• ในหลวง ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต จากฤดูร้อนเป็นฤดูฝน
    https://www.thai-tai.tv/news/20213/
    .
    #ในหลวง #พระราชินี #พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร #พระแก้วมรกต #วัดพระศรีรัตนศาสดาราม #พระบรมมหาราชวัง #พิธีสำคัญ #ศาสนพิธี #วัดพระแก้ว #ราชวงศ์
    ในหลวง ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต จากฤดูร้อนเป็นฤดูฝน https://www.thai-tai.tv/news/20213/ . #ในหลวง #พระราชินี #พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร #พระแก้วมรกต #วัดพระศรีรัตนศาสดาราม #พระบรมมหาราชวัง #พิธีสำคัญ #ศาสนพิธี #วัดพระแก้ว #ราชวงศ์
    0 Comments 0 Shares 54 Views 0 Reviews
  • ในหลวง พระราชินี ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงฤดูร้อน ถวายพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

    วันที่ 14 มีนาคม 2568
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรงฤดูหนาวเป็นเครื่องทรงฤดูร้อน ถวายพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง
    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    ในหลวง พระราชินี ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงฤดูร้อน ถวายพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร วันที่ 14 มีนาคม 2568 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรงฤดูหนาวเป็นเครื่องทรงฤดูร้อน ถวายพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida
    Like
    Love
    4
    0 Comments 0 Shares 688 Views 0 Reviews
  • ในหลวง ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงสำหรับฤดูร้อน ถวายพระแก้วมรกต
    14 มีนาคม 2568 - เวลา 17.34 น.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรง ฤดูหนาวเป็นเครื่องทรงฤดูร้อน ถวายพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง
    ในหลวง ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงสำหรับฤดูร้อน ถวายพระแก้วมรกต 14 มีนาคม 2568 - เวลา 17.34 น.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรง ฤดูหนาวเป็นเครื่องทรงฤดูร้อน ถวายพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 471 Views 0 Reviews
  • วัดอรุณฯ ศาสนสถานงานศิลป์ชั้นเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    หากเอ่ยถึง วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร (Wat Arun Ratchawararam Ratchawaramahawihan) หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า วัดอรุณฯ เราเชื่อว่าหลายคนน่าจะรู้จักเป็นอย่างดี เพราะเป็นวัดสำคัญคู่บ้านคู่เมืองมาช้านาน แถมยังตั้งเด่นเป็นสง่าริมแม่น้ำเจ้าพระยา จนกลายเป็นสัญลักษณ์ความสวยงามที่ประจักษ์ต่อสายตาชาวโลก อีกทั้งยังเป็นสถาปัตยกรรมที่งดงามประเมินค่าไม่ได้ โดยมีคติความเชื่อที่ว่า หากได้ไปไหว้พระวัดอรุณฯ ชีวิตจะรุ่งโรจน์ทุกคืนวัน วันนี้เราเลยถือโอกาสพาเพื่อน ๆ ไปท่องเที่ยวพร้อมทำความรู้จักกับวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ให้มากขึ้นกัน

    และด้วยวัดอรุณฯเป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม โดดเด่นด้วยพระปรางค์สีทองที่สูงตระหง่าน เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวไทยและชาวต่างชาติมากมาย จึงมีมักมีผู้ศรัทธามาวัดอรุณเพื่อสักการะพระปรางค์ ไหว้พระ และขอพร พิธีการขอพรที่พบเห็นโดยทั่วไปคือจะจุดธูป เทียน และดอกไม้ ไหว้พระประธานในพระอุโบสถ แล้วเดินรอบพระปรางค์ บ้างก็สวดเทวะมันตรา และตั้งจิตอธิษฐานขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนเคารพศรัทธา เชื่อกันว่าการขอพรที่วัดอรุณฯจะทำให้สมหวังในสิ่งที่ปรารถนา

    ประวัติวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

    วัดอรุณฯ เป็นวัดโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แรกเรียกว่า วัดมะกอก มีเรื่องเล่าว่า เมื่อพระเจ้าตาก (สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) ทรงนำกองทัพมาเพื่อเลือกชัยภูมิในการสร้างราชธานีใหม่ พระองค์เสด็จฯ ถึงวัดมะกอกในเวลารุ่งแจ้ง เมื่อทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี จึงทรงปฏิสังขรณ์พระอารามแห่งนี้ และสถาปนาเป็นพระอารามหลวง พระราชทานนามว่า วัดแจ้ง เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ซึ่งอัญเชิญมาจากเวียงจันทน์

    ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) ทรงสถาปนาพระอุโบสถและพระวิหารหลังใหม่ พร้อมทั้งอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรมาประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จพระองค์ก็เสด็จสวรรคต หลังจากนั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) จึงทรงดำเนินการปฏิสังขรณ์ต่อ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า วัดอรุณราชธาราม ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า วัดอรุณราชวราราม

    วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 66 ตอนที่ 64 วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 และประกาศระวางแนวเขตโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 72 ตอนที่ 14 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498

    วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ที่ไหน?

    วัดอรุณฯ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร หมายถึงพระอารามที่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยุพราช ทรงสร้างหรือปฏิสังขรณ์เป็นการส่วนพระองค์ ตั้งอยู่ที่แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี ทั้งยังอยู่ในเขตพระบรมมหาราชวังเดิม
    ที่ตั้ง : เลขที่ 34 ถนนวังเดิม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร
    วัดอรุณฯ ศาสนสถานงานศิลป์ชั้นเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ หากเอ่ยถึง วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร (Wat Arun Ratchawararam Ratchawaramahawihan) หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า วัดอรุณฯ เราเชื่อว่าหลายคนน่าจะรู้จักเป็นอย่างดี เพราะเป็นวัดสำคัญคู่บ้านคู่เมืองมาช้านาน แถมยังตั้งเด่นเป็นสง่าริมแม่น้ำเจ้าพระยา จนกลายเป็นสัญลักษณ์ความสวยงามที่ประจักษ์ต่อสายตาชาวโลก อีกทั้งยังเป็นสถาปัตยกรรมที่งดงามประเมินค่าไม่ได้ โดยมีคติความเชื่อที่ว่า หากได้ไปไหว้พระวัดอรุณฯ ชีวิตจะรุ่งโรจน์ทุกคืนวัน วันนี้เราเลยถือโอกาสพาเพื่อน ๆ ไปท่องเที่ยวพร้อมทำความรู้จักกับวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ให้มากขึ้นกัน และด้วยวัดอรุณฯเป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม โดดเด่นด้วยพระปรางค์สีทองที่สูงตระหง่าน เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวไทยและชาวต่างชาติมากมาย จึงมีมักมีผู้ศรัทธามาวัดอรุณเพื่อสักการะพระปรางค์ ไหว้พระ และขอพร พิธีการขอพรที่พบเห็นโดยทั่วไปคือจะจุดธูป เทียน และดอกไม้ ไหว้พระประธานในพระอุโบสถ แล้วเดินรอบพระปรางค์ บ้างก็สวดเทวะมันตรา และตั้งจิตอธิษฐานขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนเคารพศรัทธา เชื่อกันว่าการขอพรที่วัดอรุณฯจะทำให้สมหวังในสิ่งที่ปรารถนา ประวัติวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร วัดอรุณฯ เป็นวัดโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แรกเรียกว่า วัดมะกอก มีเรื่องเล่าว่า เมื่อพระเจ้าตาก (สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) ทรงนำกองทัพมาเพื่อเลือกชัยภูมิในการสร้างราชธานีใหม่ พระองค์เสด็จฯ ถึงวัดมะกอกในเวลารุ่งแจ้ง เมื่อทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี จึงทรงปฏิสังขรณ์พระอารามแห่งนี้ และสถาปนาเป็นพระอารามหลวง พระราชทานนามว่า วัดแจ้ง เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ซึ่งอัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) ทรงสถาปนาพระอุโบสถและพระวิหารหลังใหม่ พร้อมทั้งอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรมาประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จพระองค์ก็เสด็จสวรรคต หลังจากนั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) จึงทรงดำเนินการปฏิสังขรณ์ต่อ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า วัดอรุณราชธาราม ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า วัดอรุณราชวราราม วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 66 ตอนที่ 64 วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 และประกาศระวางแนวเขตโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 72 ตอนที่ 14 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ที่ไหน? วัดอรุณฯ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร หมายถึงพระอารามที่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยุพราช ทรงสร้างหรือปฏิสังขรณ์เป็นการส่วนพระองค์ ตั้งอยู่ที่แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี ทั้งยังอยู่ในเขตพระบรมมหาราชวังเดิม ที่ตั้ง : เลขที่ 34 ถนนวังเดิม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร
    0 Comments 0 Shares 1184 Views 0 Reviews
  • ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๗
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรงฤดูร้อนเป็นเครื่องทรงฤดูฝน ถวายพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง

    #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา
    Cr. FB: โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน
    ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรงฤดูร้อนเป็นเครื่องทรงฤดูฝน ถวายพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง #พระราชินีสุทิดา #苏提达王后 #QueenSuthida พระราชินีสุทิดา Cr. FB: โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน
    Like
    1
    1 Comments 0 Shares 524 Views 0 Reviews