที่สาม มีในธรรมวินัยนี้ ; สมณะที่สี่ มีในธรรมวินัยนี้. ลัทธิอื่น ว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น : ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบ อย่างนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
    สัทธรรมลำดับที่ : 183
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=183
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
    --ภิกษุ !
    บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า มีเครื่องผูกแห่งมาร.
    บุคคลผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/91/?keywords=มารสฺส
    +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว.
    ข้าแต่พระสุคต ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว”.
    --ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ ได้โดยพิสดาร ว่าอย่างไร ?
    +--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !

    --บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่
    ซึ่งรูป ...ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ
    ชื่อว่า มีเครื่องผูกแห่งมาร ;
    --ส่วนผู้ไม่ยึดมั่นอยู่
    ซึ่งรูป ...ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ
    ชื่อว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร.
    ข้าพระองค์เข้าใจเนื้อความแห่งคำ อันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อนี้
    ได้โดยพิสดารอย่างนี้ พระเจ้าข้า !”

    +--สาธุ สาธุ ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ
    ได้โดยพิสดารอย่างดี.
    --ภิกษุ ! เนื้อความแห่งคำอันเรากล่าวแล้วโดยย่อ นี้
    บุคคลพึงเห็นโดยพิสดาร อย่างนั้นแหละ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/72/138.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/72/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๙๑/๑๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/91/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=183
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=183
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง สัทธรรมลำดับที่ : 183 ชื่อบทธรรม :- ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=183 เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง --ภิกษุ ! บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า มีเครื่องผูกแห่งมาร. บุคคลผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร. http://etipitaka.com/read/pali/17/91/?keywords=มารสฺส +--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว. ข้าแต่พระสุคต ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว”. --ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ ได้โดยพิสดาร ว่าอย่างไร ? +--“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! --บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ ซึ่งรูป ...ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ ชื่อว่า มีเครื่องผูกแห่งมาร ; --ส่วนผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ ซึ่งรูป ...ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ ชื่อว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร. ข้าพระองค์เข้าใจเนื้อความแห่งคำ อันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อนี้ ได้โดยพิสดารอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” +--สาธุ สาธุ ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ ได้โดยพิสดารอย่างดี. --ภิกษุ ! เนื้อความแห่งคำอันเรากล่าวแล้วโดยย่อ นี้ บุคคลพึงเห็นโดยพิสดาร อย่างนั้นแหละ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/72/138. http://etipitaka.com/read/thai/17/72/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๙๑/๑๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/91/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=183 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=183 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง
    -ผู้ติดบ่วง - ผู้หลุดจากบ่วง ภิกษุ ! บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ เรียกว่ามีเครื่องผูกแห่งมาร. ผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ เรียกว่า พ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร. “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว. ข้าแต่พระสุคต ! ข้าพระองค์เข้าใจซึมซาบแล้ว”. ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อ ได้โดยพิสดาร ว่าอย่างไร ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลผู้ยึดมั่นอยู่ ซึ่งรูป ... ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ ชื่อว่ามีเครื่องผูกแห่งมาร ; ส่วนผู้ไม่ยึดมั่นอยู่ ซึ่งรูป ... ซึ่งเวทนา... ซึ่งสัญญา... ซึ่งสังขาร... ซึ่งวิญญาณ ชื่อว่าพ้นแล้วจาก (เครื่องผูกแห่ง) มาร. ข้าพระองค์เข้าใจเนื้อความแห่งคำ อันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อนี้ ได้โดยพิสดารอย่างนี้ พระเจ้าข้า !” สาธุ สาธุ ภิกษุ ! เธอ เข้าใจเนื้อความแห่งคำที่เรากล่าวแล้วโดยย่อได้โดยพิสดารอย่างดี. ภิกษุ ! เนื้อความแห่งคำอันเรากล่าวแล้วโดยย่อ นี้ บุคคลพึงเห็นโดยพิสดาร อย่างนั้นแหละ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 80 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    สัทธรรมลำดับที่ : 967
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :- )​
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?”
    --อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ)
    http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=อธิวจนํ
    แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง;
    เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.
    --อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน.
    +--สัมมาสังกัปปะ ....
    +--สัมมาวาจา ....
    +--สัมมากัมมันตะ ....
    +--สัมมาอาชีวะ ....
    +--สัมมาวายามะ ....
    +--สัมมาสติ ....
    +--สัมมาสมาธิ ....
    อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน.
    --อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า
    พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ;
    เรียกว่า #พรหมยาน บ้าง #ธรรมยาน บ้าง #อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/7/?keywords=สงฺคามวิชโย

    (ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์
    พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม;
    แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน,
    และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย.
    เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้.
    อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่น
    จำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี
    ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็นกัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และ
    ในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง,
    ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น
    ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง,
    นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง
    )

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/4-5/13-23.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖-๗/๑๓-๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=967
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ สัทธรรมลำดับที่ : 967 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :- )​ --“ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?” --อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ) http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=อธิวจนํ แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง. --อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. +--สัมมาสังกัปปะ .... +--สัมมาวาจา .... +--สัมมากัมมันตะ .... +--สัมมาอาชีวะ .... +--สัมมาวายามะ .... +--สัมมาสติ .... +--สัมมาสมาธิ .... อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. --อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ; เรียกว่า #พรหมยาน บ้าง #ธรรมยาน บ้าง #อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.- http://etipitaka.com/read/pali/19/7/?keywords=สงฺคามวิชโย (ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์ พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม; แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน, และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย. เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้. อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่น จำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็นกัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และ ในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง, ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง, นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/4-5/13-23. http://etipitaka.com/read/thai/19/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖-๗/๑๓-๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=967 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    -[ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมัตตะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า กุสลธัมม. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปัตติ. ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สมถะและวิปัสสนา]. อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :-) “ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?” อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ) แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง. อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. สัมมาสังกัปปะ .... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ .... สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ .... อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 212 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 599
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=599
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภท คือ
    สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นเสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า
    “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ;
    เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนา เป็นอย่างนี้;
    สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขารเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ;
    วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ;
    แต่เธอ​ ไม่ถูกต้องซึ่ง​ วิโมกข์แปด(รูป-อรูปฌาน)​ ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า
    “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ;
    เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้ ;
    สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ;
    สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ;
    วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ;
    และเธอ ถูกต้องซึ่ง วิโมกข์แปด(รูป-อรูปฌาน)ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/119/?keywords=สมณปทุโม

    --ภิกษ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร
    ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน....

    (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง
    บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ
    แห่งหัวข้อสัทธรรมลำดับที่ 598 ).
    ....
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้ แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/119/?keywords=สมณสุขุมาโล
    ....
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/90/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/90/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๘/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=599
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=599
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 599 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=599 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภท คือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นเสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ; เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนา เป็นอย่างนี้; สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขารเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ; วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ; แต่เธอ​ ไม่ถูกต้องซึ่ง​ วิโมกข์แปด(รูป-อรูปฌาน)​ ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ; เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้ ; สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ; วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ; และเธอ ถูกต้องซึ่ง วิโมกข์แปด(รูป-อรูปฌาน)ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/119/?keywords=สมณปทุโม --ภิกษ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน.... (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ แห่งหัวข้อสัทธรรมลำดับที่ 598 ). .... +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้ แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ http://etipitaka.com/read/pali/21/119/?keywords=สมณสุขุมาโล .... ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/90/90. http://etipitaka.com/read/thai/21/90/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๘/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=599 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=599 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภท คือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นเสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ; เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนา เป็นอย่างนี้, สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขารเป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขารเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ; วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ; แต่เธอไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปดด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติตามเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ในอุปาทานขันธ์ทั้งห้า ว่า “รูป เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งรูป เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งรูป เป็นอย่างนี้ ; เวทนา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้, ความดับแห่งเวทนาเป็นอย่างนี้ ; สัญญา เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสัญญา เป็นอย่างนี้ ; สังขาร เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งสังขาร เป็นอย่างนี้ ; วิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้, ความดับแห่งวิญญาณ เป็นอย่างนี้” ดังนี้ ; และเธอถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปดด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ. ภิกษ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน.... (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งบุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ แห่งหัวข้อที่แล้วมา). .... ภิกษุ ท. ! อย่างนี้ แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ .... ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 187 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาเบญจขันธ์ได้นามว่าสักกายะและสักกายันตะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 181
    ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์ได้นามว่าสักกายะและสักกายันตะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=181
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจขันธ์ได้นามว่าสักกายะและสักกายันตะ
    --ภิกษุ ท. ! สักกายะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! คำตอบ คือ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า.
    ห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ
    ๑.รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑
    ๒.เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑
    ๓.สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑
    ๔.สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑
    และ
    ๕.วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สักกายะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=สกฺกาโย
    --ภิกษุ ท. ! สักกายันตะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! คำตอบคือ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า.
    ห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ
    ๑.รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑
    ๒.เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑
    ๓.สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑
    ๔.สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑
    และ
    ๕.วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สักกายันตะ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายนฺโต

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151, 149/285, 275.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๓, ๑๙๒/๒๘๕, ๒๗๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%95
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=181
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=181
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาเบญจขันธ์ได้นามว่าสักกายะและสักกายันตะ สัทธรรมลำดับที่ : 181 ชื่อบทธรรม :- เบญจขันธ์ได้นามว่าสักกายะและสักกายันตะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=181 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจขันธ์ได้นามว่าสักกายะและสักกายันตะ --ภิกษุ ท. ! สักกายะ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! คำตอบ คือ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า. ห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ ๑.รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ ๒.เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ ๓.สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ ๔.สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ และ ๕.วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สักกายะ. http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=สกฺกาโย --ภิกษุ ท. ! สักกายันตะ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! คำตอบคือ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า. ห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ ๑.รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ ๒.เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ ๓.สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ ๔.สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ และ ๕.วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สักกายันตะ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายนฺโต #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151, 149/285, 275. http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๓, ๑๙๒/๒๘๕, ๒๗๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%95 http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=181 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=181 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นทรงแสดง อุปาทานิยธรรม ด้วยอายตนะภายในหก (๑๘/๑๑๐/๑๖๐) และอายตนะภายนอกหก (๑๘/๑๓๖/๑๙๐).
    -(ในสูตรอื่นทรงแสดง อุปาทานิยธรรม ด้วยอายตนะภายในหก (๑๘/๑๑๐/๑๖๐) และอายตนะภายนอกหก (๑๘/๑๓๖/๑๙๐). เบญจขันธ์ได้นามว่าสักกายะและสักกายันตะ ภิกษุ ท. ! สักกายะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! คำตอบ คืออุปาทานขันธ์ทั้งห้า. ห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ และวิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สักกายะ. ภิกษุ ท. ! สักกายันตะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! คำตอบคือ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า. ห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑ และวิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน ๑. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า สักกายันตะ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 168 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 966
    ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง)
    --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ
    --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.-

    [
    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 966 ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 เนื้อความทั้งหมด :- --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง) --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.- [ --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม). http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป). http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100. http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒๑
    -นิทเทศ ๒๑ ว่าด้วย สัมมาสมาธิ จบ นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค (มี ๗๕ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์ อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ (ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ .... ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 210 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    อ่อนในหมู่สมณะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 598
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว)​ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาล(ผู้ละเอียด)​ในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ
    กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่.
    เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก
    แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ
    อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล #บุคคลสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ;
    แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปุณฑรีกะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ;
    และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปทุมะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร
    ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน....

    (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง
    บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ 597 )

    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สมณสุขุมาโล
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/87/87.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/87/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๓/๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=598
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) อ่อนในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ : 598 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว)​ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาล(ผู้ละเอียด)​ในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล #บุคคลสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปุณฑรีกะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณปทุมะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน.... (ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่ง บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ สัทธรรมลำดับที่ 597 ) +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สมณสุขุมาโล ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้ แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/87/87. http://etipitaka.com/read/thai/21/87/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๓/๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/21/113/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=598 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=598 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้คือ เป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่. เปรียบเหมือนโอรสองค์ใหญ่ของราชาผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภิเษก แต่ยังมิได้รับการอภิเษก ดำรงอยู่ในตำแหน่งยุพราช ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นเสขะ กำลังปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า อยู่ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล บุคคลสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; แต่เธอหาได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่ไม่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่ ; และเธอถูกต้องวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมากเพราะเขาอ้อนวอน....(ข้อความต่อไป อย่างเดียวกันกับข้อความ ในกรณีแห่งบุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ แห่งหัวข้อที่แล้วมา) .... ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ .... ก็พึงกล่าวเรานี้แหละว่า เป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 206 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าอุปาทาน กับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน
    สัทธรรมลำดับที่ : 179
    ชื่อบทธรรม :- อุปาทานกับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=179
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปาทานกับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อุปาทานนั้นเองหรือ ชื่อว่า ปัญจุปาทานักขันธ์ เหล่านั้น ?
    หรือว่าอุปทาน เป็นอื่นไปจาก ปัญจุปาทานขันธ์ทั้งหลายเล่า ? พระเจ้าข้า !”
    http://etipitaka.com/read/pali/14/101/?keywords=ฉนฺทมูลกาติ
    --ภิกษุ ! ตัวอุปาทานนั้น ไม่ใช่ตัวปัญจุปาทานักขันธ์(ขันธ์ห้าที่มีการยึดมั่นถือมั่น),
    แต่อุปาทานนั้น ก็มิได้มีในที่อื่น นอกไปจาก ปัญจุปาทานักขันธ์ทั้งหลาย ;
    เพราะว่า #ตัวฉันทราคะ(กำหนัดพอใจ).
    ที่มีอยู่ในปัญจุปาทานักขันธ์ นั่นแหละ คือ ตัวอุปาทานในที่นี้ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/14/102/?keywords=ฉนฺทราโค

    #ทุกข์#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/77/121.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/77/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๐๑/๑๒๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/101/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=179
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=179
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าอุปาทาน กับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน สัทธรรมลำดับที่ : 179 ชื่อบทธรรม :- อุปาทานกับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=179 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปาทานกับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อุปาทานนั้นเองหรือ ชื่อว่า ปัญจุปาทานักขันธ์ เหล่านั้น ? หรือว่าอุปทาน เป็นอื่นไปจาก ปัญจุปาทานขันธ์ทั้งหลายเล่า ? พระเจ้าข้า !” http://etipitaka.com/read/pali/14/101/?keywords=ฉนฺทมูลกาติ --ภิกษุ ! ตัวอุปาทานนั้น ไม่ใช่ตัวปัญจุปาทานักขันธ์(ขันธ์ห้าที่มีการยึดมั่นถือมั่น), แต่อุปาทานนั้น ก็มิได้มีในที่อื่น นอกไปจาก ปัญจุปาทานักขันธ์ทั้งหลาย ; เพราะว่า #ตัวฉันทราคะ(กำหนัดพอใจ). ที่มีอยู่ในปัญจุปาทานักขันธ์ นั่นแหละ คือ ตัวอุปาทานในที่นี้ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/14/102/?keywords=ฉนฺทราโค #ทุกข์​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/77/121. http://etipitaka.com/read/thai/14/77/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๑๐๑/๑๒๑. http://etipitaka.com/read/pali/14/101/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=179 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=179 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อุปาทานกับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน
    -อุปาทานกับอุปาทานขันธ์มิใช่อันเดียวกัน “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อุปาทานนั้นเองหรือ ชื่อว่า ปัญจุปาทานักขันธ์ เหล่านั้น ? หรือว่าอุปทาน เป็นอื่นไปจาก ปัญจุปาทานขันธ์ทั้งหลายเล่า ? พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ! ตัวอุปาทานนั้น ไม่ใช่ตัวปัญจุปาทานักขันธ์, แต่อุปาทานนั้น ก็มิได้มีในที่อื่น นอกไปจาก ปัญจุปาทานักขันธ์ทั้งหลาย ; เพราะว่า ตัวฉันทราคะ ที่มีอยู่ในปัญจุปาทานักขันธ์ นั่นแหละ คือ ตัวอุปาทานในที่นี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 147 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 965
    ชื่อบทธรรม : -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ :-
    ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้.
    เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้,
    มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=สกฺกายนิโรเธ
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=สกฺกายนิโรเธ
    เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้,
    มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ,
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่,
    จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น)
    กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ
    เปรียบเหมือนชัมพาลี*--๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี
    คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด
    ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท,
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.
    *--๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน.

    ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/225/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ
    เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่.
    เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา),
    เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่,
    จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท.
    ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน.

    --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.-

    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/160-162/178.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/160/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๒๓-๒๒๕/๑๗๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=965
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค สัทธรรมลำดับที่ : 965 ชื่อบทธรรม : -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965 เนื้อความทั้งหมด :- --เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ :- ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้, มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=สกฺกายนิโรเธ ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=สกฺกายนิโรเธ เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้, มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/224/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ เปรียบเหมือนชัมพาลี*--๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. *--๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน. ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้. http://etipitaka.com/read/pali/21/225/?keywords=อวิชฺชาปฺปเภทํ เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท(การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.- #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/160-162/178. http://etipitaka.com/read/thai/21/160/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๒๓-๒๒๕/๑๗๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/223/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=965 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=965 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค
    -เจโตวิมุตติชนิดที่ยังมีอุปสรรค ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่จำพวกอย่างไรเล่า ? สี่จำพวกคือ : ๑. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ (ความดับแห่งสักกายะ), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือเปื้อนตังเหนียว จับกิ่งไม้, มือของเขาข้องอยู่ จับอยู่ ติดอยู่ (ไม่เป็นอิสระ), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๒. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้. เปรียบเหมือนบุรุษมือสะอาด จับกิ่งไม้, มือของเขาก็ไม่ข้องอยู่ ไม่จับอยู่ ไม่ติดอยู่ (ยังเป็นอิสระ), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธ, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งสักกายนิโรธอยู่, จิตของเธอก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในสักกายนิโรธ. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังสักกายนิโรธได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๓. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท (การทำลายแห่งอวิชชา), เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้. เปรียบเหมือนชัมพาลี๑ อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาปิดทางน้ำไหลเข้าของมันเสีย และเปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ไม่ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันไม่มีหวัง, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ (ก็ยัง) ไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่ดำรงอยู่ ไม่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท, ๑. ตระพังใหญ่ที่ทิ้งของโสโครกประจำเมือง มีขอบคัน. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทไม่ได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ในกรณีนี้ เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อม (อาศัยเจโตวิมุตตินั้น) กระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้. เปรียบเหมือนชัมพาลี อันสร้างมาแล้วหลายปี คนเขาเปิดทางน้ำไหลเข้าของมัน และปิดทางน้ำไหลออกไว้ทั้งหมด ทั้งฝนก็ตกตามฤดูกาล เมื่อเป็นอย่างนี้ การที่จะมีน้ำไหลออกจากขอบคันแห่งตระพังนั้น ก็เป็นอันหวังได้, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่เข้าถึงเจโตวิมุตติอันสงบ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแลอยู่. เธอย่อมกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภท, เมื่อเธอกระทำในใจซึ่งอวิชชาปเภทอยู่, จิตของเธอ ก็แล่นไป เลื่อมใส ดำรงอยู่ น้อมไป ในอวิชชาปเภท. ความเป็นอย่างนี้ของภิกษุนั้น ทำให้เธอหวังอวิชชาปเภทได้, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! บุคคล ๔ จำพวก เหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 174 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 597
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก
    เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย.
    เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
    ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ;
    นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย.
    ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน
    การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม
    มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย.
    อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่
    อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย,
    และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 597 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็น ส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 233 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอุปาทานมี ๔ อย่าง
    สัทธรรมลำดับที่ : 177
    ชื่อบทธรรม :- อุปาทานสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=177
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปาทานสี่
    -ภิกษุ ท. ! อุปาทานมี ๔ อย่าง เหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ :-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/88/?keywords=จตฺตาริ+อุปาทาน
    +--๑. กามุปาทาน ความถือมั่นใน กาม
    +--๒. ทิฏฐุปาทาน ความถือมั่นใน ทิฎฐิ
    +--๓. สีลัพพตุปาทาน ความถือมั่นใน ศีลพรต
    +--๔. และอัตตวาทุปาทาน ความถือมั่นใน วาทะว่า ตน.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #อุปาทานสี่อย่าง.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/87/337.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/87/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๘/๓๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/88/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=177
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=177
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอุปาทานมี ๔ อย่าง สัทธรรมลำดับที่ : 177 ชื่อบทธรรม :- อุปาทานสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=177 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปาทานสี่ -ภิกษุ ท. ! อุปาทานมี ๔ อย่าง เหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ :- http://etipitaka.com/read/pali/19/88/?keywords=จตฺตาริ+อุปาทาน +--๑. กามุปาทาน ความถือมั่นใน กาม +--๒. ทิฏฐุปาทาน ความถือมั่นใน ทิฎฐิ +--๓. สีลัพพตุปาทาน ความถือมั่นใน ศีลพรต +--๔. และอัตตวาทุปาทาน ความถือมั่นใน วาทะว่า ตน. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #อุปาทานสี่อย่าง.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/87/337. http://etipitaka.com/read/thai/19/87/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๘/๓๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/19/88/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=177 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=177 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อุปาทานสี่
    -อุปาทานสี่ ภิกษุ ท. ! อุปาทานมี ๔ อย่าง เหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ : ๑. กามุปาทาน ความถือมั่นใน กาม ๒. ทิฏฐุปาทาน ความถือมั่นใน ทิฎฐิ ๓. สีลัพพตุปาทาน ความถือมั่นใน ศีลพรต ๔. และอัตตวาทุปาทาน ความถือมั่นใน วาทะว่าตน. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ อุปาทานสี่อย่าง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 133 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 964
    ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    ...
    --[กรณีของปฐมฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น
    มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด;
    กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ;
    ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น.

    +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป;
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของทุติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว
    ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของตติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า
    “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของจตุตถฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้,
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน,
    จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป,
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.
    ...
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 964 ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 เนื้อความทั้งหมด :- --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ ... --[กรณีของปฐมฌาน] --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. ... #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282. http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ [กรณีของปฐมฌาน] โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้นมองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอ ย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. (ในกรณีแห่ง อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ และอากิญจัญญายตนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 160 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 596
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ.

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม
    และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง
    เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 596 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โสตาปนฺโน --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ &​สมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็นโอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​บุคคลผู้สมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่ง เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า &​สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=สุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค ​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/88. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๖/๘๘. http://etipitaka.com/read/pali/21/116/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=596 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=596 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณะสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณอจละ (ผู้ไม่หวั่นไหว) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม เป็น โสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ (ผู้เสมือนบัวบุณฑริก) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็น สกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้นก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่าบุคคลผู้ สมณปทุมะ (ผู้เสมือนบัวปทุม) ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำ ห้าอย่าง เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้นไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลผู้สมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลผู้ สมณสุขุมาล (ผู้ละเอียดอ่อน) ในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เจ้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า สมณผู้สุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทเหล่านี้แล มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 146 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า ปัญจุปาทานักขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 176
    ชื่อบทธรรม : -(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=176
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! รูป ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีต
    อนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
    หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม
    ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/59/?keywords=รูปูปาทานกฺขนฺโธ

    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.

    --ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.

    --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.

    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม
    มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน.

    --ภิกษุ ท. ! ขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า #ปัญจุปาทานักขันธ์
    http://etipitaka.com/read/pali/17/60/?keywords=ปญฺจุปาทานกฺขนฺ
    แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/47/96.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/47/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๙/๙๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/59/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=176
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=176
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13
    ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า ปัญจุปาทานักขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 176 ชื่อบทธรรม : -(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=176 เนื้อความทั้งหมด :- --(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์ --ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! รูป ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีต อนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. http://etipitaka.com/read/pali/17/59/?keywords=รูปูปาทานกฺขนฺโธ --ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. --ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. --ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า &​วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. --ภิกษุ ท. ! ขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า #ปัญจุปาทานักขันธ์ http://etipitaka.com/read/pali/17/60/?keywords=ปญฺจุปาทานกฺขนฺ แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/47/96. http://etipitaka.com/read/thai/17/47/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๙/๙๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/59/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=176 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13&id=176 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=13 ลำดับสาธยายธรรม : 13 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_13.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์
    -(ข.) วิภาคแห่งปัญจุปาทานักขันธ์ ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! รูป ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า รูปขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! เวทนา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สัญญาขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! สังขารทั้งหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สังขารขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่ จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ซึ่งยังมีอาสวะ เป็นที่ตั้งอาศัยอยู่ แห่งอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า วิญญาณขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน. ภิกษุ ท. ! ขันธ์ที่ยังมีอุปาทานห้าขันธ์เหล่านี้ เรียกว่า ปัญจุปาทานักขันธ์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 0 รีวิว
  • ลัทธิอื่นไม่รู้จักเรื่องอัตตวาทุปาทาน
    ลำดับสัทธรรมที่: 186

    เนื้อความ: -ลัทธิอื่นไม่รู้จักเรื่องอัตตวาทุปาทาน
    ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ ๑. กามุปาทาน ความถือมั่นในกาม ; ๒. ทิฏฐุปาทาน ความถือมั่น
    ในทิฏฐิ ; ๓. สีลัพพตุปาทาน ความถือมั่นในศีลพรต ; ๔. อัตตวาทุปาทาน ความถือมั่นในวาทะว่าตน.
    ภิกษุ ท. ! มีสมณพราหมณ์บางพวก ซึ่งปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ซึ่งอุปาทานทั้งปวง, แต่สมณพราหมณ์เหล่านั้น หาได้บัญญัติการรอบรู้ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งกามุปาทาน แต่ไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน ไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งสีลัพพตุปาทาน และไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมไม่รู้จักฐานะ (อุปาทาน) ทั้งสาม (นอกนั้น) เหล่านี้ ตามที่เป็นจริง เพราะเหตุนั้น สมณพราหมณ์เหล่านั้น ทั้งที่ปฏิญาณตัวว่าเป็นผู้กล่าวการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง ก็หาได้บัญญัติการรอบรู้ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือเขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ซึ่งกามุปาทาน, แต่ไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน ไม่บัญญัติการรอบรู้ซึ่งสีลัพพตุปาทาน และไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน.
    ภิกษุ ท. ! มีสมณพราหมณ์อีกบางพวก ซึ่งปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง, แต่สมณพราหมณ์เหล่านั้น หาได้บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งกามุปาทาน และบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน, แต่ไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งสีลัพพตุปาทาน และไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า สมณพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมไม่รู้จักฐานะ (อุปาทาน) ทั้งสอง (นอกนั้น) เหล่านี้ ตามที่เป็นจริง เพราะเหตุนั้น สมณพราหมณ์เหล่านั้น ทั้งที่ปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง ก็หาได้
    บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ซึ่งกามุปาทาน และบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน, แต่ไม่อาจบัญญัติการรอบรู้ ซึ่งสีลัพพตุปาทาน และไม่อาจบัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน.
    ภิกษุ ท. ! มีสมณพราหมณ์อีกบางพวก ซึ่งปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง, แต่สมณพราหมณ์เหล่านั้น หาได้บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งกามุปาทาน, บัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่ง ทิฏฐุปาทาน, และบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่ง สีลัพพตุปาทาน ; แต่ไม่อาจบัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า สมณพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมไม่รู้จักฐานะ (อุปาทาน) หนึ่งอันนี้ ตามที่เป็นจริง เพราะเหตุนั้น สมณพราหมณ์เหล่านั้นทั้งที่ปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ซึ่งอุปาทานทั้งปวง ก็หาได้บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง โดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งกามุปาทาน, บัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน, และบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งสีลัพพตุปาทาน ; แต่ไม่อาจบัญญัติการรอบรู้ซึ่งอัตตาวาทุปาทาน แล.


    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงพระสุตตันตปิฎกไทย: - มู. ม. 12/132/156.
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/thaiBook.php?volume=12&pages=92

    อ้างอิงพระสุตันตปิฎกบาลี: - มู. ม. ๑๒/๑๓๒/๑๕๖.
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/paliBook.php?volume=12&pages=132

    ค้นหาพุทธพจน์: https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/

    ฟังเสียงอ่าน: https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=186
    ลัทธิอื่นไม่รู้จักเรื่องอัตตวาทุปาทาน ลำดับสัทธรรมที่: 186 เนื้อความ: -ลัทธิอื่นไม่รู้จักเรื่องอัตตวาทุปาทาน ภิกษุ ท. ! อุปาทานมีสี่อย่างเหล่านี้. สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ? สี่อย่างคือ ๑. กามุปาทาน ความถือมั่นในกาม ; ๒. ทิฏฐุปาทาน ความถือมั่น ในทิฏฐิ ; ๓. สีลัพพตุปาทาน ความถือมั่นในศีลพรต ; ๔. อัตตวาทุปาทาน ความถือมั่นในวาทะว่าตน. ภิกษุ ท. ! มีสมณพราหมณ์บางพวก ซึ่งปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ซึ่งอุปาทานทั้งปวง, แต่สมณพราหมณ์เหล่านั้น หาได้บัญญัติการรอบรู้ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งกามุปาทาน แต่ไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน ไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งสีลัพพตุปาทาน และไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมไม่รู้จักฐานะ (อุปาทาน) ทั้งสาม (นอกนั้น) เหล่านี้ ตามที่เป็นจริง เพราะเหตุนั้น สมณพราหมณ์เหล่านั้น ทั้งที่ปฏิญาณตัวว่าเป็นผู้กล่าวการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง ก็หาได้บัญญัติการรอบรู้ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือเขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ซึ่งกามุปาทาน, แต่ไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน ไม่บัญญัติการรอบรู้ซึ่งสีลัพพตุปาทาน และไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ภิกษุ ท. ! มีสมณพราหมณ์อีกบางพวก ซึ่งปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง, แต่สมณพราหมณ์เหล่านั้น หาได้บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งกามุปาทาน และบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน, แต่ไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งสีลัพพตุปาทาน และไม่บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า สมณพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมไม่รู้จักฐานะ (อุปาทาน) ทั้งสอง (นอกนั้น) เหล่านี้ ตามที่เป็นจริง เพราะเหตุนั้น สมณพราหมณ์เหล่านั้น ทั้งที่ปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง ก็หาได้ บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ซึ่งกามุปาทาน และบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน, แต่ไม่อาจบัญญัติการรอบรู้ ซึ่งสีลัพพตุปาทาน และไม่อาจบัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ภิกษุ ท. ! มีสมณพราหมณ์อีกบางพวก ซึ่งปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง, แต่สมณพราหมณ์เหล่านั้น หาได้บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวงโดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งกามุปาทาน, บัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่ง ทิฏฐุปาทาน, และบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่ง สีลัพพตุปาทาน ; แต่ไม่อาจบัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอัตตวาทุปาทาน. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า สมณพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมไม่รู้จักฐานะ (อุปาทาน) หนึ่งอันนี้ ตามที่เป็นจริง เพราะเหตุนั้น สมณพราหมณ์เหล่านั้นทั้งที่ปฏิญาณตัวว่า เป็นผู้กล่าวการรอบรู้ซึ่งอุปาทานทั้งปวง ก็หาได้บัญญัติการรอบรู้ ซึ่งอุปาทานทั้งปวง โดยชอบไม่ คือ เขาบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งกามุปาทาน, บัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งทิฏฐุปาทาน, และบัญญัติได้แต่การรอบรู้ ซึ่งสีลัพพตุปาทาน ; แต่ไม่อาจบัญญัติการรอบรู้ซึ่งอัตตาวาทุปาทาน แล. #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงพระสุตตันตปิฎกไทย: - มู. ม. 12/132/156. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/thaiBook.php?volume=12&pages=92 อ้างอิงพระสุตันตปิฎกบาลี: - มู. ม. ๑๒/๑๓๒/๑๕๖. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/paliBook.php?volume=12&pages=132 ค้นหาพุทธพจน์: https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/ ฟังเสียงอ่าน: https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=186
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    พระสุตตันตปิฎกไทย: 12/92/156 สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
    สุตันตปิฎกไทย รวบรวมคำสอนและหลักธรรมจากพระพุทธเจ้า เพื่อการศึกษาและการปฏิบัติธรรมที่นำไปสู่มรรคผลนิพพานอย่างถูกต้อง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 100 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    สัทธรรมลำดับที่ : 963
    ชื่อบทธรรม : -ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเป็นผู้ มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่
    จิตย่อมไม่เกลือกกลั้วในรูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ;
    เมื่อเขามีจิตไม่เกลือกกลั้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด;
    เมื่อมีจิตปีติ กายย่อมสงบ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=ปีติมนสฺส+ปสฺสทฺธกาโย
    ผู้มีกายสงบ ย่อมอยู่เป็นสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น;
    เมื่อจิตตั้งมั่นแล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=สมาหิเต+จิตฺเต+ธมฺมานํ+ปาตุภาวา
    เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ บุคคลนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับว่า
    เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า #บุคคลเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.

    (ในกรณีแห่งผู้ มีปกติอยู่ด้วยความประมาท ก็ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม).-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/80/144.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๙๘/๑๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=963
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท สัทธรรมลำดับที่ : 963 ชื่อบทธรรม : -ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท --ภิกษุ ท. ! บุคคลเป็นผู้ มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่ จิตย่อมไม่เกลือกกลั้วในรูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ; เมื่อเขามีจิตไม่เกลือกกลั้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อมีจิตปีติ กายย่อมสงบ; http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=ปีติมนสฺส+ปสฺสทฺธกาโย ผู้มีกายสงบ ย่อมอยู่เป็นสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น; เมื่อจิตตั้งมั่นแล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ; http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=สมาหิเต+จิตฺเต+ธมฺมานํ+ปาตุภาวา เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ บุคคลนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า #บุคคลเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท. (ในกรณีแห่งผู้ มีปกติอยู่ด้วยความประมาท ก็ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม).- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/80/144. http://etipitaka.com/read/thai/18/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๙๘/๑๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=963 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 595
    ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท
    --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่.
    ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น.
    --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด.

    --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน
    มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง).
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี
    มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี)
    ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก

    --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​
    ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.-
    http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าสมณะสี่ประเภทมีอยู่ในหมู่ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรมและวินัย สัทธรรมลำดับที่ : 595 ชื่อบทธรรม : -สมณะสี่ประเภท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท --ภิกษุ ท. ! ในธรรมวินัยนี้แหละ มีสมณะ (ที่หนึ่ง) มีสมณะที่สอง มีสมณะที่สาม มีสมณะที่สี่. ลัทธิอื่นว่างจากสมณะแห่งลัทธิอื่น. --ภิกษุ ท. ! เธอจงบันลือสีหนาทโดยชอบอย่างนี้เถิด. --ภิกษุ ท. ! สมณะ (ที่หนึ่ง) เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์สาม &​เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะ (ที่หนึ่ง). http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โสตาปนฺ --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สอง เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์สาม และเพราะความมีราคะโทสะโมหะเบาบาง &​เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้คราวเดียวเท่านั้น ก็ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สอง. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=สกทาคามี --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สาม เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะสิ้นรอบแห่งสัญโญชน์เบื้องต่ำห้าอย่าง &​เป็นโอปปาติกะ(อนาคามี) ย่อมปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สาม. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=โอปปาติโก --ภิกษุ ท. ! สมณะที่สี่ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ได้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=เจโตวิมุตฺตึ+ปญฺญาวิมุตฺตึ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง (อรหันต)​ ในทิฏฐธรรมนี้เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นสมณะที่สี่.- http://etipitaka.com/read/pali/21/324/?keywords=จตฺตาโร+อริเยน #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/224/241. http://etipitaka.com/read/thai/21/224/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๒๓/๒๔๑. http://etipitaka.com/read/pali/21/323/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=595 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=595 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาวิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช​ เป็นทุกข์ในอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 172
    ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    ห้าอย่างคือ
    พืชจากเหง้า (มูลพีช ),
    พืชจากต้น (ขนฺธพีช),
    พืชจากตา (ผลุพีช),
    พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ
    พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น)
    เป็นคำรบห้า (พีชพีช).
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
    แต่ดิน น้ำ ไม่มี.
    +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ?
    +--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !”
    +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
    ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย.
    +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ?
    +--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย
    --ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม)
    พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น.
    -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
    เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า
    “เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์
    ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร”
    ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172

    สัทธรรมลำดับที่ : 173
    ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ
    ของวิญญาณทางตา
    วิญญาณทางหู
    วิญญาณทางจมูก
    วิญญาณทางลิ้น
    วิญญาณทางกาย และ
    วิญญาณทางใจ
    ใด ๆ นั่นเท่ากับ
    เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์,
    เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ
    เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173

    สัทธรรมลำดับที่ : 174
    ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
    --ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น,
    สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ;
    วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
    อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ;
    การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ
    การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ,
    อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174

    สัทธรรมลำดับที่ : 175
    ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ
    วิญญาณทางตา,
    วิญญาณทางหู,
    วิญญาณทางจมูก,
    วิญญาณทางลิ้น,
    วิญญาณทางกาย, และ
    วิญญาณทางใจ.
    -ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
    ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ;
    ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ;
    อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาวิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช​ เป็นทุกข์ในอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 172 ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช --ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ? ห้าอย่างคือ พืชจากเหง้า (มูลพีช ), พืชจากต้น (ขนฺธพีช), พืชจากตา (ผลุพีช), พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น) เป็นคำรบห้า (พีชพีช). +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี, แต่ดิน น้ำ ไม่มี. +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ? +--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !” +--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี, ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย. +--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ? +--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร) พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย --ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม) พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น. -http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้. --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า “เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107. http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172 สัทธรรมลำดับที่ : 173 ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์ เนื้อความทั้งหมด :- --การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์ --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ ของวิญญาณทางตา วิญญาณทางหู วิญญาณทางจมูก วิญญาณทางลิ้น วิญญาณทางกาย และ วิญญาณทางใจ ใด ๆ นั่นเท่ากับ เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483. http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173 สัทธรรมลำดับที่ : 174 ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ --ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น, สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ; วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ, อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ; การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ, อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123. http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174 สัทธรรมลำดับที่ : 175 ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และ วิญญาณทางใจ. -ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ. ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ; ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 247 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts