• รายงานข่าวแจ้งว่า ก่อนหน้านี้มีการตั้งข้อสังเกต ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ ในขณะที่กำลังเทคอนกรีตเพื่อหล่อคานทางด่วนในหลายประเด็น ทั้งเรื่องการเทคอนกรีตในปริมาณที่มากเกินไป หรือ ตัวรับพื้นคานขวางคือตัวโครงเหล็กที่เป็นแม่แบบ หรือ Temporary Structure มีปัญหาเกิดการขยับตัว ที่เกิดจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของดิน ทำให้การรับน้ำหนักปูนกว่า 10 ตันเกิดการเอียง จนตัวแม่แบบหลุดออกจากตำแหน่งและถล่ม รวมไปถึงประเด็นเรื่องดินอ่อน

    แหล่งข่าวจาก กทพ.กล่าวว่า ต้องรอให้มีการตรวจสอบอย่างละเอียดในทุกปัจจัย และรอข้อสรุปอย่างเป็นทางการ แต่ข้อเท็จจริงที่บอกได้เลยคือ จุดก่อสร้างทางด่วน สายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกฯ​บริเวณหน้าด่านดาวคะนอง อยู่บนพื้นที่โครงการทางด่วนเฉลิมมหานคร ที่ตลอดแนว ได้ออกแบบป้องกันเรื่องการทรุดตัวไว้แล้วโดยมีเสาเข็ม เป็น Bearing unit ทุก 2 เมตร ลึก 16 เมตร และมีคอนกรีตหนา 60 ซม. รองอยู่อีกชั้นเพื่อกระจายการรับน้ำหนัก ในเชิงเทคนิคทางด่วนเฉลิมมหานครออกแบบพื้นซัพพอร์ตโครงสร้าง ป้องกันการทรุดตัว และอยู่มา 30 กว่าปีไม่มีปัญหา

    ส่วนการก่อสร้างทางด่วนพระราม 3-ดาวคะนอง ได้ออกแบบตั้งเสาค้ำยันตรงกลางสำหรับเทคอนกรีตหล่อคานขวาง บนฐานราก หรือ Footing ของ Bearing unit ของพื้นที่ทางด่วนเดิม จึงมั่นใจไม่มีปัญหาเรื่องทรุดตัว

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/business/detail/9680000027836

    #MGROnline #ทางด่วนพระราม3 #ดาวคะนอง
    รายงานข่าวแจ้งว่า ก่อนหน้านี้มีการตั้งข้อสังเกต ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ ในขณะที่กำลังเทคอนกรีตเพื่อหล่อคานทางด่วนในหลายประเด็น ทั้งเรื่องการเทคอนกรีตในปริมาณที่มากเกินไป หรือ ตัวรับพื้นคานขวางคือตัวโครงเหล็กที่เป็นแม่แบบ หรือ Temporary Structure มีปัญหาเกิดการขยับตัว ที่เกิดจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของดิน ทำให้การรับน้ำหนักปูนกว่า 10 ตันเกิดการเอียง จนตัวแม่แบบหลุดออกจากตำแหน่งและถล่ม รวมไปถึงประเด็นเรื่องดินอ่อน • แหล่งข่าวจาก กทพ.กล่าวว่า ต้องรอให้มีการตรวจสอบอย่างละเอียดในทุกปัจจัย และรอข้อสรุปอย่างเป็นทางการ แต่ข้อเท็จจริงที่บอกได้เลยคือ จุดก่อสร้างทางด่วน สายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกฯ​บริเวณหน้าด่านดาวคะนอง อยู่บนพื้นที่โครงการทางด่วนเฉลิมมหานคร ที่ตลอดแนว ได้ออกแบบป้องกันเรื่องการทรุดตัวไว้แล้วโดยมีเสาเข็ม เป็น Bearing unit ทุก 2 เมตร ลึก 16 เมตร และมีคอนกรีตหนา 60 ซม. รองอยู่อีกชั้นเพื่อกระจายการรับน้ำหนัก ในเชิงเทคนิคทางด่วนเฉลิมมหานครออกแบบพื้นซัพพอร์ตโครงสร้าง ป้องกันการทรุดตัว และอยู่มา 30 กว่าปีไม่มีปัญหา • ส่วนการก่อสร้างทางด่วนพระราม 3-ดาวคะนอง ได้ออกแบบตั้งเสาค้ำยันตรงกลางสำหรับเทคอนกรีตหล่อคานขวาง บนฐานราก หรือ Footing ของ Bearing unit ของพื้นที่ทางด่วนเดิม จึงมั่นใจไม่มีปัญหาเรื่องทรุดตัว • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/business/detail/9680000027836 • #MGROnline #ทางด่วนพระราม3 #ดาวคะนอง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 302 มุมมอง 0 รีวิว
  • “คมนาคม-กทพ.”ลุยแจ้งความ ดำเนินคดีแพ่ง-อาญา เหตุคาน “ทางด่วนพระราม 3 - ดาวคะนอง” ทรุดตัว ที่ สน.บางมด พร้อมเร่งสอบข้อเท็จจริง คาดสรุปใน 20 วัน ร่วมกับ วสท. ตั้งทีม“Safety Auditor” สแกนความปลอดภัยทุกโปรเจกต์ เพื่อปลอดภัยสูงสุด ยันสงกรานต์ 68 หยุดก่อสร้าง100%

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000027195
    “คมนาคม-กทพ.”ลุยแจ้งความ ดำเนินคดีแพ่ง-อาญา เหตุคาน “ทางด่วนพระราม 3 - ดาวคะนอง” ทรุดตัว ที่ สน.บางมด พร้อมเร่งสอบข้อเท็จจริง คาดสรุปใน 20 วัน ร่วมกับ วสท. ตั้งทีม“Safety Auditor” สแกนความปลอดภัยทุกโปรเจกต์ เพื่อปลอดภัยสูงสุด ยันสงกรานต์ 68 หยุดก่อสร้าง100% อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000027195
    Like
    Haha
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 848 มุมมอง 0 รีวิว
  • นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) เผยหลังตรวจความคืบหน้าการรื้อย้ายซากคานสะพานทางด่วนพระราม 3-ดาวคะนองที่ทรุดตัว มีความคืบหน้าแล้วกว่า 100% โดยเร่งรื้อย้ายซาก 22 ชม.ต่อวัน โดยจะปูผิว ตีเส้นจราจรให้กลับสู่สภาพเดิมพร้อมใช้งาน ตลอดแนวถนนก่อนเข้าหน้าด่านดาวคะนอง และรื้อย้าย Main truss (คาน โครงสร้างเหล็กเพื่อรับน้ำหนักคอนกรีต) ที่เสร็จแล้วออก กำหนดเปิดให้บริการทางพิเศษช่วงด่านดาวคะนองขาเข้าเมืองได้ในเวลา 06.00 น.วันที่ 20 มี.ค. นี้ ซึ่งก่อนเปิดใช้จะเชิญสภาวิศวกรรมสถานฯ เข้าตรวจสอบ สำหรับทางพิเศษช่วงดาวคะนองขาออกเมืองจะเร่งซ่อมและเปิดจราจรให้ได้ภายใน 30 วัน แต่ไม่แน่ใจว่าจะทันเทศกาลสงกรานต์หรือไม่

    -ศึกมรดกตระกูล"ณรงค์เดช"
    -เคาะซักฟอก 24-25 มี.ค.
    -ม็อบปลาหมอคางดำอยู่ยาว
    -เอกสารลอบสังหารเขย่าโลก
    นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย(กทพ.) เผยหลังตรวจความคืบหน้าการรื้อย้ายซากคานสะพานทางด่วนพระราม 3-ดาวคะนองที่ทรุดตัว มีความคืบหน้าแล้วกว่า 100% โดยเร่งรื้อย้ายซาก 22 ชม.ต่อวัน โดยจะปูผิว ตีเส้นจราจรให้กลับสู่สภาพเดิมพร้อมใช้งาน ตลอดแนวถนนก่อนเข้าหน้าด่านดาวคะนอง และรื้อย้าย Main truss (คาน โครงสร้างเหล็กเพื่อรับน้ำหนักคอนกรีต) ที่เสร็จแล้วออก กำหนดเปิดให้บริการทางพิเศษช่วงด่านดาวคะนองขาเข้าเมืองได้ในเวลา 06.00 น.วันที่ 20 มี.ค. นี้ ซึ่งก่อนเปิดใช้จะเชิญสภาวิศวกรรมสถานฯ เข้าตรวจสอบ สำหรับทางพิเศษช่วงดาวคะนองขาออกเมืองจะเร่งซ่อมและเปิดจราจรให้ได้ภายใน 30 วัน แต่ไม่แน่ใจว่าจะทันเทศกาลสงกรานต์หรือไม่ -ศึกมรดกตระกูล"ณรงค์เดช" -เคาะซักฟอก 24-25 มี.ค. -ม็อบปลาหมอคางดำอยู่ยาว -เอกสารลอบสังหารเขย่าโลก
    Sad
    Like
    Angry
    4
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 935 มุมมอง 42 0 รีวิว
  • รอง ผบช.น.ประชุมตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ แก้ไขปัญหาจราจรถนนพระราม 2 พร้อมเปิดทางเบี่ยงขึ้นด่วนดาวคะนอง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000025631
    รอง ผบช.น.ประชุมตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ แก้ไขปัญหาจราจรถนนพระราม 2 พร้อมเปิดทางเบี่ยงขึ้นด่วนดาวคะนอง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000025631
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 697 มุมมอง 0 รีวิว
  • กทพ. เปิดช่องทางเบี่ยงชั่วคราวให้ใช้ด่านดาวะนองขาเข้าได้แล้ว ส่วน การกู้คืนพื้นที่บริเวณด่านฯ ดาวคะนอง ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ดำเนินการรื้อย้ายซากปรักหักพังออกไปแล้วกว่า 75% ขณะขาออก คาดดำเนินการได้ใน 30 วัน

    วันนี้ 17 มีนาคม 2568 เวลา 6.00 น. นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ร่วมกับ พล.ต.ต ธวัช วงศ์สง่า รองผู้บัญชาการกอง บัญชาการตำรวจนครบาล ลงพื้นที่สังเกตุการณ์สภาพการจราจร พร้อมเปิดทางเบี่ยงจราจรชั่วคราวให้ประชาชนสามารถเดินทางเข้าด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษดาวคะนองได้ เพื่อช่วยระบายการจราจรในการเดินทางเข้าเมืองให้แก่ประชาชน และในเวลาต่อมา ผู้ว่าการฯ ได้เดินทางไปตรวจสอบสภาพปริมาณการจราจรบริเวณด่านฯ สุขสวัสดิ์ ทางพิเศษเฉลิมมหานคร เพื่อสังเกตุการณ์สภาพการจราจรทั้งขาเข้า-ขาออกเมือง พร้อมสั่งการจัดเจ้าหน้าที่จราจรทำงานร่วมกับตำรวจจราจรในการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/business/detail/9680000025364

    #MGROnline #กทพ. #ด่านดาวะนอง #พระราม2
    กทพ. เปิดช่องทางเบี่ยงชั่วคราวให้ใช้ด่านดาวะนองขาเข้าได้แล้ว ส่วน การกู้คืนพื้นที่บริเวณด่านฯ ดาวคะนอง ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ดำเนินการรื้อย้ายซากปรักหักพังออกไปแล้วกว่า 75% ขณะขาออก คาดดำเนินการได้ใน 30 วัน • วันนี้ 17 มีนาคม 2568 เวลา 6.00 น. นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ร่วมกับ พล.ต.ต ธวัช วงศ์สง่า รองผู้บัญชาการกอง บัญชาการตำรวจนครบาล ลงพื้นที่สังเกตุการณ์สภาพการจราจร พร้อมเปิดทางเบี่ยงจราจรชั่วคราวให้ประชาชนสามารถเดินทางเข้าด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษดาวคะนองได้ เพื่อช่วยระบายการจราจรในการเดินทางเข้าเมืองให้แก่ประชาชน และในเวลาต่อมา ผู้ว่าการฯ ได้เดินทางไปตรวจสอบสภาพปริมาณการจราจรบริเวณด่านฯ สุขสวัสดิ์ ทางพิเศษเฉลิมมหานคร เพื่อสังเกตุการณ์สภาพการจราจรทั้งขาเข้า-ขาออกเมือง พร้อมสั่งการจัดเจ้าหน้าที่จราจรทำงานร่วมกับตำรวจจราจรในการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/business/detail/9680000025364 • #MGROnline #กทพ. #ด่านดาวะนอง #พระราม2
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 360 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระราม 2 อีกแล้วเหรอ? ได้ยินคำนี้รู้เลยว่าต้องมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นอีกแล้ว ซึ่งต้องยอมรับว่าปกติถนนพระราม 2 หรือทางหลวงหมายเลข 35 (ธนบุรี-ปากท่อ) นั้นมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นเป็นประจำ เพราะถือเป็นถนนสายหลักลงสู่ภาคใต้ จึงมีทั้งรถยนต์ส่วนตัว รถบรรทุกใช้กันอย่างหนาแน่นหรืออาจจะมากที่สุดในประเทศไทยเลย จากข้อมูลเมื่อปี 2566 พบว่าปริมาณจราจร ช่วงดาวคะนอง-ถนนวงแหวนรอบนอก เฉลี่ยจำนวน 256,000 คัน/วัน ส่วนช่วงบางขุนเทียน-สมุทรสงครามมีเฉลี่ย 130,000 คัน/วัน และช่วงสมุทรสาคร-วังมะนาว มีเฉลี่ย 80,000 คัน/วัน ขณะที่ เสาร์-อาทิตย์มีสูงถึงเกือบ 400,000 คัน/วัน

    ทำให้ที่ผ่านมากรมทางหลวงมีโครงการก่อสร้างปรับปรุง ซ่อมแซม รวมถึงขยายช่องจราจรเพื่อรองรับปริมาณการจราจรที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เรียกว่ามีการตั้งงบประมาณทุกปีสำหรับขยายถนนพระราม 2

    จนได้รับฉายาว่าถนนเจ็ดชั่วโคตรเพราะก่อสร้างไม่เสร็จเสียที ขณะที่ในช่วง 6 ปีที่ผ่านมามีการก่อสร้าง 2 โครงการขนาดใหญ่ มูลค่ารวมกว่า 6 หมื่นล้านบาท คือ ทางยกระดับพระราม 2 หรือโครงการก่อสร้างบนทางหลวงพิเศษหมายเลข 82 (บางขุนเทียน-เอกชัย-บ้านแพ้ว) ระยะทาง 24.6 กม. มูลค่า 30,200 ล้านบาท ของกรมทางหลวง และโครงการทางพิเศษสายพระราม 3- ดาวคะนอง-ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) มูลค่า 30,000 ล้านบาท

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/business/detail/9680000025274

    #MGROnline #คานสะพานหล่น #สะพานถล่ม #พระราม2 #ถนนพระราม2
    พระราม 2 อีกแล้วเหรอ? ได้ยินคำนี้รู้เลยว่าต้องมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นอีกแล้ว ซึ่งต้องยอมรับว่าปกติถนนพระราม 2 หรือทางหลวงหมายเลข 35 (ธนบุรี-ปากท่อ) นั้นมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นเป็นประจำ เพราะถือเป็นถนนสายหลักลงสู่ภาคใต้ จึงมีทั้งรถยนต์ส่วนตัว รถบรรทุกใช้กันอย่างหนาแน่นหรืออาจจะมากที่สุดในประเทศไทยเลย จากข้อมูลเมื่อปี 2566 พบว่าปริมาณจราจร ช่วงดาวคะนอง-ถนนวงแหวนรอบนอก เฉลี่ยจำนวน 256,000 คัน/วัน ส่วนช่วงบางขุนเทียน-สมุทรสงครามมีเฉลี่ย 130,000 คัน/วัน และช่วงสมุทรสาคร-วังมะนาว มีเฉลี่ย 80,000 คัน/วัน ขณะที่ เสาร์-อาทิตย์มีสูงถึงเกือบ 400,000 คัน/วัน • ทำให้ที่ผ่านมากรมทางหลวงมีโครงการก่อสร้างปรับปรุง ซ่อมแซม รวมถึงขยายช่องจราจรเพื่อรองรับปริมาณการจราจรที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เรียกว่ามีการตั้งงบประมาณทุกปีสำหรับขยายถนนพระราม 2 • จนได้รับฉายาว่าถนนเจ็ดชั่วโคตรเพราะก่อสร้างไม่เสร็จเสียที ขณะที่ในช่วง 6 ปีที่ผ่านมามีการก่อสร้าง 2 โครงการขนาดใหญ่ มูลค่ารวมกว่า 6 หมื่นล้านบาท คือ ทางยกระดับพระราม 2 หรือโครงการก่อสร้างบนทางหลวงพิเศษหมายเลข 82 (บางขุนเทียน-เอกชัย-บ้านแพ้ว) ระยะทาง 24.6 กม. มูลค่า 30,200 ล้านบาท ของกรมทางหลวง และโครงการทางพิเศษสายพระราม 3- ดาวคะนอง-ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ด้านตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) มูลค่า 30,000 ล้านบาท • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/business/detail/9680000025274 • #MGROnline #คานสะพานหล่น #สะพานถล่ม #พระราม2 #ถนนพระราม2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 390 มุมมอง 0 รีวิว
  • อธิบดีทางหลวง-ประธานบอร์ดกทพ.ลงพื้นที่ ตรวจเหตุคานทางด่วน”พระราม 3-ดาวคะนอง”ถล่ม มุ่งปมโครงสร้างรับน้ำหนักไม่ไหว รอสอบไม่เกิน 1 เดือน เรื่องด่วนเร่งเคลียร์พื้นที่เปิดจราจร “ผู้ว่าฯกทพ.”ปัดลาออก ชี้ไม่ทำให้คนตายฟื้นขึ้นมา

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000025233
    อธิบดีทางหลวง-ประธานบอร์ดกทพ.ลงพื้นที่ ตรวจเหตุคานทางด่วน”พระราม 3-ดาวคะนอง”ถล่ม มุ่งปมโครงสร้างรับน้ำหนักไม่ไหว รอสอบไม่เกิน 1 เดือน เรื่องด่วนเร่งเคลียร์พื้นที่เปิดจราจร “ผู้ว่าฯกทพ.”ปัดลาออก ชี้ไม่ทำให้คนตายฟื้นขึ้นมา อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000025233
    Like
    Angry
    9
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 909 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทางด่วนสองชั้น หายนะคนกรุงฯ

    เหตุคานสะพานทางพิเศษยกระดับชั้นที่ 2 (Double Deck) ที่ก่อสร้างซ้อนทับอยู่บนทางพิเศษเฉลิมมหานคร ในโครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก สัญญาที่ 3 ทรุดตัวบริเวณด่านเก็บค่าผ่านทางดาวคะนอง แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ เมื่อคืนวันที่ 15 มี.ค. ทำให้มีผู้เสียชีวิต 5 ราย สูญหาย 2 ราย บาดเจ็บ 27 ราย โครงสร้างทางพิเศษเฉลิมมหานคร ขาออก อายุกว่า 40 ปี พังลง 1 ช่วงเสา ต้องปิดการจราจรอย่างน้อย 1 เดือน

    นับเป็นอีกโศกนาฎกรรมจากการก่อสร้างทางยกระดับขนาดใหญ่ หลังเหตุการณ์คานสะพานถล่ม โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 82 ช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว ที่สร้างคร่อมทางหลักบนถนนพระรามที่ 2 จ.สมุทรสาคร เมื่อวันที่ 29 พ.ย. 2567 มีผู้เสียชีวิต 6 ราย บาดเจ็บ 9 คน ต้องปิดการจราจรเพื่อเคลียร์พื้นที่ก่อสร้างนานเกือบครึ่งเดือน ผ่านไปเพียงไม่ถึง 4 เดือนกลับเกิดอุบัติเหตุซ้ำรอย ท่ามกลางสังคมต่างถามหาความรับผิดชอบจากนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกฯ และ รมว.คมนาคม ถึงบัดนี้ผลการสอบสวนถึงสาเหตุที่เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการก็ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณะแต่อย่างใด

    ก่อนหน้านี้ นายสุริยะ และผู้บริหารการทางพิเศษแห่งประเทศไทย มีความพยายามผลักดันโครงการแก้ไขปัญหาจราจรบนทางพิเศษระยะที่ 1 ซึ่งจะมีการก่อสร้างโครงการทางพิเศษยกระดับชั้นที่ 2 หรือ ดับเบิล เด็ค (Double Deck) ช่วงงามวงศ์วานถึงพระราม 9 ระยะทาง 17 กิโลเมตร โดยเจรจาให้เอกชนเป็นผู้ลงทุน แลกกับการขยายระยะเวลาสัมปทานระบบทางด่วนขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ที่เพิ่งขยายสัญญาจากกรณีพิพาทค่าโง่ทางด่วน จากเดิมหมดลงในปี 2563 ไปสิ้นสุดในปี 2578 แต่บอกไม่ได้ว่ากี่ปี กลายเป็นที่วิจารณ์ว่าเอื้อประโยชน์ให้กับเอกชนหรือไม่ แทนที่สัญญาสัมปทานหมดลงแล้วจะได้ใช้ทางด่วนในราคาถูกลง

    อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทำให้น่าคิดว่า การทำทางด่วนดับเบิล เด็ค อาจไม่เหมาะสมในเวลานี้ หากมาตรฐานการก่อสร้างของผู้รับเหมาในปัจจุบันยังมีความหละหลวม ก่อให้เกิดโศกนาฎกรรม เกิดความสูญเสียทั้งชีวิต และสร้างปัญหากระทบกับผู้ใช้รถใช้ถนนบ่อยครั้ง เกิดความสูญเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ ขณะที่ภาครัฐโดยเฉพาะกระทรวงคมนาคม ยังคงแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ วัวหายล้อมคอก มากกว่าหามาตรการป้องกันอย่างเข้มงวด หากปล่อยให้การก่อสร้างดับเบิล เด็คเกิดขึ้นจริง เมื่อเกิดอุบัติเหตุซ้ำรอยในครั้งนี้เกิดขึ้นอีก ความพินาศฉิบหายของผู้ใช้ทางพิเศษ ที่มีจำนวนกว่า 1.8 ล้านคันต่อวันจะบรรลัยยิ่งขึ้นแน่นอน

    #Newskit
    ทางด่วนสองชั้น หายนะคนกรุงฯ เหตุคานสะพานทางพิเศษยกระดับชั้นที่ 2 (Double Deck) ที่ก่อสร้างซ้อนทับอยู่บนทางพิเศษเฉลิมมหานคร ในโครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก สัญญาที่ 3 ทรุดตัวบริเวณด่านเก็บค่าผ่านทางดาวคะนอง แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ เมื่อคืนวันที่ 15 มี.ค. ทำให้มีผู้เสียชีวิต 5 ราย สูญหาย 2 ราย บาดเจ็บ 27 ราย โครงสร้างทางพิเศษเฉลิมมหานคร ขาออก อายุกว่า 40 ปี พังลง 1 ช่วงเสา ต้องปิดการจราจรอย่างน้อย 1 เดือน นับเป็นอีกโศกนาฎกรรมจากการก่อสร้างทางยกระดับขนาดใหญ่ หลังเหตุการณ์คานสะพานถล่ม โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 82 ช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว ที่สร้างคร่อมทางหลักบนถนนพระรามที่ 2 จ.สมุทรสาคร เมื่อวันที่ 29 พ.ย. 2567 มีผู้เสียชีวิต 6 ราย บาดเจ็บ 9 คน ต้องปิดการจราจรเพื่อเคลียร์พื้นที่ก่อสร้างนานเกือบครึ่งเดือน ผ่านไปเพียงไม่ถึง 4 เดือนกลับเกิดอุบัติเหตุซ้ำรอย ท่ามกลางสังคมต่างถามหาความรับผิดชอบจากนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกฯ และ รมว.คมนาคม ถึงบัดนี้ผลการสอบสวนถึงสาเหตุที่เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการก็ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณะแต่อย่างใด ก่อนหน้านี้ นายสุริยะ และผู้บริหารการทางพิเศษแห่งประเทศไทย มีความพยายามผลักดันโครงการแก้ไขปัญหาจราจรบนทางพิเศษระยะที่ 1 ซึ่งจะมีการก่อสร้างโครงการทางพิเศษยกระดับชั้นที่ 2 หรือ ดับเบิล เด็ค (Double Deck) ช่วงงามวงศ์วานถึงพระราม 9 ระยะทาง 17 กิโลเมตร โดยเจรจาให้เอกชนเป็นผู้ลงทุน แลกกับการขยายระยะเวลาสัมปทานระบบทางด่วนขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 ที่เพิ่งขยายสัญญาจากกรณีพิพาทค่าโง่ทางด่วน จากเดิมหมดลงในปี 2563 ไปสิ้นสุดในปี 2578 แต่บอกไม่ได้ว่ากี่ปี กลายเป็นที่วิจารณ์ว่าเอื้อประโยชน์ให้กับเอกชนหรือไม่ แทนที่สัญญาสัมปทานหมดลงแล้วจะได้ใช้ทางด่วนในราคาถูกลง อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทำให้น่าคิดว่า การทำทางด่วนดับเบิล เด็ค อาจไม่เหมาะสมในเวลานี้ หากมาตรฐานการก่อสร้างของผู้รับเหมาในปัจจุบันยังมีความหละหลวม ก่อให้เกิดโศกนาฎกรรม เกิดความสูญเสียทั้งชีวิต และสร้างปัญหากระทบกับผู้ใช้รถใช้ถนนบ่อยครั้ง เกิดความสูญเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ ขณะที่ภาครัฐโดยเฉพาะกระทรวงคมนาคม ยังคงแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ วัวหายล้อมคอก มากกว่าหามาตรการป้องกันอย่างเข้มงวด หากปล่อยให้การก่อสร้างดับเบิล เด็คเกิดขึ้นจริง เมื่อเกิดอุบัติเหตุซ้ำรอยในครั้งนี้เกิดขึ้นอีก ความพินาศฉิบหายของผู้ใช้ทางพิเศษ ที่มีจำนวนกว่า 1.8 ล้านคันต่อวันจะบรรลัยยิ่งขึ้นแน่นอน #Newskit
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 575 มุมมอง 0 รีวิว
  • บขส.ทำรถทัวร์ฟีดเดอร์ จากสนามบินปลายทางสู่ทะเล

    เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการสำหรับรถโดยสารเชื่อมต่อ (Feeder) ของบริษัท ขนส่ง จำกัด หรือ บขส. เส้นทางจากท่าอากาศยานเชื่อมต่อไปยังจังหวัดต่างๆ นำร่อง 3 เส้นทาง ได้แก่ สาย 9905 ท่าอากาศยานดอนเมือง‐พัทยา ระยะทาง 162 กิโลเมตร, สาย 978 ท่าอากาศยานดอนเมือง‐หัวหิน ระยะทาง 216 กิโลเมตร และสาย 389 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-พัทยา ระยะทาง 127 กิโลเมตร เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้โดยสารทั้งสองสนามบิน เดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยวในเมืองหลัก เมืองรอง และเมืองน่าเที่ยวภายในประเทศ โดยเปิดเที่ยวรถปฐมฤกษ์ไปเมื่อวันที่ 8 มี.ค.2567 ที่ผ่านมา

    จากการสังเกตพบว่าเส้นทางที่ขายดีที่สุด ได้แก่ เส้นทางท่าอากาศยานดอนเมือง‐พัทยา เที่ยวปฐมฤกษ์มีผู้โดยสารค่อนข้างหนาแน่น ส่วนเส้นทางท่าอากาศยานดอนเมือง‐หัวหิน เที่ยวปฐมฤกษ์ เวลา 15.00 น. มีผู้โดยสาร 4 คน ถึงจุดจอดวัดหัวหิน 18.35 น. ส่วนเที่ยวปฐมฤกษ์จากต้นทางสถานีเดินรถหัวหิน รถออกเวลา 09.00 น. ถึงปลายทางท่าอากาศยานดอนเมือง เวลาประมาณ 12.50 น. ซึ่งการเดินรถขึ้นอยู่กับสภาพการจราจร เนื่องจากใช้ทางด่วนโทลล์เวย์ ทางด่วนเฉลิมมหานคร ต่อเนื่องถนนพระรามที่ 2 ที่กำลังก่อสร้างทางยกระดับตั้งแต่ทางลงดาวคะนองถึงทางแยกต่างระดับบ้านแพ้ว และถนนเพชรเกษม

    ส่วนเส้นทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-พัทยา ปัจจุบันมีผู้ประกอบการเดินรถเอกชน อย่างบริษัท รถรุ่งเรือง จำกัด ให้บริการสาย 389 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-เมืองพัทยา ปลายทางสถานีขนส่งเทพประสิทธิ์ (หาดจอมเทียน) และสาย 789 หัวหิน-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-พัทยา (รถหมวด 3) ปลายทางสถานีขนส่งพัทยาเหนือ ซึ่งพบว่าเคาน์เตอร์จำหน่ายตั๋วของ บขส. ที่อาคารผู้โดยสาร ชั้น 1 ประตู 8 เคาน์เตอร์จำหน่ายตั๋วอยู่ติดกันเสียอีก แต่ปลายทางพัทยา บขส. ได้ก่อสร้างสถานีเดินรถพัทยา บริเวณถนนสุขุมวิท ขาออก ระหว่างแยกพัทยาเหนือกับพัทยากลาง ตรงข้ามศูนย์คณะพระมหาไถ่ รองรับผู้โดยสารไว้แล้ว

    การเชื่อมต่อการเดินทางแบบไร้รอยต่อระหว่างสนามบินไปยังเมืองท่องเที่ยว ถือเป็นอีกกลยุทธ์หนึ่งที่ บขส. ร่วมกับบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เปิดให้บริการแก่ผู้โดยสารทั้งในและต่างประเทศ โดยได้กำหนดจุดจำหน่ายตั๋วโดยสารและจุดจอดรถ พร้อมประชาสัมพันธ์ภายในสนามบิน ที่ผ่านมาท่าอากาศยานดอนเมืองมีผู้โดยสารรวม 29.14 ล้านคน และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีผู้โดยสารรวม 59.99 ล้านคน นับจากนี้จะต้องดูผลตอบรับจากผู้โดยสาร ก่อนที่จะปรับเปลี่ยนเวลาเดินรถ เพิ่มเที่ยวเวลา หรือเพิ่มเส้นทางไปยังเมืองหลัก เมืองท่องเที่ยว หรือเมืองรองต่างๆ เพิ่มเติม

    #Newskit
    บขส.ทำรถทัวร์ฟีดเดอร์ จากสนามบินปลายทางสู่ทะเล เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการสำหรับรถโดยสารเชื่อมต่อ (Feeder) ของบริษัท ขนส่ง จำกัด หรือ บขส. เส้นทางจากท่าอากาศยานเชื่อมต่อไปยังจังหวัดต่างๆ นำร่อง 3 เส้นทาง ได้แก่ สาย 9905 ท่าอากาศยานดอนเมือง‐พัทยา ระยะทาง 162 กิโลเมตร, สาย 978 ท่าอากาศยานดอนเมือง‐หัวหิน ระยะทาง 216 กิโลเมตร และสาย 389 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-พัทยา ระยะทาง 127 กิโลเมตร เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้โดยสารทั้งสองสนามบิน เดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยวในเมืองหลัก เมืองรอง และเมืองน่าเที่ยวภายในประเทศ โดยเปิดเที่ยวรถปฐมฤกษ์ไปเมื่อวันที่ 8 มี.ค.2567 ที่ผ่านมา จากการสังเกตพบว่าเส้นทางที่ขายดีที่สุด ได้แก่ เส้นทางท่าอากาศยานดอนเมือง‐พัทยา เที่ยวปฐมฤกษ์มีผู้โดยสารค่อนข้างหนาแน่น ส่วนเส้นทางท่าอากาศยานดอนเมือง‐หัวหิน เที่ยวปฐมฤกษ์ เวลา 15.00 น. มีผู้โดยสาร 4 คน ถึงจุดจอดวัดหัวหิน 18.35 น. ส่วนเที่ยวปฐมฤกษ์จากต้นทางสถานีเดินรถหัวหิน รถออกเวลา 09.00 น. ถึงปลายทางท่าอากาศยานดอนเมือง เวลาประมาณ 12.50 น. ซึ่งการเดินรถขึ้นอยู่กับสภาพการจราจร เนื่องจากใช้ทางด่วนโทลล์เวย์ ทางด่วนเฉลิมมหานคร ต่อเนื่องถนนพระรามที่ 2 ที่กำลังก่อสร้างทางยกระดับตั้งแต่ทางลงดาวคะนองถึงทางแยกต่างระดับบ้านแพ้ว และถนนเพชรเกษม ส่วนเส้นทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-พัทยา ปัจจุบันมีผู้ประกอบการเดินรถเอกชน อย่างบริษัท รถรุ่งเรือง จำกัด ให้บริการสาย 389 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-เมืองพัทยา ปลายทางสถานีขนส่งเทพประสิทธิ์ (หาดจอมเทียน) และสาย 789 หัวหิน-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-พัทยา (รถหมวด 3) ปลายทางสถานีขนส่งพัทยาเหนือ ซึ่งพบว่าเคาน์เตอร์จำหน่ายตั๋วของ บขส. ที่อาคารผู้โดยสาร ชั้น 1 ประตู 8 เคาน์เตอร์จำหน่ายตั๋วอยู่ติดกันเสียอีก แต่ปลายทางพัทยา บขส. ได้ก่อสร้างสถานีเดินรถพัทยา บริเวณถนนสุขุมวิท ขาออก ระหว่างแยกพัทยาเหนือกับพัทยากลาง ตรงข้ามศูนย์คณะพระมหาไถ่ รองรับผู้โดยสารไว้แล้ว การเชื่อมต่อการเดินทางแบบไร้รอยต่อระหว่างสนามบินไปยังเมืองท่องเที่ยว ถือเป็นอีกกลยุทธ์หนึ่งที่ บขส. ร่วมกับบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เปิดให้บริการแก่ผู้โดยสารทั้งในและต่างประเทศ โดยได้กำหนดจุดจำหน่ายตั๋วโดยสารและจุดจอดรถ พร้อมประชาสัมพันธ์ภายในสนามบิน ที่ผ่านมาท่าอากาศยานดอนเมืองมีผู้โดยสารรวม 29.14 ล้านคน และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีผู้โดยสารรวม 59.99 ล้านคน นับจากนี้จะต้องดูผลตอบรับจากผู้โดยสาร ก่อนที่จะปรับเปลี่ยนเวลาเดินรถ เพิ่มเที่ยวเวลา หรือเพิ่มเส้นทางไปยังเมืองหลัก เมืองท่องเที่ยว หรือเมืองรองต่างๆ เพิ่มเติม #Newskit
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 433 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระราม 2 เจ็บแต่จบ? ปิดทางหลักเร็วขึ้น 1 ทุ่มตรง

    วันจันทร์ที่ 3 ก.พ.2568 คนที่บ้านอยู่โซนถนนพระรามที่ 2 ช่วงมหาชัยเมืองใหม่ ถึงทางแยกต่างระดับบ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร หากทำงานที่กรุงเทพฯ หลังเลิกงานคงต้องเดินทางกลับบ้านเร็วขึ้น หรือคนที่จะไปยังภาคใต้ คงต้องเผื่อเวลาในช่วงเย็นเป็นพิเศษ เพราะกรมทางหลวงจะปิดช่องทางหลักเร็วขึ้น จาก 2 ทุ่มเป็น 1 ทุ่มตรงทุกคืน เพื่อเร่งการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 82 ช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว จนกว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จ

    นับเป็นไพ่ใบสุดท้ายที่กรมทางหลวงตัดสินใจเจ็บแต่จบ ยอมรับเสียงตำหนิจากผู้ใช้รถใช้ถนนกว่า 256,000 คันต่อวัน เพื่อให้ผู้รับจ้างก่อสร้างงานโยธามีเวลาเพิ่มขึ้น โดยมีเป้าหมายแล้วเสร็จภายในปลายปี 2568 ตามนโยบายของนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.คมนาคม หลังจากที่ผ่านมาพบว่าการก่อสร้างเป็นไปอย่างล่าช้า เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งต้องหยุดก่อสร้าง โดยเฉพาะเหตุการณ์คานสะพานถล่มลงมา บริเวณทางแยกต่างระดับเอกชัย มีผู้เสียชีวิต 6 ราย

    ย้อนกลับไปก่อนเทศกาลปีใหม่ 2567 แหล่งข่าวจากกรมทางหลวงเปิดเผยว่า ที่ผ่านมาการก่อสร้างโดยปิดช่องทางหลัก ตั้งแต่เวลา 3 ทุ่มถึงตี 4 นั้นไม่เพียงพอ เพราะกว่าจะเตรียมการทั้งก่อนและหลังปิดถนนก็ใช้เวลานาน อีกทั้งระยะเวลาในการก่อสร้างก็มีเวลาให้น้อยมาก เพียงไม่กี่ชั่วโมงต่อวัน บางครั้งก็เกิดปัญหาทางเทคนิคระหว่างก่อสร้างก็มี ที่ผ่านมาเคยมีแนวคิดขยายเวลาปิดช่องทางหลัก แม้จะมีผลกระทบกับผู้ใช้รถใช้ถนนเพิ่มขึ้น ซึ่งโดยปกติก็เจอแบบนี้อยู่แล้ว แต่ก็น้อมรับ

    กระทั่งวันที่ 1 เม.ย.2567 ได้ขยายเวลาเป็น 2 ทุ่มถึงตีห้าครึ่ง และในปี 2568 กำลังจะขยายเวลาเป็น 1 ทุ่มถึงตี 5 ครึ่ง

    โครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 82 เริ่มต้นก่อสร้างช่วงบางขุนเทียน-เอกชัย ระยะทาง 8.2 กิโลเมตร มาตั้งแต่วันที่ 28 ส.ค. 2562 แบ่งเป็น 3 สัญญา ใช้งบประมาณแผ่นดิน 10,477.386 ล้านบาท ผ่านมาแล้วกว่า 5 ปีครึ่ง คืบหน้า 98.253% ส่วนช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว ระยะทาง 16.4 กิโลเมตร ลงนามสัญญาเมื่อวันที่ 2 ก.พ.2565 แบ่งเป็น 10 สัญญา วงเงินก่อสร้าง 18,759 ล้านบาท ใช้เงินกองทุนมอเตอร์เวย์ ผ่านมาแล้ว 3 ปีเต็ม คืบหน้าเพียง 67.556%

    เดิมนายสุริยะประกาศว่าทั้งโครงการทางพิเศษสายพระราม 3–ดาวคะนอง–วงแหวนฯ ตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และมอเตอร์เวย์หมายเลข 82 ต้องแล้วเสร็จทั้งหมดภายในเดือน มิ.ย.2568 แต่เมื่อเจออุบัติเหตุใหญ่ ประกอบกับช่วงเทศกาลปีใหม่ต้องหยุดก่อสร้าง จึงเลื่อนเป้าหมายภายในปลายปี 2568 ถึงกระนั้นตำนานถนนเจ็ดชั่วโคตร ถึงวันนี้ก็ไม่อาจหมดไป

    #Newskit
    -----
    [วันนี้วันสุดท้าย] ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9

    ประกาศรายชื่อผู้โชคดี 3 ก.พ. 2568 ที่เพจ Newskit ใน Thaitimes

    พระราม 2 เจ็บแต่จบ? ปิดทางหลักเร็วขึ้น 1 ทุ่มตรง วันจันทร์ที่ 3 ก.พ.2568 คนที่บ้านอยู่โซนถนนพระรามที่ 2 ช่วงมหาชัยเมืองใหม่ ถึงทางแยกต่างระดับบ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร หากทำงานที่กรุงเทพฯ หลังเลิกงานคงต้องเดินทางกลับบ้านเร็วขึ้น หรือคนที่จะไปยังภาคใต้ คงต้องเผื่อเวลาในช่วงเย็นเป็นพิเศษ เพราะกรมทางหลวงจะปิดช่องทางหลักเร็วขึ้น จาก 2 ทุ่มเป็น 1 ทุ่มตรงทุกคืน เพื่อเร่งการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 82 ช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว จนกว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จ นับเป็นไพ่ใบสุดท้ายที่กรมทางหลวงตัดสินใจเจ็บแต่จบ ยอมรับเสียงตำหนิจากผู้ใช้รถใช้ถนนกว่า 256,000 คันต่อวัน เพื่อให้ผู้รับจ้างก่อสร้างงานโยธามีเวลาเพิ่มขึ้น โดยมีเป้าหมายแล้วเสร็จภายในปลายปี 2568 ตามนโยบายของนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.คมนาคม หลังจากที่ผ่านมาพบว่าการก่อสร้างเป็นไปอย่างล่าช้า เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งต้องหยุดก่อสร้าง โดยเฉพาะเหตุการณ์คานสะพานถล่มลงมา บริเวณทางแยกต่างระดับเอกชัย มีผู้เสียชีวิต 6 ราย ย้อนกลับไปก่อนเทศกาลปีใหม่ 2567 แหล่งข่าวจากกรมทางหลวงเปิดเผยว่า ที่ผ่านมาการก่อสร้างโดยปิดช่องทางหลัก ตั้งแต่เวลา 3 ทุ่มถึงตี 4 นั้นไม่เพียงพอ เพราะกว่าจะเตรียมการทั้งก่อนและหลังปิดถนนก็ใช้เวลานาน อีกทั้งระยะเวลาในการก่อสร้างก็มีเวลาให้น้อยมาก เพียงไม่กี่ชั่วโมงต่อวัน บางครั้งก็เกิดปัญหาทางเทคนิคระหว่างก่อสร้างก็มี ที่ผ่านมาเคยมีแนวคิดขยายเวลาปิดช่องทางหลัก แม้จะมีผลกระทบกับผู้ใช้รถใช้ถนนเพิ่มขึ้น ซึ่งโดยปกติก็เจอแบบนี้อยู่แล้ว แต่ก็น้อมรับ กระทั่งวันที่ 1 เม.ย.2567 ได้ขยายเวลาเป็น 2 ทุ่มถึงตีห้าครึ่ง และในปี 2568 กำลังจะขยายเวลาเป็น 1 ทุ่มถึงตี 5 ครึ่ง โครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 82 เริ่มต้นก่อสร้างช่วงบางขุนเทียน-เอกชัย ระยะทาง 8.2 กิโลเมตร มาตั้งแต่วันที่ 28 ส.ค. 2562 แบ่งเป็น 3 สัญญา ใช้งบประมาณแผ่นดิน 10,477.386 ล้านบาท ผ่านมาแล้วกว่า 5 ปีครึ่ง คืบหน้า 98.253% ส่วนช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว ระยะทาง 16.4 กิโลเมตร ลงนามสัญญาเมื่อวันที่ 2 ก.พ.2565 แบ่งเป็น 10 สัญญา วงเงินก่อสร้าง 18,759 ล้านบาท ใช้เงินกองทุนมอเตอร์เวย์ ผ่านมาแล้ว 3 ปีเต็ม คืบหน้าเพียง 67.556% เดิมนายสุริยะประกาศว่าทั้งโครงการทางพิเศษสายพระราม 3–ดาวคะนอง–วงแหวนฯ ตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และมอเตอร์เวย์หมายเลข 82 ต้องแล้วเสร็จทั้งหมดภายในเดือน มิ.ย.2568 แต่เมื่อเจออุบัติเหตุใหญ่ ประกอบกับช่วงเทศกาลปีใหม่ต้องหยุดก่อสร้าง จึงเลื่อนเป้าหมายภายในปลายปี 2568 ถึงกระนั้นตำนานถนนเจ็ดชั่วโคตร ถึงวันนี้ก็ไม่อาจหมดไป #Newskit ----- [วันนี้วันสุดท้าย] ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9 ประกาศรายชื่อผู้โชคดี 3 ก.พ. 2568 ที่เพจ Newskit ใน Thaitimes
    Like
    Haha
    Yay
    7
    1 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 792 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดสะพานทศมราชัน สร้างมา 5 ปีกว่าจะมีวันนี้

    เวลา 09.09 น. วันที่ 29 ม.ค. นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คมนาคม เป็นประธานในพิธีเปิดสะพานทศมราชัน ที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสุขสวัสดิ์ ระหว่างรอโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยก่อสร้างแล้วเสร็จ คิดค่าผ่านทางตามปกติของทางพิเศษเฉลิมมหานคร คาดว่าจะช่วยบรรเทาปัญหาการจราจรบนสะพานพระราม 9 จาก 100,470 คันต่อวัน ลดเหลือ 75,325 คันต่อวัน

    สำหรับความคืบหน้าโครงการฯ ตลอดสายทาง 18.7 กิโลเมตร ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 2567 ภาพรวม 86.28% เร็วกว่าแผน 1.03% คาดว่าเปิดให้บริการประมาณปลายปี 2568 โดยขาออกกรุงเทพฯ จากทางพิเศษเฉลิมมหานคร และทางพิเศษศรีรัช ก่อนขึ้นสะพานทศมราชันต้องรับบัตรผ่านทางพิเศษที่ด่านบางโคล่ และจ่ายเงินที่ด่านปลายทาง โดยคิดค่าผ่านทางแบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงดาวคะนอง-พระราม 3 และช่วงดาวคะนอง-วงแหวนฯ ตะวันตก ได้แก่ รถ 4 ล้อ ช่วงละ 30 บาท รถ 6-10 ล้อช่วงละ 60 บาท รถมากกว่า 10 ล้อช่วงละ 90 บาท

    สะพานทศมราชัน เป็นส่วนหนึ่งของโครงการฯ สัญญา 4 ลักษณะเป็นสะพานคู่ (Cable Stayed Bridge) แบบไม่มีเสาอยู่ในลำน้ำ ขนาด 8 ช่องจราจร ความยาว 781.2 เมตร รับแรงลมได้สูงถึง 270 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มูลค่าโครงการ 6,636.19 ล้านบาท ก่อสร้างโดย บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) เริ่มต้นสัญญา 16 ม.ค. 2563 แล้วเสร็จตามสัญญาวันที่ 30 มี.ค. 2566 รวม 1,170 วัน ก่อนส่งมอบให้การทางพิเศษฯ

    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “สะพานทศมราชัน” หมายถึง พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 10 และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 ก.ค. 2567 ไปประดิษฐานบนสะพานแห่งนี้ โดยเมื่อวันที่ 14 ธ.ค. 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดสะพานทศมราชัน

    องค์ประกอบสถาปัตยกรรมของสะพาน ได้แก่ 1.ส่วนยอดของเสาสะพาน หมายถึง ฝ่าพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงถึงความโอบอุ้มปกป้อง ให้ความรัก ความห่วงใย พสกนิกรต่างสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์อยู่เหนือเกล้า 2.สายเคเบิลเป็นสีเหลือง สื่อถึงวันพระบรมราชสมภพคือวันจันทร์ 3.รูปปั้นพญานาคสีเหลืองทองอยู่บนโคนเสาสะพานทั้ง 4 ต้น ซึ่งเป็นราศีประจำปีมะโรง ปีพระบรมราชสมภพ เพื่อถวายอารักขาแด่พระองค์ 4.รั้วสะพานกันกระโดด ออกแบบให้เป็นลายดอกรวงผึ้ง ต้นไม้ประจำพระองค์

    #Newskit
    -----
    ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    เปิดสะพานทศมราชัน สร้างมา 5 ปีกว่าจะมีวันนี้ เวลา 09.09 น. วันที่ 29 ม.ค. นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คมนาคม เป็นประธานในพิธีเปิดสะพานทศมราชัน ที่ด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษสุขสวัสดิ์ ระหว่างรอโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยก่อสร้างแล้วเสร็จ คิดค่าผ่านทางตามปกติของทางพิเศษเฉลิมมหานคร คาดว่าจะช่วยบรรเทาปัญหาการจราจรบนสะพานพระราม 9 จาก 100,470 คันต่อวัน ลดเหลือ 75,325 คันต่อวัน สำหรับความคืบหน้าโครงการฯ ตลอดสายทาง 18.7 กิโลเมตร ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 2567 ภาพรวม 86.28% เร็วกว่าแผน 1.03% คาดว่าเปิดให้บริการประมาณปลายปี 2568 โดยขาออกกรุงเทพฯ จากทางพิเศษเฉลิมมหานคร และทางพิเศษศรีรัช ก่อนขึ้นสะพานทศมราชันต้องรับบัตรผ่านทางพิเศษที่ด่านบางโคล่ และจ่ายเงินที่ด่านปลายทาง โดยคิดค่าผ่านทางแบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงดาวคะนอง-พระราม 3 และช่วงดาวคะนอง-วงแหวนฯ ตะวันตก ได้แก่ รถ 4 ล้อ ช่วงละ 30 บาท รถ 6-10 ล้อช่วงละ 60 บาท รถมากกว่า 10 ล้อช่วงละ 90 บาท สะพานทศมราชัน เป็นส่วนหนึ่งของโครงการฯ สัญญา 4 ลักษณะเป็นสะพานคู่ (Cable Stayed Bridge) แบบไม่มีเสาอยู่ในลำน้ำ ขนาด 8 ช่องจราจร ความยาว 781.2 เมตร รับแรงลมได้สูงถึง 270 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มูลค่าโครงการ 6,636.19 ล้านบาท ก่อสร้างโดย บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) เริ่มต้นสัญญา 16 ม.ค. 2563 แล้วเสร็จตามสัญญาวันที่ 30 มี.ค. 2566 รวม 1,170 วัน ก่อนส่งมอบให้การทางพิเศษฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “สะพานทศมราชัน” หมายถึง พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 10 และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 ก.ค. 2567 ไปประดิษฐานบนสะพานแห่งนี้ โดยเมื่อวันที่ 14 ธ.ค. 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดสะพานทศมราชัน องค์ประกอบสถาปัตยกรรมของสะพาน ได้แก่ 1.ส่วนยอดของเสาสะพาน หมายถึง ฝ่าพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงถึงความโอบอุ้มปกป้อง ให้ความรัก ความห่วงใย พสกนิกรต่างสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์อยู่เหนือเกล้า 2.สายเคเบิลเป็นสีเหลือง สื่อถึงวันพระบรมราชสมภพคือวันจันทร์ 3.รูปปั้นพญานาคสีเหลืองทองอยู่บนโคนเสาสะพานทั้ง 4 ต้น ซึ่งเป็นราศีประจำปีมะโรง ปีพระบรมราชสมภพ เพื่อถวายอารักขาแด่พระองค์ 4.รั้วสะพานกันกระโดด ออกแบบให้เป็นลายดอกรวงผึ้ง ต้นไม้ประจำพระองค์ #Newskit ----- ลุ้นรับฟรี บัตร Touch 'n Go มาเลเซีย สำหรับผู้อ่าน Newskit บน Thaitimes ร่วมสนุกได้ถึงวันที่ 31 ม.ค. 2568 คลิก >>> https://forms.gle/sCSp9i1Ub9KDjYZg9
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 802 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฝั่งธนยังต้องทน ก่อสร้างตลอดปี

    นับตั้งแต่ฝั่งธนบุรีมีการก่อสร้างโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก บนถนนพระรามที่ 2 และโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน–ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) บนถนนสุขสวัสดิ์ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปก มาตั้งแต่ปี 2565 ทำการจราจรติดขัดทั้งช่วงเช้าและช่วงเย็นแล้ว ในปี 2568 มีการก่อสร้างเพิ่มเติมทั้งทางยกระดับและรถไฟฟ้า คราวนี้กระทบโซนปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี ถึงถนนพุทธมณฑล สาย 4

    เริ่มจากโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6 ม.ค.2568 เวลา 22.00 น. จะปิดสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชั่น และถนนสุทธาวาส เพื่อดำเนินงานก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ใช้เส้นทางนี้ระหว่างแยกพรานนก สถานีรถไฟธนบุรี ข้ามสะพานไปยังฝั่งถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชัน เพื่อไปออกถนนบรมราชชนนี สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ถึงถนนกาญจนาภิเษก ได้รับผลกระทบ

    โดยผู้รับจ้างจะรื้อถอนสะพานข้ามแยกดังกล่าวเพื่อก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ OR2 จากนั้นจะก่อสร้างสะพานทดแทน ในเดือน ธ.ค.2569 และคาดว่าจะเปิดใช้งานได้ในเดือน มิ.ย.2571 รวมระยะเวลาประมาณ 3 ปีครึ่ง

    อย่างต่อมา คือ การก่อสร้างส่วนต่อขยายทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ช่วงพุทธมณฑลสาย 3-พุทธมณฑลสาย 4 ระยะทางประมาณ 4.7 กิโลเมตร ปีงบประมาณ 2568 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ 4,490 ล้านบาท แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 6 สัญญา ขณะนี้อยู่ในระหว่างการคำนวณราคากลาง

    อีกโครงการหนึ่ง คือ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) ทางยกระดับสายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ช่วงบางขุนเทียน–บางบัวทอง (M9) ระยะทาง 38 กิโลเมตร พาดผ่านพื้นที่เขตบางขุนเทียน เขตบางแค เขตตลิ่งชัน และเขตทวีวัฒนา กทม. กับ อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ และ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี หลังคณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 3 ธ.ค.2567 คาดว่าจะเปิดประมูลปลายปี 2568 ใช้เวลาก่อสร้าง 4 ปี

    สำหรับส่วนต่อขยายถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ที่จะแบ่งเบาการจราจรถนนเพชรเกษม และถนนบรมราชชนนี ได้แก่ โครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2-ถนนพุทธมณฑลสาย 3 ระยะทาง 3.4 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,532 ล้านบาท ปัจจุบันคืบหน้าแล้ว 72.14% คาดว่าจะเปิดให้บริการเดือน มิ.ย.2568 และโครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 3-ถนนพุทธมณฑลสาย 4 สิ้นสุดบริเวณตรงข้ามปากซอยกระทุ่มล้ม 9 อ.สามพราน จ.นครปฐม ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,299.90 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ 720 วัน สิ้นสุดสัญญาเดือน ก.ย.2569

    #Newskit
    ฝั่งธนยังต้องทน ก่อสร้างตลอดปี นับตั้งแต่ฝั่งธนบุรีมีการก่อสร้างโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก บนถนนพระรามที่ 2 และโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน–ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก) บนถนนสุขสวัสดิ์ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปก มาตั้งแต่ปี 2565 ทำการจราจรติดขัดทั้งช่วงเช้าและช่วงเย็นแล้ว ในปี 2568 มีการก่อสร้างเพิ่มเติมทั้งทางยกระดับและรถไฟฟ้า คราวนี้กระทบโซนปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี ถึงถนนพุทธมณฑล สาย 4 เริ่มจากโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6 ม.ค.2568 เวลา 22.00 น. จะปิดสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชั่น และถนนสุทธาวาส เพื่อดำเนินงานก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ใช้เส้นทางนี้ระหว่างแยกพรานนก สถานีรถไฟธนบุรี ข้ามสะพานไปยังฝั่งถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชัน เพื่อไปออกถนนบรมราชชนนี สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ถึงถนนกาญจนาภิเษก ได้รับผลกระทบ โดยผู้รับจ้างจะรื้อถอนสะพานข้ามแยกดังกล่าวเพื่อก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินบางขุนนนท์ OR2 จากนั้นจะก่อสร้างสะพานทดแทน ในเดือน ธ.ค.2569 และคาดว่าจะเปิดใช้งานได้ในเดือน มิ.ย.2571 รวมระยะเวลาประมาณ 3 ปีครึ่ง อย่างต่อมา คือ การก่อสร้างส่วนต่อขยายทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ช่วงพุทธมณฑลสาย 3-พุทธมณฑลสาย 4 ระยะทางประมาณ 4.7 กิโลเมตร ปีงบประมาณ 2568 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ 4,490 ล้านบาท แบ่งการก่อสร้างออกเป็น 6 สัญญา ขณะนี้อยู่ในระหว่างการคำนวณราคากลาง อีกโครงการหนึ่ง คือ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) ทางยกระดับสายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ช่วงบางขุนเทียน–บางบัวทอง (M9) ระยะทาง 38 กิโลเมตร พาดผ่านพื้นที่เขตบางขุนเทียน เขตบางแค เขตตลิ่งชัน และเขตทวีวัฒนา กทม. กับ อ.บางกรวย อ.บางใหญ่ และ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี หลังคณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 3 ธ.ค.2567 คาดว่าจะเปิดประมูลปลายปี 2568 ใช้เวลาก่อสร้าง 4 ปี สำหรับส่วนต่อขยายถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ที่จะแบ่งเบาการจราจรถนนเพชรเกษม และถนนบรมราชชนนี ได้แก่ โครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2-ถนนพุทธมณฑลสาย 3 ระยะทาง 3.4 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,532 ล้านบาท ปัจจุบันคืบหน้าแล้ว 72.14% คาดว่าจะเปิดให้บริการเดือน มิ.ย.2568 และโครงการต่อเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 3-ถนนพุทธมณฑลสาย 4 สิ้นสุดบริเวณตรงข้ามปากซอยกระทุ่มล้ม 9 อ.สามพราน จ.นครปฐม ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 1,299.90 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ 720 วัน สิ้นสุดสัญญาเดือน ก.ย.2569 #Newskit
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 844 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในหลวง-พระราชินี ทรงเปิด “สะพานทศราชัน” •เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2567 เวลา 17.25 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด “สะพานทศราชัน” ณ สะพานทศราชัน ทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร• เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงบริเวณสะพานทศมราชัน นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายชยธรรม์ พรหมศร ผู้บริหาร และข้าราชการ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย ทรงกราบ ทรงศีล ประธานสงฆ์ถวายศีล จบ เสร็จแล้ว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสูจิบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายชยธรรม์ พรหมศร ปลัดกระทรวงคมนาคม และนายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายบัตร Easy Passที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลรายงานความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศราชัน” โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก •จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังแท่นพิธี ทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายชื่อ “สะพานทศราชัน” พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา ชาวพนักงานลั่นฆ้อง ประโคมสังข์ แตร ดุริยางค์ เสร็จแล้ว เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายรัชนัย เปรมปราคิน ผู้อำนวยการสำนักผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย กราบบังคมทูลเบิกผู้มีอุปการคุณ เข้ารับพระราชทานของที่ระลึก เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรนิทรรศการเกี่ยวกับความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศนราชัน”รูปแบบและแนวคิดในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมของสะพานทศมราชัน จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และนายชาตรี ตันศิริ รองผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (วิศวกรรมและบำรุงรักษา) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังห้องรับรอง ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระนามาภิไธย ในสมุดที่ระลึก สมควรแก่เวลา จึงประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ• สะพานทศมราชัน” เป็นส่วนหนึ่งของโครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เป็นสะพานคู่ขนานแม่น้ำเจ้าพระยาคู่ (Cable Stayed Bridge) แบบไม่มีเสาอยู่ในลำน้ำเจ้าพระยา ขนาด 8 ช่องจราจร ความยาวสะพาน 781.2 เมตร ซึ่งกระทรวงคมนาคม โดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้มีแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมสะพานแห่งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติและน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยองค์ประกอบต่าง ๆ ของสะพานจะสื่อถึงพระองค์ท่าน ดังนี้ • ส่วนยอดของเสาสะพาน หมายถึง ฝ่าพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงถึงความโอบอุ้มปกป้อง ให้ความรัก และความห่วงใยต่อพสกนิกร และพสกนิกรต่างสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์อยู่เหนือเกล้า • สายเคเบิล เป็นสีเหลือง เพื่อสื่อถึงวันพระบรมราชสมภพ คือ วันจันทร์ •รูปปั้นพญานาคสีเหลืองทอง อยู่บนโคนเสาสะพานทั้ง 4 ต้น ซึ่งเป็นราศีประจำปีมะโรง ปีพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อถวายอารักขาแด่พระองค์ • รั้วสะพานกันกระโดด ออกแบบให้เป็นลายดอกรวงผึ้ง ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำพระองค์ • โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร ก่อสร้างขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกจากการเดินทางจากภาคใต้สู่กรุงเทพมหานคร และช่วยลดปัญหาการจราจรติดขัดบนทางพิเศษช่วงบางโคล่ - คาวคะนอง และถนนพระรามที่ ๒ ช่วงดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร • ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อสะพานนี้ว่า “สะพานทศมราชัน” หมายถึง พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 10 และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญตราสัญลักษณ์ เนื่องในโอกาสพระราชทานพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ไปประดิษฐานบนสะพานแห่งนี้ด้วย
    ในหลวง-พระราชินี ทรงเปิด “สะพานทศราชัน” •เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2567 เวลา 17.25 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด “สะพานทศราชัน” ณ สะพานทศราชัน ทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร• เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงบริเวณสะพานทศมราชัน นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายชยธรรม์ พรหมศร ผู้บริหาร และข้าราชการ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย ทรงกราบ ทรงศีล ประธานสงฆ์ถวายศีล จบ เสร็จแล้ว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสูจิบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายชยธรรม์ พรหมศร ปลัดกระทรวงคมนาคม และนายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายบัตร Easy Passที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลรายงานความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศราชัน” โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก •จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินไปยังแท่นพิธี ทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุมป้ายชื่อ “สะพานทศราชัน” พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา ชาวพนักงานลั่นฆ้อง ประโคมสังข์ แตร ดุริยางค์ เสร็จแล้ว เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายรัชนัย เปรมปราคิน ผู้อำนวยการสำนักผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย กราบบังคมทูลเบิกผู้มีอุปการคุณ เข้ารับพระราชทานของที่ระลึก เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรนิทรรศการเกี่ยวกับความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศนราชัน”รูปแบบและแนวคิดในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมของสะพานทศมราชัน จากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย และนายชาตรี ตันศิริ รองผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (วิศวกรรมและบำรุงรักษา) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายของที่ระลึก แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังห้องรับรอง ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระนามาภิไธย ในสมุดที่ระลึก สมควรแก่เวลา จึงประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ• สะพานทศมราชัน” เป็นส่วนหนึ่งของโครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เป็นสะพานคู่ขนานแม่น้ำเจ้าพระยาคู่ (Cable Stayed Bridge) แบบไม่มีเสาอยู่ในลำน้ำเจ้าพระยา ขนาด 8 ช่องจราจร ความยาวสะพาน 781.2 เมตร ซึ่งกระทรวงคมนาคม โดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้มีแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมสะพานแห่งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติและน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยองค์ประกอบต่าง ๆ ของสะพานจะสื่อถึงพระองค์ท่าน ดังนี้ • ส่วนยอดของเสาสะพาน หมายถึง ฝ่าพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงถึงความโอบอุ้มปกป้อง ให้ความรัก และความห่วงใยต่อพสกนิกร และพสกนิกรต่างสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์อยู่เหนือเกล้า • สายเคเบิล เป็นสีเหลือง เพื่อสื่อถึงวันพระบรมราชสมภพ คือ วันจันทร์ •รูปปั้นพญานาคสีเหลืองทอง อยู่บนโคนเสาสะพานทั้ง 4 ต้น ซึ่งเป็นราศีประจำปีมะโรง ปีพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อถวายอารักขาแด่พระองค์ • รั้วสะพานกันกระโดด ออกแบบให้เป็นลายดอกรวงผึ้ง ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำพระองค์ • โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร ก่อสร้างขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกจากการเดินทางจากภาคใต้สู่กรุงเทพมหานคร และช่วยลดปัญหาการจราจรติดขัดบนทางพิเศษช่วงบางโคล่ - คาวคะนอง และถนนพระรามที่ ๒ ช่วงดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร • ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่อสะพานนี้ว่า “สะพานทศมราชัน” หมายถึง พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 10 และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญตราสัญลักษณ์ เนื่องในโอกาสพระราชทานพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ไปประดิษฐานบนสะพานแห่งนี้ด้วย
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1026 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด “สะพานทศมราชัน” ณ สะพานทศมราชัน ทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร

    วันนี้ (14 ธ.ค.) เมื่อเวลา 17.25 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด “สะพานทศมราชัน” ณ สะพานทศมราชันทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร

    เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงบริเวณสะพานทศมราชัน นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายชยธรรม์ พรหมศร ผู้บริหาร และข้าราชการ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย ทรงกราบ ทรงศีล ประธานสงฆ์ถวายศีล จบ เสร็จแล้ว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสูจิบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายชยธรรม์ พรหมศร ปลัดกระทรวงคมนาคม และนายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายบัตร Easy Pass ที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลรายงานความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศมราชัน” โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000120121

    #MGROnline #สะพานทศมราชัน #ทางพิเศษสายพระราม3
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด “สะพานทศมราชัน” ณ สะพานทศมราชัน ทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร • วันนี้ (14 ธ.ค.) เมื่อเวลา 17.25 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด “สะพานทศมราชัน” ณ สะพานทศมราชันทางพิเศษสายพระราม 3 – ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร • เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงบริเวณสะพานทศมราชัน นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รองนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายชยธรรม์ พรหมศร ผู้บริหาร และข้าราชการ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ จากนั้น เสด็จเข้าพลับพลาพิธี ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย ทรงกราบ ทรงศีล ประธานสงฆ์ถวายศีล จบ เสร็จแล้ว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสูจิบัตร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ต่อจากนั้น พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นายชยธรรม์ พรหมศร ปลัดกระทรวงคมนาคม และนายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายบัตร Easy Pass ที่ระลึกแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสร็จแล้ว นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลรายงานความเป็นมาของการก่อสร้าง “สะพานทศมราชัน” โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/onlinesection/detail/9670000120121 • #MGROnline #สะพานทศมราชัน #ทางพิเศษสายพระราม3
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 626 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ที่ดิน 102 ตรว.(+ 3 ตรว.) พร้อมบ้านไม้เก่า 1 หลัง เขตกรุงเทพฯชั้นใน แขวงบุคคโล เขตธนบุรี ใกล้ BTS และ MRT
    - เลขที่ 39 ซอยสมเด็จเจ้าพระยาตากสิน 12 ถนนสมเด็จเจ้าพระยาตากสิน แขวงบุคคโล เขตธนบุรี กทม. ห่างจากจุดตัดถนนกรุงธนบุรี ตรงแยกตากสินถึงที่ดินระยะทาง 370 เมตร
    - ขายราคา 280,000 บาท/ตรว. 102 ตรว.+ รวมเป็นเงิน 28,560,000 บาท ค่าโอนฝ่ายละครึ่ง
    ********************************
    #ข้อมูลจำเพาะของที่ดิน
    - ผังเมืองสีน้ำตาล ย.9-22 (ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก)
    - หน้ากว้าง 20 เมตร ลึก 21 เมตร ติดถนนซอยตากสิน 12 ห่างจากถนนสมเด็จเจ้าพระยาตากสิน 120 เมตร
    - ห่างจากสถานีรถไฟฟ้า BTS วงเวียนใหญ่ ประมาณ 750 เมตร
    - ห่างจากสถานีรถไฟฟ้า BTS โพธิ์นิมิตร ประมาณ 720 เมตร
    - ห่างจากสถานีรถไฟฟ้าสายสีม่วงใต้ MRT สำเหร่ (ตรงข้ามไปรษณีย์สำเหร่ แล้วสร็จปี 2571) ประมาณ 500 เมตร
    - เดินทางสะดวกด้วยรถโดยสาร รถรับจ้างสาธารณะ และ รถส่วนบุคคล ใกล้ด่านทางด่วน พระราม 3 พระราม 2 และ ด่านทางด่วน ถ.สีลม ถ.สาทร และ ถ.จันทน์
    - ใกล้ ถ.กรุงธนบุรี ถ.รัชดาภิเษก ถ.เจริญนคร ถ.ประชาธิปก ถ.สาทร- บางรัก
    - ใกล้ เดอะมอลล์ท่าพระ ห้างฯบิ๊กซีดาวคะนอง ไอคอนสยาม ท่าเรือคลองสาน ท่าเป๊ปซี่
    - ใกล้ รพ.สมิติเวช ธนบุรี รพ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า รพ.กรุงเทพคริสเตียน
    - สิ่งแวดล้อมดี บรรยากาศเงียบสงบเป็นส่วนตัว เพราะอยู่ในซอยไม่ลึกมากคนและยานพาหนะไม่พลุกพล่าน ความปลอดภัยสูง
    - ที่ดินเหมาะสำหรับปลูกบ้านพักอาศัย สร้างโฮสเทลสำหรับนักท่องเที่ยว B2B ทำโฮมออฟฟิศ ทาวน์เฮ้าส์ คลังสินค้าในเมือง และ อื่นๆ
    ********************************
    สนใจถามรายละเอียดเพิ่มเติม
    - คุณกรณ์ 083 061 4654
    - m.me/SBJ.kornkampee
    - พิกัดแปลงที่ดิน : 13.718644046460595, 100.48887519999998
    >> https://goo.gl/maps/SD7eShYWTXAfvgyw6

    #ที่ดินทำเลทอง #ใกล้ย่านธุรกิจ #โรงเรียน #โรงพยาบาล #โรงแรม #แหล่งท่องเที่ยว #ตลาดสด #สถานที่ราชการหลายแห่ง #เดินทางสะดวก #รถไฟฟ้า #ถนนตากสิน #BTS #MRT #เฉลิมมหานคร #วงเวียนใหญ่ #สำเหร
    #ที่ดิน 102 ตรว.(+ 3 ตรว.) พร้อมบ้านไม้เก่า 1 หลัง เขตกรุงเทพฯชั้นใน แขวงบุคคโล เขตธนบุรี ใกล้ BTS และ MRT - เลขที่ 39 ซอยสมเด็จเจ้าพระยาตากสิน 12 ถนนสมเด็จเจ้าพระยาตากสิน แขวงบุคคโล เขตธนบุรี กทม. ห่างจากจุดตัดถนนกรุงธนบุรี ตรงแยกตากสินถึงที่ดินระยะทาง 370 เมตร - ขายราคา 280,000 บาท/ตรว. 102 ตรว.+ รวมเป็นเงิน 28,560,000 บาท ค่าโอนฝ่ายละครึ่ง ******************************** #ข้อมูลจำเพาะของที่ดิน - ผังเมืองสีน้ำตาล ย.9-22 (ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก) - หน้ากว้าง 20 เมตร ลึก 21 เมตร ติดถนนซอยตากสิน 12 ห่างจากถนนสมเด็จเจ้าพระยาตากสิน 120 เมตร - ห่างจากสถานีรถไฟฟ้า BTS วงเวียนใหญ่ ประมาณ 750 เมตร - ห่างจากสถานีรถไฟฟ้า BTS โพธิ์นิมิตร ประมาณ 720 เมตร - ห่างจากสถานีรถไฟฟ้าสายสีม่วงใต้ MRT สำเหร่ (ตรงข้ามไปรษณีย์สำเหร่ แล้วสร็จปี 2571) ประมาณ 500 เมตร - เดินทางสะดวกด้วยรถโดยสาร รถรับจ้างสาธารณะ และ รถส่วนบุคคล ใกล้ด่านทางด่วน พระราม 3 พระราม 2 และ ด่านทางด่วน ถ.สีลม ถ.สาทร และ ถ.จันทน์ - ใกล้ ถ.กรุงธนบุรี ถ.รัชดาภิเษก ถ.เจริญนคร ถ.ประชาธิปก ถ.สาทร- บางรัก - ใกล้ เดอะมอลล์ท่าพระ ห้างฯบิ๊กซีดาวคะนอง ไอคอนสยาม ท่าเรือคลองสาน ท่าเป๊ปซี่ - ใกล้ รพ.สมิติเวช ธนบุรี รพ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า รพ.กรุงเทพคริสเตียน - สิ่งแวดล้อมดี บรรยากาศเงียบสงบเป็นส่วนตัว เพราะอยู่ในซอยไม่ลึกมากคนและยานพาหนะไม่พลุกพล่าน ความปลอดภัยสูง - ที่ดินเหมาะสำหรับปลูกบ้านพักอาศัย สร้างโฮสเทลสำหรับนักท่องเที่ยว B2B ทำโฮมออฟฟิศ ทาวน์เฮ้าส์ คลังสินค้าในเมือง และ อื่นๆ ******************************** สนใจถามรายละเอียดเพิ่มเติม - คุณกรณ์ 083 061 4654 - m.me/SBJ.kornkampee - พิกัดแปลงที่ดิน : 13.718644046460595, 100.48887519999998 >> https://goo.gl/maps/SD7eShYWTXAfvgyw6 #ที่ดินทำเลทอง #ใกล้ย่านธุรกิจ #โรงเรียน #โรงพยาบาล #โรงแรม #แหล่งท่องเที่ยว #ตลาดสด #สถานที่ราชการหลายแห่ง #เดินทางสะดวก #รถไฟฟ้า #ถนนตากสิน #BTS #MRT #เฉลิมมหานคร #วงเวียนใหญ่ #สำเหร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1036 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตร.บุกนนท์ขยายผลบุกจับคนสนิท “เอ็ม” เจ้าของเว็บพนันโหด หลังซ้อมแอดมินจับน้ำร้อนลวก ปืนจ่อปาก ฉุนกุกกิ๊กกับเมีย ค้นห้องคนสนิทผงะ เจอกระสุนกว่า สามร้อยนัด ปืนขนาด 1 กระบอก นำตัวสอบก่อนดำเนินคดีตามกฎหมาย

    เมื่อวันที่ 9 ธ.ค.67 เวลา 20.00 น. พ.ต.อ.คมกฤษณ์ คำบุศย์ ผกก.สส.ภ.จว.นนทบุรี พร้อมด้วย พ.ต.ท.ศุภชัย ศรีศักดิ์ รองผกก.สส. และ ร.ต.อ.ไตรรงค์ ประสพมงคล รอง สว.กก.สส.ภ.จว.นนทบุรี นำกำลังเจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการที่ 2 เข้าจับกุมตัว นายนัฐพงษ์ หรืออาร์ท โกษาแสง อายุ 22 ปี บริเวณลานจอดรถรอยัลแมนชั่น ถ.พระราม 2 แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ พร้อมของกลางที่ตรวจยึดได้ 1.อาวุธปืนสั้นกึ่งอัตโนมัติ ขนาด .45 มม. ยี่ห้อโคลท์ (ไม่มีหมายเลขทะเบียน) 1 กระบอก 2.ซองใส่กระสุนแบบแม็กกาซีน 1 อัน 3.เครื่องกระสุนปืนขนาด .45 มม. จำนวน 10 นัด (พบ 7 นัดบรรจุในแม็กกาซีน และอีก 3 นัดในกระเป๋ากางเกง) 4.ซองพกปืนแบบหนังสีดำ 1 อัน โดยตำรวจแจ้งข้อกล่าวหา 1.มีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต 2.พกพาอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนติดตัวไปในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ยังตรวจยึด เครื่องกระสุนปืนขนาด 5.56 มม. จำนวน 304 นัด ซุกซ่อนอยู่ในกระเป๋าโน้ตบุ๊กยี่ห้อ ASUS สีเทาดำ ภายในห้องเช่าเลขที่ 30 แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กรุงเทพฯ โดยได้ส่งของกลางทั้งหมดให้พนักงานสอบสวน สน.บุคคโล เพื่อดำเนินคดีตามกฎหมาย

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>
    https://mgronline.com/crime/detail/9670000118587

    #MGROnline #คนสนิทเอ็ม #เจ้าของเว็บพนันโหด
    ตร.บุกนนท์ขยายผลบุกจับคนสนิท “เอ็ม” เจ้าของเว็บพนันโหด หลังซ้อมแอดมินจับน้ำร้อนลวก ปืนจ่อปาก ฉุนกุกกิ๊กกับเมีย ค้นห้องคนสนิทผงะ เจอกระสุนกว่า สามร้อยนัด ปืนขนาด 1 กระบอก นำตัวสอบก่อนดำเนินคดีตามกฎหมาย • เมื่อวันที่ 9 ธ.ค.67 เวลา 20.00 น. พ.ต.อ.คมกฤษณ์ คำบุศย์ ผกก.สส.ภ.จว.นนทบุรี พร้อมด้วย พ.ต.ท.ศุภชัย ศรีศักดิ์ รองผกก.สส. และ ร.ต.อ.ไตรรงค์ ประสพมงคล รอง สว.กก.สส.ภ.จว.นนทบุรี นำกำลังเจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการที่ 2 เข้าจับกุมตัว นายนัฐพงษ์ หรืออาร์ท โกษาแสง อายุ 22 ปี บริเวณลานจอดรถรอยัลแมนชั่น ถ.พระราม 2 แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ พร้อมของกลางที่ตรวจยึดได้ 1.อาวุธปืนสั้นกึ่งอัตโนมัติ ขนาด .45 มม. ยี่ห้อโคลท์ (ไม่มีหมายเลขทะเบียน) 1 กระบอก 2.ซองใส่กระสุนแบบแม็กกาซีน 1 อัน 3.เครื่องกระสุนปืนขนาด .45 มม. จำนวน 10 นัด (พบ 7 นัดบรรจุในแม็กกาซีน และอีก 3 นัดในกระเป๋ากางเกง) 4.ซองพกปืนแบบหนังสีดำ 1 อัน โดยตำรวจแจ้งข้อกล่าวหา 1.มีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต 2.พกพาอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนติดตัวไปในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ยังตรวจยึด เครื่องกระสุนปืนขนาด 5.56 มม. จำนวน 304 นัด ซุกซ่อนอยู่ในกระเป๋าโน้ตบุ๊กยี่ห้อ ASUS สีเทาดำ ภายในห้องเช่าเลขที่ 30 แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กรุงเทพฯ โดยได้ส่งของกลางทั้งหมดให้พนักงานสอบสวน สน.บุคคโล เพื่อดำเนินคดีตามกฎหมาย • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/crime/detail/9670000118587 • #MGROnline #คนสนิทเอ็ม #เจ้าของเว็บพนันโหด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 457 มุมมอง 0 รีวิว
  • แน่หรือ?พระราม 2 สุริยะบอกเสร็จ มิ.ย.68

    สามโครงการ สองหน่วยงาน ที่ทำถนนพระรามที่ 2 ประตูสู่ภาคใต้ เกิดการจราจรติดขัดเวลานี้ คือ โครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย โครงการก่อสร้างทางยกระดับทางหลวงหมายเลข 35 ช่วงบางขุนเทียน-เอกชัย และโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 82 ช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว รวมระยะทางประมาณ 46 กิโลเมตร เรียกเสียงบ่นแก่ผู้มช้รถใช้ถนน สมญานามถนนเจ็ดชั่วโคตร

    มาคราวนี้ นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.คมนาคม ระบุว่า ภายใน 11 เดือนข้างหน้า ทั้งสามโครงการจะต้องแล้วเสร็จและเปิดให้บริการภายในเดือน มิ.ย. 2568 พร้อมสั่งการให้ทั้งสองหน่วยงานติดตามงานอย่างใกล้ชิด และรายงานความคืบหน้าทุกเดือน ซึ่งจากรายงานในช่วงที่ผ่านมา พบว่าทุกอย่างมีความพร้อมทั้งหมด รวมทั้งก่อนหน้านี้ทั้งสองหน่วยงานได้ไปดูกระบวนการตั้งแต่การหล่อคานที่โรงงานว่าทำได้กี่ตัว แล้วเสร็จทันไหม ดังนั้น อีก 11 เดือนที่เหลือ เชื่อว่าจะแล้วเสร็จได้ทันทั้งหมด

    สำหรับภาพรวมการก่อสร้าง พบว่าโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกฯ ตะวันตก คืบหน้า 80.92% โดยสะพานทศมราชัน หรือสะพานคู่ขนานสะพานพระราม 9 คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในช่วงปลายปี 2567 ส่วนโครงการก่อสร้างทางยกระดับฯ ช่วงบางขุนเทียน-เอกชัย คืบหน้าเฉลี่ย 95.42% คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือน พ.ย. 2567 โดยจะเปิดให้ประชาชนทดลองใช้บริการชั่วคราว ระหว่างด่านพันท้ายนรสิงห์ ถึงด่านมหาชัย ระยะทาง 4 กิโลเมตร ภายในปลายปีนี้

    ส่วนโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 82 ช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว แบ่งออกเป็น 10 ตอน คืบหน้าเฉลี่ย 57.50% โดยพบว่าคืบหน้ามากที่สุดตอนที่ 9 คืบหน้า 82.885% น้อยที่สุดตอนที่ 7 คืบหน้า 35.851% แต่ระยะเวลาแล้วเสร็จส่วนใหญ่ มิ.ย. 2568

    ถนนพระรามที่ 2 ประสบปัญหาการจราจรติดขัด เกี่ยวพันมาแล้ว 3 รัฐบาล นับตั้งแต่ปี 2561 ที่มีโครงการปรับปรุงถนนพระรามที่ 2 ช่วงทางแยกต่างระดับบางขุนเทียน-เอกชัย กระทั่งมีการก่อสร้างทางยกระดับพระรามที่ 2 รวม 3 โครงการ และโครงการทางแยกต่างระดับบ้านแพ้ว อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างบนถนนสายนี้ยังไม่หมดไป เพราะยังมีโครงการขยายถนนออกเป็น 14 ช่องจราจร ช่วงแยกบ้านแพ้วถึงนาโคก ระยะทาง 14.5 กิโลเมตร อยู่ระหว่างจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบ

    #Newskit #พระราม2 #Motorway82
    แน่หรือ?พระราม 2 สุริยะบอกเสร็จ มิ.ย.68 สามโครงการ สองหน่วยงาน ที่ทำถนนพระรามที่ 2 ประตูสู่ภาคใต้ เกิดการจราจรติดขัดเวลานี้ คือ โครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย โครงการก่อสร้างทางยกระดับทางหลวงหมายเลข 35 ช่วงบางขุนเทียน-เอกชัย และโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 82 ช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว รวมระยะทางประมาณ 46 กิโลเมตร เรียกเสียงบ่นแก่ผู้มช้รถใช้ถนน สมญานามถนนเจ็ดชั่วโคตร มาคราวนี้ นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รมว.คมนาคม ระบุว่า ภายใน 11 เดือนข้างหน้า ทั้งสามโครงการจะต้องแล้วเสร็จและเปิดให้บริการภายในเดือน มิ.ย. 2568 พร้อมสั่งการให้ทั้งสองหน่วยงานติดตามงานอย่างใกล้ชิด และรายงานความคืบหน้าทุกเดือน ซึ่งจากรายงานในช่วงที่ผ่านมา พบว่าทุกอย่างมีความพร้อมทั้งหมด รวมทั้งก่อนหน้านี้ทั้งสองหน่วยงานได้ไปดูกระบวนการตั้งแต่การหล่อคานที่โรงงานว่าทำได้กี่ตัว แล้วเสร็จทันไหม ดังนั้น อีก 11 เดือนที่เหลือ เชื่อว่าจะแล้วเสร็จได้ทันทั้งหมด สำหรับภาพรวมการก่อสร้าง พบว่าโครงการทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกฯ ตะวันตก คืบหน้า 80.92% โดยสะพานทศมราชัน หรือสะพานคู่ขนานสะพานพระราม 9 คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในช่วงปลายปี 2567 ส่วนโครงการก่อสร้างทางยกระดับฯ ช่วงบางขุนเทียน-เอกชัย คืบหน้าเฉลี่ย 95.42% คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือน พ.ย. 2567 โดยจะเปิดให้ประชาชนทดลองใช้บริการชั่วคราว ระหว่างด่านพันท้ายนรสิงห์ ถึงด่านมหาชัย ระยะทาง 4 กิโลเมตร ภายในปลายปีนี้ ส่วนโครงการมอเตอร์เวย์หมายเลข 82 ช่วงเอกชัย-บ้านแพ้ว แบ่งออกเป็น 10 ตอน คืบหน้าเฉลี่ย 57.50% โดยพบว่าคืบหน้ามากที่สุดตอนที่ 9 คืบหน้า 82.885% น้อยที่สุดตอนที่ 7 คืบหน้า 35.851% แต่ระยะเวลาแล้วเสร็จส่วนใหญ่ มิ.ย. 2568 ถนนพระรามที่ 2 ประสบปัญหาการจราจรติดขัด เกี่ยวพันมาแล้ว 3 รัฐบาล นับตั้งแต่ปี 2561 ที่มีโครงการปรับปรุงถนนพระรามที่ 2 ช่วงทางแยกต่างระดับบางขุนเทียน-เอกชัย กระทั่งมีการก่อสร้างทางยกระดับพระรามที่ 2 รวม 3 โครงการ และโครงการทางแยกต่างระดับบ้านแพ้ว อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างบนถนนสายนี้ยังไม่หมดไป เพราะยังมีโครงการขยายถนนออกเป็น 14 ช่องจราจร ช่วงแยกบ้านแพ้วถึงนาโคก ระยะทาง 14.5 กิโลเมตร อยู่ระหว่างจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบ #Newskit #พระราม2 #Motorway82
    Like
    Haha
    Yay
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1208 มุมมอง 0 รีวิว