• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 1060
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1060
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา
    --ปหาราทะ ! มหาสมุทร มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก
    ในมหาสมุทรนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ
    แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ แก้วศิลา แก้วประพาฬ
    เงิน ทอง โกเมน (โลหิตงฺก) แก้วลาย (มสารคลฺล) ฉันใด
    : ปหาราทะ ! ธรรมวินัยนี้(#โพธิปักขิยธรรม​ ๓๗)ก็ฉันนั้น
    http://etipitaka.com/read/pali/35/336/?keywords=โพธิปกฺขิกานํ+ธมฺมานํ
    http://etipitaka.com/read/thai/35/287/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91%E0%B9%91
    มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะ เป็นอเนก;
    ในธรรมวินัยนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ
    สติปัฏฐานสี่ สัมมัปปธานสี่ อิทธิบาทสี่ (๑๒)
    อินทรีย์ห้า พละห้า (๑๐)
    โพชฌงค์เจ็ด (๗)
    อริยมรรคมีองค์แปด.(๘)
    --ปหาราทะ ! ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก
    http://etipitaka.com/read/pali/23/206/?keywords=ธมฺมวินโย
    #ธรรมวินัยนี้จึงเป็นสิ่งน่าอัศจรรย์ ไม่เป็นสิ่งธรรมดา
    เมื่อภิกษุทั้งหลายเห็นแล้ว ย่อมยินดีอย่างยิ่งในธรรมวินัยนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/155/109.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/155/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๒๐๖/๑๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/206/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1060
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1060
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา สัทธรรมลำดับที่ : 1060 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1060 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา --ปหาราทะ ! มหาสมุทร มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก ในมหาสมุทรนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ แก้วศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง โกเมน (โลหิตงฺก) แก้วลาย (มสารคลฺล) ฉันใด : ปหาราทะ ! ธรรมวินัยนี้(#โพธิปักขิยธรรม​ ๓๗)ก็ฉันนั้น http://etipitaka.com/read/pali/35/336/?keywords=โพธิปกฺขิกานํ+ธมฺมานํ http://etipitaka.com/read/thai/35/287/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91%E0%B9%91 มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะ เป็นอเนก; ในธรรมวินัยนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ สติปัฏฐานสี่ สัมมัปปธานสี่ อิทธิบาทสี่ (๑๒) อินทรีย์ห้า พละห้า (๑๐) โพชฌงค์เจ็ด (๗) อริยมรรคมีองค์แปด.(๘) --ปหาราทะ ! ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก http://etipitaka.com/read/pali/23/206/?keywords=ธมฺมวินโย #ธรรมวินัยนี้จึงเป็นสิ่งน่าอัศจรรย์ ไม่เป็นสิ่งธรรมดา เมื่อภิกษุทั้งหลายเห็นแล้ว ย่อมยินดีอย่างยิ่งในธรรมวินัยนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/155/109. http://etipitaka.com/read/thai/23/155/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๒๐๖/๑๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/23/206/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1060 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1060 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค
    -อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา ปหาราทะ ! มหาสมุทร มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก ในมหาสมุทรนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ แก้วศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง โกเมน (โลหิตงฺก) แก้วลาย (มสารคลฺล) ฉันใด : ปหาราทะ ! ธรรมวินัยนี้ก็ฉันนั้น มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะ เป็นอเนก; ในธรรมวินัยนั้น มีรัตนะเหล่านี้คือ สติปัฏฐานสี่ สัมมัปปธานสี่ อิทธิบาทสี่ อินทรีย์ห้า พละห้า โพชฌงค์เจ็ด อริยมรรคมีองค์แปด. ปหาราทะ ! ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะเป็นอันมาก มีรัตนะเป็นอเนก ธรรมวินัยนี้จึงเป็นสิ่งน่าอัศจรรย์ ไม่เป็นสิ่งธรรมดา เมื่อภิกษุทั้งหลายเห็นแล้ว ย่อมยินดีอย่างยิ่งในธรรมวินัยนี้.
    0 Comments 0 Shares 18 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
    สัทธรรมลำดับที่ : 693
    ชื่อบทธรรม :- ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=693
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
    --ภิกษุ ท. ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบความพอใจในอรหัตตผล
    ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียงอันดับเดียว.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แต่ว่า
    การประสบความพอใจในอรหัตตผล
    ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ
    เพราะการกระทำโดยลำดับ
    เพราะการปฏิบัติโดยลำดับ.
    --ภิกษุ ท. ! ก็การประสพความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ
    เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับนั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษบุคคลในกรณีนี้ :
    +--เป็นผู้มีสัทธา เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเข้าไปหา (สัปบุรุษ) ;
    +--เมื่อเข้าไปหา ย่อมเข้าไปนั่งใกล้ ;
    +--เมื่อเข้าๆไปนั่งใกล้ ย่อมเงี่ยโสตลงสดับ ;
    +--ผู้เงี่ยโสตลงสดับ ย่อมได้ฟังธรรม ;
    +--ครั้นฟังแล้ว ย่อมทรงจำธรรมไว้,
    ย่อมใคร่ครวญพิจารณาซึ่งเนื้อความแห่งธรรม ทั้งหลายที่ตนทรงจำไว้ ;
    +--เมื่อเขาใคร่ครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแห่งธรรมนั้นอยู่,
    ธรรมทั้งหลายย่อมทนต่อการเพ่งพิสูจน์ ;
    +--เมื่อธรรมทนต่อการเพ่งพิสูจน์มีอยู่ ฉันทะ (ความพอใจ) ย่อมเกิด ;
    +--ผู้เกิดฉันทะแล้ว ย่อมมีอุตสาหะ ;
    +--ครั้นมีอุตสาหะแล้ว ย่อมใช้ดุลยพินิจ (เพื่อหาความจริง);
    +--ครั้นใช้ดุลยพินิจ (พบ) แล้ว ย่อมตั้งตนไว้ในธรรม นั้น;
    +--ผู้มีตนส่งไปแล้วในธรรมนั้นอยู่ย่อมกระทำให้แจ้ง ซึ่งบรมสัจจ์ด้วยนามกาย ด้วย,
    #ย่อมเห็นแจ้งแทงตลอดซึ่งบรมสัจจ์นั้นด้วยปัญญา ด้วย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/181/238
    http://etipitaka.com/read/thai/13/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๓๓/๒๓๘
    http://etipitaka.com/read/pali/13/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=693
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=693
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล สัทธรรมลำดับที่ : 693 ชื่อบทธรรม :- ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=693 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล --ภิกษุ ท. ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบความพอใจในอรหัตตผล ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียงอันดับเดียว. --ภิกษุ ท. ! ก็แต่ว่า การประสบความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับ. --ภิกษุ ท. ! ก็การประสพความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับนั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! บุรุษบุคคลในกรณีนี้ : +--เป็นผู้มีสัทธา เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเข้าไปหา (สัปบุรุษ) ; +--เมื่อเข้าไปหา ย่อมเข้าไปนั่งใกล้ ; +--เมื่อเข้าๆไปนั่งใกล้ ย่อมเงี่ยโสตลงสดับ ; +--ผู้เงี่ยโสตลงสดับ ย่อมได้ฟังธรรม ; +--ครั้นฟังแล้ว ย่อมทรงจำธรรมไว้, ย่อมใคร่ครวญพิจารณาซึ่งเนื้อความแห่งธรรม ทั้งหลายที่ตนทรงจำไว้ ; +--เมื่อเขาใคร่ครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแห่งธรรมนั้นอยู่, ธรรมทั้งหลายย่อมทนต่อการเพ่งพิสูจน์ ; +--เมื่อธรรมทนต่อการเพ่งพิสูจน์มีอยู่ ฉันทะ (ความพอใจ) ย่อมเกิด ; +--ผู้เกิดฉันทะแล้ว ย่อมมีอุตสาหะ ; +--ครั้นมีอุตสาหะแล้ว ย่อมใช้ดุลยพินิจ (เพื่อหาความจริง); +--ครั้นใช้ดุลยพินิจ (พบ) แล้ว ย่อมตั้งตนไว้ในธรรม นั้น; +--ผู้มีตนส่งไปแล้วในธรรมนั้นอยู่ย่อมกระทำให้แจ้ง ซึ่งบรมสัจจ์ด้วยนามกาย ด้วย, #ย่อมเห็นแจ้งแทงตลอดซึ่งบรมสัจจ์นั้นด้วยปัญญา ด้วย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/181/238 http://etipitaka.com/read/thai/13/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๓๓/๒๓๘ http://etipitaka.com/read/pali/13/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=693 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=693 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
    -ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล ภิกษุ ท. ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบความพอใจในอรหัตตผล ด้วยการกระทำอันดับแรกเพียงอันดับเดียว. ภิกษุ ท. ! ก็แต่ว่า การประสบความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพราะการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับ. ภิกษุ ท. ! ก็การประสพความพอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดยลำดับ เพระการกระทำโดยลำดับ เพราะการปฏิบัติโดยลำดับนั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุรุษบุคคลในกรณีนี้ : เป็นผู้มีสัทธา เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเข้าไปหา (สัปบุรุษ) ; เมื่อเข้าไปหา ย่อมเข้าไปนั่งใกล้ ; เมื่อเข้าๆไปนั่งใกล้ ย่อมเงี่ยโสตลงสดับ ; ผู้เงี่ยโสตลงสดับ ย่อมได้ฟังธรรม ; ครั้นฟังแล้ว ย่อมทรงจำธรรมไว้, ย่อมใคร่ครวญพิจารณาซึ่งเนื้อความแห่งธรรม ทั้งหลายที่ตนทรงจำไว้ ; เมื่อเขาใคร่ครวญพิจารณา ซึ่งเนื้อความแห่งธรรมนั้นอยู่, ธรรมทั้งหลายย่อมทนต่อการเพ่งพิสูจน์ ; เมื่อธรรมทนต่อการเพ่งพิสูจน์มีอยู่ ฉันทะ (ความพอใจ) ย่อมเกิด ; ผู้เกิดฉันทะแล้ว ย่อมมีอุตสาหะ ; ครั้นมีอุตสาหะแล้ว ย่อมใช้ดุลยพินิจ (เพื่อหาความจริง); ครั้นใช้ดุลยพินิจ (พบ) แล้ว ย่อมตั้งตนไว้ในธรรม นั้น; ผู้มีตนส่งไปแล้วในธรรมนั้นอยู่ย่อมกระทำให้แจ้ง ซึ่งบรมสัจจ์ด้วยนามกาย ด้วย, ย่อมเห็นแจ้งแทงตลอด ซึ่งบรมสัจจ์นั้นด้วยปัญญา ด้วย.
    0 Comments 0 Shares 18 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเหตุเกิดและความดับในอกุศลมูล​ ๓​ ได้แก่​ ราคะ​ โทสะและ​โมหะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 324
    ชื่อบทธรรม :- ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล--(หลายแง่มุม)
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า
    +--“อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ราคะ โทสะ โมหะ.
    +---อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง
    อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม​ ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า
    +--“อาวุโส !
    ราคะมีโทษน้อย คลายช้า.
    โทสะมีโทษมาก คลายเร็ว.
    โมหะมีโทษมาก คลายช้า”.
    +--ถ้าเขาถามว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?”
    ดังนี้.
    +---คำตอบพึงมีว่า
    สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย
    ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้ว
    ก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง);
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น
    และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น,
    หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?”
    ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ;
    คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว
    ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    ---คำตอบพึงมีว่า
    #อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย
    ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    ---ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    +--คำตอบพึงมีว่า
    #เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ;
    คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย
    โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    +--ถ้าเขาถามอีกว่า
    “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น,
    หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้.
    ---คำตอบพึงมีว่า
    #โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย
    โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป.
    +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/190/508.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/190/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๖/๕๐๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/256/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=324
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาว่าเหตุเกิดและความดับในอกุศลมูล​ ๓​ ได้แก่​ ราคะ​ โทสะและ​โมหะ สัทธรรมลำดับที่ : 324 ชื่อบทธรรม :- ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324 เนื้อความทั้งหมด :- --ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล--(หลายแง่มุม) --ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า +--“อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือ ราคะ โทสะ โมหะ. +---อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม​ ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า +--“อาวุโส ! ราคะมีโทษน้อย คลายช้า. โทสะมีโทษมาก คลายเร็ว. โมหะมีโทษมาก คลายช้า”. +--ถ้าเขาถามว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +---คำตอบพึงมีว่า สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้ว ก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง); คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ; คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. ---คำตอบพึงมีว่า #อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ---ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. +--คำตอบพึงมีว่า #เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. +--ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. ---คำตอบพึงมีว่า #โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. +--อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/190/508. http://etipitaka.com/read/thai/20/190/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๖/๕๐๘. http://etipitaka.com/read/pali/20/256/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=324 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=324 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล
    -ข้อควรทราบเกี่ยวกับอกุศลมูล (หลายแง่มุม) ภิกษุ ท. ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์เหล่าอื่น จะพึงถามอย่างนี้ว่า “อาวุโส! ธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่ คือราคะ โทสะ โมหะ. อาวุโส ! อะไรเป็นความผิดแปลก อะไรเป็นความแตกต่าง อะไรเป็นเครื่องแสดงความต่าง ระหว่างธรรม ๓ อย่างเหล่านั้น ? ” ดังนี้ .... ภิกษุ ท. ! พวกเธอถูกถาม อย่างนี้แล้ว พึงพยากรณ์แก่เขาว่า “อาวุโส ! ราคะมีโทษน้อย คลายช้า. โทสะมีโทษมากคลายเร็ว. โมหะมีโทษมาก คลายช้า”. ถ้าเขาถามว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า สุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่างาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจ ซึ่งสุภนิมิตโดยไม่แยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า ปฏิฆนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกกระทบกระทั่ง); คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งปฏิฆนิมิตโดยไม่แยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และ โทสะที่เกิดอยู่แล้วก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์ ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า อโยนิโสมนสิการ ( การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย) ; คือเมื่อทำในใจโดยไม่แยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น และโมหะที่เกิดอยู่แล้ว ก็เป็นไปเพื่อความเจริญโดยยิ่ง เพื่อความไพบูลย์. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้ราคะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือราคะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า อสุภนิมิต (สิ่งที่แสดงให้รู้สึกว่าไม่งาม) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งอสุภนิมิตโดยแยบคาย ราคะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และราคะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โทสะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโทสะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า เมตตาเจโตวิมุตติ (ความหลุดพ้นแห่งจิตอันประกอบอยู่ด้วยเมตตา) ; คือเมื่อเขาทำในใจซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติโดยแยบคาย โทสะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และโทสะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย. ถ้าเขาถามอีกว่า “อาวุโส ! อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ที่ทำให้โมหะที่ยังไม่เกิด ไม่เกิดขึ้น, หรือโมหะที่เกิดขึ้นแล้ว ละไป ?” ดังนี้. คำตอบพึงมีว่า โยนิโสมนสิการ คือเมื่อทำในใจโดยแยบคาย โมหะที่ยังไม่เกิดก็ไม่เกิดขึ้น และ โมหะที่เกิดอยู่แล้วก็ละไป. อาวุโส ! นี้คือเหตุ นี้คือปัจจัย.
    0 Comments 0 Shares 18 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 1059
    ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    ก. เหตุภายใน
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    นี้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ
    โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ,
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา
    ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด.
    ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์.

    ข. เหตุภายนอก
    --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ
    ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ
    ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น
    เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง
    ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว
    จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา
    http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ
    นี้.
    --ภิกษุ ท. !
    ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ.
    ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ
    กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ,
    ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง
    โดยลำดับ.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เหตุทั้งภายใน(โยนิโสมนสิการ )​ และภายนอก(กัล๎ยาณมิตตตา)​ สัทธรรมลำดับที่ : 1059 ชื่อบทธรรม :- จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 เนื้อความทั้งหมด :- --จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #โยนิโสมนสิการ http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=โยนิโส+มนสิกา นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำ โยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=โยนิโส+มนสิกา ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก --ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะ ผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง #กัล๎ยาณมิตตตา http://etipitaka.com/read/pali/25/237/?keywords=กลฺยาณมิตฺ นี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มี กัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/236, 237/194, 195. http://etipitaka.com/read/thai/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๓๖, ๒๓๗/๑๙๔, ๑๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/25/236/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1059 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรมอภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ. ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า การรู้อริยสัจนั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้อภิธรรมอภิวินัยและรวยลาภ). จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ก. เหตุภายใน ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อกระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายในแล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือนอย่าง โยนิโสมนสิการ นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุกระทำโยนิโสมนสิการอยู่ ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. โยนิโสมนสิการธรรม มีอยู่สำหรับภิกษุผู้เสขะ, ไม่มีธรรมอื่นมีอุปการะมากเหมือนอย่างนั้น สำหรับการบรรลุประโยชน์อันสูงสุด. ภิกษุตั้งจิตไว้โดยแยบคาย พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งทุกข์. ข. เหตุภายนอก ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเสขะผู้มีความปรารถนาแห่งใจอันยังไม่บรรลุ ยังปรารถนาอนุตตรโยคักเขมธรรมอยู่นั้น เราไม่มองเห็นองค์ธรรมอื่นแม้หนึ่ง ซึ่งเมื่อ กระทำให้เป็นองค์ธรรมในภายนอก แล้ว จะมีอุปการะมาก เหมือน อย่าง กัล๎ยาณมิตตตา นี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีกัลยาณมิตร ย่อมละอกุศล และทำกุศลให้เจริญ. ภิกษุใด มีกัลยาณมิตรเป็นที่พึ่งเป็นที่เคารพ กระทำตามคำของมิตรอยู่ อย่างรู้สึกตัว อย่างมีสติ, ภิกษุนั้น พึงบรรลุ ความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยลำดับ.
    0 Comments 0 Shares 54 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)
    สัทธรรมลำดับที่ : 692
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692
    เนื้อความทั้งหมด :-

    ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก)
    (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์
    ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ;
    เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ;
    ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ;
    การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว
    หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ;
    ดังนี้เป็นต้น.
    พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง,
    โดยพระบาลีว่า
    “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :-
    )​
    --พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน)
    http://etipitaka.com/read/pali/16/92/?keywords=มชฺเฌน
    ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า :-
    (การเกิด)​
    ๑-“เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ;
    ๒-เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ;
    ๓-เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ;
    ๔-เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ;
    ๕-เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ;
    ๖-เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ;
    ๗-เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ;
    ๘-เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    ๙-เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    ๑๐-เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ;
    ๑๑-เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    (การดับ)
    ๑-เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ;
    ๒-เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    ๓-เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    ๔-เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    ๕-เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    ๖-เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ;
    ๗-เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    ๘-เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    ๙-เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    ๑๐-เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    ๑๑-เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้”
    ดังนี้.-

    (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง,
    มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้
    ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว
    ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ.
    ความเห็นท่านผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส-อยากจะแนะว่า
    ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น
    ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก,
    แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง,
    แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ;
    มิฉะนั้นจะลำบาก).
    -- นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒.
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - 16/91/173.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ๑๖/๙๑/๑๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/91/?keywords=๑๗๓

    --ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย.
    บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย.
    วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย.
    ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย.
    นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี.
    --เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ;
    เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    --ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย
    เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ
    ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ).
    ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ;
    เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์
    : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/35/30.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/51/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=692
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50
    ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก) สัทธรรมลำดับที่ : 692 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา(ในความหมายชั้นลึก)ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692 เนื้อความทั้งหมด :- ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก) (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์ ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ; เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ; ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ; การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ; ดังนี้เป็นต้น. พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, โดยพระบาลีว่า “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :- )​ --พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน) http://etipitaka.com/read/pali/16/92/?keywords=มชฺเฌน ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า :- (การเกิด)​ ๑-“เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; ๒-เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; ๓-เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ; ๔-เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; ๕-เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; ๖-เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; ๗-เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; ๘-เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; ๙-เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; ๑๐-เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; ๑๑-เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (การดับ) ๑-เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ; ๒-เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; ๓-เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; ๔-เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; ๕-เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; ๖-เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; ๗-เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; ๘-เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; ๙-เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; ๑๐-เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; ๑๑-เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้.- (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง, มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้ ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ. ความเห็นท่านผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส-อยากจะแนะว่า ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก, แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง, แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ; มิฉะนั้นจะลำบาก). -- นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒. อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - 16/91/173. http://etipitaka.com/read/thai/16/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ๑๖/๙๑/๑๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/16/91/?keywords=๑๗๓ --ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย. บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย. วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย. ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย. นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี. --เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ; เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. --ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ). ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. --เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. 25/35/30. http://etipitaka.com/read/thai/25/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธ. ขุ. ๒๕/๕๑/๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/25/51/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=692 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50&id=692 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=50 ลำดับสาธยายธรรม : 50​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_50.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด
    -(มัชฌิมาปฏิปทาตามที่ทรงแสดงไว้ในสูตรนี้ เห็นได้ว่า ทรงแสดงส่วนสุดสองข้างไว้ด้วยอาฬ๎หปฏิปทา คือความตกไปในกาม และนิชฌามปฏิปทา คือ วัตรปฏิบัติของ อเจลกะซึ่งเรียกกันโดยทั่วๆ ไปว่า อัตตกิลมถานุโยค หรือตปัสสีวัตร ซึ่งมีรายละเอียดหาดูได้ในหนังสือ พุ. โอ. ที่หน้า ๕๖-๕๗. ในที่นี้จะเห็นได้ว่า โพธิปักขิยธรรมทั้งสามสิบเจ็ดข้อ นั่นแหละคือมัชฌิมาปฏิปทา ; หรือถึงกับจะกล่าวได้ว่า ข้อปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทั้งหมดในพระพุทธศาสนา ซึ่งรวมกันแล้วเรียกได้ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา หรือพรหมจรรย์ทั้งสิ้น, นั่นแหละคือ มัชฌิมาปฏิปทา). ค. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นลึก) (หลักเกณฑ์นี้ อาศัยพระบาลีที่ตรัสโต้ตอบแก่บุคคลผู้มาทูลถาม ซึ่งส่วนมากเป็นพรหมณ์ ได้ถามเรื่องสิ่งตรงข้ามที่แยกกันเป็นคู่ๆ ; เช่นว่า สิ่งทั้งปวงมี หรือไม่มี; สิ่งทั้งปวงเหมือนกัน หรือต่างกัน ; ตนเองหรือผู้อื่นเป็นผู้กระทำหรือเสวยผล ; การกล่าวลงไปว่า สิ่งนั้นๆเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว หรือว่าเป็นอย่างอื่นจากความเป็นอย่างนั้นโดยส่วนเดียว ; ดังนี้เป็นต้น. พระองค์ ตรัสตอบโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่ยอมรับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, โดยพระบาลีว่า “เอเต เต พฺราหฺมณ อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺเฌน ตถาคโต ธมฺมํ เทเสติ ฯลฯ” :-) พราหมณ์ ! ตถาคต ย่อม แสดงธรรมโดยสายกลาง (มชฺเฌน) ไม่เข้า ไปหาส่วนสุดทั้งสองนั้น คือตถาคตย่อมแสดงดังนี้ว่า : “เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ; เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ; เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแห่งสังขาร ; เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นเอง, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสสะอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้. นิทาน. สํ. ๑๖/๙๑,๙๒,๙๐,๒๗,๒๔,๗๒-๗๔/๑๗๓,๑๗๖,๑๗๐,๕๕,๕๐,๑๒๙-๑๓๒. (คำว่า มชฺเฌน โดยพระบาลีข้างบนนี้ ก็คือคำว่า มัชฌิมาปฏิปทา นั่นเอง, มัชฌิมาปฏิปทาจึงได้แก่กระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ดังที่กล่าวแล้วในสูตรนี้ ซึ่งทำให้ไม่อาจกล่าวสิ่งใดๆโดยความเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยส่วนเดียว ที่เรียกว่าส่วนสุดข้างหนึ่ง ๆ. รายละเอียดเกี่ยวกับสุดโต่งเป็นคู่ๆนี้ หาดูได้จากหนังสือ พุ. โอ. ตั้งแต่หน้า ๒๔๗ ถึงหน้า ๒๕๒. อยากจะแนะว่า ในการศึกษาเรื่องมัชฌิมาปฏิปทานั้น ควรจะศึกษามัชฌิมาปฏิปทาชั้นพื้นฐานทั่วไปคืออัฏฐังคิกมรรค เป็นลำดับแรก, แล้วศึกษามัชฌิมาปฏิปทาในความหมายชั้นกว้างคือโพธิปักขิยธรรมทั้งหมด เป็นลำดับที่สอง, แล้วจึงศึกษามัชฺมาปฏิปทาในความหมายชั้นลึกคือปฏิจจสมุปบาท เป็นลำดับสุดท้าย ; มิฉะนั้นจะลำบาก). ลักษณะหนทางแห่งความหมดจด ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย. บทแห่งอริยสัจสี่ ประเสริฐกว่าบททั้งหลาย. วิราคธรรม ประเสริฐกว่าธรรมทั้งหลาย. ผู้มีพุทธจักษุ ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าทั้งหลาย. นี่แหละทางเพื่อความหมดจด แห่งทัสสนะ ทางอื่นมิได้มี. เธอทั้งหลาย จงเดินตามทางนั้น อันเป็นที่หลงแห่งมาร ; เธอทั้งหลาย เดินตามทางนั้นแล้ว จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. ทางเราบอกแล้วแก่เธอทั้งหลาย เพื่อการรู้จักการถอนซึ่งลูกศร ; ความเพียรเป็นกิจอันเธอทั้งหลายพึงกระทำ ตถาคตทั้งหลายเป็นเพียงผู้บอก (วิธีแห่งการกระทำ). ผู้มุ่งปฏิบัติแล้ว ย่อมพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า “ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็นอนัตตา” ; เมื่อนั้น เขาย่อมเบื่อหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ : นั่นแหละเป็นทางแห่งความหมดจด.
    0 Comments 0 Shares 61 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าในทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล(โลภะ โทสะ​และโมหะ)​
    สัทธรรมลำดับที่ : 323
    ชื่อบทธรรม :- ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    --ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ
    โลภะ เป็น อกุศลมูล
    โทสะ เป็น อกุศลมูล
    โมหะ เป็น อกุศลมูล.
    --ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว
    ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล.
    คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว
    ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง
    ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง
    โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้
    แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล
    : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ
    มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย(เหตุ)​ มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้
    ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกัน
    อย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).

    --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่า เป็น
    อกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง.
    เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง
    ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ;
    และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ;
    เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด
    ออกไปว่านั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ.
    เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็น
    อกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว
    มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์
    มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว,
    ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ.
    (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน
    อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี
    ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย,
    ฉันใดก็ฉันนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง.

    (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก
    ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “#ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล”)​

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/192/509.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/192/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๘/๕๐๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/258/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=323
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าในทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล(โลภะ โทสะ​และโมหะ)​ สัทธรรมลำดับที่ : 323 ชื่อบทธรรม :- ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล --ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ โลภะ เป็น อกุศลมูล โทสะ เป็น อกุศลมูล โมหะ เป็น อกุศลมูล. --ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย(เหตุ)​ มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่า เป็น อกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง. เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ; และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ; เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด ออกไปว่านั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ. เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็น อกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง. --ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์ มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ. (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย, ฉันใดก็ฉันนั้น. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง. (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “#ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล”)​ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/192/509. http://etipitaka.com/read/thai/20/192/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๕๘/๕๐๙. http://etipitaka.com/read/pali/20/258/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=323 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=323 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล
    -ทุกแง่มุมที่เกี่ยวกับอกุศลมูล ภิกษุ ท. ! อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างเหล่าไหนเล่า? สามอย่างคือ โลภะ เป็น อกุศลมูล โทสะ เป็น อกุศลมูล โมหะ เป็น อกุศลมูล. ภิกษุ ท. ! แม้ โลภะ นั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภแล้ว ประกอบกรรมใดทางกาย ทางวาจา ทางใจ แม้ กรรมนั้น ก็เป็น อกุศล. คนโลภถูกความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันความโลภกลุ้มรุมแล้ว ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ แม้กรรมนี้ก็เป็น อกุศล : อกุศลธรรมอันลามกเป็นอเนก ที่เกิดจากความโลภ มีความโลภเป็นเหตุ มีความโลภเป็นสมุทัย มีความโลภเป็นปัจจัย เหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โทสะ และ โมหะ ก็ได้ตรัสไว้ด้วยข้อความทำนองเดียวกันอย่างที่กล่าวได้ว่า ทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้นั้น ควรถูกเรียกว่าเป็นอกาลวาที บ้าง อภูตวาที บ้าง อนัตถวาที บ้าง อธัมมวาที บ้าง อวินยวาที บ้าง. เพราะเหตุไร จึงควรถูกเรียกอย่างนั้น ? เพราะเหตุว่าบุคคลนี้ทำความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ควรจะมี ด้วยการฆ่าบ้าง ด้วยการจองจำบ้าง ด้วยการให้เสื่อมเสียบ้าง ด้วยการติเตียนบ้าง ด้วยการขับไล่บ้าง โดยการถือว่า เรามีกำลังเหนือกว่า ดังนี้ ; และเมื่อ เขาถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่เป็นจริง ก็บิดพลิ้วไม่ยอมรับ ; เมื่อถูกกล่าวหาอยู่ด้วยเรื่องที่ไม่เป็นจริง ก็ไม่พยายามที่จะทำให้แจ้งชัด ออกไปว่า นั่นไม่ตรง นั่นไม่จริง อย่างนี้ ๆ. เพราะฉะนั้นบุคคลชนิดนี้ จึงควรถูกเรียกว่า เป็นอกาลวาทีบ้าง อภูติวาทีบ้าง อนัตถวาทีบ้าง อธัมมวาทีบ้าง อวินยวาทีบ้าง. ภิกษุ ท. ! บุคคลชนิดนี้ ถูกอกุศลธรรมอันลามกซึ่งเกิดมาจากความโลภครอบงำแล้ว มีจิตอันอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดจากโลภะกลุ้มรุมแล้วย่อม อยู่เป็นทุกข์ มีความลำบาก มีความคับแค้น มีความเร่าร้อน ในทิฏฐธรรม นั่นเทียว, ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำลายแห่งกาย ย่อมหวังได้แต่ทุคติ. (ในกรณีแห่ง ความโกรธ และ ความหลง ก็ตรัสไว้โดยข้อความทำนองเดียวกัน อย่างที่กล่าวได้ว่าทุกตัวอักษร ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่ ๆ เช่นต้นสาละ ตันธวะ หรือต้นผันทนะก็ดี ถูกเครือเถามาลุวาสามชนิดขึ้นคลุมแล้ว รัดรึงแล้ว ย่อมถึงความพินาศฉิบหาย, ฉันใดก็ฉันนั้น. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล อกุศลมูล ๓ อย่าง. (พระองค์ยังได้ตรัสข้อความเป็นปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้ามอีก ซึ่งผู้ศึกษาหาดูได้จากหัวข้อว่า “ปรินิพพานในทิฏฐธรรมด้วยการตัดอกุศลมูล” ในภาค ๓ แห่งหนังสือเล่มนี้).
    0 Comments 0 Shares 58 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1058
    ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้อริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ(อสฺสุขลุงฺก*--๑)​ ๓ ชนิด
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อสฺสุขลุงฺ
    และบุรุษพริก(ปุริสขลุงฺก*--๒)​ ๓ ชนิด.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ปุริสขลุงฺ
    --ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า?
    +--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ;
    บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง;
    บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง.
    +--ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด.

    *--๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่า ม้ากระจอก
    แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอก ขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว
    และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก
    แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ.
    *--๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก
    ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้
    เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง

    ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก
    บางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ชวสมฺปนฺ
    แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน)
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=วณฺณสมฺปนฺ
    ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน);
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺ
    บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย;
    บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.
    --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
    : นี้เป็นความเร็วของเธอ;
    แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้
    : นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ;
    และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
    : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
    ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.

    --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
    : นี้เป็นความเร็วของเธอ;
    และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
    : นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ;
    แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
    : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
    ผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย.

    --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้
    : นี้เป็นความเร็วของเธอ ;
    และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง
    : นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ;
    และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย
    : นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก
    ที่มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย.

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.-

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ
    แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรม อภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ.
    ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า
    การรู้อริยสัจ นั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้ อภิธรรม อภิวินัยและรวยลาภ
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/275/580.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/275/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๗๐/๕๘๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1058
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ สัทธรรมลำดับที่ : 1058 ชื่อบทธรรม :- ผู้รู้อริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058 เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้รู้อริยสัจ-ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ(อสฺสุขลุงฺก*--๑)​ ๓ ชนิด http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อสฺสุขลุงฺ และบุรุษพริก(ปุริสขลุงฺก*--๒)​ ๓ ชนิด. http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ปุริสขลุงฺ --ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า? +--ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ; บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง; บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง. +--ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด. *--๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่า ม้ากระจอก แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอก ขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ. *--๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้ เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก บางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน) http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=ชวสมฺปนฺ แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน) http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=วณฺณสมฺปนฺ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน); http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=อาโรหปริณาหสมฺปนฺ บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย; บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย. --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ; แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้ : นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ; และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย. --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ; และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง : นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ; แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก ผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย. --ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ ; และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง : นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ; และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก ที่มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.- (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า บุรุษพริกประเภทที่หนึ่งรู้อริยสัจ แต่ไม่อาจตอบปัญหาในอภิธรรม อภิวินัย และไม่รวยด้วยลาภ. ข้อนี้เป็นเครื่องแสดงอยู่แล้วว่า การรู้อริยสัจ นั้นมิได้เนื่องอยู่กับการรู้ อภิธรรม อภิวินัยและรวยลาภ ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/275/580. http://etipitaka.com/read/thai/20/275/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๗๐/๕๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/20/370/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1058 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1058 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้รู้อริยสัจ
    -ผู้รู้อริยสัจ ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงม้าแกลบ ๑ ๓ ชนิด และบุรุษพริก ๒ ๓ ชนิด. ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบ ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท. ! ม้าแกลบบางตัวในกรณีนี้ มีความเร็ว ไม่มีสีสวย ไม่มีรูปร่างขึงขัง ; บางตัวมี ความเร็ว มีสีสวย แต่ไม่มีรูปร่างขึงขัง; บางตัวมีความเร็ว มีสีสวย มีรูปร่าง ขึงขัง. ภิกษุ ท. ! นี่แหละ ม้าแกลบ ๓ ชนิด. ๑. คำนี้บาลีว่า อสฺสุขลุงฺก เคยแปลกันมาว่าม้ากระจอก แต่เห็นว่าไม่สมกับเค้าเรื่อง เพราะม้ากระจอกขาเขยกวิ่งไม่ได้เร็ว และจะมีความสง่าผ่าเผยขึงขังไม่ได้ จึงไม่แปลว่าม้ากระจอก แต่แปลว่า ม้าแกลบ คือม้าพันธุ์เล็กรองจากม้าพันธุ์สินธพ. ๒. คำนี้บาลีว่า ปุริสขลุงฺก ก็เคยแปลกันมาว่า บุรุษกระจอก ซึ่งไม่เข้ากับเรื่องราวที่แสดง เพราะคนกระจอกงอกง่อยจะมีลักษณะอย่างนั้นไม่ได้ เชื่อว่าหมายถึงคนร่างเล็กพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีสมรรถนะสูง ในที่นี้จึงแปลว่า คนพริกโดยโวหารในภาษาไทยว่า “ถึงเล็กก็เล็กพริก” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก ๓ ชนิด เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุรุษพริกบางคน มีความเร็ว (ชวสมฺปนฺน) แต่ไม่มีผิวพรรณ (น วณฺณสมฺปนฺน) ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย (น อาโรหปริณาหสมฺปนฺน); บางคนมีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย; บางคนมีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย. ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริง ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ; แต่เมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็นิ่ง ตอบไม่ได้ : นี้เป็นความไม่มีผิวพรรณของเธอ; และเป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผย ของเธอ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริก ที่มีความเร็ว แต่ไม่มีผิวพรรณ ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย. ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็น จริง ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ; และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย ก็ตอบได้ ไม่นิ่ง : นี้เป็นความีผิวพรรณของเธอ; แต่เป็นผู้ไม่รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความไม่สง่าผ่าเผยของเธอ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริกผู้มีความเร็ว มีผิวพรรณ แต่ไม่มีท่าทางสง่าผ่าเผย. ภิกษุ ท. ! บุรุษพริก มีความเร็วด้วย มีผิวพรรณด้วย มีท่าทาง สง่าผ่าเผยด้วย นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัด ตามเป็นจริงว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้ : นี้เป็นความเร็วของเธอ ; และเมื่อถูกถามปัญหาในอภิธรรมในอภิวินัย เธอก็ตอบได้ ไม่นิ่ง : นี้เป็นความมีผิวพรรณของเธอ ; และเธอนั้นเป็นผู้รวยลาภด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขารทั้งหลาย : นี้เป็นความสง่าผ่าเผยของเธอ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุรุษพริกที่มีความเร็วด้วย มี ผิวพรรณด้วย มีท่าทางสง่าผ่าเผยด้วย. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุรุษพริก ๓ ชนิด.
    0 Comments 0 Shares 98 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาในความหมายลำดับชั้นกว้าง
    สัทธรรมลำดับที่ : 691
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาในความหมายลำดับชั้นกว้าง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=691
    เนื้อความทั้งหมด :-

    ข. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายลำดับชั้นกว้าง)
    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้
    มีปกติ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ ....
    มีปกติ ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ ....
    มีปกติ ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ ....
    มีปกติ ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ ....
    มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมทำความพอใจให้เกิดขึ้น ย่อมพยายาม ปรารภความเพียร ประคองตั้งจิตไว้
    เพื่อจะยังอกุศลธรรมอันเป็นบาปที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้น ; ....
    เพื่อละอกุศลธรรมอันเป็นบาป ที่เกิดขึ้นแล้ว ; ....
    เพื่อยังกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น ; ....
    เพื่อความตั้งอยู่ ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น
    ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอันอาศัยฉันทะ เป็นปธานกิจ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัยวิริยะ เป็นปธานกิจ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัยจิตตะ เป็นปธานกิจ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัยวิมังสา เป็นปธานกิจ ;
    (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับการระวัง การละ การทำให้เกิดมี และการรักษา).
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญ สัทธินทรีย์ ย่อมเจริญ วิริยินทรีย์
    ย่อมเจริญ สตินทรีย์ ย่อมเจริญ สมาธินทรีย์
    ย่อมเจริญ ปัญญินทรีย์.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญ สัทธาพละ ย่อมเจริญ วิริยพละ
    ย่อมเจริญ สติพละ ย่อมเจริญ สมาธิพละ
    ย่อมเจริญ ปัญญาพละ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญ สติสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
    ย่อมเจริญ วิริยสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ ปีติสัมโพชฌงค์
    ย่อมเจริญ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ สมาธิสัมโพชฌงค์
    ย่อมเจริญ อุเบกขาสัมโพชฌงค์.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญ สัมมาสังกัปปะ
    ย่อมเจริญ สัมมาวาจา ย่อมเจริญ สัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญ สัมมาอาชีวะ
    ย่อมเจริญ สัมมาวายามะ ย่อมเจริญ สัมมาสติ ย่อมเจริญ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.-

    (ความเห็นผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส
    ----มัชฌิมาปฏิปทาตามที่ทรงแสดงไว้ในสูตรนี้ เห็นได้ว่า
    ทรงแสดงส่วนสุดสองข้างไว้ด้วยอาฬ๎หปฏิปทา คือ ความตกไปในกาม
    และนิชฌามปฏิปทา คือ วัตรปฏิบัติของอเจลกะ
    ซึ่งเรียกกันโดยทั่วๆ ไปว่า อัตตกิลมถานุโยค หรือตปัสสีวัตร
    ในที่นี้จะเห็นได้ว่า
    โพธิปักขิยธรรมทั้งสามสิบเจ็ดข้อ นั่นแหละคือ​ มัชฌิมาปฏิปทา ;
    หรือถึงกับจะกล่าวได้ว่า
    ข้อปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทั้งหมดในพระพุทธศาสนา
    ซึ่งรวมกันแล้วเรียกได้ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา หรือพรหมจรรย์ทั้งสิ้น,
    นั่นแหละคือ มัชฌิมาปฏิปทา
    ).

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/380-382/596-597.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/287/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๘๐-๓๘๒/๕๙๖-๕๙๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/380/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=691
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=691
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มัชฌิมาปฏิปทาในความหมายลำดับชั้นกว้าง สัทธรรมลำดับที่ : 691 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทาในความหมายลำดับชั้นกว้าง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=691 เนื้อความทั้งหมด :- ข. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายลำดับชั้นกว้าง) --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้ มีปกติ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ .... มีปกติ ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ .... มีปกติ ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ .... มีปกติ ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ .... มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทำความพอใจให้เกิดขึ้น ย่อมพยายาม ปรารภความเพียร ประคองตั้งจิตไว้ เพื่อจะยังอกุศลธรรมอันเป็นบาปที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้น ; .... เพื่อละอกุศลธรรมอันเป็นบาป ที่เกิดขึ้นแล้ว ; .... เพื่อยังกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น ; .... เพื่อความตั้งอยู่ ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอันอาศัยฉันทะ เป็นปธานกิจ ; ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยวิริยะ เป็นปธานกิจ ; ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยจิตตะ เป็นปธานกิจ ; ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยวิมังสา เป็นปธานกิจ ; (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับการระวัง การละ การทำให้เกิดมี และการรักษา). +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญ สัทธินทรีย์ ย่อมเจริญ วิริยินทรีย์ ย่อมเจริญ สตินทรีย์ ย่อมเจริญ สมาธินทรีย์ ย่อมเจริญ ปัญญินทรีย์. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญ สัทธาพละ ย่อมเจริญ วิริยพละ ย่อมเจริญ สติพละ ย่อมเจริญ สมาธิพละ ย่อมเจริญ ปัญญาพละ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญ สติสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ วิริยสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ ปีติสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ สมาธิสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ อุเบกขาสัมโพชฌงค์. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญ สัมมาสังกัปปะ ย่อมเจริญ สัมมาวาจา ย่อมเจริญ สัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญ สัมมาอาชีวะ ย่อมเจริญ สัมมาวายามะ ย่อมเจริญ สัมมาสติ ย่อมเจริญ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.- (ความเห็นผู้เรียบเรียงท่านพุทธทาส ----มัชฌิมาปฏิปทาตามที่ทรงแสดงไว้ในสูตรนี้ เห็นได้ว่า ทรงแสดงส่วนสุดสองข้างไว้ด้วยอาฬ๎หปฏิปทา คือ ความตกไปในกาม และนิชฌามปฏิปทา คือ วัตรปฏิบัติของอเจลกะ ซึ่งเรียกกันโดยทั่วๆ ไปว่า อัตตกิลมถานุโยค หรือตปัสสีวัตร ในที่นี้จะเห็นได้ว่า โพธิปักขิยธรรมทั้งสามสิบเจ็ดข้อ นั่นแหละคือ​ มัชฌิมาปฏิปทา ; หรือถึงกับจะกล่าวได้ว่า ข้อปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทั้งหมดในพระพุทธศาสนา ซึ่งรวมกันแล้วเรียกได้ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา หรือพรหมจรรย์ทั้งสิ้น, นั่นแหละคือ มัชฌิมาปฏิปทา ). #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/380-382/596-597. http://etipitaka.com/read/thai/20/287/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๓๘๐-๓๘๒/๕๙๖-๕๙๗. http://etipitaka.com/read/pali/20/380/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=691 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=691 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ข. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นกว้าง)
    -ข. มัชฌิมาปฏิปทา (ในความหมายชั้นกว้าง) . . . . ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเป็นผู้มีปกติ ตามเห็นกายในกาย อยู่เป็นประจำ .... มีปกติ ตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ .... มีปกติ ตามเห็นจิตในจิต อยู่เป็นประจำ .... มีปกติ ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ .... มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทำความพอใจให้เกิดขึ้น ย่อมพยายาม ปรารภความเพียร ประคองตั้งจิตไว้ เพื่อจะยังอกุศลธรรมอันเป็นบาปที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึ้น ; ....เพื่อละอกุศลธรรมอันเป็นบาป ที่เกิดขึ้นแล้ว ; ....เพื่อยังกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น ; ....เพื่อความตั้งอยู่ ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์ ความเจริญ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอันอาศัยฉันทะ เป็นปธานกิจ ; ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยวิริยะ เป็นปธานกิจ ; ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยจิตตะ เป็นปธานกิจ ; ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยวิมังสา เป็นปธานกิจ ; (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับการระวัง การละ การทำให้เกิดมี และการรักษา). ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัทธินทรีย์ ย่อมเจริญ วิริยินทรีย์ ย่อมเจริญ สตินทรีย์ ย่อมเจริญ สมาธินทรีย์ ย่อมเจริญ ปัญญินทรีย์. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัทธาพละ ย่อมเจริญ วิริยพละ ย่อมเจริญ สติพละ ย่อมเจริญ สมาธิพละ ย่อมเจริญ ปัญญาพละ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสติสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ วิริยสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ ปีติสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ สมาธิสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญ อุเบกขาสัมโพชฌงค์. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัมมาทิฏฐิ ย่อมเจริญ สัมมาสังกัปปะ ย่อมเจริญ สัมมาวาจา ย่อมเจริญ สัมมากัมมันตะ ย่อมเจริญ สัมมาอาชีวะ ย่อมเจริญ สัมมาวายามะ ย่อมเจริญ สัมมาสติ ย่อมเจริญ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา.
    0 Comments 0 Shares 128 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าบุคคลใดยังหลงเพลิดเพลินในขันธ์ห้าอยู่ ด้วยการไม่ละนิวรณ์ห้าประการซึ่งเหตุแห่งทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 322
    ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322
    เนื้อความทั้งหมด :-
    นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย
    --(มี ๑๕ เรื่อง)
    --ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑

    0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑
    วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑
    สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑

    1-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑
    กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑
    เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑

    2-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑
    อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑
    เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑

    3-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑
    อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑
    อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑

    4-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑
    อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑
    ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑

    5-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑
    อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑
    อุปารัมภจิตตตา ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑
    อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑
    โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑

    6-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑
    โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑
    ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑

    7-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑.
    --ภิกษุ ท. ! บุคคล
    เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ
    อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อหิริก
    อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อโนตฺตปฺป
    ปมาทะ (ความประมาท) ๑
    http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=ปมาท
    8-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ
    อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ :
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว.

    8-เขาเมื่อเป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ;
    7-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ;
    6-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ;
    5-เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ;
    4-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ;
    3-เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ;
    2-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    สักกายทิฏฐิ ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ วิจิกิจฉา ๑;
    1-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ;
    +--เขาเมื่อไม่ละซึ่ง
    ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑
    0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง
    ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑.

    (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม
    อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้
    ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/127-130/76.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/127/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๕๔-๑๕๗/๗๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/154/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=322
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าบุคคลใดยังหลงเพลิดเพลินในขันธ์ห้าอยู่ ด้วยการไม่ละนิวรณ์ห้าประการซึ่งเหตุแห่งทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 322 ชื่อบทธรรม :- ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322 เนื้อความทั้งหมด :- นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย --(มี ๑๕ เรื่อง) --ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ 0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑ วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑ สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑ 1-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑ กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑ เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑ 2-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑ อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑ เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑ 3-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑ อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑ 4-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑ อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑ ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑ 5-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑ อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑ โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑ 6-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑ โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑ ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑ 7-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑. --ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อหิริก อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=อโนตฺตปฺป ปมาทะ (ความประมาท) ๑ http://etipitaka.com/read/pali/24/156/?keywords=ปมาท 8-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ : --ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว. 8-เขาเมื่อเป็นผู้ มีอหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ; 7-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ; 6-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ; 5-เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ; 4-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ; 3-เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ; 2-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง สักกายทิฏฐิ ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ วิจิกิจฉา ๑; 1-เขาเมื่อเป็นผู้ ... มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ; +--เขาเมื่อไม่ละซึ่ง ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ 0-ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่ง ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้ ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/127-130/76. http://etipitaka.com/read/thai/24/127/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๕๔-๑๕๗/๗๖. http://etipitaka.com/read/pali/24/154/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=322 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=322 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๗
    -นิทเทศ ๗ ว่าด้วยทิฏฐิเกี่ยวกับตัณหา จบ นิทเทศ ๘ ว่าด้วยกิเลสทั้งหลายในฐานะสมุทัย (มี ๑๕ เรื่อง) ละราคะโทสะโมหะก่อนละชาติชรามรณะ ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ (ความเห็นว่ากายของตน) ๑ วิจิกิจฉา (ความลังเลในธรรมที่ไม่ควรลังเล) ๑ สีลัพพตปรามาส(การลูบคลำศีลและวัตรอย่างปราศจากเหตุผล) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ (ความทำในใจไม่แยบคาย) ๑ กุมมัคคเสวนา (การพัวพันอยู่ในทิฏฐิอันชั่ว) ๑ เจตโสลีนัตตา (ความมีจิตหดหู่) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ (ความมีสติอันลืมหลง) ๑ อสัมปชัญญะ (ความปราศจากสัมปชัญญะ) ๑ เจตโสวิกเขปะ (ความส่ายแห่งจิต) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคลเมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา (ความไม่อยากเห็นพระอริยเจ้า) ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา (ความไม่อยากฟังธรรมธรรมของพระอริยเจ้า) ๑ อุปารัมภจิตตตา (ความมีจิตเที่ยวเกาะเกี่ยว) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ มุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ (ความฟุ้งซ่าน) ๑ อสังวระ (ความไม่สำรวม) ๑ ทุสสีล๎ยะ (ความทุศีล) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ (ความไม่มีสัทธา) ๑ อวทัญญุตา (ความไม่เป็นวทัญญู) ๑ โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ (ความไม่เอื้อเฟื้อในบุคคลและธรรมอันควรเอื้อเฟื้อ) ๑ โทวจัสสตา (ความเป็นคนว่ายาก) ๑ ปาปมิตตตา (ความมีมิตรชั่ว) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑. ภิกษุ ท. ! บุคคล เมื่อไม่ละซึ่งธรรมสาม คือ อหิริกะ (ความไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย) ๑ อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว) ๑ ปมาทะ (ความประมาท) ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งธรรมสาม คือ อนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ : ภิกษุ ท. ! บุคคลนี้ เป็นผู้มี อหิริกะ มีอโนตตัปปะ มีปมาทะ แล้ว. เขาเมื่อเป็นผู้ มีปมาทะอยู่แล้ว ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอนาทริยะ ๑ โทวจัสสตา ๑ ปาปมิตตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีปาปมิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอสัทธิยะ ๑ อวทัญญุตา ๑ โกสัชชะ ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีโกสัชชะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอุทธัจจะ ๑ อสังวระ ๑ ทุสสีล๎ยะ ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีทุสสีล๎ยะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอริยานังอทัสสนกัม๎ยตา ๑ อริยธัมมังอโสตุกัม๎ยตา ๑ อุปารัมภจิตตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีอุปารัมภจิตตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งมุฏฐสัจจะ ๑ อสัมปชัญญะ ๑ เจตโสวิกเขปะ ๑ ; เขาเมื่อเป็ผผู้ มีเจตโสวิกเขปะ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งอโยนิโสมนสิการ ๑ กุมมัคคเสวนา ๑ เจตโสลีนัตตา ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีเจตโสลีนัตตา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งสักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ ; เขาเมื่อเป็นผู้ มีวิจิกิจฉา ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ; เขาเมื่อไม่ละซึ่งราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ก็ไม่อาจเพื่อละซึ่งชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑. (ต่อไปได้ตรัสข้อความเกี่ยวกับปฏิปักขนัยฝ่ายตรงกันข้าม อันเป็นฝ่ายที่ทำให้ละชาติ-ชรา-มรณะ ได้ ผู้อ่านสามารถเทียบเคียงได้เอง จึงมิได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้).
    0 Comments 0 Shares 104 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 1057
    ชื่อบทธรรม :- เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1057
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด
    --ภิกษุ ท. ! เราได้อยู่แล้วโดยประเทศแห่งวิหารธรรม
    อย่างเดียวกันกับ วิหารธรรมที่เราเคยอยู่แล้วเมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/17/?keywords=วิหาเรน+ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ
    เมื่ออยู่โดย วิหารธรรมอย่างนี้ เราย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า :-
    “+--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาทิฏฐิ บ้าง;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาทิฏฐิบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาทิฏฐิ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาทิฏฐิบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสังกัปปะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสังกัปปะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาสังกัปปะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสังกัปปะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวาจา บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวาจาบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาวาจา บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวาจาบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉากัมมันตะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉากัมมันตะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมากัมมันตะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมากัมมันตะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาอาชีวะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาอาชีวะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาอาชีวะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาอาชีวะ บ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวายามะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวายามะ บ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาวายามะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวายาะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสติ บ้าง ;
    +- ความเข้าไป สงบรำงับ แห่งมิจฉาสติบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาสติ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสติบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสมาธิ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสมาธิบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัมมาสมาธิ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสมาธิบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งฉันทะบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ วิตก บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งวิตกบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ สัญญา บ้าง ;
    +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัญญาบ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่ยังไม่เข้าไปสงบรำงับ บ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่เข้าไปสงบรำงับแล้ว บ้าง ;
    +--เวทนาย่อมมี
    เพราะปัจจัยคือ การบรรลุถึงฐานะที่ได้พยายามเพื่อจะบรรลุถึง บ้าง”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/13/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/13/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๗/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/17/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1057
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1057
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด สัทธรรมลำดับที่ : 1057 ชื่อบทธรรม :- เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1057 เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด --ภิกษุ ท. ! เราได้อยู่แล้วโดยประเทศแห่งวิหารธรรม อย่างเดียวกันกับ วิหารธรรมที่เราเคยอยู่แล้วเมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ. http://etipitaka.com/read/pali/19/17/?keywords=วิหาเรน+ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ เมื่ออยู่โดย วิหารธรรมอย่างนี้ เราย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า :- “+--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาทิฏฐิ บ้าง; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาทิฏฐิบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาทิฏฐิ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาทิฏฐิบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสังกัปปะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสังกัปปะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสังกัปปะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสังกัปปะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวาจา บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวาจาบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาวาจา บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวาจาบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉากัมมันตะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉากัมมันตะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมากัมมันตะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมากัมมันตะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาอาชีวะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาอาชีวะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาอาชีวะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาอาชีวะ บ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวายามะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวายามะ บ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาวายามะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวายาะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสติ บ้าง ; +- ความเข้าไป สงบรำงับ แห่งมิจฉาสติบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสติ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสติบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสมาธิ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสมาธิบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสมาธิ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสมาธิบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งฉันทะบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ วิตก บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งวิตกบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัญญา บ้าง ; +- ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัญญาบ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่ยังไม่เข้าไปสงบรำงับ บ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่เข้าไปสงบรำงับแล้ว บ้าง ; +--เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ การบรรลุถึงฐานะที่ได้พยายามเพื่อจะบรรลุถึง บ้าง” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/13/50. http://etipitaka.com/read/thai/19/13/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๗/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/17/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1057 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1057 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด
    -(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ข้อเท็จจริงอันนี้มีความสำคัญอย่างยิ่ง กล่าวคือ ต้อง มีการเสวยเวทนาจริงๆ จึงจะเห็นทุกขอริยสัจที่เกิดจากตัณหาอันเกิดจากเวทนานั้น และความที่ ทุกข์ดับไปในขณะที่ตัณหาดับไปในเวทนานั้น ในเมื่อจิตประกอบอยู่ด้วยธัมมสมังคีแห่งอัฏฐัง คิกมรรค โดยอัตโนมัติ; ดังนั้น ถ้าปราศจากเวทนาเสียเพียงอย่างเดียวแล้ว อริยสัจสี่ก็ยัง มิได้เป็นสิ่งที่มีอยู่จริง; ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าวได้ว่า “อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจเสวย เวทนา” ดังนี้ โดยนัยดังที่พระพุทธองค์ตรัสแล้วข้างบน). เวทนาโดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด ภิกษุ ท. ! เราได้อยู่แล้วโดยประเทศแห่งวิหารธรรม อย่างเดียวกันกับวิหารธรรมที่เราเคยอยู่แล้วเมื่อตรัสรู้แล้วใหม่ๆ. เมื่ออยู่โดยวิหารธรรมอย่างนี้ เราย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า : “เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาทิฏฐิ บ้าง; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาทิฏฐิบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาทิฏฐิ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาทิฏฐิบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสังกัปปะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสังกัปปะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสังกัปปะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสังกัปปะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวาจา บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวาจาบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาวาจา บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวาจาบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉากัมมันตะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉากัมมันตะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมากัมมันตะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมากัมมันตะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาอาชีวะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาอาชีวะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาอาชีวะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาอาชีวะ บ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาวายามะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาวายามะ บ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาวายามะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาวายาะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสติ บ้าง ; - ความเข้าไป สงบรำงับ แห่งมิจฉาสติบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสติ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสติบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ มิจฉาสมาธิ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งมิจฉาสมาธิบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัมมาสมาธิ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัมมาสมาธิบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งฉันทะบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ วิตก บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งวิตกบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ สัญญา บ้าง ; - ความเข้าไปสงบรำงับ แห่งสัญญาบ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญาที่ยังไม่เข้าไปสงบรำงับ บ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ ฉันทะ วิตก และสัญญา ที่เข้าไปสงบรำงับแล้ว บ้าง ; เวทนาย่อมมี เพราะปัจจัยคือ การบรรลุถึงฐานะที่ได้พยายามเพื่อจะบรรลุถึง บ้าง” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 133 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​มัชฌิมาปฏิปทาลำดับพื้นฐานเป็นการเริ่มต้นสำคัญ
    สัทธรรมลำดับที่ : 690
    ชื่อบทธรรม : -มัชฌิมาปฏิปทาลำดับพื้นฐาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=690
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ

    ก. มัชฌิมาปฏิปทา (พื้นฐานทั่วไป)
    --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งสุดโต่งอยู่สองอย่าง ที่บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย
    สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้น คืออะไร ?
    คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค)
    อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ;
    และ การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค)
    อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์.
    --ภิกษุ ท. ! #มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง)
    ที่ไม่ดิ่งไปหาสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=นิพฺพานาย

    --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น คือข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี้แล ; กล่าวคือ
    ความเห็นที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) ความดำริถูกต้อง (สัมมาสังกัปโป),
    การพูดจาที่ถูกต้อง (สัมมาวาจา) การทำงานที่ถูกต้อง (สัมมากัมมันโต)
    การอาชีพที่ถูกต้อง (สัมมาอาชีโว),
    ความพากเพียรที่ถูกต้อง (สัมมาวายาโม) ความรำลึกที่ถูกต้อง (สัมมาสติ)
    ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง (สัมมาสมาธิ).
    --ภิกษุ ท. ! นี้แล มัชฌิมาปฏิปทานั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/419/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=690
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=690
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​มัชฌิมาปฏิปทาลำดับพื้นฐานเป็นการเริ่มต้นสำคัญ สัทธรรมลำดับที่ : 690 ชื่อบทธรรม : -มัชฌิมาปฏิปทาลำดับพื้นฐาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=690 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ ก. มัชฌิมาปฏิปทา (พื้นฐานทั่วไป) --ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งสุดโต่งอยู่สองอย่าง ที่บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้น คืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ; และ การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. --ภิกษุ ท. ! #มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่งไปหาสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=นิพฺพานาย --ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น คือข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี้แล ; กล่าวคือ ความเห็นที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) ความดำริถูกต้อง (สัมมาสังกัปโป), การพูดจาที่ถูกต้อง (สัมมาวาจา) การทำงานที่ถูกต้อง (สัมมากัมมันโต) การอาชีพที่ถูกต้อง (สัมมาอาชีโว), ความพากเพียรที่ถูกต้อง (สัมมาวายาโม) ความรำลึกที่ถูกต้อง (สัมมาสติ) ความตั้งจิตมั่นคงที่ถูกต้อง (สัมมาสมาธิ). --ภิกษุ ท. ! นี้แล มัชฌิมาปฏิปทานั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/419/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=690 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=690 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ
    -มัชฌิมาปฏิปทา ๓ ลำดับ ก. มัชฌิมาปฏิปทา (พื้นฐานทั่วไป) ภิกษุ ท. ! มีสิ่งที่แล่นดิ่งสุดโต่งอยู่สองอย่าง ที่บรรพชิตไม่ควรข้องแวะด้วย สิ่งที่แล่นดิ่งไปสุดโต่งนั้น คืออะไร ? คือ การประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย (กามสุขัลลิกานุโยค) อันเป็นการกระทำที่ยังต่ำ เป็นของชาวบ้าน เป็นของคนชั้นบุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ; และ การประกอบความเพียรในการทรมานตนให้ลำบาก (อัตตกิลมถานุโยค) อันนำมาซึ่งความทุกข์ ไม่ใช่ของพระอริยเจ้า ไม่ประกอบด้วยประโยชน์. ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง) ที่ไม่ดิ่งไปหาสุดโต่งสองอย่างนั้น เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน. ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! มัชฌิมาปฏิปทานั้น คือข้อปฏิบัติอันเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการ นี้แล ; กล่าวคือ ความเห็นที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) ความดำริถูกต้อง (สัมมาสังกัปโป) การพูดจาที่ถูกต้อง (สัมมาวาจา) การทำงาน ที่ถูกต้อง (สัมมากัมมันโต) การอาชีพที่ถูกต้อง (สัมมาอาชีโว) ความพากเพียรที่ถูกต้อง (สัมมาวายาโม) ความรำลึกที่ถูกต้อง (สัมมาสติ) ความตั้งใจมั่นคงที่ถูกต้อง (สัมมาสมาธิ). ภิกษุ ท. ! นี้แล มัชฌิมาปฏิปทานั้น.
    0 Comments 0 Shares 162 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป
    สัทธรรมลำดับที่ : 321
    ชื่อบทธรรม :- ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=321
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป
    --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใด
    ในกาลอดีตก็ตาม, ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม,
    ย่อม เห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจ (ปิยรูป-สาตรูป) ในโลก
    http://etipitaka.com/read/pali/16/132/?keywords=ปิยรูปํ+สาตรูปํ
    โดยความเป็นของเที่ยง
    โดยความเป็นสุข
    โดยความเป็นตัวตน
    โดยความเป็นของไม่เสียบแทง
    โดยความเป็นของเกษม ;
    สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น #ย่อมทำตัณหาให้เจริญ.
    เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ.
    เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ.
    เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น
    ย่อมไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน
    ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ;
    เราตถาคต ย่อมกล่าวว่า “#พวกเหล่านั้นย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน
    ถ้วยดื่มสำริดมีเครื่องดื่มใส่อยู่แล้วชนิดหนึ่ง
    สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่.
    ครั้งนั้น มีบุรุษผู้หนึ่งซึ่งกำลังร้อนจัด มีความร้อนระอุไปทั้งตัว
    เหน็ดเหนื่อย คอแห้ง ระหายน้ำ มาถึงเข้า.คนทั้งหลายบอกแก่บุรุษนั้นว่า
    “นี่แน่ท่านผู้เจริญ ! ถ้วยดื่มสำริดใบนี้ มีเครื่องดื่ม
    สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส สำหรับท่าน,
    แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่, ถ้าหากท่านต้องการดื่มก็ดื่มได้,
    เมื่อท่านกำลังดื่ม จักติดใจมันด้วยสีของมันบ้าง ด้วยกลิ่นของมันบ้าง ด้วยรสของมันบ้าง ; แต่ว่า ครั้นดื่มเข้าไปแล้ว ท่านจักถึงความตาย
    หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะเหตุนั้น”
    ดังนี้.
    บุรุษนั้น ไม่ทันจะพิจารณาถ้วยดื่มสำริดอันนั้น
    (ว่าจะควรดื่มหรือไม่ควรดื่ม อย่างไร เป็นต้น)
    รีบดื่มเอาๆ ไม่ยอมวาง.
    บุรุษนั้น ก็ถึงความตาย หรือ ได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะเหตุนั้น.
    ฉันใดก็ฉันนั้น ที่สมณะหรือพราหมณ์พวกใด
    ในกาลอดีตก็ตาม,
    ในกาลอนาคตก็ตาม,
    ในกาลนี้ก็ตาม,
    ย่อมเห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจในโลก
    โดยความเป็นของเที่ยง
    โดยความเป็นสุข
    โดยความเป็นตัวตน
    โดยความเป็นของไม่เสียบแทง
    โดยความเป็นของเกษม ;
    สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมทำตัณหาให้เจริญ.
    เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ.
    เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ.
    เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์
    "พวกนั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/106-107/259-260.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/106/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๓๒-๑๓๓/๒๕๙-๒๖๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/132/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=321
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=321
    ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป สัทธรรมลำดับที่ : 321 ชื่อบทธรรม :- ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=321 เนื้อความทั้งหมด :- --ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป --ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใด ในกาลอดีตก็ตาม, ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม, ย่อม เห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจ (ปิยรูป-สาตรูป) ในโลก http://etipitaka.com/read/pali/16/132/?keywords=ปิยรูปํ+สาตรูปํ โดยความเป็นของเที่ยง โดยความเป็นสุข โดยความเป็นตัวตน โดยความเป็นของไม่เสียบแทง โดยความเป็นของเกษม ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น #ย่อมทำตัณหาให้เจริญ. เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ. เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ. เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ; เราตถาคต ย่อมกล่าวว่า “#พวกเหล่านั้นย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน ถ้วยดื่มสำริดมีเครื่องดื่มใส่อยู่แล้วชนิดหนึ่ง สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่. ครั้งนั้น มีบุรุษผู้หนึ่งซึ่งกำลังร้อนจัด มีความร้อนระอุไปทั้งตัว เหน็ดเหนื่อย คอแห้ง ระหายน้ำ มาถึงเข้า.คนทั้งหลายบอกแก่บุรุษนั้นว่า “นี่แน่ท่านผู้เจริญ ! ถ้วยดื่มสำริดใบนี้ มีเครื่องดื่ม สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส สำหรับท่าน, แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่, ถ้าหากท่านต้องการดื่มก็ดื่มได้, เมื่อท่านกำลังดื่ม จักติดใจมันด้วยสีของมันบ้าง ด้วยกลิ่นของมันบ้าง ด้วยรสของมันบ้าง ; แต่ว่า ครั้นดื่มเข้าไปแล้ว ท่านจักถึงความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะเหตุนั้น” ดังนี้. บุรุษนั้น ไม่ทันจะพิจารณาถ้วยดื่มสำริดอันนั้น (ว่าจะควรดื่มหรือไม่ควรดื่ม อย่างไร เป็นต้น) รีบดื่มเอาๆ ไม่ยอมวาง. บุรุษนั้น ก็ถึงความตาย หรือ ได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะเหตุนั้น. ฉันใดก็ฉันนั้น ที่สมณะหรือพราหมณ์พวกใด ในกาลอดีตก็ตาม, ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม, ย่อมเห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจในโลก โดยความเป็นของเที่ยง โดยความเป็นสุข โดยความเป็นตัวตน โดยความเป็นของไม่เสียบแทง โดยความเป็นของเกษม ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมทำตัณหาให้เจริญ. เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ. เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ. เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์ "พวกนั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/106-107/259-260. http://etipitaka.com/read/thai/16/106/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๓๒-๑๓๓/๒๕๙-๒๖๐. http://etipitaka.com/read/pali/16/132/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=321 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=321 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป
    -ตัณหาเจริญเพราะมิจฉาทิฏฐิในปิยรูป - สาตรูป ภิกษุ ท. ! สมณะหรือพราหมณ์พวกใด ในกาลอดีตก็ตาม, ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม, ย่อม เห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจ (ปิยรูปสาตรูป) ในโลก โดยความเป็นของเที่ยง โดยความเป็นสุข โดยความเป็นตัวตน โดยความเป็นของไม่เสียบแทง โดยความเป็นของเกษม ; สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมทำตัณหาให้เจริญ. เมื่อทำตัณหาให้เจริญอยู่ ก็ทำอุปธิให้เจริญ. เมื่อทำอุปธิให้เจริญอยู่ ก็ทำทุกข์ให้เจริญ. เมื่อทำทุกข์ให้เจริญอยู่สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ; เราตถาคต ย่อมกล่าวว่า “พวกเหล่านั้น ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน ถ้วยดื่มสำริดมีเครื่องดื่มใส่อยู่แล้วชนิดหนึ่ง สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่. ครั้งนั้น มีบุรุษผู้หนึ่งซึ่งกำลังร้อนจัด มีความร้อนระอุไปทั้งตัว เหน็ดเหนื่อย คอแห้ง ระหายน้ำ มาถึงเข้า. คนทั้งหลายบอกแก่บุรุษนั้นว่า “นี่แน่ท่านผู้เจริญ ! ถ้วยดื่มสำริดใบนี้ มีเครื่องดื่ม สมบูรณ์ด้วยสี กลิ่น และรส สำหรับท่าน, แต่ว่ามียาพิษปนติดอยู่, ถ้าหากท่านต้องการดื่มก็ดื่มได้, เมื่อท่านกำลังดื่ม จักติดใจมันด้วยสีของมันบ้าง ด้วยกลิ่นของมันบ้าง ด้วยรสของมันบ้าง ; แต่ว่า ครั้นดื่ม เข้าไปแล้ว ท่านจักถึงความตาย หรือได้รับทุกข์เจียนตายเพราะเหตุนั้น” ดังนี้. บุรุษนั้น ไม่ทันจะพิจารณาถ้วยดื่มสำริดอันนั้น (ว่าจะควรดื่มหรือไม่ควรดื่ม อย่างไร เป็นต้น) รีบดื่มเอาๆ ไม่ยอมวาง. บุรุษนั้น ก็ถึงความตาย หรือ ได้รับทุกข์เจียนตาย เพราะเหตุนั้น. ฉันใดก็ฉันนั้น ที่สมณะหรือพราหมณ์พวกใด ในกาลอดีตก็ตาม. ในกาลอนาคตก็ตาม, ในกาลนี้ก็ตาม, ย่อมเห็นสิ่งอันเป็นที่รักที่สนิทใจในโลก โดยความเป็นของเที่ยง ....ฯลฯ.... ย่อมไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 152 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 1056
    ชื่อบทธรรม :- อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1056
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา
    --ภิกษุ ท. !
    เพราะอาศัยซึ่งธาตุ ๖ ประการ
    (ดิน​ น้ำ​ ไฟ​ อากาศ​ ลมและวิญญาณ)​
    การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี;
    เมื่อการก้าวลงสู่ครรภ์ มีอยู่,
    นามรูป ย่อมมี;
    เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ;
    เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ;
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! เราย่อมบัญญัติว่า
    “นี้ เป็นความทุกข์” ดังนี้;
    ว่า “นี้ เป็นเหตุเกิดของความทุกข์” ดังนี้ ;
    ว่า “นี้ เป็นความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ;
    ว่า “นี้ เป็นทางให้ถึงความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ;
    แก่สัตว์ผู้สามารถเสวยเวทนา.

    (ต่อไปได้ตรัสรายละเอียด ของอริยสัจทั้งสี่
    หาดูได้ในภาคนำ แห่งหนังสืออริยสัจจากพระโอษฐ์
    ที่หัวข้อว่า “#อริยสัจสี่ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร(นัยที่สอง)”
    ).-

    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ข้อเท็จจริงอันนี้มีความสำคัญอย่างยิ่ง
    กล่าวคือ
    ต้อง มีการเสวยเวทนาจริงๆ จึงจะเห็นทุกขอริยสัจ
    ที่เกิดจากตัณหาอันเกิดจากเวทนานั้น และความที่ ทุกข์ดับไป
    ในขณะที่ตัณหาดับไปในเวทนานั้น
    ในเมื่อจิตประกอบอยู่ด้วยธัมมสมังคีแห่งอัฏฐังคิกมรรค โดยอัตโนมัติ;
    ดังนั้น ถ้าปราศจากเวทนาเสียเพียงอย่างเดียวแล้ว
    อริยสัจสี่ก็ยัง มิได้เป็นสิ่งที่มีอยู่จริง;
    ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าวได้ว่า
    “อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจเสวย เวทนา” ดังนี้
    โดยนัยดังที่พระพุทธองค์ตรัสแล้วข้างบน).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1056
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1056
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 1056 ชื่อบทธรรม :- อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1056 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยซึ่งธาตุ ๖ ประการ (ดิน​ น้ำ​ ไฟ​ อากาศ​ ลมและวิญญาณ)​ การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี; เมื่อการก้าวลงสู่ครรภ์ มีอยู่, นามรูป ย่อมมี; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=เวทนา --ภิกษุ ท. ! เราย่อมบัญญัติว่า “นี้ เป็นความทุกข์” ดังนี้; ว่า “นี้ เป็นเหตุเกิดของความทุกข์” ดังนี้ ; ว่า “นี้ เป็นความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ; ว่า “นี้ เป็นทางให้ถึงความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ; แก่สัตว์ผู้สามารถเสวยเวทนา. (ต่อไปได้ตรัสรายละเอียด ของอริยสัจทั้งสี่ หาดูได้ในภาคนำ แห่งหนังสืออริยสัจจากพระโอษฐ์ ที่หัวข้อว่า “#อริยสัจสี่ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร(นัยที่สอง)” ).- (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ข้อเท็จจริงอันนี้มีความสำคัญอย่างยิ่ง กล่าวคือ ต้อง มีการเสวยเวทนาจริงๆ จึงจะเห็นทุกขอริยสัจ ที่เกิดจากตัณหาอันเกิดจากเวทนานั้น และความที่ ทุกข์ดับไป ในขณะที่ตัณหาดับไปในเวทนานั้น ในเมื่อจิตประกอบอยู่ด้วยธัมมสมังคีแห่งอัฏฐังคิกมรรค โดยอัตโนมัติ; ดังนั้น ถ้าปราศจากเวทนาเสียเพียงอย่างเดียวแล้ว อริยสัจสี่ก็ยัง มิได้เป็นสิ่งที่มีอยู่จริง; ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าวได้ว่า “อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจเสวย เวทนา” ดังนี้ โดยนัยดังที่พระพุทธองค์ตรัสแล้วข้างบน). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170/501. http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๕๐๑. http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1056 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1056 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา
    -อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยซึ่งธาตุ ๖ ประการ การก้าวลงสู่ครรภ์ ย่อมมี; เมื่อการก้าวลงสู่ครรภ์ มีอยู่, นามรูป ย่อมมี; เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา. ภิกษุ ท. ! เราย่อมบัญญัติว่า “นี้ เป็นความทุกข์” ดังนี้; ว่า “นี้ เป็นเหตุเกิดของความทุกข์” ดังนี้ ; ว่า “นี้ เป็นความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ; ว่า “นี้ เป็นทางให้ถึงความดับไม่เหลือของความทุกข์” ดังนี้ ; แก่สัตว์ผู้สามารถเสวยเวทนา. (ต่อไปได้ตรัสรายละเอียด ของอริยสัจทั้งสี่ หาดูได้ในภาคนำ แห่งหนังสือเล่มนี้ ที่หัวข้อว่า “อริยสัจสี่ ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร (นัยที่สอง)” หน้า ๑๓๘).
    0 Comments 0 Shares 199 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​มัชฌิมาปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 689
    ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=689
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --มัชฌิมาปฏิปทา(ธัมมจักกัปปว้ตตนสูตร)​ในฐานะเหตุให้เกิดจักษุและญาณเพื่อนิพพาน
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตน
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (#มัชฌิมาปฏิปทา)
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ
    เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อมเพื่อนิพพาน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น คือ
    ข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการนี่เอง;
    ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ,
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ,
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ :
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง
    ที่ตถาคตได้ทรงตรัสรู้เฉพาะแล้ว
    เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ
    เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=นิพฺพาน

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ 19/419/1664.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=689
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​มัชฌิมาปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 689 ชื่อบทธรรม :- มัชฌิมาปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=689 เนื้อความทั้งหมด :- --มัชฌิมาปฏิปทา(ธัมมจักกัปปว้ตตนสูตร)​ในฐานะเหตุให้เกิดจักษุและญาณเพื่อนิพพาน http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตน --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (#มัชฌิมาปฏิปทา) http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อมเพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการนี่เอง; ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ, สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ, สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : +--ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ตถาคตได้ทรงตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม #เพื่อนิพพาน.- http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=นิพฺพาน #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ 19/419/1664. http://etipitaka.com/read/thai/19/419/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ ๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=689 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มัชฌิมาปฏิปทา
    -มัชฌิมาปฏิปทา ในฐานะเหตุให้เกิดจักษุและญาณเพื่อนิพพาน ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) อันเป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อมเพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบอยู่ด้วยองค์แปดประการนี่เอง; ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้แล คือ ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่ตถาคต ได้ทรงตรัสรู้เฉพาะแล้ว เป็นข้อปฏิบัติทำให้เกิดจักษุ ทำให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้อันยิ่ง เพื่อความตรัสรู้พร้อม เพื่อนิพพาน.
    0 Comments 0 Shares 182 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    สัทธรรมลำดับที่ : 320
    ชื่อบทธรรม :- ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=320
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน)
    --ภิกษุ ท. ! ในโลกนี้
    บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ
    ไม่เห็นพระอริยเจ้า
    ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า,
    ไม่เห็นสัปบุรุษ
    ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ
    ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ.
    บุถุชนนั้น ย่อมรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดิน ;
    ครั้นรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดินแล้ว
    ย่อมสำคัญมั่นหมายซึ่งดิน ;
    ย่อมสำคัญมั่นหมาย ในดิน ;
    ย่อมสำคัญมั่นหมายโดยความเป็นดิน ;
    ย่อมสำคัญมั่นหมายว่าดินของเรา ;
    ย่อมเพลินอย่างยิ่งซึ่งดิน.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/2/?keywords=อภินนฺทติ
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะความไม่กำหนดรอบรู้ซึ่งดิน.

    (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๓ อย่าง คือ
    น้ำ ไฟ ลม
    ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี พรหม
    อาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู
    อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก, ลิ้น, ผิวกาย สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว
    เอกภาวะ นานาภาวะ สิ่งทั้งปวง และ นิพพาน, แต่ละอย่าง ๆ
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่าสัตว์ย่อมสำคัญผิดในความเป็นของตนเป็นต้น
    แล้วเพลิดเพลินเฉพาะต่อสิ่งนั้น ๆ เพราะความไม่รอบรู้ต่อสิ่งนั้น ๆ
    จึงกล่าวได้ว่า #ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/1-5/2.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/1/?keywords=%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑-๕/๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/1/?keywords=%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติ่ม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=320
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=320
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่าความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน) สัทธรรมลำดับที่ : 320 ชื่อบทธรรม :- ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=320 เนื้อความทั้งหมด :- --ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน) --ภิกษุ ท. ! ในโลกนี้ บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ไม่เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ไม่เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ. บุถุชนนั้น ย่อมรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดิน ; ครั้นรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดินแล้ว ย่อมสำคัญมั่นหมายซึ่งดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมาย ในดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมายโดยความเป็นดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมายว่าดินของเรา ; ย่อมเพลินอย่างยิ่งซึ่งดิน. http://etipitaka.com/read/pali/12/2/?keywords=อภินนฺทติ ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะความไม่กำหนดรอบรู้ซึ่งดิน. (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๓ อย่าง คือ น้ำ ไฟ ลม ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี พรหม อาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก, ลิ้น, ผิวกาย สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว เอกภาวะ นานาภาวะ สิ่งทั้งปวง และ นิพพาน, แต่ละอย่าง ๆ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่าสัตว์ย่อมสำคัญผิดในความเป็นของตนเป็นต้น แล้วเพลิดเพลินเฉพาะต่อสิ่งนั้น ๆ เพราะความไม่รอบรู้ต่อสิ่งนั้น ๆ จึงกล่าวได้ว่า #ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/1-5/2. http://etipitaka.com/read/thai/12/1/?keywords=%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๑-๕/๒. http://etipitaka.com/read/pali/12/1/?keywords=%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติ่ม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=320 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=320 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (รายละเอียดเกี่ยวกับสมณพราหมณ์ทุกพวกข้างบนนี้ หาดูได้จากหนังสือปฏิจจ.โอ.หน้า ๗๓๓ เป็นต้นไป.)
    -(รายละเอียดเกี่ยวกับสมณพราหมณ์ทุกพวกข้างบนนี้ หาดูได้จากหนังสือปฏิจจ.โอ.หน้า ๗๓๓ เป็นต้นไป.) ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ (อุปาทาน) ภิกษุ ท. ! ในโลกนี้ บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ไม่เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ไม่เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ. บุถุชนนั้น ย่อมรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดิน ; ครั้นรู้สึกซึ่งดิน โดยความเป็นดินแล้ว ย่อมสำคัญมั่นหมายซึ่งดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมาย ในดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมายโดยความเป็นดิน ; ย่อมสำคัญมั่นหมายว่าดินของเรา ; ย่อมเพลินอย่างยิ่งซึ่งดิน. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า? ข้อนั้นเรากล่าวว่า เพราะความไม่กำหนดรอบรู้ซึ่งดิน. (ในกรณีแห่งธรรมอื่นอีก ๒๓ อย่าง คือ น้ำ ไฟ ลม ภูตสัตว์ เทพ ปชาบดี พรหม อาภัสสรพรหม สุภกิณหพรหม เวหัปผลพรหม อภิภู อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปที่เห็นแล้ว เสียงที่ได้ยินแล้ว สิ่งที่รู้สึกแล้วทางจมูก, ลิ้น, ผิวกาย สิ่งที่รู้แจ้งแล้ว เอกภาวะ นานาภาวะ สิ่งทั้งปวง และ นิพพาน, แต่ละอย่าง ๆ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่าสัตว์ย่อมสำคัญผิดในความเป็นของตนเป็นต้น แล้วเพลิดเพลินเฉพาะต่อสิ่งนั้น ๆ เพราะความไม่รอบรู้ต่อสิ่งนั้น ๆ จึงกล่าวได้ว่า ความสำคัญผิดเป็นเหตุให้เกิดนันทิ).
    0 Comments 0 Shares 178 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจ (หรือความจริงในโลกธาตุ)
    สัทธรรมลำดับที่ : 1055
    ชื่อบทธรรม : -อริยสัจ (หรือโลกสัจ-ความจริงในโลกธาตุ)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1055
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อริยสัจ (หรือโลกสัจ-ความจริงในโลกธาตุ)
    ทรงบัญญัติไว้ใน กายที่ยังมี สัญญา(จิต)​และใจ
    --ภิกษุ ท. ! เราได้กล่าวกะ #โรหิตัสสเทวบุตร นั้นว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=โรหิตสฺสํ+เทวปุตฺตํ
    “แน่ะเธอ !
    ที่ สุดโลกแห่งใด
    อันสัตว์ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไม่อุบัติ,
    เราไม่กล่าวการรู้ การเห็น การถึงที่สุดโลกนั้น เพราะการไป.
    แน่ะเธอ !
    เมื่อยังไม่ถึงที่สุดแห่งโลกแล้ว
    เราย่อมไม่กล่าวซึ่งการกระทำที่สุดแห่งทุกข์.
    แน่ะเธอ !
    #ในกายที่ยาววาหนึ่งซึ่งประกอบด้วยสัญญาและใจนี่เอง(สสญฺญมฺหิ+สมนเก)​
    http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=สสญฺญมฺหิ+สมนเก
    เราได้บัญญัติโลก
    เหตุเกิดของโลก
    ความดับไม่เหลือของโลก และ
    ทางให้ถึงความดับไม่เหลือของโลกไว้”
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/50/46.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/50/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๖๔/๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1055
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อริยสัจ (หรือความจริงในโลกธาตุ) สัทธรรมลำดับที่ : 1055 ชื่อบทธรรม : -อริยสัจ (หรือโลกสัจ-ความจริงในโลกธาตุ) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1055 เนื้อความทั้งหมด :- --อริยสัจ (หรือโลกสัจ-ความจริงในโลกธาตุ) ทรงบัญญัติไว้ใน กายที่ยังมี สัญญา(จิต)​และใจ --ภิกษุ ท. ! เราได้กล่าวกะ #โรหิตัสสเทวบุตร นั้นว่า http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=โรหิตสฺสํ+เทวปุตฺตํ “แน่ะเธอ ! ที่ สุดโลกแห่งใด อันสัตว์ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไม่อุบัติ, เราไม่กล่าวการรู้ การเห็น การถึงที่สุดโลกนั้น เพราะการไป. แน่ะเธอ ! เมื่อยังไม่ถึงที่สุดแห่งโลกแล้ว เราย่อมไม่กล่าวซึ่งการกระทำที่สุดแห่งทุกข์. แน่ะเธอ ! #ในกายที่ยาววาหนึ่งซึ่งประกอบด้วยสัญญาและใจนี่เอง(สสญฺญมฺหิ+สมนเก)​ http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=สสญฺญมฺหิ+สมนเก เราได้บัญญัติโลก เหตุเกิดของโลก ความดับไม่เหลือของโลก และ ทางให้ถึงความดับไม่เหลือของโลกไว้” ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/50/46. http://etipitaka.com/read/thai/21/50/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๖๔/๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/64/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1055 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อริยสัจ (หรือโลกสัจ)
    -อริยสัจ (หรือโลกสัจ) ทรงบัญญัติไว้ในกายที่ยังมีสัญญาและใจ ภิกษุ ท. ! เราได้กล่าวกะโรหิตัสสเทวบุตรนั้นว่า “แน่ะเธอ ! ที่ สุดโลกแห่งใด อันสัตว์ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่จุติ ไม่อุบัติ, เราไม่กล่าว การรู้ การเห็น การถึงที่สุดโลกนั้น เพราะการไป. แน่ะเธอ ! เมื่อยังไม่ถึงที่สุดแห่งโลกแล้ว เราย่อมไม่กล่าวซึ่งการกระทำที่สุดแห่งทุกข์. แน่ะเธอ ! ในกายที่ยาววาหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยสัญญาและใจนี่เอง เราได้บัญญัติโลก เหตุเกิดของโลก ความดับไม่เหลือของโลก และทางให้ถึงความดับไม่เหลือของโลกไว้” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 171 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 688
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=688
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์อื่นถามเธออย่างนี้ ว่า
    “มรรคมีไหม ปฎิปทามีไหม เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์ ?” ;
    เมื่อถูกถามอย่างนี้ พวกเธอพึงตอบแก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น ว่า
    มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น.
    --ภิกษุ ท. ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกำหนดรู้ ซึ่งทุกข์นั้น ?
    มรรคมีองค์แปดอันประเสริฐนี้, กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ,
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ,
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ มีอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แล #ปฏิปทาเพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอถูกถามอย่างนั้นแล้ว
    พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/6-7/27-28.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/6/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘-๙/๒๗-๒๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/8/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=688
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=688
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 688 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=688 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค-ในฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์อื่นถามเธออย่างนี้ ว่า “มรรคมีไหม ปฎิปทามีไหม เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์ ?” ; เมื่อถูกถามอย่างนี้ พวกเธอพึงตอบแก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น ว่า มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น. --ภิกษุ ท. ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกำหนดรู้ ซึ่งทุกข์นั้น ? มรรคมีองค์แปดอันประเสริฐนี้, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ, สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ, สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ มีอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แล #ปฏิปทาเพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอถูกถามอย่างนั้นแล้ว พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/6-7/27-28. http://etipitaka.com/read/thai/19/6/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘-๙/๒๗-๒๘. http://etipitaka.com/read/pali/19/8/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=688 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=688 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค
    -อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นหนทางแห่งการกำหนดรู้ทุกข์ ภิกษุ ท. ! ถ้าปริพพาชกเดียรถีย์อื่นถามเธออย่างนี้ ว่า “มรรคมีไหม ปฎิปทามีไหม เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์ ?” ; เมื่อถูกถามอย่างนี้ พวกเธอพึงตอบแก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น ว่า มรรคมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ เพื่อกำหนดรู้ซึ่งทุกข์นั้น. ภิกษุ ท. ! มรรคเป็นอย่างไร ปฏิปทาเป็นอย่างไร เพื่อกำหนดรู้ ซึ่งทุกข์นั้น ? มรรคมีองค์แปดอันประเสริฐนี้, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้แลมรรค นี้แลปฏิปทา เพื่อกำหนดรู้ ซึ่งทุกข์นั้น. ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอถูกถามอย่างนั้นแล้ว พึงพยากรณ์แก่ปริพพาชกเดียรถีย์อื่นเหล่านั้น อย่างนี้.
    0 Comments 0 Shares 181 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า​ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย
    สัทธรรมลำดับที่ : 319
    ชื่อบทธรรม :- ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=319
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย
    --ภิกษุ ท. ! บรรดาสมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก สัสสตวาท
    ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ) ๔ ประการ ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก เอกัจจสัสสติกเอกัจจอสัสสติกวาท
    (ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงบางอย่าง ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อันตานันติกวาท
    (ย่อมบัญญัติซึ่งโลกว่ามีที่สุดหรือไม่มีที่สุด ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อมราวิกเขปิกวาท
    (เมื่อถูกถามปัญหาในที่นั้น ๆ ย่อมถึงความส่ายแห่งวาจาอันดิ้นได้ไม่ตายตัว ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อธิจจสมุปปันนิกวาท
    (ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเกิดเองลอย ๆ ด้วยวัตถุ ๒ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก ปุพพันตกัปปิกวาท
    (มีปุพพันตนานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์อันมีแล้วในกาลก่อน ย่อมกล่าวบัญญัติซึ่งอธิมุตติบท
    (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ตามทิฏฐิแห่งตนๆ)
    มีอย่างเป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๑๘ ประการ) ก็ดี;
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อุทธมาฆตนิกสัญญีวาท
    (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้วว่ามีสัญญา ด้วยวัตถุ ๑๖ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็น พวก อุทธมาฆตนิกอสัญญีวาท
    (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้วว่าไม่มีสัญญา ด้วยวัตถุ ๘ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อุทธมาฆตนิกเนวสัญญีนาสัญญีวาท
    (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้ว ว่ามีสัญญาก็หามิได้ไม่มีสัญญาก็หามิได้
    ด้วยวัตถุ ๘ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อุจเฉทวาท
    (ย่อมบัญญัติซึ่งความขาดสูญ ความพินาศ ความไม่มี แห่งสัตว์ที่มีอยู่ ด้วยวัตถุ ๗ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก ทิฏฐธัมมนิพพานวาท
    (ย่อมบัญญัติซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิพพานวาท แก่สัตว์ที่มีอยู่ ด้วยวัตถุ ๕ ประการ) ก็ดี,
    ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อปรันตกัปปิกวาท
    (มีอปรันตานุทิฏฐิปรารภขันธ์มีส่วนสุดในเบื้องหน้า ย่อมกล่าวบัญญัติซึ่งอธิมุตติบท มีประการต่าง ๆ เป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๔๔ ประการ) ก็ดี ;
    ---แม้สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก
    ปุพพันตกัปปิกวาท ก็ดี,
    อปรันตกัปปิกวาท ก็ดี,
    เป็นพวก ปุพพันตาปรันตกัปปิกวาท ก็ดี,
    ล้วนแต่เป็นผู้มี ปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์ทั้งที่มีแล้วในกาลก่อน
    และขันธ์อันมีในเบื้องหน้าย่อมกล่าวบัญญัติอธิมุตติบท
    มีอย่างเป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๖๒ ประการ ;
    ---สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด รู้สึกต่อเวทนาตามทิฏฐิเฉพาะอย่าง ๆ ของตน ๆ ขึ้นมา (ปฏิสํเวทเทนฺติ*--๑) เพราะการถูกต้องแล้ว ๆ ด้วย
    *--๑. คำว่า “รู้สึก” (ปฏิสํเวเทนฺติ) ในที่นี้ เป็นความรู้สึกต่อธัมมารมณ์ด้วยมโน(ใจ)​,
    ---เมื่อคนมีทิฏฐิอยู่อย่างไร การเสวยเวทนาของเขา
    ย่อมทำให้เกิดความรู้สึกชนิดที่เป็นไปตามอำนาจแห่งทิฏฐิที่เขามีอยู่ ;
    ---ดังนั้นเมื่อมีทิฏฐิต่างกัน แม้อารมณ์ที่มีมากระทบจะเป็นอย่างเดียวกัน
    เขาย่อมเกิดความรู้สึกต่ออารมณ์ต่างกันไปตามทิฏฐิของเขา ;
    ---ดังนั้น เวทนาที่มาจากอารมณ์เดียวกัน จึงมีความหมายต่างกันได้
    เป็นเหตุให้มีทิฏฐิชนิดที่หล่อเลี้ยงทิฏฐิเดิมให้แน่นแฟ้นอยู่เสมอไป
    : นี้เรียกได้ว่า #ผัสสะหรือเวทนาสร้างทิฏฐิ แล้วก็หล่อเลี้ยงทิฏฐินั้นไว้.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/58/?keywords=ผสฺส+ทิฏฺฐิ
    ถ้าปราศจากผัสสะหรือเวทนาเสียอย่างเดียวเท่านั้น ย่อมไม่มีทางที่จะเกิดทิฏฐิได้.
    --ผัสสายตนะ ๖ ประการ,
    เพราะเวทนาแห่งสมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ;
    เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ;
    เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/43/90.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/43/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๕๗/๙๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/57/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=319
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=319
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัด​ศึกษาว่า​ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย สัทธรรมลำดับที่ : 319 ชื่อบทธรรม :- ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=319 เนื้อความทั้งหมด :- --ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย --ภิกษุ ท. ! บรรดาสมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก สัสสตวาท ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ) ๔ ประการ ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก เอกัจจสัสสติกเอกัจจอสัสสติกวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงบางอย่าง ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อันตานันติกวาท (ย่อมบัญญัติซึ่งโลกว่ามีที่สุดหรือไม่มีที่สุด ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อมราวิกเขปิกวาท (เมื่อถูกถามปัญหาในที่นั้น ๆ ย่อมถึงความส่ายแห่งวาจาอันดิ้นได้ไม่ตายตัว ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อธิจจสมุปปันนิกวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเกิดเองลอย ๆ ด้วยวัตถุ ๒ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก ปุพพันตกัปปิกวาท (มีปุพพันตนานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์อันมีแล้วในกาลก่อน ย่อมกล่าวบัญญัติซึ่งอธิมุตติบท (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ตามทิฏฐิแห่งตนๆ) มีอย่างเป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๑๘ ประการ) ก็ดี; ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อุทธมาฆตนิกสัญญีวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้วว่ามีสัญญา ด้วยวัตถุ ๑๖ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็น พวก อุทธมาฆตนิกอสัญญีวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้วว่าไม่มีสัญญา ด้วยวัตถุ ๘ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อุทธมาฆตนิกเนวสัญญีนาสัญญีวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้ว ว่ามีสัญญาก็หามิได้ไม่มีสัญญาก็หามิได้ ด้วยวัตถุ ๘ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อุจเฉทวาท (ย่อมบัญญัติซึ่งความขาดสูญ ความพินาศ ความไม่มี แห่งสัตว์ที่มีอยู่ ด้วยวัตถุ ๗ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก ทิฏฐธัมมนิพพานวาท (ย่อมบัญญัติซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิพพานวาท แก่สัตว์ที่มีอยู่ ด้วยวัตถุ ๕ ประการ) ก็ดี, ---สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก อปรันตกัปปิกวาท (มีอปรันตานุทิฏฐิปรารภขันธ์มีส่วนสุดในเบื้องหน้า ย่อมกล่าวบัญญัติซึ่งอธิมุตติบท มีประการต่าง ๆ เป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๔๔ ประการ) ก็ดี ; ---แม้สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก ปุพพันตกัปปิกวาท ก็ดี, อปรันตกัปปิกวาท ก็ดี, เป็นพวก ปุพพันตาปรันตกัปปิกวาท ก็ดี, ล้วนแต่เป็นผู้มี ปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์ทั้งที่มีแล้วในกาลก่อน และขันธ์อันมีในเบื้องหน้าย่อมกล่าวบัญญัติอธิมุตติบท มีอย่างเป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๖๒ ประการ ; ---สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด รู้สึกต่อเวทนาตามทิฏฐิเฉพาะอย่าง ๆ ของตน ๆ ขึ้นมา (ปฏิสํเวทเทนฺติ*--๑) เพราะการถูกต้องแล้ว ๆ ด้วย *--๑. คำว่า “รู้สึก” (ปฏิสํเวเทนฺติ) ในที่นี้ เป็นความรู้สึกต่อธัมมารมณ์ด้วยมโน(ใจ)​, ---เมื่อคนมีทิฏฐิอยู่อย่างไร การเสวยเวทนาของเขา ย่อมทำให้เกิดความรู้สึกชนิดที่เป็นไปตามอำนาจแห่งทิฏฐิที่เขามีอยู่ ; ---ดังนั้นเมื่อมีทิฏฐิต่างกัน แม้อารมณ์ที่มีมากระทบจะเป็นอย่างเดียวกัน เขาย่อมเกิดความรู้สึกต่ออารมณ์ต่างกันไปตามทิฏฐิของเขา ; ---ดังนั้น เวทนาที่มาจากอารมณ์เดียวกัน จึงมีความหมายต่างกันได้ เป็นเหตุให้มีทิฏฐิชนิดที่หล่อเลี้ยงทิฏฐิเดิมให้แน่นแฟ้นอยู่เสมอไป : นี้เรียกได้ว่า #ผัสสะหรือเวทนาสร้างทิฏฐิ แล้วก็หล่อเลี้ยงทิฏฐินั้นไว้. http://etipitaka.com/read/pali/9/58/?keywords=ผสฺส+ทิฏฺฐิ ถ้าปราศจากผัสสะหรือเวทนาเสียอย่างเดียวเท่านั้น ย่อมไม่มีทางที่จะเกิดทิฏฐิได้. --ผัสสายตนะ ๖ ประการ, เพราะเวทนาแห่งสมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์​ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/43/90. http://etipitaka.com/read/thai/9/43/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๕๗/๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/9/57/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=319 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=319 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย
    -ทิฏฐิให้เกิดเวทนาชนิดที่ล้วนแต่เป็นทุกขสมุทัย ภิกษุ ท. ! บรรดาสมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก สัสสตวาท ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง ด้วยวัตถุ (ที่ตั้งแห่งทิฏฐิ) ๔ ประการ ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวก เอกัจจสัสสติกเอกัจจอสัสสติกวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยงบางอย่างไม่เที่ยงบางอย่าง ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกอันตานันติกวาท (ย่อมบัญญัติซึ่งโลกว่ามีที่สุดหรือไม่มีที่สุด ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกอมราวิกเขปิกวาท (เมื่อถูกถามปัญหาในที่นั้น ๆ ย่อมถึงความส่ายแห่งวาจาอันดิ้นได้ไม่ตายตัว ด้วยวัตถุ ๔ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกอธิจจสมุปปันนิกวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเกิดเองลอย ๆ ด้วยวัตถุ ๒ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกปุพพันตกัปปิกวาท (มีปุพพันตนานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์อันมีแล้วในกาลก่อน ย่อมกล่าวบัญญัติซึ่งอธิมุตติบท (ทางแห่งความหลุดพ้นอย่างยิ่งของสัตว์ตามทิฏฐิแห่งตนๆ) มีอย่างเป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๑๘ ประการ) ก็ดี; สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกอุทธมาฆตนิกสัญญีวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้วว่ามีสัญญา ด้วยวัตถุ ๑๖ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็น พวกอุทธมาฆตนิกอสัญญีวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้วว่าไม่มีสัญญา ด้วยวัตถุ ๘ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกอุทธมาฆตนิกเนวสัญญีนาสัญญีวาท (ย่อมบัญญัติอัตตาหลังจากตายแล้ว ว่ามีสัญญาก็หามิได้ไม่มีสัญญาก็หามิได้ ด้วยวัตถุ ๘ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกอุจเฉทวาท (ย่อมบัญญัติซึ่งความขาดสูญ ความพินาศ ความไม่มี แห่งสัตว์ที่มีอยู่ ด้วยวัตถุ ๗ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกทิฏฐธัมมนิพพานวาท (ย่อมบัญญัติซึ่งปรมทิฏฐธัมมนิพพานวาท แก่สัตว์ที่มีอยู่ ด้วยวัตถุ ๕ ประการ) ก็ดี, สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกอปรันตกัปปิกวาท (มีอปรันตานุทิฏฐิปรารภขันธ์มีส่วนสุดในเบื้องหน้า ย่อมกล่าวบัญญัติซึ่งอธิมุตติบท มีประการต่าง ๆ เป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๔๔ ประการ) ก็ดี ; แม้สมณพราหมณ์เหล่าใด เป็นพวกปุพพันตกัปปิกวาท ก็ดี อปรันตกัปปิกวาท ก็ดี เป็นพวก ปุพพันตาปรันตกัปปิกวาท ก็ดี ล้วนแต่เป็นผู้มีปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ ปรารภขันธ์ทั้งที่มีแล้วในกาลก่อนและขันธ์อันมีในเบื้องหน้าย่อมกล่าวบัญญัติอธิมุตติบท มีอย่างเป็นอเนก ด้วยวัตถุ ๖๒ ประการ ; สมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นทั้งหมด รู้สึกต่อเวทนาตามทิฏฐิเฉพาะอย่าง ๆ ของตน ๆ ขึ้นมา (ปฏิสํเวทเทนฺติ๑) เพราะการถูกต้องแล้ว ๆ ด้วย ๑. คำว่า “รู้สึก” (ปฏิสํเวเทนฺติ) ในที่นี้ เป็นความรู้สึกต่อธัมมารมณ์ด้วยมโน, เมื่อคนมีทิฏฐิอยู่อย่างไร การเสวยเวทนาของเขา ย่อมทำให้เกิดความรู้สึกชนิดที่เป็นไปตามอำนาจแห่งทิฏฐิที่เขามีอยู่ ; ดังนั้นเมื่อมีทิฏฐิต่างกัน แม้อารมณ์ที่มีมากระทบจะเป็นอย่างเดียวกัน เขาย่อมเกิดความรู้สึกต่ออารมณ์ต่างกันไปตามทิฏฐิของเขา ; ดังนั้น เวทนาที่มาจากอารมณ์เดียวกัน จึงมีความหมายต่างกันได้ เป็นเหตุให้มีทิฏฐิชนิดที่หล่อเลี้ยงทิฏฐิเดิมให้แน่นแฟ้นอยู่เสมอไป : นี้เรียกได้ว่า ผัสสะหรือเวทนาสร้างทิฏฐิ แล้วก็หล่อเลี้ยงทิฏฐินั้นไว้. ถ้าปราศจากผัสสะหรือเวทนาเสียอย่างเดียวเท่านั้น ย่อมไม่มีทางที่จะเกิดทิฏฐิได้. ผัสสายตนะ ๖ ประการ, เพราะเวทนาแห่งสมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ; เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย.
    0 Comments 0 Shares 185 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1054
    ชื่อบทธรรม :- การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1054
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์
    --เกวัฏฏะ ! นี่ปาฏิหาริย์สามอย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
    แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ได้.
    สามอย่างอะไรเล่า ? สามอย่างคือ
    อิทธปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุศาสนีปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=ปาฏิหาริ

    (๑) เกวัฎฎะ ! อิทธิปาฏิหาริย์นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำอิทธิวิธีมีอย่างต่างๆ
    : ผู้เดียวแปลงรูปเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว,
    ทำที่กำบังให้เป็นที่แจ้ง ทำที่แจ้งให้เป็นที่กำบัง,
    ไปได้ไม่ขัดข้อง ผ่านทะลุฝา ทะลุกำแพง ทะลุภูเขา ดุจไปในอากาศว่างๆ,
    ผุดขึ้นและดำรงอยู่ในแผ่นดินได้เหมือนในน้ำ,
    เดินไปได้เหนือน้ำ เหมือนเดินบนแผ่นดิน,
    ไปได้ในอากาศเหมือนนกมีปีก ทั้งที่ยังนั่งสมาธิคู้บัลลังก์.
    ลูบคลำดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อันมีฤทธิ์อานุภาพมาก ได้ด้วยฝ่ามือ.
    และแสดงอำนาจทางกายเป็นไปตลอดถึงพรหมโลกได้.
    --เกวัฏฏะ ! กุลบุตรผู้มีศรัทธาเลื่อมใสได้เห็นการแสดงนั้นแล้ว
    เขาบอกเล่าแก่กุลบุตรอื่นบางคน ที่ไม่ศรัทธาเลื่อมใสว่าน่าอัศจรรย์นัก.
    กุลบุตรผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น ก็จะพึงตอบว่า วิชา ชื่อ คันธารี*--๑ มีอยู่
    ภิกษุนั้นแสดงอิทธิวิธีด้วยวิชานั่นเท่านั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่),
    --เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร
    : ก็คนไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้อย่างนั้น มิใช่หรือ ?
    “พึงตอบได้ , พระองค์ !”
    --เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ดังนี้แล
    จึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออิทธิปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=อิทฺธิปาฏิหาริ
    *--๑. คันธารี ชื่อมนต์ แต่งโดยฤษีมีนามคันธาระ, อีกอย่างหนึ่งว่าในแคว้นคันธาระ.

    (๒) เกวัฏฏะ ! อาเทสนาปาฏิหาริย์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทายจิต ทายความรู้สึกของจิต
    ทายความตรึก ทายความตรอง ของสัตว์เหล่าอื่น ของบุคคลเหล่าอื่นได้ ว่า
    ใจของท่านเช่นนี้ ใจของท่านมีประการนี้ ใจของท่านมีด้วยอาการอย่างนี้.
    . . . . ฯลฯ . . . .
    กุลบุตรผู้ไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมค้านกุลบุตรผู้เชื่อผู้เลื่อมใส ว่า วิชา ชื่อ มณิกา มีอยู่
    ภิกษุนั้น กล่าวทายใจได้เช่นนั้นๆ ก็ด้วยวิชานั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่),
    --เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร
    : ก็คนไม่เชื่อไม่ เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้ อย่างนั้น มิใช่หรือ ?
    “พึงตอบได้ , พระองค์ !”
    --เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอาเทสนาปาฏิหาริย์ดังนี้แล
    จึง อึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออาเทสนาปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/275/?keywords=อาเทสนาปาฏิหาริ

    (๓) เกวัฏฏะ ! อนุศาสนีปาฏิหาริย์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมสั่งสอนว่า
    “ท่านจงตรึกอย่างนี้ๆ อย่าตรึกอย่างนั้นๆ,
    จงทำไว้ในใจอย่างนี้ๆ อย่าทำไว้ในใจอย่างนั้นๆ,
    จงละสิ่งนี้ๆ เสีย. จงเข้าถึง สิ่งนี้ๆ แล้วแลอยู่”
    ดังนี้.
    --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า #อนุศาสนีปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=อนุศาสนีปาฏิหาริ

    --เกวัฏฏะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง
    สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก
    เป็นสารถีฝึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์
    เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์.
    ตถาคตนั้น ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์
    พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว
    สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม.
    ตถาคตนั้นแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น – ท่ามกลาง – ที่สุด,
    ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=ตถาคโต
    : คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต.
    เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธา ย่อมพิจารณาเห็นว่า
    “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาสว่าง;
    การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียวเหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย.
    ถ้ากระไร เราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวช
    เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้.
    โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว.
    ภิกษุนั้น ผู้บวชแล้วอย่างนี้ สำรวมแล้วด้วยความสำรวมในปาติโมกข์
    ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร,
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย
    สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย,
    ประกอบแล้วด้วยกายกรรมวจีกรรมอันเป็นกุศล,
    มีอาชีวะบริสุทธิ์, ถึงพร้อมด้วยศีล, มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย,
    ประกอบด้วยสติสัมปปัญญะ, มีความสันโดษ.
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า?
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ละการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป
    เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศาสตราเสียแล้ว
    มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงอยู่.
    --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=อนุศาสนีปาฏิหาริ

    --(ต่อไปนี้ ทรงแสดงด้วย
    จุลศีล – มัชฌิมศีล – มหาศีล – อินทรียสังวร –
    สติสัมปชัญญะ - การสันโดษด้วยปัจจัยสี่ –
    การชำระจิตจากนิวรณ์ในที่สงัดแล้วได้
    ปฐมฌาน – ทุติยฌาน – ตติยฌาน -- จตุตถฌาน –
    ญาณทัสสนะ – มโนมยิทธิ – อิทธิวิธี – ทิพพโสต –
    เจโตปริยญาณ – ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ – จุตูปปาตญาณ
    และตรัสเรียกความสำเร็จในการสอนแต่ละขั้นว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์
    อย่างหนึ่งๆ จนกระทั่งถึง
    #อาสวักขยญาณ ซึ่งมีข้อความว่า :- )​
    --เกวัฏฏะ ! ภิกษุนั้น
    ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว,
    เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่ออาสวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    “นี้ทุกข์,
    นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์,
    นี้ความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์,
    นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”;
    และรู้ชัดตามที่ เป็นจริงว่า
    “เหล่านี้อาสวะ,
    นี้เหตุเกิดขึ้นแห่งอาสวะ,
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ”.
    เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.
    ครั้นจิต หลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตพ้นแล้ว”.
    เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    --เกวัฏฏะ ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว,
    คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น,
    เขาเห็นหอยต่างๆ บ้าง กรวด และหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น,
    เขาจะสำเหนียก ใจอย่างนี้ว่า
    “ห้วงน้ำนี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลายเหล่านี้
    หยุดอยู่บ้าง ว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น”
    ดังนี้;
    ฉันใดก็ฉันนั้น.
    --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์.
    --เกวัฏฏะ ! เหล่านี้แล ปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วย ปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=ปาฏิหาริยา

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/306 - 309/339 - 242.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๗๓ - ๒๗๖/๓๓๙ - ๒๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1054
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1054
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1054 ชื่อบทธรรม :- การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1054 เนื้อความทั้งหมด :- --การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ --เกวัฏฏะ ! นี่ปาฏิหาริย์สามอย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ได้. สามอย่างอะไรเล่า ? สามอย่างคือ อิทธปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุศาสนีปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=ปาฏิหาริ (๑) เกวัฎฎะ ! อิทธิปาฏิหาริย์นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำอิทธิวิธีมีอย่างต่างๆ : ผู้เดียวแปลงรูปเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว, ทำที่กำบังให้เป็นที่แจ้ง ทำที่แจ้งให้เป็นที่กำบัง, ไปได้ไม่ขัดข้อง ผ่านทะลุฝา ทะลุกำแพง ทะลุภูเขา ดุจไปในอากาศว่างๆ, ผุดขึ้นและดำรงอยู่ในแผ่นดินได้เหมือนในน้ำ, เดินไปได้เหนือน้ำ เหมือนเดินบนแผ่นดิน, ไปได้ในอากาศเหมือนนกมีปีก ทั้งที่ยังนั่งสมาธิคู้บัลลังก์. ลูบคลำดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อันมีฤทธิ์อานุภาพมาก ได้ด้วยฝ่ามือ. และแสดงอำนาจทางกายเป็นไปตลอดถึงพรหมโลกได้. --เกวัฏฏะ ! กุลบุตรผู้มีศรัทธาเลื่อมใสได้เห็นการแสดงนั้นแล้ว เขาบอกเล่าแก่กุลบุตรอื่นบางคน ที่ไม่ศรัทธาเลื่อมใสว่าน่าอัศจรรย์นัก. กุลบุตรผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น ก็จะพึงตอบว่า วิชา ชื่อ คันธารี*--๑ มีอยู่ ภิกษุนั้นแสดงอิทธิวิธีด้วยวิชานั่นเท่านั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), --เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้อย่างนั้น มิใช่หรือ ? “พึงตอบได้ , พระองค์ !” --เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออิทธิปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=อิทฺธิปาฏิหาริ *--๑. คันธารี ชื่อมนต์ แต่งโดยฤษีมีนามคันธาระ, อีกอย่างหนึ่งว่าในแคว้นคันธาระ. (๒) เกวัฏฏะ ! อาเทสนาปาฏิหาริย์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทายจิต ทายความรู้สึกของจิต ทายความตรึก ทายความตรอง ของสัตว์เหล่าอื่น ของบุคคลเหล่าอื่นได้ ว่า ใจของท่านเช่นนี้ ใจของท่านมีประการนี้ ใจของท่านมีด้วยอาการอย่างนี้. . . . . ฯลฯ . . . . กุลบุตรผู้ไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมค้านกุลบุตรผู้เชื่อผู้เลื่อมใส ว่า วิชา ชื่อ มณิกา มีอยู่ ภิกษุนั้น กล่าวทายใจได้เช่นนั้นๆ ก็ด้วยวิชานั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), --เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อไม่ เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้ อย่างนั้น มิใช่หรือ ? “พึงตอบได้ , พระองค์ !” --เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอาเทสนาปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึง อึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออาเทสนาปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/275/?keywords=อาเทสนาปาฏิหาริ (๓) เกวัฏฏะ ! อนุศาสนีปาฏิหาริย์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมสั่งสอนว่า “ท่านจงตรึกอย่างนี้ๆ อย่าตรึกอย่างนั้นๆ, จงทำไว้ในใจอย่างนี้ๆ อย่าทำไว้ในใจอย่างนั้นๆ, จงละสิ่งนี้ๆ เสีย. จงเข้าถึง สิ่งนี้ๆ แล้วแลอยู่” ดังนี้. --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า #อนุศาสนีปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=อนุศาสนีปาฏิหาริ --เกวัฏฏะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์. ตถาคตนั้น ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม. ตถาคตนั้นแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น – ท่ามกลาง – ที่สุด, ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง. http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=ตถาคโต : คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต. เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธา ย่อมพิจารณาเห็นว่า “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาสว่าง; การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียวเหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย. ถ้ากระไร เราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวช เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้. โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว. ภิกษุนั้น ผู้บวชแล้วอย่างนี้ สำรวมแล้วด้วยความสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร, มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย, ประกอบแล้วด้วยกายกรรมวจีกรรมอันเป็นกุศล, มีอาชีวะบริสุทธิ์, ถึงพร้อมด้วยศีล, มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย, ประกอบด้วยสติสัมปปัญญะ, มีความสันโดษ. --เกวัฏฏะ ! ภิกษุถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า? --เกวัฏฏะ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ละการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศาสตราเสียแล้ว มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงอยู่. --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. http://etipitaka.com/read/pali/9/276/?keywords=อนุศาสนีปาฏิหาริ --(ต่อไปนี้ ทรงแสดงด้วย จุลศีล – มัชฌิมศีล – มหาศีล – อินทรียสังวร – สติสัมปชัญญะ - การสันโดษด้วยปัจจัยสี่ – การชำระจิตจากนิวรณ์ในที่สงัดแล้วได้ ปฐมฌาน – ทุติยฌาน – ตติยฌาน -- จตุตถฌาน – ญาณทัสสนะ – มโนมยิทธิ – อิทธิวิธี – ทิพพโสต – เจโตปริยญาณ – ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ – จุตูปปาตญาณ และตรัสเรียกความสำเร็จในการสอนแต่ละขั้นว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์ อย่างหนึ่งๆ จนกระทั่งถึง #อาสวักขยญาณ ซึ่งมีข้อความว่า :- )​ --เกวัฏฏะ ! ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว, เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่ออาสวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์, นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”; และรู้ชัดตามที่ เป็นจริงว่า “เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุเกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ”. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิต หลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้. --เกวัฏฏะ ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว, คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น, เขาเห็นหอยต่างๆ บ้าง กรวด และหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น, เขาจะสำเหนียก ใจอย่างนี้ว่า “ห้วงน้ำนี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลายเหล่านี้ หยุดอยู่บ้าง ว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น” ดังนี้; ฉันใดก็ฉันนั้น. --เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. --เกวัฏฏะ ! เหล่านี้แล ปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วย ปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย.- http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=ปาฏิหาริยา #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/306 - 309/339 - 242. http://etipitaka.com/read/thai/9/306/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๗๓ - ๒๗๖/๓๓๙ - ๒๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/9/273/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1054 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1054 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์
    -การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ เกวัฏฏะ ! นี่ปาฏิหาริย์สามอย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ได้. สามอย่างอะไรเล่า ? สามอย่างคือ อิทธปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุศาสนีปาฏิหาริย์. (๑) เกวัฎฎะ ! อิทธิปาฏิหาริย์นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ กระทำอิทธิวิธีมีอย่างต่างๆ : ผู้เดียวแปลงรูปเป็นหลายคน, หลายคนเป็นคนเดียว, ทำที่กำบังให้เป็นที่แจ้ง ทำที่แจ้งให้เป็นที่กำบัง, ไปได้ไม่ขัดข้อง ผ่านทะลุฝา ทะลุกำแพง ทะลุภูเขา ดุจไปในอากาศว่างๆ, ผุดขึ้นและดำรงอยู่ในแผ่นดินได้เหมือนในน้ำ, เดินไปได้เหนือน้ำ เหมือนเดินบนแผ่นดิน, ไปได้ในอากาศเหมือนนกมีปีก ทั้งที่ยังนั่งสมาธิคู้บัลลังก์. ลูบคลำดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อันมีฤทธิ์อานุภาพมาก ได้ด้วยฝ่ามือ. และแสดงอำนาจทางกายเป็นไปตลอดถึงพรหมโลกได้. เกวัฏฏะ ! กุลบุตรผู้มีศรัทธาเลื่อมใสได้เห็นการแสดงนั้นแล้ว เขาบอกเล่าแก่กุลบุตรอื่นบางคน ที่ไม่ศรัทธาเลื่อมใสว่าน่าอัศจรรย์นัก. กุลบุตรผู้ไม่มีศรัทธาเลื่อมใสนั้น ก็จะพึงตอบว่า วิชา ชื่อ คันธารี๑ มีอยู่ ภิกษุนั้นแสดงอิทธิวิธีด้วยวิชานั่นเท่านั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), เกวัฏฏะ ! ท่านจะเข้าใจว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้อย่างนั้น มิใช่หรือ ? “พึงตอบได้ , พระองค์ !” เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออิทธิปาฏิหาริย์. (๒) เกวัฏฏะ ! อาเทสนาปาฏิหาริย์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมทายจิต ทายความรู้สึกของจิต ทายความตรึก ทายความตรอง ของสัตว์เหล่าอื่น ของบุคคลเหล่าอื่นได้ ว่า ใจของท่านเช่นนี้ ใจของท่านมีประการนี้ ใจของท่านมีด้วยอาการอย่างนี้. . . . . ฯลฯ . . . . กุลบุตรผู้ไม่เชื่อ ไม่เลื่อมใส ย่อมค้านกุลบุตรผู้เชื่อผู้เลื่อมใส ว่า วิชา ชื่อ มณิกา มีอยู่ ภิกษุนั้น กล่าวทายใจได้เช่นนั้นๆ ก็ด้วยวิชานั้น (หาใช่มีปาฏิหาริย์ไม่), เกวัฏฏะ ! ท่าน ๑. คันธารี ชื่อมนต์ แต่งโดยฤษีมีนามคันธาระ, อีกอย่างหนึ่งว่าในแคว้นคันธาระ. จะเข้าใจว่าอย่างไร : ก็คนไม่เชื่อไม่ เลื่อมใส ย่อมกล่าวตอบผู้เชื่อผู้เลื่อมใสได้ อย่างนั้น มิใช่หรือ ? “พึงตอบได้ , พระองค์ !” เกวัฏฏะ ! เราเห็นโทษในการแสดงอาเทสนาปาฏิหาริย์ดังนี้แล จึง อึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออาเทสนาปาฏิหาริย์. (๓) เกวัฏฏะ ! อนุศาสนีปาฏิหาริย์ นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เกวัฏฏะ ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมสั่งสอนว่า “ท่านจงตรึกอย่างนี้ๆ อย่าตรึกอย่างนั้นๆ, จงทำไว้ในใจอย่างนี้ๆ อย่าทำไว้ในใจอย่างนั้นๆ, จงละสิ่งนี้ๆ เสีย. จงเข้าถึง สิ่งนี้ๆ แล้วแลอยู่” ดังนี้. เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. เกวัฏฏะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ตถาคตเกิดขึ้นในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกคนควรฝึกไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้เบิกบานแล้ว จำแนกธรรมออกสอนสัตว์. ตถาคตนั้น ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม. ตถาคตนั้นแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น – ท่ามกลาง – ที่สุด, ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง. คหบดีหรือบุตรคหบดี หรือผู้เกิดในตระกูลใดตระกูลหนึ่งในภายหลังก็ดี ได้ฟังธรรมนั้นแล้ว เกิดศรัทธาในตถาคต. เขาผู้ประกอบด้วยศรัทธา ย่อมพิจารณาเห็นว่า “ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, บรรพชาเป็นโอกาสว่าง; การที่คนอยู่ครองเรือน จะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียวเหมือนสังข์ที่เขาขัดแล้วนั้น ไม่ทำได้โดยง่าย. ถ้า กระไร เราจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวช เป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด”, ดังนี้. โดยสมัยอื่นต่อมา เขาละกองสมบัติน้อยใหญ่ และวงศ์ญาติน้อยใหญ่ ปลงผมและหนวด ออกจากเรือนบวชเป็นผู้ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว. ภิกษุนั้น ผู้บวชแล้วอย่างนี้ สำรวมแล้วด้วยความสำรวมในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร, มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้ว่าเป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย, ประกอบแล้วด้วยกายกรรมวจีกรรมอันเป็นกุศล, มีอาชีวะบริสุทธิ์, ถึงพร้อมด้วยศีล, มีทวารอันคุ้มครองแล้วในอินทรีย์ทั้งหลาย, ประกอบด้วยสติสัมปปัญญะ, มีความสันโดษ. เกวัฏฏะ ! ภิกษุถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอย่างไรเล่า? เกวัฏฏะ ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ละการทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้และศาสตราเสียแล้ว มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงอยู่. เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. (ต่อไปนี้ ทรงแสดงด้วยจุลศีล – มัชฌิมศีล – มหาศีล – อินทรียสังวร – สติสัมปชัญญะ - การสันโดษด้วยปัจจัยสี่ – การชำระจิตจากนิวรณ์ในที่สงัดแล้วได้ปฐมฌาน – ทุติยฌาน – ตติยฌาน - จตุตถฌาน – ญาณทัสสนะ – มโนมยิทธิ – อิทธิวิธี – ทิพพโสต – เจโตปริยญาณ – ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ – จุตูปปาตญาณ และตรัสเรียกความสำเร็จในการสอนแต่ละขั้นว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์ อย่างหนึ่งๆ จนกระทั่งถึงอาสวักขยญาณซึ่งมีข้อความว่า :-) เกวัฏฏะ ! ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่นบริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่น ไหว เช่นนี้แล้ว, เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่ออาสวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “นี้ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์, นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”; และรู้ชัดตามที่ เป็นจริงว่า “เหล่านี้อาสวะ, นี้เหตุเกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ”. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิต หลุดพ้นแล้วก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้. เกวัฏฏะ ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว, คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น, เขาเห็นหอยต่างๆ บ้าง กรวด และหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น, เขาจะสำเหนียก ใจอย่างนี้ว่า “ห้วงน้ำนี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลายเหล่านี้ หยุดอยู่บ้าง ว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น” ดังนี้; ฉันใดก็ฉันนั้น. เกวัฏฏะ ! นี้เราเรียกว่า อนุศาสนีปาฏิหาริย์. เกวัฏฏะ ! เหล่านี้แล ปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง ที่เราได้ทำให้แจ้งด้วย ปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย.
    0 Comments 0 Shares 259 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่
    สัทธรรมลำดับที่ : 687
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=687
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษเที่ยวไปในป่าทึบ เกิดรอยทางซึ่งเคยเป็นหนทางเก่า
    ที่มนุษย์แต่กาลก่อนเคยใช้เดินแล้ว.
    บุรุษนั้นจึงเดินตามทางนั้นไป เมื่อเดินไปตามทางนั้นอยู่
    ได้พบซากนครซึ่งเป็นราชธานีโบราณ
    อันมนุษย์ทั้งหลายแต่กาลก่อนเคยอยู่อาศัยแล้ว เป็นที่อันสมบูรณ์ด้วยสวน
    สมบูรณ์ด้วยป่าไม้ สมบูรณ์ด้วยสระโบกขรณี มีซากกำแพงล้อม มีภูมิภาคน่ารื่นรมย์.
    +--ภิกษุ ท. ! ลำดับนั้น บุรุษนั้นเข้าไปกราบทูลแจ้งข่าวนี้แก่พระราชาหรือแก่มหาอำมาตย์ของพระราชาว่า
    “ขอท้าวพระกรุณาจงทรงทราบเถิด
    : ข้าพระเจ้าเมื่อเที่ยวไปในป่าทึบ ได้เห็นรอยทางซึ่งเคยเป็นหนทางเก่า
    ที่มนุษย์แต่กาลก่อนเคยใช้เดินแล้ว.
    ข้าพเจ้าได้เดินตามทางนั้นไป เมื่อเดินไปตามทางนั้นอยู่
    ได้พบซากนครซึ่งเป็นราชธานีโบราณ อันมนุษย์ ท. แต่กาลก่อนเคยอยู่อาศัยแล้ว
    เป็นที่อันสมบูรณ์ด้วยสวนสมบูรณ์ ด้วยป่าไม้สมบูรณ์ ด้วยสระโบกขรณี
    มีซากกำแพงล้อม มีภูมิภาคน่ารื่นรมย์.
    ขอพระองค์จงปรับปรุงสถานที่นั้นให้เป็นนครเถิด พระเจ้าข้า !“
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ลำดับนั้น พระราชาหรืออำมาตย์ของพระราชานั้น
    จึงปรับปรุงสถานที่นั้นขึ้นเป็นนคร.
    สมัยต่อมา นครนั้นได้กลายเป็นนครที่มั่งคั่งและรุ่งเรือง มีประชาชนมาก
    เกลื่อนกล่นด้วยมนุษย์ ถึงแล้วซึ่งความเจริญไพบูลย์,
    นี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น
    : เราได้เห็นแล้วซึ่งรอยทางเก่าที่เคยเป็นหนทางเก่า
    อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว.
    --ภิกษุ ท. ! ก็รอยทางเก่า ที่เคยเป็นหนทางเก่า
    อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    นั่นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเทียว ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.

    --ภิกษุ ท. ! นี้แล รอยทางเก่าที่เป็นหนทางเก่า
    อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว.
    เรานั้น ได้ดำเนินไปตามแล้วซึ่งหนทางนั้น.
    เมื่อดำเนินไปตามแล้วซึ่งหนทางนั้นอยู่, เราได้รู้ยิ่งเฉพาะแล้วซึ่ง
    ๑. ชรามรณะ,
    ๒. ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งชรามรณะ,
    ๓. ซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ,
    ๔. ซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ;
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ชรามรณํ

    (ข้อความต่อไปนี้ ได้ตรัสถึง
    ชาติ - ภพ - อุปาทาน - ตัณหา - เวทนา - ผัสสะ - สฬายตนะ - นามรูป - วิญญาณ -
    สุดลงเพียง - สังขาร (แต่ละอย่าง) โดยอาการทั้งสี่ (๔)
    ดังที่ได้ตรัสในกรณีแห่งชรามรณะ เหมือนกันทุกตัวอักษร
    เว้นแต่ชื่อของตัวปฏิจจสมุปปันธรรมนั้นๆ เท่านั้น).

    --ภิกษุ ท. ! เรานั้น,
    ครั้นรู้ยิ่งเฉพาะแล้วซึ่งหนทางนั้น,
    ได้บอกแล้วแก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์นี้ ที่เรากล่าวบอกแล้วนั้น
    ได้เป็น พรหมจรรย์ตั้งมั่น และรุ่งเรืองแล้ว
    เป็นพรหมจรรย์แผ่ไพศาล เป็นที่รู้แห่งชนมากเป็นปึกแผ่นแน่นหนา
    จนกระทั่งเทวดาและมนุษย์(เทวมนุสฺเสหิ)​ทั้งหลายสามารถประกาศได้ ด้วยดีแล้ว,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=เทวมนุสฺเสหิ
    ดังนี้.-

    #อัฏฐังคิกมรรคคือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ .16/103/253.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ .๑๖/๑๒๘/๒๕๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=687
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=687
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่ สัทธรรมลำดับที่ : 687 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=687 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่ --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษเที่ยวไปในป่าทึบ เกิดรอยทางซึ่งเคยเป็นหนทางเก่า ที่มนุษย์แต่กาลก่อนเคยใช้เดินแล้ว. บุรุษนั้นจึงเดินตามทางนั้นไป เมื่อเดินไปตามทางนั้นอยู่ ได้พบซากนครซึ่งเป็นราชธานีโบราณ อันมนุษย์ทั้งหลายแต่กาลก่อนเคยอยู่อาศัยแล้ว เป็นที่อันสมบูรณ์ด้วยสวน สมบูรณ์ด้วยป่าไม้ สมบูรณ์ด้วยสระโบกขรณี มีซากกำแพงล้อม มีภูมิภาคน่ารื่นรมย์. +--ภิกษุ ท. ! ลำดับนั้น บุรุษนั้นเข้าไปกราบทูลแจ้งข่าวนี้แก่พระราชาหรือแก่มหาอำมาตย์ของพระราชาว่า “ขอท้าวพระกรุณาจงทรงทราบเถิด : ข้าพระเจ้าเมื่อเที่ยวไปในป่าทึบ ได้เห็นรอยทางซึ่งเคยเป็นหนทางเก่า ที่มนุษย์แต่กาลก่อนเคยใช้เดินแล้ว. ข้าพเจ้าได้เดินตามทางนั้นไป เมื่อเดินไปตามทางนั้นอยู่ ได้พบซากนครซึ่งเป็นราชธานีโบราณ อันมนุษย์ ท. แต่กาลก่อนเคยอยู่อาศัยแล้ว เป็นที่อันสมบูรณ์ด้วยสวนสมบูรณ์ ด้วยป่าไม้สมบูรณ์ ด้วยสระโบกขรณี มีซากกำแพงล้อม มีภูมิภาคน่ารื่นรมย์. ขอพระองค์จงปรับปรุงสถานที่นั้นให้เป็นนครเถิด พระเจ้าข้า !“ ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ลำดับนั้น พระราชาหรืออำมาตย์ของพระราชานั้น จึงปรับปรุงสถานที่นั้นขึ้นเป็นนคร. สมัยต่อมา นครนั้นได้กลายเป็นนครที่มั่งคั่งและรุ่งเรือง มีประชาชนมาก เกลื่อนกล่นด้วยมนุษย์ ถึงแล้วซึ่งความเจริญไพบูลย์, นี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : เราได้เห็นแล้วซึ่งรอยทางเก่าที่เคยเป็นหนทางเก่า อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว. --ภิกษุ ท. ! ก็รอยทางเก่า ที่เคยเป็นหนทางเก่า อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? นั่นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเทียว ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=อริโย+อฏฺฐงฺคิโก+มคฺโค สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้แล รอยทางเก่าที่เป็นหนทางเก่า อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว. เรานั้น ได้ดำเนินไปตามแล้วซึ่งหนทางนั้น. เมื่อดำเนินไปตามแล้วซึ่งหนทางนั้นอยู่, เราได้รู้ยิ่งเฉพาะแล้วซึ่ง ๑. ชรามรณะ, ๒. ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งชรามรณะ, ๓. ซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ, ๔. ซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ; http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ชรามรณํ (ข้อความต่อไปนี้ ได้ตรัสถึง ชาติ - ภพ - อุปาทาน - ตัณหา - เวทนา - ผัสสะ - สฬายตนะ - นามรูป - วิญญาณ - สุดลงเพียง - สังขาร (แต่ละอย่าง) โดยอาการทั้งสี่ (๔) ดังที่ได้ตรัสในกรณีแห่งชรามรณะ เหมือนกันทุกตัวอักษร เว้นแต่ชื่อของตัวปฏิจจสมุปปันธรรมนั้นๆ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! เรานั้น, ครั้นรู้ยิ่งเฉพาะแล้วซึ่งหนทางนั้น, ได้บอกแล้วแก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์นี้ ที่เรากล่าวบอกแล้วนั้น ได้เป็น พรหมจรรย์ตั้งมั่น และรุ่งเรืองแล้ว เป็นพรหมจรรย์แผ่ไพศาล เป็นที่รู้แห่งชนมากเป็นปึกแผ่นแน่นหนา จนกระทั่งเทวดาและมนุษย์(เทวมนุสฺเสหิ)​ทั้งหลายสามารถประกาศได้ ด้วยดีแล้ว, http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=เทวมนุสฺเสหิ ดังนี้.- #อัฏฐังคิกมรรคคือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ .16/103/253. http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ .๑๖/๑๒๘/๒๕๓. http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=687 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=687 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่
    -อัฏฐังคิกมรรค คือหนทางเก่าที่ทรงพบใหม่ ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนบุรุษเที่ยวไปในป่าทึบ เกิดรอยทางซึ่งเคยเป็นหนทางเก่า ที่มนุษย์แต่กาลก่อนเคยใช้เดินแล้ว. บุรุษนั้นจึงเดินตาม ทางนั้นไป เมื่อเดินไปตามทางนั้นอยู่ ได้พบซากนครซึ่งเป็นราชธานีโบราณ อันมนุษย์ทั้งหลายแต่กาลก่อนเคยอยู่อาศัยแล้ว เป็นที่อันสมบูรณ์ด้วยสวน สมบูรณ์ด้วยป่าไม้ สมบูรณ์ด้วยสระโบกขรณี มีซากกำแพงล้อม มีภูมิภาคน่ารื่นรมย์. ภิกษุ ท. ! ลำดับนั้น บุรุษนั้นเข้าไปกราบทูลแจ้งข่าวนี้แก่พระราชาหรือแก่มหาอำมาตย์ของพระราชาว่า “ขอท้าวพระกรุณาจงทรงทราบเถิด : ข้าพระเจ้าเมื่อเที่ยวไปในป่าทึบ ได้เห็นรอยทางซึ่งเคยเป็นหนทางเก่า ที่มนุษย์แต่กาลก่อนเคยใช้เดินแล้ว. ข้าพเจ้าได้เดินตามทางนั้นไป เมื่อเดินไปตามทางนั้นอยู่ ได้พบซากนครซึ่งเป็นราชธานีโบราณ อันมนุษย์ ท. แต่กาลก่อนเคยอยู่อาศัยแล้ว เป็นที่อันสมบูรณ์ด้วยสวนสมบูรณ์ ด้วยป่าไม้สมบูรณ์ ด้วยสระโบกขรณี มีซากกำแพงล้อม มีภูมิภาคน่ารื่นรมย์. ขอพระองค์จงปรับปรุงสถานที่นั้นให้เป็นนครเถิด พระเจ้าข้า !“ ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ลำดับนั้น พระราชาหรืออำมาตย์ของพระราชานั้น จึงปรับปรุงสถานที่นั้นขึ้นเป็นนคร. สมัยต่อมา นครนั้นได้กลายเป็นนครที่มั่งคั่งและรุ่งเรือง มีประชาชนมาก เกลื่อนกล่นด้วยมนุษย์ ถึงแล้วซึ่งความเจริญไพบูลย์, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น : เราได้เห็นแล้วซึ่งรอยทางเก่าที่เคยเป็นหนทางเก่า อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว. ภิกษุ ท. ! ก็รอยทางเก่า ที่เคยเป็นหนทางเก่า อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? นั่นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเทียว ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้แล รอยทางเก่าที่เป็นหนทางเก่า อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนเคยทรงดำเนินแล้ว. เรานั้น ได้ดำเนินไปตามแล้วซึ่งหนทางนั้น. เมื่อดำเนินไปตามแล้วซึ่งหนทางนั้นอยู่, เราได้รู้ยิ่งเฉพาะแล้วซึ่งชรามรณะ, ซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งชรามรณะ, ซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ, ซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ; (ข้อความต่อไปนี้ ได้ตรัสถึง ชาติ - ภพ - อุปาทาน - ตัณหา - เวทนา - ผัสสะ - สฬายตนะ - นามรูป - วิญญาณ - สุดลงเพียง - สังขาร (แต่ละอย่าง) โดยอาการทั้งสี่ ดังที่ได้ตรัสในกรณีแห่งชรามรณะ เหมือนกันทุกตัวอักษร เว้นแต่ชื่อของตัวปฏิจจสมุปปันธรรมนั้นๆ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! เรานั้น, ครั้นรู้ยิ่งเฉพาะแล้วซึ่งหนทางนั้น, ได้บอกแล้วแก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์นี้ ที่เรากล่าวบอกแล้วนั้น ได้เป็น พรหมจรรย์ตั้งมั่น และรุ่งเรืองแล้ว เป็นพรหมจรรย์แผ่ไพศาล เป็นที่รู้แห่งชนมากเป็นปึกแผ่นแน่นหนา จนกระทั่งเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายสามารถประกาศได้ ด้วยดีแล้ว, ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 219 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 318
    ชื่อบทธรรม :- เหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=318
    เนื้อความทั้งหมด :-
    [ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า
    ทุกขสมุทยคามินีสมนุปัสสนานั่นแหละ คือสักกายสมุทยคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการเกิดขึ้นแห่งสักกายะ).
    คำว่า ปฏิปทาในกรณีเช่นนี้ หมายถึงทางดำเนินแห่งจิต
    มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา ได้แก่ความเห็นผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา.
    --ในบาลีแห่งอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๕/๘๒๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/14/515/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%90
    แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น
    แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวดคือ อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับตัวตน และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการเกิดขึ้นแห่งสักกายะ
    อย่างเดียวกับสูตรที่กล่าวใน สัทธรรมลำดับที่ 317 ต่อไป
    ].
    --เหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! อะไรหนอ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย ที่ทำให้เกิดทิฏฐิมีอย่างเป็นอเนก เหล่านี้ขึ้นมาในโลก
    ว่า ‘โลกเที่ยง’ บ้าง
    ว่า ‘โลกไม่เที่ยง’ บ้าง
    ว่า ‘โลกมีที่สุด’ บ้าง
    ว่า ‘โลกไม่มีที่สุด’ บ้าง
    ว่า ‘ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น’ บ้าง
    ว่า ‘ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อันอื่น’ บ้าง
    ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีก’ บ้าง
    ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมไม่มีอีก’ บ้าง
    ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็มีไม่มีอีกก็มี’ บ้าง
    ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีก ก็หามิได้ไม่มีอีกก็หามิได้’ บ้าง ?”
    --วัจฉะ !
    เพราะความไม่รู้ในรูป
    ในเหตุให้เกิดขึ้นแห่งรูป
    ในความดับไม่เหลือแห่งรูป
    ในหนทางเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งรูป
    http://etipitaka.com/read/pali/17/319/?keywords=รูป+ทิฏฺฐิคตานิ+โลเก
    ทิฏฐิมีอย่างเป็นอเนกเหล่านี้
    จึงเกิดขึ้นมาในโลก
    ว่า “โลกเที่ยง” บ้าง ว่า “โลกไม่เที่ยง”บ้าง
    ....ฯลฯ....
    ว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็หามิได้ไม่มีอีกก็หามิได้” บ้าง.

    (ในกรณีแห่ง ความไม่รู้ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร และในวิญญาณ แล้วจึงเกิดทิฏฐิต่าง ๆ เหล่านี้ ก็ได้ตรัสไว้ โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งความไม่รู้ในรูป.
    ---สำหรับคำว่า “เพราะความไม่รู้” ในสูตรดังกล่าวมานี้
    ในสูตรอื่น ๆ ได้ตรัสไว้ด้วยคำว่า
    เพราะไม่เห็น, เพราะไม่ถึงพร้อมเฉพาะ,
    เพราะไม่รู้โดยลำดับ, เพราะไม่แทงตลอด,
    เพราะไม่กำหนดทั่วถึง, เพราะไม่เข้าไปกำหนด,
    เพราะความไม่เพ่งพินิจอย่างสม่ำเสมอ,
    เพราะความไม่พิจารณาโดยเจาะจง,
    เพราะความไม่เข้าไปกำหนดโดยเฉพาะ
    และเพราะไม่ทำให้ประจักษ์, อีกถึง ๑๐ คำ ซึ่งก็มีใจความอย่างเดียวกัน
    ).-
    #เหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ
    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/290-297/554-584.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/290/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๑๙-๓๒๖/๕๕๔-๕๘๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/319/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=318
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21
    ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ สัทธรรมลำดับที่ : 318 ชื่อบทธรรม :- เหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=318 เนื้อความทั้งหมด :- [ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ทุกขสมุทยคามินีสมนุปัสสนานั่นแหละ คือสักกายสมุทยคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการเกิดขึ้นแห่งสักกายะ). คำว่า ปฏิปทาในกรณีเช่นนี้ หมายถึงทางดำเนินแห่งจิต มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา ได้แก่ความเห็นผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา. --ในบาลีแห่งอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๕/๘๒๐) http://etipitaka.com/read/pali/14/515/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%90 แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวดคือ อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับตัวตน และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการเกิดขึ้นแห่งสักกายะ อย่างเดียวกับสูตรที่กล่าวใน สัทธรรมลำดับที่ 317 ต่อไป ]. --เหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! อะไรหนอ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย ที่ทำให้เกิดทิฏฐิมีอย่างเป็นอเนก เหล่านี้ขึ้นมาในโลก ว่า ‘โลกเที่ยง’ บ้าง ว่า ‘โลกไม่เที่ยง’ บ้าง ว่า ‘โลกมีที่สุด’ บ้าง ว่า ‘โลกไม่มีที่สุด’ บ้าง ว่า ‘ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น’ บ้าง ว่า ‘ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อันอื่น’ บ้าง ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีก’ บ้าง ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมไม่มีอีก’ บ้าง ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็มีไม่มีอีกก็มี’ บ้าง ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีก ก็หามิได้ไม่มีอีกก็หามิได้’ บ้าง ?” --วัจฉะ ! เพราะความไม่รู้ในรูป ในเหตุให้เกิดขึ้นแห่งรูป ในความดับไม่เหลือแห่งรูป ในหนทางเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งรูป http://etipitaka.com/read/pali/17/319/?keywords=รูป+ทิฏฺฐิคตานิ+โลเก ทิฏฐิมีอย่างเป็นอเนกเหล่านี้ จึงเกิดขึ้นมาในโลก ว่า “โลกเที่ยง” บ้าง ว่า “โลกไม่เที่ยง”บ้าง ....ฯลฯ.... ว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็หามิได้ไม่มีอีกก็หามิได้” บ้าง. (ในกรณีแห่ง ความไม่รู้ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร และในวิญญาณ แล้วจึงเกิดทิฏฐิต่าง ๆ เหล่านี้ ก็ได้ตรัสไว้ โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งความไม่รู้ในรูป. ---สำหรับคำว่า “เพราะความไม่รู้” ในสูตรดังกล่าวมานี้ ในสูตรอื่น ๆ ได้ตรัสไว้ด้วยคำว่า เพราะไม่เห็น, เพราะไม่ถึงพร้อมเฉพาะ, เพราะไม่รู้โดยลำดับ, เพราะไม่แทงตลอด, เพราะไม่กำหนดทั่วถึง, เพราะไม่เข้าไปกำหนด, เพราะความไม่เพ่งพินิจอย่างสม่ำเสมอ, เพราะความไม่พิจารณาโดยเจาะจง, เพราะความไม่เข้าไปกำหนดโดยเฉพาะ และเพราะไม่ทำให้ประจักษ์, อีกถึง ๑๐ คำ ซึ่งก็มีใจความอย่างเดียวกัน ).- #เหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/290-297/554-584. http://etipitaka.com/read/thai/17/290/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๑๙-๓๒๖/๕๕๔-๕๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/319/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21&id=318 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=21 ลำดับสาธยายธรรม : 21 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_21.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ทุกขสมุทยคามินีสมนุปัสสนานั่นแหละ คือสักกายสมุทยคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการเกิดขึ้นแห่งสักกายะ). คำว่า ปฏิปทาในกรณีเช่นนี้ หมายถึงทางดำเนินแห่งจิต มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา ได้แก่ความเห็นผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา.
    -[ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ทุกขสมุทยคามินีสมนุปัสสนานั่นแหละ คือสักกายสมุทยคามินีปฏิปทา (ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการเกิดขึ้นแห่งสักกายะ). คำว่า ปฏิปทาในกรณีเช่นนี้ หมายถึงทางดำเนินแห่งจิต มิใช่การปฏิบัติด้วยเจตนา ได้แก่ความเห็นผิดเหล่านั้นนั่นเองเป็นตัวปฏิปทา. ในบาลีแห่งอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๕/๘๒๐) แทนที่จะยกเอาเบญจขันธ์มาเป็นวัตถุแห่งการเห็น แต่ได้ตรัสยกเอาอายตนิกธรรม ๖ หมวดคือ อายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก ตัณหาหก มาเป็นวัตถุแห่งการตามเห็นเกี่ยวกับตัวตน และทรงเรียกการตามเห็นนั้นว่า ทางดำเนินแห่งจิตให้ถึงซึ่งการเกิดขึ้นแห่งสักกายะ อย่างเดียวกับสูตรข้างบน]. เหตุให้เกิดอันตคาหิกทิฏฐิสิบ “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! อะไรหนอ เป็นเหตุ เป็นปัจจัย ที่ทำให้เกิดทิฏฐิมีอย่างเป็นอเนก เหล่านี้ ขึ้นมาในโลก ว่า ‘โลกเที่ยง’ บ้าง ว่า ‘โลกไม่เที่ยง’ บ้าง ว่า ‘โลกมีที่สุด’ บ้าง ว่า ‘โลกไม่มีที่สุด’ บ้าง ว่า ‘ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น’ บ้าง ว่า ‘ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อันอื่น’ บ้าง ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีก’ บ้าง ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมไม่มีอีก’ บ้าง ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็มีไม่มีอีกก็มี’ บ้าง ว่า ‘ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้วย่อมมีอีก ก็หามิได้ไม่มีอีกก็หามิได้’ บ้าง ?” วัจฉะ ! เพราะความไม่รู้ในรูป ในเหตุให้เกิดขึ้นแห่งรูป ในความดับไม่เหลือแห่งรูป ในหนทางเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งรูป ทิฏฐิมีอย่างเป็นอเนกเหล่านี้ จึงเกิดขึ้นมาในโลก ว่า “โลกเที่ยง” บ้าง ว่า “โลกไม่เที่ยง”บ้าง ....ฯลฯ.... ว่า “ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีกก็หามิได้ไม่มีอีกก็หามิได้” บ้าง. (ในกรณีแห่ง ความไม่รู้ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร และในวิญญาณ แล้วจึงเกิดทิฏฐิต่าง ๆ เหล่านี้ ก็ได้ตรัสไว้ โดยทำนองเดียวกันกับในกรณีแห่งความไม่รู้ในรูป. สำหรับคำว่า “เพราะความไม่รู้” ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น ๆ ได้ตรัสไว้ด้วยคำว่า เพราะไม่เห็น, เพราะไม่ถึงพร้อมเฉพาะ, เพราะไม่รู้โดยลำดับ, เพราะไม่แทงตลอด, เพราะไม่กำหนดทั่วถึง, เพราะไม่เข้าไปกำหนด, เพราะความไม่เพ่งพินิจอย่างสม่ำเสมอ, เพราะความไม่พิจารณาโดยเจาะจง, เพราะความไม่เข้าไปกำหนดโดยเฉพาะ และเพราะไม่ทำให้ประจักษ์, อีกถึง ๑๐ คำ ซึ่งก็มีใจความอย่างเดียวกัน).
    0 Comments 0 Shares 173 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1053
    ชื่อบทธรรม :- เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1053
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ(ไม่เกี่ยวกับตัณหาเหมือนจตุพิธพรของชาวบ้าน)
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อพวกเธอเที่ยวไปในโคจรอันเป็นวิสัยแห่งบิดาตน
    ก็ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน.
    และเนื้อความแห่งหัวข้อนี้ มีความเนื่องกันมาจากหัวข้อที่แล้ว.
    จักเจริญแม้ด้วยอายุ แม้ด้วยวรรณะ แม้ด้วยสุขะ แม้ด้วยโภคะ แม้ด้วยพละ.

    ๑-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า อายุ สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุ
    ย่อม เจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัย วิริยะ เป็นปธานกิจ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัย จิตตะ เป็นปธานกิจ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง
    มีสมาธิอาศัย วิมังสา เป็นปธานกิจ.
    (กิจในที่นี้คือ
    กิจเกี่ยวกับ(ปธาน​ ๔​ ประการ)​
    การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการรักษา
    ).
    +--ภิกษุนั้น, เพราะเจริญกระทำให้มาก ซึ่งอิทธิบาท ๔ ประการเหล่านี้,
    เมื่อหวังอยู่ ก็จะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดเวลากัปป์หนึ่ง หรือเกินกว่ากัปป์.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #อายุสำหรับภิกษุ.

    ๒-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า วรรณะ สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุเป็นผู้ มีศีล
    สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร
    ถึงพร้อมแล้วด้วยมรรยาทและโคจร
    มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้เป็นโทษเล็กน้อย
    สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #วรรณะสำหรับภิกษุ.

    ๓-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า สุข สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ
    ภิกษุ เข้าถึง
    ปฐมฌาน ....
    ทุติยฌาน ....
    ตติยฌาน ....
    จตุตถฌาน . . . .
    แล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #สุขสำหรับภิกษุ.

    ๔-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า โภคะ สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ
    ภิกษุ มีจิตอันประกอบด้วยเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา,
    แผ่ไปยังทิศที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ทิศเบื้องบน เบื้องต่ำ และด้านขวาง
    แผ่ไปยังโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง
    ด้วยจิตที่ประกอบด้วยเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา,
    ชนิดที่ไพบูลย์ ถึงความเป็นจิตใหญ่ หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #โภคะสำหรับภิกษุ.

    ๕-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า พละ สำหรับภิกษุ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ คือ ภิกษุ
    กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรม เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #พละสำหรับภิกษุ.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/85/50.
    http://etipitaka.com/read/thai/11/58/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๘๕/๕๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/11/85/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1053
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1053
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ สัทธรรมลำดับที่ : 1053 ชื่อบทธรรม :- เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1053 เนื้อความทั้งหมด :- --เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ(ไม่เกี่ยวกับตัณหาเหมือนจตุพิธพรของชาวบ้าน) --ภิกษุ ท. ! เมื่อพวกเธอเที่ยวไปในโคจรอันเป็นวิสัยแห่งบิดาตน ก็ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน. และเนื้อความแห่งหัวข้อนี้ มีความเนื่องกันมาจากหัวข้อที่แล้ว. จักเจริญแม้ด้วยอายุ แม้ด้วยวรรณะ แม้ด้วยสุขะ แม้ด้วยโภคะ แม้ด้วยพละ. ๑-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า อายุ สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุ ย่อม เจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัย วิริยะ เป็นปธานกิจ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัย จิตตะ เป็นปธานกิจ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรม เครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัย วิมังสา เป็นปธานกิจ. (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับ(ปธาน​ ๔​ ประการ)​ การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการรักษา ). +--ภิกษุนั้น, เพราะเจริญกระทำให้มาก ซึ่งอิทธิบาท ๔ ประการเหล่านี้, เมื่อหวังอยู่ ก็จะพึงดำรงอยู่ได้ตลอดเวลากัปป์หนึ่ง หรือเกินกว่ากัปป์. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #อายุสำหรับภิกษุ. ๒-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า วรรณะ สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุเป็นผู้ มีศีล สำรวมด้วยปาติโมกขสังวร ถึงพร้อมแล้วด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติเห็นเป็นภัยในโทษทั้งหลาย แม้เป็นโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #วรรณะสำหรับภิกษุ. ๓-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า สุข สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุ เข้าถึง ปฐมฌาน .... ทุติยฌาน .... ตติยฌาน .... จตุตถฌาน . . . . แล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #สุขสำหรับภิกษุ. ๔-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า โภคะ สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุ มีจิตอันประกอบด้วยเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา, แผ่ไปยังทิศที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม ที่สี่ ทิศเบื้องบน เบื้องต่ำ และด้านขวาง แผ่ไปยังโลกทั้งสิ้น ในที่ทั้งปวง ด้วยจิตที่ประกอบด้วยเมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา, ชนิดที่ไพบูลย์ ถึงความเป็นจิตใหญ่ หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท อยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #โภคะสำหรับภิกษุ. ๕-ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า เป็นความหมายในคำว่า พละ สำหรับภิกษุ ? +--ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ คือ ภิกษุ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรม เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เป็นความหมายในคำว่า #พละสำหรับภิกษุ.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/85/50. http://etipitaka.com/read/thai/11/58/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๘๕/๕๐. http://etipitaka.com/read/pali/11/85/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1053 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1053 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    0 Comments 0 Shares 227 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นยอดแห่งสังขตธรรมทั้งปวง
    สัทธรรมลำดับที่ : 686
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นยอดแห่งสังขตธรรมทั้งปวง
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=686
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค เป็นยอดแห่งสังขตธรรมทั้งปวง
    --ภิกษุ ท. ! สังขตธรรมทั้งหลาย มีประมาณเท่าใด,
    อริยอัฏฐังคิกมรรค เรากล่าวว่า เป็นธรรมเลิศกว่าธรรมทั้งหลายเหล่านั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ชนเหล่าใด เลื่อมใสแล้ว ในอริยอัฏฐังคิกมรรค,
    ชนเหล่านั้น ชื่อว่า เลื่อมใสแล้วในธรรมอันเลิศ.
    วิบากที่เลิศ ย่อมมีแก่บุคคลผู้เลื่อมใสในธรรมอันเลิศ แล.-
    --ภิกษุ ท. ! หมู่ก็ดี คณะก็ดี มีประมาณเท่าใด
    +--พระสงฆ์สาวกของตถาคต คือ คู่บุรุษ ๔ บุรุษบุคคล ๘ นี้ คือ
    พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค
    http://etipitaka.com/read/pali/21/45/?keywords=ตถาคตสาวกสงฺโฆ
    เป็นผู้ควรของคำนับ เป็นผู้ควรของต้อนรับ
    เป็นผู้ควรของทำบุญ เป็นผู้ควรทำอัญชลี
    เป็นนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
    เรากล่าวว่าเลิศกว่าหมู่หรือคณะเหล่านั้น
    ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระสงฆ์ ชนเหล่านั้นชื่อว่าเลื่อมใสในสิ่งเลิศ
    และวิบากอันเลิศย่อมมีแก่ชนผู้เลื่อมใสในสิ่งเลิศ
    --ภิกษุ ท. !
    ย่อมเจริญแก่บุคคล ผู้รู้แจ้งซึ่งธรรมอันเลิศเลื่อมใส โดยความเป็นของเลิศ
    เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ ผู้เป็นทักขิไณยบุคคลชั้นเยี่ยม
    เลื่อมใสในพระธรรมอันซึ่งเป็นธรรมปราศจากราคะ สงบและเป็นสุข
    เลื่อมใสในพระสงฆ์ผู้เลิศ ซึ่งเป็นบุญเขตชั้นเยี่ยม
    ถวายทานใน ท่านผู้เลิศนั้น ผู้มีปัญญาตั้งมั่นแล้วในธรรมอันเลิศ
    ให้ทานแก่ท่านผู้เป็นบุญเขตอันเลิศ
    ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ ๔ ประการนี้แล
    บุญที่เลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติคุณ สุข และพละอันเลิศ ฯ
    จะเกิดเป็นเทวดาหรือมนุษย์ก็ตาม
    ย่อมถึงความเป็นผู้เลิศ บันเทิงอยู่ ฯ
    http://etipitaka.com/read/pali/21/45/?keywords=อคฺคโต+ปุญฺญกฺเขตฺเต+ปโมทตีติ

    อคฺคโต เว ปสนฺนานํ อคฺคํ ธมฺมํ วิชานตํ
    อคฺเค พุทฺเธ ปสนฺนานํ ทกฺขิเณยฺเย อนุตฺตเร
    อคฺเค ธมฺเม ปสนฺนานํ วิราคูปสเม สุเข
    อคฺเค สงฺเฆ ปสนฺนานํ ปุญฺญกฺเขตฺเต อนุตฺตเร
    อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ
    อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ ฯ
    อคฺคสฺส ทาตา เมธาวี อคฺคธมฺมสมาหิโต
    เทวภูโต มนุสฺโส วา อคฺคปฺปตฺโต ปโมทตีติ ฯ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/129/34.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/129/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๔๔/๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/44/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=686
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=686
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นยอดแห่งสังขตธรรมทั้งปวง สัทธรรมลำดับที่ : 686 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นยอดแห่งสังขตธรรมทั้งปวง https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=686 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค เป็นยอดแห่งสังขตธรรมทั้งปวง --ภิกษุ ท. ! สังขตธรรมทั้งหลาย มีประมาณเท่าใด, อริยอัฏฐังคิกมรรค เรากล่าวว่า เป็นธรรมเลิศกว่าธรรมทั้งหลายเหล่านั้น. --ภิกษุ ท. ! ชนเหล่าใด เลื่อมใสแล้ว ในอริยอัฏฐังคิกมรรค, ชนเหล่านั้น ชื่อว่า เลื่อมใสแล้วในธรรมอันเลิศ. วิบากที่เลิศ ย่อมมีแก่บุคคลผู้เลื่อมใสในธรรมอันเลิศ แล.- --ภิกษุ ท. ! หมู่ก็ดี คณะก็ดี มีประมาณเท่าใด +--พระสงฆ์สาวกของตถาคต คือ คู่บุรุษ ๔ บุรุษบุคคล ๘ นี้ คือ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค http://etipitaka.com/read/pali/21/45/?keywords=ตถาคตสาวกสงฺโฆ เป็นผู้ควรของคำนับ เป็นผู้ควรของต้อนรับ เป็นผู้ควรของทำบุญ เป็นผู้ควรทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า เรากล่าวว่าเลิศกว่าหมู่หรือคณะเหล่านั้น ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระสงฆ์ ชนเหล่านั้นชื่อว่าเลื่อมใสในสิ่งเลิศ และวิบากอันเลิศย่อมมีแก่ชนผู้เลื่อมใสในสิ่งเลิศ --ภิกษุ ท. ! ย่อมเจริญแก่บุคคล ผู้รู้แจ้งซึ่งธรรมอันเลิศเลื่อมใส โดยความเป็นของเลิศ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ ผู้เป็นทักขิไณยบุคคลชั้นเยี่ยม เลื่อมใสในพระธรรมอันซึ่งเป็นธรรมปราศจากราคะ สงบและเป็นสุข เลื่อมใสในพระสงฆ์ผู้เลิศ ซึ่งเป็นบุญเขตชั้นเยี่ยม ถวายทานใน ท่านผู้เลิศนั้น ผู้มีปัญญาตั้งมั่นแล้วในธรรมอันเลิศ ให้ทานแก่ท่านผู้เป็นบุญเขตอันเลิศ ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ ๔ ประการนี้แล บุญที่เลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติคุณ สุข และพละอันเลิศ ฯ จะเกิดเป็นเทวดาหรือมนุษย์ก็ตาม ย่อมถึงความเป็นผู้เลิศ บันเทิงอยู่ ฯ http://etipitaka.com/read/pali/21/45/?keywords=อคฺคโต+ปุญฺญกฺเขตฺเต+ปโมทตีติ อคฺคโต เว ปสนฺนานํ อคฺคํ ธมฺมํ วิชานตํ อคฺเค พุทฺเธ ปสนฺนานํ ทกฺขิเณยฺเย อนุตฺตเร อคฺเค ธมฺเม ปสนฺนานํ วิราคูปสเม สุเข อคฺเค สงฺเฆ ปสนฺนานํ ปุญฺญกฺเขตฺเต อนุตฺตเร อคฺคสฺมึ ทานํ ททตํ อคฺคํ ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตฺติ สุขํ พลํ ฯ อคฺคสฺส ทาตา เมธาวี อคฺคธมฺมสมาหิโต เทวภูโต มนุสฺโส วา อคฺคปฺปตฺโต ปโมทตีติ ฯ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/129/34. http://etipitaka.com/read/pali/21/129/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๔๔/๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/21/44/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=686 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=686 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    0 Comments 0 Shares 174 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลักษณะแห่งปัญญินทรีย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1052
    ชื่อบทธรรม :-ได้ทรงแสดง ลักษณะแห่งปัญญินทรีย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1052
    เนื้อความทั้งหมด :-
    [ในสูตรอื่น ได้ทรงแสดง ลักษณะแห่งปัญญินทรีย์ ไว้ว่า :-]

    --สารีบุตร ! อริยสาวกจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า

    “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งมีเบื้องต้นและที่สุดอันบุคคล
    ไปตามอยู่รู้ไม่ได้ เบื้องต้นที่สุดย่อมไม่ปรากฏ แก่สัตว์ทั้งปลายผู้มี
    อวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก
    กำลังเล่นไป ท่องเที่ยวไป.
    ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้น มีอยู่;
    นั่น เป็นบทที่สงบ นั่น เป็นบทที่ประณีต, กล่าวคือ
    เป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง
    เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”

    --สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้น ของอริยสาวกนั้น #ย่อมเป็นปัญญินทรีย์*--๑ของเธอนั้น.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=นปฺปญฺญายติ

    *--๑. ในสูตรอื่น (๒๒/๑๒/๑๕)
    http://etipitaka.com/read/pali/22/12/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95
    แทนที่จะเรียกว่าปัญญินทรีย์ ตรัสเรียกว่า #ปัญญาพละ ก็มี ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/12/?keywords=ปญฺญาพลํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/247/1020.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/247/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙/๑๐๒๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1052
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1052
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92
    ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลักษณะแห่งปัญญินทรีย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1052 ชื่อบทธรรม :-ได้ทรงแสดง ลักษณะแห่งปัญญินทรีย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1052 เนื้อความทั้งหมด :- [ในสูตรอื่น ได้ทรงแสดง ลักษณะแห่งปัญญินทรีย์ ไว้ว่า :-] --สารีบุตร ! อริยสาวกจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งมีเบื้องต้นและที่สุดอันบุคคล ไปตามอยู่รู้ไม่ได้ เบื้องต้นที่สุดย่อมไม่ปรากฏ แก่สัตว์ทั้งปลายผู้มี อวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังเล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้น มีอยู่; นั่น เป็นบทที่สงบ นั่น เป็นบทที่ประณีต, กล่าวคือ เป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” --สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้น ของอริยสาวกนั้น #ย่อมเป็นปัญญินทรีย์*--๑ของเธอนั้น.- http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=นปฺปญฺญายติ *--๑. ในสูตรอื่น (๒๒/๑๒/๑๕) http://etipitaka.com/read/pali/22/12/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95 แทนที่จะเรียกว่าปัญญินทรีย์ ตรัสเรียกว่า #ปัญญาพละ ก็มี ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน. http://etipitaka.com/read/pali/22/12/?keywords=ปญฺญาพลํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/247/1020. http://etipitaka.com/read/thai/19/247/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙/๑๐๒๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%92%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1052 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92&id=1052 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=92 ลำดับสาธยายธรรม : 92 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_92.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ในสูตรอื่น ได้ทรงแสดง ลักษณะแห่งปัญญินทรีย์ ไว้ว่า :-]
    -[ในสูตรอื่น ได้ทรงแสดง ลักษณะแห่งปัญญินทรีย์ ไว้ว่า :-] สารีบุตร ! . . . . อริยสาวกจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งมีเบื้องต้นและที่สุดอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้ เบื้องต้นที่สุดย่อมไม่ปรากฏ แก่สัตว์ทั้งปลายผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังเล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้น มีอยู่; นั่น เป็นบทที่สงบ นั่น เป็นบทที่ประณีต, กล่าวคือ เป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน” สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้น ของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็นปัญญินทรีย์ของเธอนั้น.
    0 Comments 0 Shares 196 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ
    สัทธรรมลำดับที่ : 685
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=685
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่ เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ
    --ภิกษุ ท. !
    หม้อ ที่ไม่มีเสวียนรองรับ ย่อมหมุนกลิ้งไปได้ง่าย,
    หม้อ ที่มีเสวียนรองรับ ย่อมหมุนกลิ้งไปได้ยาก,
    ข้อนี้ฉันใด ;
    +--ภิกษุ ท. ! จิตที่ไม่มีเชิงรองรับ ย่อมหมุนไปได้ง่าย,
    จิตที่มีเชิงรองรับ ย่อมหมุนไปได้ยาก, ฉันนั้นเหมือนกัน.
    --ภิกษุ ท. ! อะไร เป็นเชิงรองรับของจิต ? อริยอัฏฐังคิกมรรค นี้เอง กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    นี้คือ #เชิงรองรับของจิต.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/25/?keywords=จิตฺตสฺส+อาธา

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/19/78-79.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/19/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๕/๗๘-๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/25/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=685
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=685
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49
    ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ สัทธรรมลำดับที่ : 685 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=685 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่ เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ --ภิกษุ ท. ! หม้อ ที่ไม่มีเสวียนรองรับ ย่อมหมุนกลิ้งไปได้ง่าย, หม้อ ที่มีเสวียนรองรับ ย่อมหมุนกลิ้งไปได้ยาก, ข้อนี้ฉันใด ; +--ภิกษุ ท. ! จิตที่ไม่มีเชิงรองรับ ย่อมหมุนไปได้ง่าย, จิตที่มีเชิงรองรับ ย่อมหมุนไปได้ยาก, ฉันนั้นเหมือนกัน. --ภิกษุ ท. ! อะไร เป็นเชิงรองรับของจิต ? อริยอัฏฐังคิกมรรค นี้เอง กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ นี้คือ #เชิงรองรับของจิต.- http://etipitaka.com/read/pali/19/25/?keywords=จิตฺตสฺส+อาธา #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/19/78-79. http://etipitaka.com/read/thai/19/19/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๕/๗๘-๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/25/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=685 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49&id=685 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=49 ลำดับสาธยายธรรม : 49 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_49.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่ เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ
    -อัฏฐังคิกมรรคทำหน้าที่ เสมือนหนึ่งเสวียนรองก้นหม้อ ภิกษุ ท. ! หม้อ ที่ไม่มีเสวียนรองรับ ย่อมหมุนกลิ้งไปได้ง่าย, หม้อที่มีเสวียนรองรับ ย่อมหมุนกลิ้งไปได้ยาก, ข้อนี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! จิตที่ไม่มีเชิงรองรับ ย่อมหมุนไปได้ง่าย, จิตที่มีเชิงรองรับ ย่อมหมุนไปได้ยาก, ฉันนั้นเหมือนกัน. ภิกษุ ท. ! อะไร เป็นเชิงรองรับของจิต ? อริยอัฏฐังคิกมรรค นี้เอง กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ นี้คือ เชิงรองรับของจิต.
    0 Comments 0 Shares 179 Views 0 Reviews
More Results