• เพจดังข้องใจแต่งตั้ง ‘ชัยชนะ‘ นั่ง รมช.สธ. ทั้งที่เพิ่งมีคดีทำร้ายร่างกายกลางงานบวช คนแบบนี้ผ่านจริยธรรมรัฐมนตรีได้อย่างไร
    https://www.thai-tai.tv/news/20008/
    .
    #ชัยชนะเดชเดโช #รมชสาธารณสุข #CSI_LA #รัฐบาลแพทองธาร #จริยธรรมรัฐมนตรี #การเมืองไทย #ข่าววันนี้ #ตั้งคำถามให้สังคมรู้ทัน
    เพจดังข้องใจแต่งตั้ง ‘ชัยชนะ‘ นั่ง รมช.สธ. ทั้งที่เพิ่งมีคดีทำร้ายร่างกายกลางงานบวช คนแบบนี้ผ่านจริยธรรมรัฐมนตรีได้อย่างไร https://www.thai-tai.tv/news/20008/ . #ชัยชนะเดชเดโช #รมชสาธารณสุข #CSI_LA #รัฐบาลแพทองธาร #จริยธรรมรัฐมนตรี #การเมืองไทย #ข่าววันนี้ #ตั้งคำถามให้สังคมรู้ทัน
    0 Comments 0 Shares 29 Views 0 Reviews
  • ♣ ขนาดงานบวชยังนำพวกรุมกระทืบนักธุรกิจได้ นับประสาอะไรกับงานแถลงข่าว สื่อมวลชนประจำทำเนียบรัฐบาล และสื่อสายสาธารณสุข โปรดระมัดระวังคำถาม ไอ้เถื่อนภูธรเมืองคอน อาจให้ลูกน้องตามลอบทำร้าย
    #7ดอกจิก
    ♣ ขนาดงานบวชยังนำพวกรุมกระทืบนักธุรกิจได้ นับประสาอะไรกับงานแถลงข่าว สื่อมวลชนประจำทำเนียบรัฐบาล และสื่อสายสาธารณสุข โปรดระมัดระวังคำถาม ไอ้เถื่อนภูธรเมืองคอน อาจให้ลูกน้องตามลอบทำร้าย #7ดอกจิก
    0 Comments 0 Shares 40 Views 0 Reviews
  • เราไม่ได้บวชเป็นพระก็แสวงหาธรรมของพระพุทธเจ้าได้ พระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบมีมากมายในโลกนี้ เดินทางไปฟังเทศน์กับท่านปฏิบัติกับท่านบ้าง
    เราไม่ได้บวชเป็นพระก็แสวงหาธรรมของพระพุทธเจ้าได้ พระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบมีมากมายในโลกนี้ เดินทางไปฟังเทศน์กับท่านปฏิบัติกับท่านบ้าง
    0 Comments 0 Shares 57 Views 0 Reviews
  • วันนี้ A CUP กลุ่มหาย ดีแล้ว เลิกตาม ตามไปมีแต่กิเลสล้วนๆ พอๆกับ Zerochan กับ Pixiv ก่อนหน้าก็ Sankaku ก็โดน DE สั่งปิดการเข้าถึงเว็บ ตอนนี้ขอโฟกัสกับการพัฒนาทักษะส่วนตัวดีกว่า เพราะกลุ่มที่รู้สึกว่ามีแต่สะสมกิเลสมา 5-6 ปี
    ตอนผมบวชไม่เข้า A CUP เลย เพราะเป็นตัวสร้างอกุศลกรรมชั้นดีเลยสำหรับพระ และตอนบวชผมไม่เคยดูหนังโป๊ และไม่คิดจะทำอสุจิเคลื่อน(ช่วยตัวเอง) ถ้าทำจริงผมคงต้องเลื่อนวันสึกเพื่อไปปริวาสกรรมนานแล้วครับ
    และวันนี้ไม่สนใจ A CUP มันแล้ว
    วันนี้ A CUP กลุ่มหาย ดีแล้ว เลิกตาม ตามไปมีแต่กิเลสล้วนๆ พอๆกับ Zerochan กับ Pixiv ก่อนหน้าก็ Sankaku ก็โดน DE สั่งปิดการเข้าถึงเว็บ ตอนนี้ขอโฟกัสกับการพัฒนาทักษะส่วนตัวดีกว่า เพราะกลุ่มที่รู้สึกว่ามีแต่สะสมกิเลสมา 5-6 ปี ตอนผมบวชไม่เข้า A CUP เลย เพราะเป็นตัวสร้างอกุศลกรรมชั้นดีเลยสำหรับพระ และตอนบวชผมไม่เคยดูหนังโป๊ และไม่คิดจะทำอสุจิเคลื่อน(ช่วยตัวเอง) ถ้าทำจริงผมคงต้องเลื่อนวันสึกเพื่อไปปริวาสกรรมนานแล้วครับ และวันนี้ไม่สนใจ A CUP มันแล้ว
    0 Comments 0 Shares 56 Views 0 Reviews
  • แฟชั่นทรงผมของจีนโบราณนั้นหลากหลาย โดยเฉพาะที่เพื่อนเพจได้เคยเห็นในละคร/หนังจีนพีเรียดที่ดูอลังการงานสร้างมาก (รูปประกอบจากเรื่อง <หงส์ขังรัก>) ทำให้ Storyฯ คิดสงสัยว่าเป็นไปได้หรือที่ทุกคนจะใช้ผมจริงทั้งหมด จึงเป็นคำถามว่า สมัยโบราณนั้นมีใช้วิกผมหรือผมปลอมหรือไม่?

    หาคำตอบมาแล้ว คือมีแน่นอนจ้า

    ว่ากันว่าการใช้ผมปลอมมีมาแต่ยุคสมัยจ้านกั๋ว (ประมาณ 475-403 ก่อนคริสต์ศักราช) แต่ไม่ใช่ใครๆ จะมีผมปลอมใส่เพราะเป็นของแพง เริ่มแรกจึงมีใช้กันเฉพาะในวัง ต่อมาในยุคสมัยราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265–420) จึงมีการใช้กันในระดับสามัญชนในแวดวงคนมีอันจะกิน และมาเฟื่องฟูเป็นอย่างมากในยุคสมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618–907)

    ผมปลอมที่ใช้กันนี้ก็มีทั้งที่ทำมาจากขนสัตว์ย้อมสีดำ หรือถ้าแพงหน่อยก็จะทำจากผมจากคนจริงๆ โดยมีที่มาจากสามแหล่งหลักคือ ก) นักโทษที่โดนลงทัณฑ์อย่างรุนแรงจะถูกโกนหัว ข) ผู้ที่ปลงผมเพื่อบวช และ ค) คนที่สิ้นไร้ไม้ตอกประกาศตัดผมขายเพื่อเอาเงินมาใช้

    เดิมวิธีใช้ผมปลอมก็คือเอามาทอรวมกับผมจริงตอนเกล้าผม ต่อมาเมื่อแฟชั่นทรงผมสตรีมีลูกเล่นมากขึ้น จึงเริ่มมีวิกผมสำเร็จรูปเกล้าเป็นทรงต่างๆ โดยใช้มวยปลอมสอดไส้ ซึ่งมวยปลอมก็จะทำจากวัสดุอื่นๆ เช่นไม้หรือหมอนผ้า จากนั้นก็ใช้ผมปลอมถักคลุมปกปิดให้ดูเนียน

    แต่เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่า คนที่ใช้ผมปลอมจำนวนไม่น้อยเป็นผู้ชาย!

    กวีชื่อดังสมัยราชวงศ์ถังนามว่าหลี่ไป๋เคยประพันธ์ไว้ถึงตนเองยามท้อแท้ว่า “ยามเมื่อชีวิตคนเราล้มเหลวมิได้ดั่งใจ จะทำอันใดได้นอกจากปล่อยผมรุงรังล่องเรือตามยถากรรม” เห็นได้ว่าการปล่อยผมสยายเป็นการแสดงออกถึงความไม่สำรวม ไม่สุภาพ

    ดังนั้น สุภาพชนชายชาตรีสมัยโบราณต้องเกล้าผมปักปิ่นหรือครอบมงกุฎผมให้เนี๊ยบ ตอนหนุ่มๆ คงไม่เป็นปัญหา แต่เมื่ออายุมากขึ้นและผมน้อยลงตามการเวลา การมีผมไม่พอเกล้าจึงเป็นเรื่องชวนทุกข์ใจนัก เลยต้องพึ่งพาผมปลอมเพื่อภาพลักษณ์ที่ดี

    ต่อมา สมัยราชวงศ์ชิงมีชายจีนไปเรียนต่างประเทศจำนวนไม่น้อย ล้วนแต่ตัดหางเปียออกเพื่อให้เข้ากับธรรมเนียมชาติตะวันตก เมื่อกลับมาจีนแผ่นดินใหญ่จึงต้องหาวิกหางเปียมาสวม บางคนใช้สวมหมวกที่มีหางเปียถักติดไว้เพื่อความสะดวก แบบที่เพื่อนเพจบางท่านอาจเคยเห็นในหนังเรื่องหวงเฟยหงนั่นเอง

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.jianshu.com/p/a042b95ee3ec
    https://www.163.com/ent/article/DD0TB8JN000380EO.html
    https://y.qichejiashi.com/tupian/1926174.html

    Credit ข้อมูลจาก:
    http://m.qulishi.com/article/201910/367225.html
    http://www.qulishi.com/article/202002/391814.html
    http://xn--fiq4m90j.com/Index/detail/catid/10/artid/04eb9650-68c6-44a2-897a-da8ebf712a5e/userid/bd2f4e82-9f87-452c-9f2d-7b290b6b006d
    https://www.guhanfu.com/60933.html

    #ทรงผมจีนโบราณ #ผมปลอม #วัฒนธรรมจีน
    แฟชั่นทรงผมของจีนโบราณนั้นหลากหลาย โดยเฉพาะที่เพื่อนเพจได้เคยเห็นในละคร/หนังจีนพีเรียดที่ดูอลังการงานสร้างมาก (รูปประกอบจากเรื่อง <หงส์ขังรัก>) ทำให้ Storyฯ คิดสงสัยว่าเป็นไปได้หรือที่ทุกคนจะใช้ผมจริงทั้งหมด จึงเป็นคำถามว่า สมัยโบราณนั้นมีใช้วิกผมหรือผมปลอมหรือไม่? หาคำตอบมาแล้ว คือมีแน่นอนจ้า ว่ากันว่าการใช้ผมปลอมมีมาแต่ยุคสมัยจ้านกั๋ว (ประมาณ 475-403 ก่อนคริสต์ศักราช) แต่ไม่ใช่ใครๆ จะมีผมปลอมใส่เพราะเป็นของแพง เริ่มแรกจึงมีใช้กันเฉพาะในวัง ต่อมาในยุคสมัยราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265–420) จึงมีการใช้กันในระดับสามัญชนในแวดวงคนมีอันจะกิน และมาเฟื่องฟูเป็นอย่างมากในยุคสมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618–907) ผมปลอมที่ใช้กันนี้ก็มีทั้งที่ทำมาจากขนสัตว์ย้อมสีดำ หรือถ้าแพงหน่อยก็จะทำจากผมจากคนจริงๆ โดยมีที่มาจากสามแหล่งหลักคือ ก) นักโทษที่โดนลงทัณฑ์อย่างรุนแรงจะถูกโกนหัว ข) ผู้ที่ปลงผมเพื่อบวช และ ค) คนที่สิ้นไร้ไม้ตอกประกาศตัดผมขายเพื่อเอาเงินมาใช้ เดิมวิธีใช้ผมปลอมก็คือเอามาทอรวมกับผมจริงตอนเกล้าผม ต่อมาเมื่อแฟชั่นทรงผมสตรีมีลูกเล่นมากขึ้น จึงเริ่มมีวิกผมสำเร็จรูปเกล้าเป็นทรงต่างๆ โดยใช้มวยปลอมสอดไส้ ซึ่งมวยปลอมก็จะทำจากวัสดุอื่นๆ เช่นไม้หรือหมอนผ้า จากนั้นก็ใช้ผมปลอมถักคลุมปกปิดให้ดูเนียน แต่เพื่อนเพจทราบหรือไม่ว่า คนที่ใช้ผมปลอมจำนวนไม่น้อยเป็นผู้ชาย! กวีชื่อดังสมัยราชวงศ์ถังนามว่าหลี่ไป๋เคยประพันธ์ไว้ถึงตนเองยามท้อแท้ว่า “ยามเมื่อชีวิตคนเราล้มเหลวมิได้ดั่งใจ จะทำอันใดได้นอกจากปล่อยผมรุงรังล่องเรือตามยถากรรม” เห็นได้ว่าการปล่อยผมสยายเป็นการแสดงออกถึงความไม่สำรวม ไม่สุภาพ ดังนั้น สุภาพชนชายชาตรีสมัยโบราณต้องเกล้าผมปักปิ่นหรือครอบมงกุฎผมให้เนี๊ยบ ตอนหนุ่มๆ คงไม่เป็นปัญหา แต่เมื่ออายุมากขึ้นและผมน้อยลงตามการเวลา การมีผมไม่พอเกล้าจึงเป็นเรื่องชวนทุกข์ใจนัก เลยต้องพึ่งพาผมปลอมเพื่อภาพลักษณ์ที่ดี ต่อมา สมัยราชวงศ์ชิงมีชายจีนไปเรียนต่างประเทศจำนวนไม่น้อย ล้วนแต่ตัดหางเปียออกเพื่อให้เข้ากับธรรมเนียมชาติตะวันตก เมื่อกลับมาจีนแผ่นดินใหญ่จึงต้องหาวิกหางเปียมาสวม บางคนใช้สวมหมวกที่มีหางเปียถักติดไว้เพื่อความสะดวก แบบที่เพื่อนเพจบางท่านอาจเคยเห็นในหนังเรื่องหวงเฟยหงนั่นเอง (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ) Credit รูปภาพจาก: https://www.jianshu.com/p/a042b95ee3ec https://www.163.com/ent/article/DD0TB8JN000380EO.html https://y.qichejiashi.com/tupian/1926174.html Credit ข้อมูลจาก: http://m.qulishi.com/article/201910/367225.html http://www.qulishi.com/article/202002/391814.html http://xn--fiq4m90j.com/Index/detail/catid/10/artid/04eb9650-68c6-44a2-897a-da8ebf712a5e/userid/bd2f4e82-9f87-452c-9f2d-7b290b6b006d https://www.guhanfu.com/60933.html #ทรงผมจีนโบราณ #ผมปลอม #วัฒนธรรมจีน
    WWW.JIANSHU.COM
    电视剧《凤囚凰》观看第一集和第二集之后的说说
    在看《凤囚凰》这部电视剧的之前。我是带着挑剔的眼光去看的。看看于正到底有多么烂。网上吐槽凤囚凰被于正拍槽点很多,好先来看一看有那些被吐槽的点。 第一点,缝纫机头。 网上说的缝...
    1 Comments 0 Shares 190 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1031
    ชื่อบทธรรม :- ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1031
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ โดย ๑๖ ประการ

    ( ก. ภาวะไม่บริสุทธิ์สำหรับเปรียบเทียบ )

    --“ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อการเกียดกันกิเลสด้วยตบะบริบูรณ์อย่างนี้แล้ว
    พระผู้มีพระภาคยังจะกล่าวถึงอุปกิเลสมีอย่างต่างๆ
    แห่งการบำเพ็ญตบะนั้นอย่างไรอีกเล่า ?”
    --๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ คือ
    ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาเป็นผู้พอใจด้วยตบะนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์
    (เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อตัวกู, มิใช่เพื่อธรรมะ).
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $พอใจด้วยตบะว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็ยังเป็นอุปกิเลส (เครื่องเศร้าหมอง) ของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา @ยกตนข่มขู่ผู้อื่นด้วยตบะ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาเมาตบะ หลงตบะ ถึงความมัวเมาด้วยตบะนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาตบะ หลงตบะ $ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น
    เขาพอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ
    ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น
    เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $ยกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๖.นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น
    เขาเมาลาภ หลงลาภ $ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาลาภ หลงลาภ ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะ
    และเสียงสรรเสริญ นั้น
    แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาถึงการแบ่งแยกในโภชนะ ทั้งหลายว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา”
    ดังนี้.
    เขาไม่ชอบสิ่งใด เขาสะบัดหน้าไม่สนใจ ละมันไปเสีย;
    เขา ชอบสิ่งใด เขาก็จดจ่อมัวเมา หมายมั่นซึ่งสิ่งนั้น ไม่มองเห็นโทษ
    $ไม่มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) กินเอา ๆ.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ด้วยคิดว่า
    พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์
    ทั้งหลายจักสักการะเรา เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นผู้ ที่เที่ยวรุกราน
    สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ไม่ว่าในที่ไหนๆ ว่า
    “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้ มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง
    ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด
    และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า”
    ดังนี้
    $ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า.
    +--นิโค๎รธ ! การกระทำแม้นี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือพราหมณ์ใดๆ
    ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย
    ก็ มีความคิดว่า
    “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณพราหมณ์นี้ผู้มีอาชีพสำส่อนอยู่
    ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้บำเพ็ญตบะ
    ดำรงชีวิตอยู่อย่างมี ลูข*--๑ ปฏิปทา อยู่ในตระกูลทั้งหลาย”
    ดังนี้
    เขา $เกิดมีความริษยาและตระหนี่ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมาด้วย อาการอย่างนี้.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    [*--๑ ลูขะ คำนี้ แปลยากสำหรับคนไทย เคยแปลกันว่าเศร้าหมองบ้าง ปอนๆ บ้าง
    เป็นคำแปลที่อาจให้เกิดความเข้าใจผิดจากความหมายอันแท้จริง ซึ่งสูงหรือลึกไปกว่านั้น
    กล่าวคือ มีชีวิตอยู่ด้วยสิ่งที่ไร้ค่า ไร้ความสวยงาม
    ไร้ความสะดวกสบาย เป็นชีวิตแบบต่ำสุดสำหรับ นักบวช
    ซึ่งเราเรียกกันโดยทั่วไปว่าเคร่งครัดอย่างยิ่ง.
    ขอให้ใช้คำว่า ลูขะ นี้เป็นคำคำหนึ่ง ในภาษาไทยสืบไปในภายหน้าด้วย.]​
    --๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ $ชอบนั่งแสดงตัวตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน).
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของ ผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง)
    เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลาย ประกาศอยู่ว่า
    “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน”
    ดังนี้ เป็นต้น.
    ±--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ มีปกตินิสัยทำสิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด
    เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม
    ก็กล่าวสิ่งที่ไม่ควรว่าควร กล่าวสิ่งที่ควรว่าไม่ควร
    $เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ
    ดังนี้.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ, $เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่,
    เขาไม่ยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยาย
    ที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) แม้มีอยู่แท้.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ $เป็นคนขี้โกรธมักผูกโกรธ.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ
    เป็นคน ลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน
    เป็นคน ริษยา ตระหนี่
    เป็นคน โอ้อวด มีมายา
    เป็นคน หัวดื้อ ดูหมิ่นท่าน
    เป็นคน ปรารถนาลามก ตกอยู่ในอำนาจแห่งความ ปรารถนาลามก เป็นมิจฉาทิฏฐิ ประกอบอยู่ด้วยอันตคาหิกทิฏฐิ
    เป็นคนลูบคลำ สิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัดคืนได้ยาก.
    +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ.
    --นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : การเกียดกันกิเลส ด้วยตบะในรูปแบบอย่างที่ว่ามานี้ (ทุกข้อ)
    เป็นอุปกิเลส หรือไม่เป็นอุปกิเลสเล่า ?
    “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเหล่านี้
    เป็นอุปกิเลสแน่แท้ ไม่เป็นอุปกิเลส หามิได้.
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีอยู่ คือผู้ บำเพ็ญตบะบางคนในกรณีนี้
    ประกอบด้วยอุปกิเลสเหล่านี้ครบทุกอย่างแล้ว
    ทำไมจะไม่ ประกอบด้วยอุปกิเลสแต่ละอย่าง ๆ เล่า”.

    (ข. ภาวะบริสุทธิ์ที่สำหรับถือเป็นหลัก)

    --๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้
    ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่เป็นผู้พอใจไม่รู้สึกว่าบริบูรณ์แล้ว
    ตามประสงค์ด้วยตบะนั้น (ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตัวกู).
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตนนั้น
    นั่นแหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น.
    +-+นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น
    --๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่เขาไม่เมาตบะไม่หลงตบะ $ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่ เขา ไม่เมาตบะ ไม่หลงตบะ ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น
    ด้วยเหตุผลนี้ แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่เป็นผู้พอใจ $ด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา
    ไม่เป็นผู้พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น
    ด้วยเหตุผลนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    $เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น
    เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา
    ไม่ยกตน $ไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    $เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้น
    เขาไม่เมาลาภ ไม่หลงลาภ ไม่ถึงความมัวเมาลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา
    ไม่ เมาลาภไม่หลงลาภไม่ถึงความมัวเมาสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่ถึงการแบ่งแยกในภาชนะ ทั้งหลาย
    ว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้
    เขา ไม่ชอบสิ่งใด เขาไม่ได้สะบัดหน้าแสดงความไม่สนใจ ละมันไปเสีย
    เขา ชอบสิ่งใด เขาก็ไม่จดจ่อ ไม่มัวเมา ไม่หมายมั่นสิ่งนั้น มองเห็นโทษ
    มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) บริโภคอยู่.
    ด้วยเหตุนี้แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่
    เขาไม่คิดอย่างนี้ว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลาย
    จักสักการะเรา $เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นผู้เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ว่า
    “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง
    ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด
    และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า”
    ดังนี้
    ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือ พราหมณ์ใด ๆ
    ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย
    เขา ไม่มีความคิดอย่างนี้ ว่า
    “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณะพราหมณ์นี้
    ผู้มีอาชีวะสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย
    แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้ดำรงชีพอยู่อย่างมีลูขปฏิปทา
    อยู่ในตระกูลทั้งหลาย”
    ดังนี้
    เขา ไม่เกิดมีความริษยาและตระหนี่ ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมา อย่างนี้.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่ชอบนั่งแสดง ตนตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน).
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ
    จะไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง)
    เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลายก็หามิได้ (เขาเป็นคนจริงและเปิดเผย)
    ประกาศอยู่ ว่า
    “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน”
    ดังนี้ เป็นต้น.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่มีปกตินิสัยทำ สิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด
    เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็ กล่าวสิ่งที่ ไม่ควรว่าไม่ควร
    กล่าวสิ่งที่ควรกล่าวว่าควร ไม่เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ
    ดังนี้.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ,
    เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่,
    เขายอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยายที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ซึ่งมีอยู่แท้.
    +--นิโค๎รธ ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ
    ไม่เป็นคนขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธ.
    +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาเป็นคนไม่ขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธนั้น
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ผู้บำเพ็ญตบะ
    ไม่เป็นคนลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน ไม่เป็นคนริษยา ไม่ตระหนี่
    ไม่เป็นคนโอ้อวด ไม่มีมายา ไม่เป็นคนหัวดื้อ ไม่ดูหมิ่นท่าน ไม่เป็นคนปรารถนาลามก
    ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนาลามก
    ไม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ไม่ประกอบอยู่ด้วยอันคาหิกทิฏฐิ
    ไม่เป็นคนลูบคลำสิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน
    ไม่ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัด คืนได้ง่าย.
    ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น.
    --นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
    : เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์ หรือไม่บริสุทธิ์เล่า ?
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อเป็นอย่างนี้
    มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์โดยแท้ หาใช่ไม่บริสุทธิ์ไม่
    ทั้งยังเป็นการบรรลุถึงยอดถึงแก่นอีกด้วย พระเจ้าข้า !”
    --นิโค๎รธเอ๋ย ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเพียงเท่านี้ ยังไม่ถึงยอด ถึงแก่น
    เป็นเพียงถึงเปลือกแห้งๆ เท่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/30 - 36/24 - 25.
    http://etipitaka.com/read/thai/11/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๔๔ - ๕๐/๒๔ - ๒๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/11/44/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1031
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1031
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89
    ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1031 ชื่อบทธรรม :- ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1031 เนื้อความทั้งหมด :- --ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ โดย ๑๖ ประการ ( ก. ภาวะไม่บริสุทธิ์สำหรับเปรียบเทียบ ) --“ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อการเกียดกันกิเลสด้วยตบะบริบูรณ์อย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคยังจะกล่าวถึงอุปกิเลสมีอย่างต่างๆ แห่งการบำเพ็ญตบะนั้นอย่างไรอีกเล่า ?” --๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ คือ ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาเป็นผู้พอใจด้วยตบะนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ (เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อตัวกู, มิใช่เพื่อธรรมะ). +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $พอใจด้วยตบะว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น แม้ข้อนี้ก็ยังเป็นอุปกิเลส (เครื่องเศร้าหมอง) ของผู้บำเพ็ญตบะ. --๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา @ยกตนข่มขู่ผู้อื่นด้วยตบะ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาเมาตบะ หลงตบะ ถึงความมัวเมาด้วยตบะนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาตบะ หลงตบะ $ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาพอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา $ยกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๖.นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาเมาลาภ หลงลาภ $ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาลาภ หลงลาภ ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะ และเสียงสรรเสริญ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาถึงการแบ่งแยกในโภชนะ ทั้งหลายว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้. เขาไม่ชอบสิ่งใด เขาสะบัดหน้าไม่สนใจ ละมันไปเสีย; เขา ชอบสิ่งใด เขาก็จดจ่อมัวเมา หมายมั่นซึ่งสิ่งนั้น ไม่มองเห็นโทษ $ไม่มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) กินเอา ๆ. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ด้วยคิดว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลายจักสักการะเรา เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นผู้ ที่เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ไม่ว่าในที่ไหนๆ ว่า “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้ มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า” ดังนี้ $ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า. +--นิโค๎รธ ! การกระทำแม้นี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย ก็ มีความคิดว่า “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณพราหมณ์นี้ผู้มีอาชีพสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้บำเพ็ญตบะ ดำรงชีวิตอยู่อย่างมี ลูข*--๑ ปฏิปทา อยู่ในตระกูลทั้งหลาย” ดังนี้ เขา $เกิดมีความริษยาและตระหนี่ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมาด้วย อาการอย่างนี้. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. [*--๑ ลูขะ คำนี้ แปลยากสำหรับคนไทย เคยแปลกันว่าเศร้าหมองบ้าง ปอนๆ บ้าง เป็นคำแปลที่อาจให้เกิดความเข้าใจผิดจากความหมายอันแท้จริง ซึ่งสูงหรือลึกไปกว่านั้น กล่าวคือ มีชีวิตอยู่ด้วยสิ่งที่ไร้ค่า ไร้ความสวยงาม ไร้ความสะดวกสบาย เป็นชีวิตแบบต่ำสุดสำหรับ นักบวช ซึ่งเราเรียกกันโดยทั่วไปว่าเคร่งครัดอย่างยิ่ง. ขอให้ใช้คำว่า ลูขะ นี้เป็นคำคำหนึ่ง ในภาษาไทยสืบไปในภายหน้าด้วย.]​ --๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ $ชอบนั่งแสดงตัวตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน). +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของ ผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง) เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลาย ประกาศอยู่ว่า “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน” ดังนี้ เป็นต้น. ±--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ มีปกตินิสัยทำสิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็กล่าวสิ่งที่ไม่ควรว่าควร กล่าวสิ่งที่ควรว่าไม่ควร $เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ ดังนี้. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ, $เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่, เขาไม่ยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยาย ที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) แม้มีอยู่แท้. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ $เป็นคนขี้โกรธมักผูกโกรธ. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นคน ลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน เป็นคน ริษยา ตระหนี่ เป็นคน โอ้อวด มีมายา เป็นคน หัวดื้อ ดูหมิ่นท่าน เป็นคน ปรารถนาลามก ตกอยู่ในอำนาจแห่งความ ปรารถนาลามก เป็นมิจฉาทิฏฐิ ประกอบอยู่ด้วยอันตคาหิกทิฏฐิ เป็นคนลูบคลำ สิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัดคืนได้ยาก. +--นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. --นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : การเกียดกันกิเลส ด้วยตบะในรูปแบบอย่างที่ว่ามานี้ (ทุกข้อ) เป็นอุปกิเลส หรือไม่เป็นอุปกิเลสเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเหล่านี้ เป็นอุปกิเลสแน่แท้ ไม่เป็นอุปกิเลส หามิได้. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีอยู่ คือผู้ บำเพ็ญตบะบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอุปกิเลสเหล่านี้ครบทุกอย่างแล้ว ทำไมจะไม่ ประกอบด้วยอุปกิเลสแต่ละอย่าง ๆ เล่า”. (ข. ภาวะบริสุทธิ์ที่สำหรับถือเป็นหลัก) --๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่เป็นผู้พอใจไม่รู้สึกว่าบริบูรณ์แล้ว ตามประสงค์ด้วยตบะนั้น (ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตัวกู). +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตนนั้น นั่นแหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น. +-+นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น --๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่เขาไม่เมาตบะไม่หลงตบะ $ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่ เขา ไม่เมาตบะ ไม่หลงตบะ ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น ด้วยเหตุผลนี้ แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่เป็นผู้พอใจ $ด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่เป็นผู้พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น ด้วยเหตุผลนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ยกตน $ไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้น เขาไม่เมาลาภ ไม่หลงลาภ ไม่ถึงความมัวเมาลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ เมาลาภไม่หลงลาภไม่ถึงความมัวเมาสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ $เขาไม่ถึงการแบ่งแยกในภาชนะ ทั้งหลาย ว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้ เขา ไม่ชอบสิ่งใด เขาไม่ได้สะบัดหน้าแสดงความไม่สนใจ ละมันไปเสีย เขา ชอบสิ่งใด เขาก็ไม่จดจ่อ ไม่มัวเมา ไม่หมายมั่นสิ่งนั้น มองเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) บริโภคอยู่. ด้วยเหตุนี้แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาไม่คิดอย่างนี้ว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลาย จักสักการะเรา $เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นผู้เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ว่า “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า” ดังนี้ ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือ พราหมณ์ใด ๆ ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย เขา ไม่มีความคิดอย่างนี้ ว่า “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณะพราหมณ์นี้ ผู้มีอาชีวะสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้ดำรงชีพอยู่อย่างมีลูขปฏิปทา อยู่ในตระกูลทั้งหลาย” ดังนี้ เขา ไม่เกิดมีความริษยาและตระหนี่ ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมา อย่างนี้. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่ชอบนั่งแสดง ตนตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน). ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ จะไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง) เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลายก็หามิได้ (เขาเป็นคนจริงและเปิดเผย) ประกาศอยู่ ว่า “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน” ดังนี้ เป็นต้น. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่มีปกตินิสัยทำ สิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็ กล่าวสิ่งที่ ไม่ควรว่าไม่ควร กล่าวสิ่งที่ควรกล่าวว่าควร ไม่เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ ดังนี้. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ, เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่, เขายอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยายที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ซึ่งมีอยู่แท้. +--นิโค๎รธ ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นคนขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธ. +--นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาเป็นคนไม่ขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธนั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นคนลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน ไม่เป็นคนริษยา ไม่ตระหนี่ ไม่เป็นคนโอ้อวด ไม่มีมายา ไม่เป็นคนหัวดื้อ ไม่ดูหมิ่นท่าน ไม่เป็นคนปรารถนาลามก ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนาลามก ไม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ไม่ประกอบอยู่ด้วยอันคาหิกทิฏฐิ ไม่เป็นคนลูบคลำสิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ไม่ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัด คืนได้ง่าย. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. --นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์ หรือไม่บริสุทธิ์เล่า ? --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์โดยแท้ หาใช่ไม่บริสุทธิ์ไม่ ทั้งยังเป็นการบรรลุถึงยอดถึงแก่นอีกด้วย พระเจ้าข้า !” --นิโค๎รธเอ๋ย ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเพียงเท่านี้ ยังไม่ถึงยอด ถึงแก่น เป็นเพียงถึงเปลือกแห้งๆ เท่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปา. ที. 11/30 - 36/24 - 25. http://etipitaka.com/read/thai/11/30/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปา. ที. ๑๑/๔๔ - ๕๐/๒๔ - ๒๕. http://etipitaka.com/read/pali/11/44/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1031 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89&id=1031 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=89 ลำดับสาธยายธรรม : 89 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_89.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์
    -ภาวะบริสุทธิ์แห่งการประพฤติตบะพรหมจรรย์ โดย ๑๖ ประการ ( ก. ภาวะไม่บริสุทธิ์สำหรับเปรียบเทียบ ) “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อการเกียดกันกิเลสด้วยตบะบริบูรณ์อย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคยังจะกล่าวถึงอุปกิเลสมีอย่างต่างๆแห่งการบำเพ็ญตบะนั้นอย่างไรอีกเล่า ?” ๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ คือ ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาเป็นผู้พอใจด้วยตบะนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ (เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อตัวกู, มิใช่เพื่อธรรมะ). นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา พอใจด้วยตบะว่า บริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น แม้ข้อนี้ก็ยังเป็นอุปกิเลส (เครื่องเศร้าหมอง) ของผู้บำเพ็ญตบะ. ๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ยกตนข่มขู่ผู้อื่นด้วยตบะ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาเมาตบะ หลงตบะ ถึงความมัวเมาด้วยตบะนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาตบะ หลงตบะ ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาพอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์. นิโค๎รธ ! ข้อที่ เขา พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขายกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ยกตนข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๖.นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาเมาลาภ หลงลาภ ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา เมาลาภ หลงลาภ ถึงความมัวเมาด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาถึงการแบ่งแยกในโภชนะ ทั้งหลายว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้. เขาไม่ชอบสิ่งใด เขาสะบัดหน้าไม่สนใจ ละมันไปเสีย; เขา ชอบสิ่งใด เขาก็จดจ่อมัวเมา หมายมั่นซึ่งสิ่งนั้น ไม่มองเห็นโทษ ไม่มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) กินเอา ๆ. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ด้วยคิดว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลาย จักสักการะเรา เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นผู้ ที่เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ไม่ว่าในที่ไหนๆ ว่า “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้ มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจาก ข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า” ดังนี้ ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า. นิโค๎รธ ! การกระทำแม้นี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย ก็ มีความคิดว่า “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณพราหมณ์นี้ผู้มีอาชีพสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้บำเพ็ญตบะ ดำรงชีวิตอยู่อย่างมี ลูข๑ ปฏิปทา อยู่ในตระกูลทั้งหลาย” ดังนี้ เขา เกิดมีความริษยาและตระหนี่ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมาด้วย อาการอย่างนี้. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๐. ลูขะ คำนี้ แปลยากสำหรับคนไทย เคยแปลกันว่าเศร้าหมองบ้าง ปอนๆ บ้าง เป็นคำแปลที่อาจให้เกิดความเข้าใจผิดจากความหมายอันแท้จริง ซึ่งสูงหรือลึกไปกว่านั้น กล่าวคือ มีชีวิตอยู่ด้วยสิ่งที่ไร้ค่า ไร้ความสวยงาม ไร้ความสะดวกสบาย เป็นชีวิตแบบต่ำสุดสำหรับ นักบวช ซึ่งเราเรียกกันโดยทั่วไปว่าเคร่งครัดอย่างยิ่ง. ขอให้ใช้คำว่า ลูขะ นี้เป็นคำคำหนึ่ง ในภาษาไทยสืบไปในภายหน้าด้วย. ๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ชอบนั่งแสดงตัว ตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน). นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของ ผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง) เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลาย ประกาศอยู่ว่า “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน” ดังนี้ เป็นต้น. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ มีปกตินิสัยทำสิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็กล่าวสิ่งที่ไม่ควรว่าควร กล่าวสิ่งที่ควรว่าไม่ควร เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ ดังนี้. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ, เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่, เขาไม่ยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยาย ที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) แม้มีอยู่แท้. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นคน ขี้โกรธ มักผูกโกรธ. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. ๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เป็นคน ลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน เป็นคน ริษยา ตระหนี่ เป็นคน โอ้อวด มีมายา เป็น คน หัวดื้อ ดูหมิ่นท่าน เป็นคน ปรารถนาลามก ตกอยู่ในอำนาจแห่งความ ปรารถนาลามก เป็นมิจฉาทิฏฐิ ประกอบอยู่ด้วยอันตคาหิกทิฏฐิ เป็นคนลูบคลำ สิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัดคืนได้ยาก. นิโค๎รธ ! แม้ข้อนี้ก็เป็นอุปกิเลสของผู้บำเพ็ญตบะ. นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : การเกียดกันกิเลส ด้วยตบะในรูปแบบอย่างที่ว่ามานี้ (ทุกข้อ) เป็นอุปกิเลส หรือไม่เป็นอุปกิเลสเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเหล่านี้ เป็นอุปกิเลสแน่แท้ ไม่เป็นอุปกิเลส หามิได้. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีอยู่ คือผู้ บำเพ็ญตบะบางคนในกรณีนี้ ประกอบด้วยอุปกิเลสเหล่านี้ครบทุกอย่างแล้ว ทำไมจะไม่ ประกอบด้วยอุปกิเลสแต่ละอย่าง ๆ เล่า”. (ข. ภาวะบริสุทธิ์ที่สำหรับถือเป็นหลัก) ๑. นิโค๎รธ ! ในกรณีนี้ ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาไม่เป็นผู้พอใจไม่รู้สึกว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ด้วยตบะนั้น (ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตัวกู). นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ได้บำเพ็ญตบะเพื่อความพอใจแห่งตนนั้น นั่นแหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยตบะนั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น ๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่เขาไม่เมาตบะ ไม่หลงตบะ ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบะนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่ เขา ไม่เมาตบะ ไม่หลงตบะ ไม่ถึงความมัวเมาด้วยตบะ นั้น ด้วยเหตุผลนี้ แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่เป็นผู้พอใจ ด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่เป็นผู้พอใจด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ ว่าบริบูรณ์แล้วตามประสงค์ นั้น ด้วยเหตุผลนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้นด้วยตบะนั้น เขาไม่ยกตนไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่นด้วยลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาทำลาภสักการะและเสียงสรรเสริญให้เกิดขึ้น เขาไม่เมาลาภ ไม่หลงลาภ ไม่ถึงความมัวเมาลาภสักการะและเสียงสรรเสริญนั้น. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขา ไม่ เมาลาภไม่หลงลาภไม่ถึงความมัวเมาสักการะและเสียงสรรเสริญ นั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๗. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขา ไม่ถึงการแบ่งแยกในภาชนะ ทั้งหลาย ว่า “นี้ควรแก่เรา นี้ไม่ควรแก่เรา” ดังนี้ เขา ไม่ชอบสิ่งใด เขาไม่ได้สะบัดหน้าแสดงความไม่สนใจ ละมันไปเสีย เขา ชอบสิ่งใด เขาก็ไม่จดจ่อ ไม่มัวเมา ไม่หมายมั่นสิ่งนั้น มองเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องออก (จากอัสสาทะแห่งสิ่งนั้น) บริโภคอยู่. ด้วยเหตุนี้แหละ เขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๘. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ สมาทานตบะอยู่ เขาไม่คิดอย่างนี้ว่า พระราชา มหาอำมาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คหบดี เดียรถีย์ ทั้งหลาย จักสักการะเรา เพราะเหตุแห่งความใคร่จะได้ลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๙. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นผู้เที่ยวรุกราน สมณะหรือพราหมณ์ใดๆ ว่า “อะไรกันนะ ท่านผู้นี้มีอาชีพ (ดำรงชีพ) สำส่อน กินเสียหมดทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพืชเกิดจากราก พืชเกิดจากข้อ พืชเกิดจากผล พืชเกิดจากยอด และพืชเกิดจากลำต้นเป็นที่ห้า” ดังนี้ ด้วยวาทะย่ำยีสมณะราวกะว่ามีคมแห่งฟันดังสายฟ้า. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๐. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ เห็นสมณะหรือ พราหมณ์ใด ๆ ที่คนพากันสักการะอยู่ เคารพอยู่ นับถืออยู่ บูชาอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย เขา ไม่มีความคิดอย่างนี้ ว่า “คนทั้งหลายพากันสักการะเคารพนับถือบูชาซึ่งสมณะพราหมณ์นี้ผู้มีอาชีวะสำส่อนอยู่ ในตระกูลทั้งหลาย แต่กลับไม่สักการะเคารพนับถือบูชาเราผู้ดำรงชีพอยู่อย่างมีลูขปฏิปทา อยู่ในตระกูล ทั้งหลาย” ดังนี้ เขา ไม่เกิดมีความริษยาและตระหนี่ ในตระกูลทั้งหลายขึ้นมา อย่างนี้. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๑. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่ชอบนั่งแสดง ตนตามทางที่คนผ่าน (เพื่ออวดคน). ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๒. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ จะไม่เปิดเผยตน (ตามที่เป็นจริง) เที่ยวไปในตระกูลทั้งหลายก็หามิได้ (เขาเป็นคนจริงและเปิดเผย) ประกาศอยู่ ว่า “อย่างนี้ๆ เป็นตบะของฉัน, มีในตบะของฉัน” ดังนี้ เป็นต้น. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๓. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่มีปกตินิสัยทำ สิ่งไรๆ ให้เป็นของปกปิด เมื่อถูกถามอยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่ท่านไหม ก็ กล่าวสิ่งที่ ไม่ควรว่าไม่ควร กล่าวสิ่งที่ควรกล่าวว่าควร ไม่เป็นผู้กล่าวมุสาทั้งที่รู้อยู่แก่ใจ ดังนี้. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๔. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ, เมื่อตถาคตหรือสาวกของตถาคตแสดงธรรมอยู่, เขายอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ต่อปริยายที่ควรยอมรับ (ว่าถูกว่าจริง) ซึ่งมีอยู่แท้. นิโค๎รธ ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๕. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นคนขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธ. นิโค๎รธ ! ข้อที่เขาเป็นคนไม่ขี้โกรธ ไม่ผูกโกรธนั้น ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. ๑๖. นิโค๎รธ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ผู้บำเพ็ญตบะ ไม่เป็นคนลบหลู่ คุณท่าน ตีตนเสมอท่าน ไม่เป็นคนริษยา ไม่ตระหนี่ ไม่เป็นคนโอ้อวด ไม่มีมายา ไม่เป็นคนหัวดื้อ ไม่ดูหมิ่นท่าน ไม่เป็นคนปรารถนาลามก ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งความปรารถนาลามก ไม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ไม่ประกอบอยู่ด้วยอันคาหิกทิฏฐิ ไม่เป็นคนลูบคลำสิ่งต่างๆ ตามทิฏฐิของตน ไม่ยึดถือไว้เหนียวแน่น สลัด คืนได้ง่าย. ด้วยเหตุนี้แหละเขาเป็นผู้บริสุทธิ์ในฐานะนั้น. นิโค๎รธ ! ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร : เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์ หรือไม่บริสุทธิ์เล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! เมื่อเป็นอย่างนี้ มันเป็นการเกียดกันกิเลสด้วยตบะที่บริสุทธิ์โดยแท้ หาใช่ไม่บริสุทธิ์ไม่ ทั้งยังเป็นการบรรลุถึงยอดถึงแก่นอีกด้วย พระเจ้าข้า !” นิโค๎รธเอ๋ย ! การเกียดกันกิเลสด้วยตบะเพียงเท่านี้ ยังไม่ถึงยอด ถึงแก่น เป็นเพียงถึงเปลือกแห้งๆ เท่านั้น.
    0 Comments 0 Shares 152 Views 0 Reviews
  • Family Trip CHENGDU 4 วัน 3 คืน เส้นทางสายมู ไหว้พระเสริมเฮง เที่ยวครบ จบแบบปัง!

    เดินทางโดย Thai Airways
    วันนี้ - 31 ก.ค. 68
    พักดี 3 คืนที่ JINNIU EVEN HOTEL by IHG
    น้ำหนักกระเป๋า 23 กก.
    เริ่มต้นเพียง 26,888.-

    ไฮไลท์เสริมสิริมงคล & เที่ยวฟินๆ
    • วัดต้าสือ ขอพรโชคดี วัดที่ “พระถังซัมจั๋ง” เคยบวช
    • อารามเหวินซู ชมศิลปะโบราณราชวงศ์ถัง
    • ศาลเจ้าหลี่ปิง แห่งยุคสามก๊ก
    • ภูเขาชิงเฉิง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ระดับ A5
    • เมืองโบราณเจียจือ & ถนนโบราณจินหลี่
    • ศูนย์อนุรักษ์หมีแพนด้า สุดน่ารัก
    • ถนนคนเดินควานจ๋าย & ถนนชุนหลี่
    • ลิ้มรสของอร่อยขึ้นชื่อ: เสี่ยวหลงเปา, หม่าล่า, เต้าหู้เหม็น
    • แวะจิบชา Hey Tea สุดชิค ถ่ายรูปปังลง IG
    เซลฟี่กับแพนด้าถือไม้เซลฟี่สีชมพู มุมห้ามพลาด!

    #เฉิงตู #สายมูต้องมา #FamilyTripChengdu #เที่ยวจีน2568 #ฟรีวีซ่าไต้หวัน #สายบุญเสริมดวง #แพนด้าเฉิงตู #เที่ยวจีนกับครอบครัว #กินเที่ยวไหว้ครบจบในทริปเดียว

    ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
    https://78s.me/e53048

    LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307
    Facebook: etravelway 78s.me/8a4061
    Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5
    Tiktok : https://78s.me/543eb9
    : etravelway 78s.me/05e8da
    : 0 2116 6395

    #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway
    🎉 Family Trip CHENGDU 4 วัน 3 คืน ✈️ เส้นทางสายมู ไหว้พระเสริมเฮง เที่ยวครบ จบแบบปัง! 🐼 🛫 เดินทางโดย Thai Airways 📅 วันนี้ - 31 ก.ค. 68 🏨 พักดี 3 คืนที่ JINNIU EVEN HOTEL by IHG 💼 น้ำหนักกระเป๋า 23 กก. 💰 เริ่มต้นเพียง 26,888.- ไฮไลท์เสริมสิริมงคล & เที่ยวฟินๆ • วัดต้าสือ ขอพรโชคดี วัดที่ “พระถังซัมจั๋ง” เคยบวช • อารามเหวินซู ชมศิลปะโบราณราชวงศ์ถัง • ศาลเจ้าหลี่ปิง แห่งยุคสามก๊ก • ภูเขาชิงเฉิง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ระดับ A5 • เมืองโบราณเจียจือ & ถนนโบราณจินหลี่ • ศูนย์อนุรักษ์หมีแพนด้า สุดน่ารัก • ถนนคนเดินควานจ๋าย & ถนนชุนหลี่ • ลิ้มรสของอร่อยขึ้นชื่อ: เสี่ยวหลงเปา, หม่าล่า, เต้าหู้เหม็น • แวะจิบชา Hey Tea สุดชิค ถ่ายรูปปังลง IG • 📸 เซลฟี่กับแพนด้าถือไม้เซลฟี่สีชมพู มุมห้ามพลาด! #เฉิงตู #สายมูต้องมา #FamilyTripChengdu #เที่ยวจีน2568 #ฟรีวีซ่าไต้หวัน #สายบุญเสริมดวง #แพนด้าเฉิงตู #เที่ยวจีนกับครอบครัว #กินเที่ยวไหว้ครบจบในทริปเดียว 🐼⛰🧧 ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://78s.me/e53048 LINE ID: @etravelway 78s.me/d0c307 Facebook: etravelway 78s.me/8a4061 Twitter: @eTravelWay 78s.me/e603f5 Tiktok : https://78s.me/543eb9 📷: etravelway 78s.me/05e8da ☎️: 0 2116 6395 #แพ็คเกจทัวร์ #จัดกรุ๊ปส่วนตัว #eTravelway
    0 Comments 0 Shares 324 Views 0 Reviews
  • ..ยุคนี้ สิ่งชั่วเลวใดๆและอะไรที่เขมรไม่ทำไม่มี.
    ..deep state มากมายจากทั่วโลกถูกไล่ล่าเด็ดชีพไปมากมาย,พม่าคือคัวอย่างที่ดีเห็นภาพง่ายขึ้นหากจะเทียบยกมาอีกหลายๆชาติทั่วโลก ย้ายฐานมาเขมรมาอาเชียนมาเอเชียก็ว่า ตลอดซึ่งก่อนหน้านี้ไม่กี่ปีก็พวกก่อการร้ายจากทั่วโลกนั้นล่ะ แถวอาหรับทะเลทรายยิ่งตัวดี ดังยุคนั้นก็คงรู้,deep stateหล่อเลี้ยงส่งท่อเลี้ยงเพื่อปั่นป่วนในการแย่งชิงวัตถุดิบทรัพยากรมีค่าแร่หายากในแต่ละชาตินั้นๆล่ะจะยึดปกครองประเทศนั้นๆมั่นคงไปเลยก็ว่า,ไม่ต่างจากไทย ไทยเราตอนนี้เนื้อหอมด้วย,สารพัดทรัพยากรมากมายไหลมารวมที่ไทยก็มากปกติต่างจากยุคอดีตมากอาจเพราะสนามแม่เหล็กโลกกำลังเปลี่ยนแปลงและจุดสิ้นสุดคือไทยเป็นฮับสิ่งดีๆจากทั้งโลกนัันเอง,ทองคำก็จะไหลมาไทยสายแร่ทองคำก็ว่า,บ่อน้ำมันยิ่งไม่ต้องพูดถึงไหลเป็นสายเปลี่ยนทิศทางไหลมารวมที่ไทยเรานี้ ดูดมาใช้อีกหลายพันปีก็ไม่หมดหรือจนสิ้นยุครัตนโกสินทร์เราไปอีกก็ยังไม่หมดก็ว่า,และอื่นๆตรึมอาจแร่สุดยอดกว่าดาวอังคารอีกมาอยู่ที่ไทยเมื่อบารมีถึงจังหวะเวลาเหมาะสมจะเปิดเอง,ไม่รวมฮับพลังงานจักรวาลอีกแบบฐานพลังงานมหาศาลเชื่อมจักรวาลมหาจักรวาลต่างๆต่างจิตวิญญาณนี้ก็อยู่ที่ไทย ทั่วจักรวาลลงใจไว้วางใจที่ไทยเรา,ไทยเราอนาคตอันต่อไปพระพุทธเจ้าองค์ต่อไปก็เกิดที่แผ่นดินไทยเรานี้แต่ชื่อประเทศไทยอาจเปลี่ยนแปลงไปแล้วเพราะกาลเวลาขึ้นลงจนพระองค์มาเกิดมาประสูติมันน้อยๆที่ไหน.,ยุคพระศรีอาริยะฯก็ว่า,คนมีบุญจริงๆโน้นมีศีลมีธรรมพิเศษบริสุทธิ์ระดับหนึ่งจึงมีโอกาสได้เกิดมาร่วมยุคสมัยพระองค์ท่าน,แต่ยุคปัจจุบันเรานี้ก็ไม่น้อยหน้านะ คนไทยเรามีบุญไม่น้อยยังทันเห็นพระพุทธศาสนาอยู่เห็นนักบวชพระเณรคนปฏิบัติธรรมรักษาศีลให้เห็นเป็นสมมุติประจำโลก,
    ..คนไทยเราโชคดีเห็นขยะติดพื้นที่บ้างจึงจะได้ไม่ลืมสถานะว่าไม่มีขยะมันดีกว่าอย่างไร,มีสิ่งดีงามสร้างสิ่งดีงามเจริญในสิ่งดีงามทั้งทางภายในและภายนอกมันดีกว่ามีขยะทั้งภายในและภายนอกแบบใด.,สามัคคีร่วมใจกำจัดขยะนี้ก็ผลดีจากมีขยะนี้อีกจึงเข้าใจว่าสามัคคีในเรามันดีจริงอย่างไร.
    ..#ทุกๆประเทศทั่วโลกต้องแบนเขมรภัยอันตรายของโลก

    https://youtu.be/j9soFF4WerU?si=5zC74J5EWFiEGAdK
    ..ยุคนี้ สิ่งชั่วเลวใดๆและอะไรที่เขมรไม่ทำไม่มี. ..deep state มากมายจากทั่วโลกถูกไล่ล่าเด็ดชีพไปมากมาย,พม่าคือคัวอย่างที่ดีเห็นภาพง่ายขึ้นหากจะเทียบยกมาอีกหลายๆชาติทั่วโลก ย้ายฐานมาเขมรมาอาเชียนมาเอเชียก็ว่า ตลอดซึ่งก่อนหน้านี้ไม่กี่ปีก็พวกก่อการร้ายจากทั่วโลกนั้นล่ะ แถวอาหรับทะเลทรายยิ่งตัวดี ดังยุคนั้นก็คงรู้,deep stateหล่อเลี้ยงส่งท่อเลี้ยงเพื่อปั่นป่วนในการแย่งชิงวัตถุดิบทรัพยากรมีค่าแร่หายากในแต่ละชาตินั้นๆล่ะจะยึดปกครองประเทศนั้นๆมั่นคงไปเลยก็ว่า,ไม่ต่างจากไทย ไทยเราตอนนี้เนื้อหอมด้วย,สารพัดทรัพยากรมากมายไหลมารวมที่ไทยก็มากปกติต่างจากยุคอดีตมากอาจเพราะสนามแม่เหล็กโลกกำลังเปลี่ยนแปลงและจุดสิ้นสุดคือไทยเป็นฮับสิ่งดีๆจากทั้งโลกนัันเอง,ทองคำก็จะไหลมาไทยสายแร่ทองคำก็ว่า,บ่อน้ำมันยิ่งไม่ต้องพูดถึงไหลเป็นสายเปลี่ยนทิศทางไหลมารวมที่ไทยเรานี้ ดูดมาใช้อีกหลายพันปีก็ไม่หมดหรือจนสิ้นยุครัตนโกสินทร์เราไปอีกก็ยังไม่หมดก็ว่า,และอื่นๆตรึมอาจแร่สุดยอดกว่าดาวอังคารอีกมาอยู่ที่ไทยเมื่อบารมีถึงจังหวะเวลาเหมาะสมจะเปิดเอง,ไม่รวมฮับพลังงานจักรวาลอีกแบบฐานพลังงานมหาศาลเชื่อมจักรวาลมหาจักรวาลต่างๆต่างจิตวิญญาณนี้ก็อยู่ที่ไทย ทั่วจักรวาลลงใจไว้วางใจที่ไทยเรา,ไทยเราอนาคตอันต่อไปพระพุทธเจ้าองค์ต่อไปก็เกิดที่แผ่นดินไทยเรานี้แต่ชื่อประเทศไทยอาจเปลี่ยนแปลงไปแล้วเพราะกาลเวลาขึ้นลงจนพระองค์มาเกิดมาประสูติมันน้อยๆที่ไหน.,ยุคพระศรีอาริยะฯก็ว่า,คนมีบุญจริงๆโน้นมีศีลมีธรรมพิเศษบริสุทธิ์ระดับหนึ่งจึงมีโอกาสได้เกิดมาร่วมยุคสมัยพระองค์ท่าน,แต่ยุคปัจจุบันเรานี้ก็ไม่น้อยหน้านะ คนไทยเรามีบุญไม่น้อยยังทันเห็นพระพุทธศาสนาอยู่เห็นนักบวชพระเณรคนปฏิบัติธรรมรักษาศีลให้เห็นเป็นสมมุติประจำโลก, ..คนไทยเราโชคดีเห็นขยะติดพื้นที่บ้างจึงจะได้ไม่ลืมสถานะว่าไม่มีขยะมันดีกว่าอย่างไร,มีสิ่งดีงามสร้างสิ่งดีงามเจริญในสิ่งดีงามทั้งทางภายในและภายนอกมันดีกว่ามีขยะทั้งภายในและภายนอกแบบใด.,สามัคคีร่วมใจกำจัดขยะนี้ก็ผลดีจากมีขยะนี้อีกจึงเข้าใจว่าสามัคคีในเรามันดีจริงอย่างไร. ..#ทุกๆประเทศทั่วโลกต้องแบนเขมรภัยอันตรายของโลก https://youtu.be/j9soFF4WerU?si=5zC74J5EWFiEGAdK
    0 Comments 0 Shares 267 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพไม่ควรเสพ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1023
    ชื่อบทธรรม :- หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพไม่ควรเสพ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1023
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพไม่ควรเสพ(อันเป็นอุปกรณ์แห่งมรรค)
    --การเลือกที่อยู่ในป่า (วนปัตถ์)
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ (ป่าทึบ) แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่,
    สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ไม่ตั้งขึ้นได้,
    จิตที่ยังไม่ตั้งมั่น ก็ไม่ตั้งมั่น,
    อาสวะที่ยังไม่สิ้น ก็ไม่ถึงความสิ้น, และ
    อนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุ ก็ไม่บรรลุ,
    ทั้งจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร
    อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิต ก็หามาได้โดยยาก.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว
    ไม่ว่าจะเป็นเวลากลางวันหรือกลางคืน พึงหลีกไปเสียจากวนปัตถ์นั้น,
    อย่าอยู่เลย.

    --ภิกษุ ท. ! อนึ่ง ภิกษุในกรณีนี้
    เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่,
    สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ไม่ตั้งขึ้นได้,
    จิตที่ยังไม่ตั้งมั่นก็ไม่ตั้งมั่น,
    อาสวะที่ยังไม่สิ้นก็ไม่ถึงความสิ้น, และ
    อนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุก็ไม่บรรลุ;
    แต่ว่า จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร
    อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิต ก็หามาได้โดยไม่ยาก.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว คิดว่า
    “เราเป็นผู้ออกจากเรือนบวชเพราะเหตุแห่งจีวรก็หามิได้
    เพราะเหตุแห่ง บิณฑบาตก็หามิได้
    เพราะเหตุแห่ง เสนาสนะก็หามิได้
    เพราะเหตุแห่ง คิลานปัจจยเภสัชชบริขารก็หามิได้”;
    ครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ภิกษุนั้น พึงหลีกไปจากวนปัตถ์นั้น,
    อย่าอยู่เลย.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/212/?keywords=วนปตฺถา+ปกฺกมิตพฺพํ

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่,
    สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ตั้งขึ้นได้,
    จิตที่ยัง ไม่ตั้งมั่น ก็ตั้งมั่น,
    อาสวะที่ยัง ไม่สิ้น ก็ถึงความสิ้น, และ
    อนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยัง ไม่บรรลุ ก็บรรลุ;
    แต่ว่าจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร
    อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิตนั้น ก็หามาได้โดยยาก.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว คิดว่า
    “เรามิได้ ออกจากเรือนบวช
    เพราะเหตุแห่ง จีวร
    เพราะเหตุแห่ง บิณฑบาต
    เพราะเหตุแห่ง เสนาสนะ
    เพราะเหตุแห่ง คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร”;
    ครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ภิกษุนั้น พึงอยู่ในวนปัตถ์นั้น
    อย่าหลีกไปเสียเลย.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/213/?keywords=วนปตฺถา+ปกฺกมิตพฺพํ

    --ภิกษุ ท. ! อนึ่ง ภิกษุในกรณีนี้
    เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่,
    สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ตั้งขึ้นได้,
    จิตที่ยังไม่ตั้งมั่น ก็ตั้งมั่น,
    อาสวะที่ยังไม่สิ้น ก็ถึงความสิ้น, และ
    อนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุ ก็บรรลุ;
    ทั้งจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร
    อันบรรพชิตจะแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิตนั้น ก็หามาได้โดยไม่ยาก.
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้,
    พึงอยู่ในวนปัตถ์นั้น จนตลอดชีวิต, อย่าหลีกไปเสียเลย.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/214/?keywords=วนปตฺถา+ปกฺกมิตพฺพํ
    (ในกรณีแห่ง
    การเลือกหมู่บ้าน นิคม นคร ชนบท และบุคคล
    ที่ควรเสพหรือไม่ควรเสพ ก็ได้ตรัสไว้โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกัน
    )

    (ในสูตรอื่น
    ถือเอา การเกิดแห่งกุศลและการไม่เกิดแห่งอกุศล
    เป็นหลักเกณฑ์สำหรับ การเลือก ว่าควรเสพหรือไม่ควรเสพ
    : ถ้าได้ผลเป็นบุญกุศลถือว่า ควรเสพ,
    ถ้าได้ผลเป็นอกุศล ถือว่าไม่ควรเสพ.
    และถือเอาหลักเกณฑ์นี้สำหรับการเลือกสิ่งเหล่านี้คือ
    กายสมาจาร วจีสมาจาร มโนสมาจาร
    จิตตุปบาท สัญญาปฏิลาภ ทิฏฐิปฏิลาภ อัตตภาวปฏิลาภ
    อารมณ์แต่ละอารมณ์ทางอายตนะทั้งหก
    จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คาม นิคม นคร ชนบท และ บุคคล.
    ผู้ปรารถนา รายละเอียดพึงดูจากที่มานั้น ๆ
    : -​ อุปริ. ม. ๑๔/๑๔๔ – ๑๖๔/๑๙๙ – ๒๓๒;
    http://etipitaka.com/read/pali/14/144/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%99
    หรือดูที่หัวข้อว่า
    “การเสพที่เป็นอุปกรณ์และไม่เป็นอุปกรณ์
    แก่ความเพียรละอกุศลและเจริญกุศล”
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/147 - 253/235 - 242.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/147/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๑๒ - ๒๑๘/๒๓๕ - ๒๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/212/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1023
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1023
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88
    ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพไม่ควรเสพ สัทธรรมลำดับที่ : 1023 ชื่อบทธรรม :- หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพไม่ควรเสพ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1023 เนื้อความทั้งหมด :- --หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพไม่ควรเสพ(อันเป็นอุปกรณ์แห่งมรรค) --การเลือกที่อยู่ในป่า (วนปัตถ์) --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ (ป่าทึบ) แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ไม่ตั้งขึ้นได้, จิตที่ยังไม่ตั้งมั่น ก็ไม่ตั้งมั่น, อาสวะที่ยังไม่สิ้น ก็ไม่ถึงความสิ้น, และ อนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุ ก็ไม่บรรลุ, ทั้งจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิต ก็หามาได้โดยยาก. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นเวลากลางวันหรือกลางคืน พึงหลีกไปเสียจากวนปัตถ์นั้น, อย่าอยู่เลย. --ภิกษุ ท. ! อนึ่ง ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ไม่ตั้งขึ้นได้, จิตที่ยังไม่ตั้งมั่นก็ไม่ตั้งมั่น, อาสวะที่ยังไม่สิ้นก็ไม่ถึงความสิ้น, และ อนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุก็ไม่บรรลุ; แต่ว่า จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิต ก็หามาได้โดยไม่ยาก. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว คิดว่า “เราเป็นผู้ออกจากเรือนบวชเพราะเหตุแห่งจีวรก็หามิได้ เพราะเหตุแห่ง บิณฑบาตก็หามิได้ เพราะเหตุแห่ง เสนาสนะก็หามิได้ เพราะเหตุแห่ง คิลานปัจจยเภสัชชบริขารก็หามิได้”; ครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ภิกษุนั้น พึงหลีกไปจากวนปัตถ์นั้น, อย่าอยู่เลย. http://etipitaka.com/read/pali/12/212/?keywords=วนปตฺถา+ปกฺกมิตพฺพํ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ตั้งขึ้นได้, จิตที่ยัง ไม่ตั้งมั่น ก็ตั้งมั่น, อาสวะที่ยัง ไม่สิ้น ก็ถึงความสิ้น, และ อนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยัง ไม่บรรลุ ก็บรรลุ; แต่ว่าจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิตนั้น ก็หามาได้โดยยาก. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว คิดว่า “เรามิได้ ออกจากเรือนบวช เพราะเหตุแห่ง จีวร เพราะเหตุแห่ง บิณฑบาต เพราะเหตุแห่ง เสนาสนะ เพราะเหตุแห่ง คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร”; ครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ภิกษุนั้น พึงอยู่ในวนปัตถ์นั้น อย่าหลีกไปเสียเลย. http://etipitaka.com/read/pali/12/213/?keywords=วนปตฺถา+ปกฺกมิตพฺพํ --ภิกษุ ท. ! อนึ่ง ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ตั้งขึ้นได้, จิตที่ยังไม่ตั้งมั่น ก็ตั้งมั่น, อาสวะที่ยังไม่สิ้น ก็ถึงความสิ้น, และ อนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุ ก็บรรลุ; ทั้งจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร อันบรรพชิตจะแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิตนั้น ก็หามาได้โดยไม่ยาก. +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้, พึงอยู่ในวนปัตถ์นั้น จนตลอดชีวิต, อย่าหลีกไปเสียเลย. http://etipitaka.com/read/pali/12/214/?keywords=วนปตฺถา+ปกฺกมิตพฺพํ (ในกรณีแห่ง การเลือกหมู่บ้าน นิคม นคร ชนบท และบุคคล ที่ควรเสพหรือไม่ควรเสพ ก็ได้ตรัสไว้โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกัน ) (ในสูตรอื่น ถือเอา การเกิดแห่งกุศลและการไม่เกิดแห่งอกุศล เป็นหลักเกณฑ์สำหรับ การเลือก ว่าควรเสพหรือไม่ควรเสพ : ถ้าได้ผลเป็นบุญกุศลถือว่า ควรเสพ, ถ้าได้ผลเป็นอกุศล ถือว่าไม่ควรเสพ. และถือเอาหลักเกณฑ์นี้สำหรับการเลือกสิ่งเหล่านี้คือ กายสมาจาร วจีสมาจาร มโนสมาจาร จิตตุปบาท สัญญาปฏิลาภ ทิฏฐิปฏิลาภ อัตตภาวปฏิลาภ อารมณ์แต่ละอารมณ์ทางอายตนะทั้งหก จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คาม นิคม นคร ชนบท และ บุคคล. ผู้ปรารถนา รายละเอียดพึงดูจากที่มานั้น ๆ : -​ อุปริ. ม. ๑๔/๑๔๔ – ๑๖๔/๑๙๙ – ๒๓๒; http://etipitaka.com/read/pali/14/144/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%99 หรือดูที่หัวข้อว่า “การเสพที่เป็นอุปกรณ์และไม่เป็นอุปกรณ์ แก่ความเพียรละอกุศลและเจริญกุศล” ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/147 - 253/235 - 242. http://etipitaka.com/read/thai/12/147/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๒๑๒ - ๒๑๘/๒๓๕ - ๒๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/12/212/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1023 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1023 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88 ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพไม่ควรเสพ--(อันเป็นอุปกรณ์แห่งมรรค)--การเลือกที่อยู่ในป่า (วนปัตถ์)
    -[ศีลอันเป็นที่ตั้งพื้นฐานในที่นี้ มิได้หมายถึงศีลที่มีรวมอยู่ในอัฏฐังคิกมรรค, หาก แต่เป็นศีลพื้นฐาน เช่นศีลห้า อุโบสถศีล อันยังมิได้ปรารภวิเวก – วิราค – นิโรธ – โวสสัคคะ. ลักษณะแห่งการเจริญอริยมรรคนั้น กล่าวไว้หลายวิธี : ในที่อื่น กล่าวว่า เจริญองค์แห่งมรรคแต่ละองค์ๆ อย่างที่ มีการนำออกซึ่งราคะเป็นที่สุดรอบ (ราควินยปริโยสาน) มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นที่สุดรอบ (โทสวินยปริโยสาน) มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นที่สุดรอบ (โมหวินย-ปริโยสาน) (๑๙/๖๘ – ๖๙/๒๖๖ - ๒๖๗) ; ในที่อื่นว่า เจริญองค์แห่งอริยมรรค อย่างที่ มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธ) มีอมตะเป็นที่ไปในเบื้องหน้า (อมตปรายน) มีอมตะเป็นที่ สุดรอบ (อมตปริโยสาน) (๑๙/๖๙ /๒๖๘ - ๒๖๙) ; ในที่อื่นแสดงลักษณะแห่งองค์อริยมรรคว่า เอียงไปสู่นิพพาน (นิพฺพานนินฺน) น้อมไปสู่นิพพาน (นิพฺพานโปณ) ลาดลุ่มไปสู่นิพพาน (นิพฺพานปพฺภาร) (๑๙/๖๙ – ๗๐/๒๗๐ - ๒๗๑) ; ต่างกันอยู่เป็นสี่รูปแบบดังนี้ ล้านแต่เป็นที่ น่าสนใจนำไปพิจารณา. กิริยาที่ผู้ปฏิบัติต้องอาศัยศีลเป็นที่ตั้ง มีอุปมาเหมือนการทำงานต้องอาศัยเหยียบแผ่นดินเป็นที่ตั้ง นั้น ยังอุปมาแปลกออกไป เหมือนการที่พฤกษาชาติทั้งหลายต้องอาศัยแผ่นดิน เป็นที่งอกงาม ก็มี (๑๙/ ๗๐/๒๗๒ - ๒๗๓) และ เหมือนพวกนาคอาศัยซอกเขาหิมพานต์เป็นที่เกิดเป็นที่เจริญ ก็มี (๑๙/๗๑/๒๗๔ - ๒๗๕) ; ล้วนแต่มีความหมายอย่างเดียวกันว่า ว่าต้องมีที่ตั้ง ที่อาศัย]. หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และบุคคลที่ควรเสพไม่ควรเสพ (อันเป็นอุปกรณ์แห่งมรรค) การเลือกที่อยู่ในป่า (วนปัตถ์) ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ (ป่าทึบ) แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ไม่ตั้งขึ้นได้, จิตที่ยังไม่ตั้งมั่นก็ไม่ตั้งมั่น, อาสวะที่ยังไม่สิ้นก็ไม่ถึงความสิ้น, และอนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุก็ไม่บรรลุ, ทั้งจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิต ก็หามาได้โดยยาก. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นเวลากลางวันหรือกลางคืน พึงหลีกไปเสียจากวนปัตถ์นั้น, อย่าอยู่เลย. ภิกษุ ท. ! อนึ่ง ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ไม่ตั้งขึ้นได้, จิตที่ยังไม่ตั้งมั่นก็ไม่ตั้งมั่น, อาสวะที่ยังไม่สิ้นก็ไม่ถึงความสิ้น, และอนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุก็ไม่บรรลุ; แต่ว่า จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิต ก็หามาได้โดยไม่ยาก. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว คิดว่า “เราเป็นผู้ออกจากเรือนบวชเพราะเหตุแห่งจีวรก็หามิได้ เพราะเหตุแห่งบิณฑบาตก็หามิได้ เพราะเหตุแห่งเสนาสนะก็หามิได้ เพราะเหตุแห่ง คิลานปัจจยเภสัชชบริขารก็หามิได้”; ครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ภิกษุนั้น พึงหลีกไปจากวนปัตถ์นั้น, อย่าอยู่เลย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ตั้งขึ้นได้, จิตที่ยังไม่ตั้งมั่นก็ตั้งมั่น, อาสวะที่ยังไม่สิ้น ก็ถึงความสิ้น, และอนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุก็บรรลุ; แต่ว่าจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิตนั้น ก็หามาได้โดยยาก. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้แล้ว คิดว่า “เรามิได้ ออกจากเรือนบวช เพราะเหตุแห่งจีวร เพราะเหตุแห่งบิณฑบาต เพราะเหตุแห่งเสนาสนะ เพราะเหตุแห่งคิลานปัจจยเภสัชชบริขาร”; ครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ภิกษุนั้น พึงอยู่ในวนปตถ์นั้นอย่าหลีกไปเสียเลย. ภิกษุ ท. ! อนึ่ง ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปอาศัย วนปัตถ์ แห่งใดแห่งหนึ่งอยู่, สติที่ยังตั้งขึ้นไม่ได้ ก็ตั้งขึ้นได้, จิตที่ยังไม่ตั้งมั่นก็ตั้งมั่น, อาสวะที่ยังไม่สิ้นก็ถึงความสิ้น, และอนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุก็บรรลุ; ทั้งจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจยเภสัชชบริขาร อันบรรพชิตจะแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิตนั้น ก็หามาได้โดยไม่ยาก. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ดังนี้ พึงอยู่ในวนปัตถ์นั้น จนตลอดชีวิต, อย่าหลีกไปเสียเลย. (ในกรณีแห่ง การเลือกหมู่บ้าน นิคม นคร ชนบท และบุคคล ที่ควรเสพหรือไม่ควรเสพ ก็ได้ตรัสไว้โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกัน)-
    0 Comments 0 Shares 134 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 1021
    ชื่อบทธรรม :- องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1021
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์-(อุปกรณ์แห่งการปฏิบัติมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโค ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างแล้ว
    ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. องคคุณ ๑๑ อย่าง อะไรบ้างเล่า ?
    --สิบเอ็ดอย่างคือ คนเลี้ยงโคในกรณีนี้
    เป็นผู้รู้จักเรื่องร่างกายของโค,
    เป็นผู้ฉลาดในลักษณะของโค, เป็นผู้เขี่ยไข่ขาง, เป็นผู้ปิดแผล,
    เป็นผู้สุมควัน, เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรนำโคไป, เป็นผู้รู้จักน้ำที่โคควรดื่ม,
    เป็นผู้รู้จักทางที่โค ควรเดิน,
    เป็นผู้ฉลาดในที่ที่โค ควรไป,
    เป็นผู้รู้จักรีดนมโค ให้มีเหลือไว้บ้าง,
    เป็นผู้ให้เกียรติแก่โคอุสภ อันเป็นโคพ่อฝูง
    เป็นโคนำฝูง ด้วยการเอาใจใส่เป็นพิเศษ.
    --ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโคที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างนี้แล้ว
    ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. ข้อนี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการแล้ว
    ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์) นี้ได้ ฉันนั้น.
    องคคุณ ๑๑ ประการ อย่างไรบ้างเล่า?
    +--สิบเอ็ดประการคือ ภิกษุ ในกรณีนี้
    ๑.เป็นผู้รู้จักรูป,
    ๒.เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ,
    ๓.เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง,
    ๔.เป็นผู้ปิดแผล,
    ๕.เป็นผู้สุมควัน,
    ๖.เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป,
    ๗.เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม,
    ๘.เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน,
    ๙.เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป,
    ๑๐.พเป็นผู้รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง,
    ๑๑.เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลาย ผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ.

    ๑--พวกรู้จักรูป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรูป เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    “รูปชนิดใดก็ตาม ทั้งหมดนั้น
    ชื่อว่า รูป คือ มหาภูตรูปมี ๔
    และอุปาทายรูปคือรูปที่อาศัยมหาภูตรูปทั้งสี่”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักรูป เป็นอย่างนี้แล.

    ๒--พวกฉลาดในลักษณะ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    “คนพาล มีกรรม (มโน​ วจี​ กาย) เป็นเครื่องหมาย,
    บัณฑิต ก็มีกรรม (มโน​ วจี​ กาย) เป็นเครื่องหมาย”
    ดังนี้เป็นต้น.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างนี้แล.

    ๓--พวกคอยเขี่ยไข่ขาง
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    อดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น
    ซึ่งความตรึกเกี่ยวด้วยกาม,
    ความตรึกเกี่ยวด้วยความมุ่งร้าย,
    ความตรึกเกี่ยวด้วยการทำความลำบากให้แก่ตนเองและผู้อื่นแม้โดยไม่เจตนา
    ที่เกิดขึ้นแล้ว;
    และอดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น
    ซึ่งสิ่งอันเป็น &อกุศลลามกทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว.
    ภิกษุ ท. ! ภิกษุ​#เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างนี้ แล.

    ๔--พวกปิดแผล
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ปิดแผล เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เห็นรูปด้วยตา,
    ฟังเสียงด้วยหู,
    ดมกลิ่นด้วยจมูก,
    ลิ้มรสด้วยลิ้น,
    สัมผัสโผฏฐัพพะด้วยกาย,
    รู้ธรรมมารมณ์ด้วยใจ,
    แล้วไม่มีจิตยึดถือเอาทั้งโดยลักษณะที่เป็นการรวบถือทั้งหมด
    และการถือเอาโดยการแยกเป็นส่วน ๆ,
    สิ่งที่ อกุศลลามกคือ อภิชฌาและโทมนัส
    จะพึงไหลไปตามผู้ที่ ไม่สำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
    เพราะ &การไม่สำรวมอินทรีย์ใดเป็นเหตุ,
    เธอก็ปฏิบัติ เพื่อปิดกั้นอินทรีย์นั้นไว้,
    เธอรักษาและถึงการสำรวม ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ปิดแผล เป็นอย่างนี้แล.

    ๕--พวกสุมควัน
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ สุมควัน เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้แสดงธรรม ตามที่ได้ฟัง ได้เล่าเรียนมาแล้ว
    แก่ผู้อื่นโดยพิสดาร.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้สุมควัน เป็นอย่างนี้แล.

    ๖--พวกรู้จักท่าที่ควรไป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เมื่อเข้าไปหาภิกษุผู้เป็นพหุสูต คล่องแคล่วในหลักพระพุทธวจนะ
    ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แม่บท),
    ก็ไต่ถาม ไล่เลียงโดยทำนองนี้ว่า
    “ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ! พระพุทธวจนะนี้ เป็นอย่างไร ?
    ความหมายแห่งพระพุทธวจนะนี้มีอย่างไร ?”
    ดังนี้เป็นต้น ตามเวลาอันสมควร ;
    ท่านพหุสูตเหล่านั้น จึงทำข้อความที่ยังลี้ลับให้เปิดเผย
    ทำข้อความอันลึกซึ้ง ให้ตื้น และบรรเทา ถ่ายถอน
    ความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งความสงสัยนานาประการให้แก่ภิกษุนั้นได้.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล.

    ๗--พวกที่รู้จักน้ำที่ควรดื่ม
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เมื่อธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศไว้แล้ว
    อันผู้ใดผู้หนึ่งแสดงอยู่ เธอได้ความรู้อรรถ ได้ความรู้ธรรม
    และได้ความปราโมทย์อันอาศัยธรรม.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างนี้แล.

    ๘--พวกรู้จักทางที่ควรเดิน
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่ง &อริยมรรคมีองค์ ๘.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างนี้แล.

    ๙--พวกฉลาดในที่ที่ควรไป
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่ง &สติปัฏฐาน ๔.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล.

    ๑๐--พวกรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! พวกคฤหัสถ์ผู้มีศรัทธา ย่อมปวารณาไม่มีขีดขั้น แก่ภิกษุในกรณีนี้
    +--ด้วยจีวร
    +--บิณฑบาต
    +--เสนาสนะ และ
    +--คิลานปัจจัยเภสัช บริกขาร.
    ในการที่เขาปวารณาเช่นนั้น,
    ภิกษุ เป็นผู้รู้จักประมาณในการรับปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้นเหล่านั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักรีดนมโคให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างนี้แล.

    ๑๑--พวกบูชาผู้เฒ่า
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล
    เป็นผู้นำสงฆ์เป็นบิดาสงฆ์... ฯลฯ...
    ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปตั้งไว้ซึ่ง
    การกระทำทางกาย การกระทำทางวาจา และการกระทำทางใจ
    อันประกอบด้วยเมตตา
    ในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน
    เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ทั้งในที่แจ้งและทั้งในที่ลับ.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ
    #เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ... ฯลฯ...
    ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างนี้แล.

    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการเหล่านี้แล้ว
    #ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์-ธมฺมวินเย)​
    http://etipitaka.com/read/pali/12/417/?keywords=ธมฺมวินเย
    นี้ได้แท้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/292 -293/386 - 387.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/292/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๑๓ - ๔๑๔/๓๘๖ - ๓๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/413/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1021
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88
    ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 1021 ชื่อบทธรรม :- องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1021 เนื้อความทั้งหมด :- --องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์-(อุปกรณ์แห่งการปฏิบัติมรรค) --ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโค ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างแล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. องคคุณ ๑๑ อย่าง อะไรบ้างเล่า ? --สิบเอ็ดอย่างคือ คนเลี้ยงโคในกรณีนี้ เป็นผู้รู้จักเรื่องร่างกายของโค, เป็นผู้ฉลาดในลักษณะของโค, เป็นผู้เขี่ยไข่ขาง, เป็นผู้ปิดแผล, เป็นผู้สุมควัน, เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรนำโคไป, เป็นผู้รู้จักน้ำที่โคควรดื่ม, เป็นผู้รู้จักทางที่โค ควรเดิน, เป็นผู้ฉลาดในที่ที่โค ควรไป, เป็นผู้รู้จักรีดนมโค ให้มีเหลือไว้บ้าง, เป็นผู้ให้เกียรติแก่โคอุสภ อันเป็นโคพ่อฝูง เป็นโคนำฝูง ด้วยการเอาใจใส่เป็นพิเศษ. --ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโคที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างนี้แล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. ข้อนี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการแล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์) นี้ได้ ฉันนั้น. องคคุณ ๑๑ ประการ อย่างไรบ้างเล่า? +--สิบเอ็ดประการคือ ภิกษุ ในกรณีนี้ ๑.เป็นผู้รู้จักรูป, ๒.เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ, ๓.เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง, ๔.เป็นผู้ปิดแผล, ๕.เป็นผู้สุมควัน, ๖.เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป, ๗.เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม, ๘.เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน, ๙.เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป, ๑๐.พเป็นผู้รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง, ๑๑.เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลาย ผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ. ๑--พวกรู้จักรูป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรูป เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “รูปชนิดใดก็ตาม ทั้งหมดนั้น ชื่อว่า รูป คือ มหาภูตรูปมี ๔ และอุปาทายรูปคือรูปที่อาศัยมหาภูตรูปทั้งสี่” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักรูป เป็นอย่างนี้แล. ๒--พวกฉลาดในลักษณะ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “คนพาล มีกรรม (มโน​ วจี​ กาย) เป็นเครื่องหมาย, บัณฑิต ก็มีกรรม (มโน​ วจี​ กาย) เป็นเครื่องหมาย” ดังนี้เป็นต้น. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างนี้แล. ๓--พวกคอยเขี่ยไข่ขาง --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ อดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น ซึ่งความตรึกเกี่ยวด้วยกาม, ความตรึกเกี่ยวด้วยความมุ่งร้าย, ความตรึกเกี่ยวด้วยการทำความลำบากให้แก่ตนเองและผู้อื่นแม้โดยไม่เจตนา ที่เกิดขึ้นแล้ว; และอดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น ซึ่งสิ่งอันเป็น &อกุศลลามกทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ​#เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างนี้ แล. ๔--พวกปิดแผล --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ปิดแผล เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นรูปด้วยตา, ฟังเสียงด้วยหู, ดมกลิ่นด้วยจมูก, ลิ้มรสด้วยลิ้น, สัมผัสโผฏฐัพพะด้วยกาย, รู้ธรรมมารมณ์ด้วยใจ, แล้วไม่มีจิตยึดถือเอาทั้งโดยลักษณะที่เป็นการรวบถือทั้งหมด และการถือเอาโดยการแยกเป็นส่วน ๆ, สิ่งที่ อกุศลลามกคือ อภิชฌาและโทมนัส จะพึงไหลไปตามผู้ที่ ไม่สำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะ &การไม่สำรวมอินทรีย์ใดเป็นเหตุ, เธอก็ปฏิบัติ เพื่อปิดกั้นอินทรีย์นั้นไว้, เธอรักษาและถึงการสำรวม ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ปิดแผล เป็นอย่างนี้แล. ๕--พวกสุมควัน --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ สุมควัน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้แสดงธรรม ตามที่ได้ฟัง ได้เล่าเรียนมาแล้ว แก่ผู้อื่นโดยพิสดาร. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้สุมควัน เป็นอย่างนี้แล. ๖--พวกรู้จักท่าที่ควรไป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เมื่อเข้าไปหาภิกษุผู้เป็นพหุสูต คล่องแคล่วในหลักพระพุทธวจนะ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แม่บท), ก็ไต่ถาม ไล่เลียงโดยทำนองนี้ว่า “ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ! พระพุทธวจนะนี้ เป็นอย่างไร ? ความหมายแห่งพระพุทธวจนะนี้มีอย่างไร ?” ดังนี้เป็นต้น ตามเวลาอันสมควร ; ท่านพหุสูตเหล่านั้น จึงทำข้อความที่ยังลี้ลับให้เปิดเผย ทำข้อความอันลึกซึ้ง ให้ตื้น และบรรเทา ถ่ายถอน ความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งความสงสัยนานาประการให้แก่ภิกษุนั้นได้. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล. ๗--พวกที่รู้จักน้ำที่ควรดื่ม --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เมื่อธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศไว้แล้ว อันผู้ใดผู้หนึ่งแสดงอยู่ เธอได้ความรู้อรรถ ได้ความรู้ธรรม และได้ความปราโมทย์อันอาศัยธรรม. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างนี้แล. ๘--พวกรู้จักทางที่ควรเดิน --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่ง &อริยมรรคมีองค์ ๘. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างนี้แล. ๙--พวกฉลาดในที่ที่ควรไป --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่ง &สติปัฏฐาน ๔. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล. ๑๐--พวกรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! พวกคฤหัสถ์ผู้มีศรัทธา ย่อมปวารณาไม่มีขีดขั้น แก่ภิกษุในกรณีนี้ +--ด้วยจีวร +--บิณฑบาต +--เสนาสนะ และ +--คิลานปัจจัยเภสัช บริกขาร. ในการที่เขาปวารณาเช่นนั้น, ภิกษุ เป็นผู้รู้จักประมาณในการรับปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้นเหล่านั้น. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้รู้จักรีดนมโคให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างนี้แล. ๑๑--พวกบูชาผู้เฒ่า --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล เป็นผู้นำสงฆ์เป็นบิดาสงฆ์... ฯลฯ... ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปตั้งไว้ซึ่ง การกระทำทางกาย การกระทำทางวาจา และการกระทำทางใจ อันประกอบด้วยเมตตา ในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ทั้งในที่แจ้งและทั้งในที่ลับ. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ... ฯลฯ... ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างนี้แล. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการเหล่านี้แล้ว #ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์-ธมฺมวินเย)​ http://etipitaka.com/read/pali/12/417/?keywords=ธมฺมวินเย นี้ได้แท้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/292 -293/386 - 387. http://etipitaka.com/read/thai/12/292/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๔๑๓ - ๔๑๔/๓๘๖ - ๓๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/12/413/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88&id=1021 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=88 ลำดับสาธยายธรรม : 88 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_88.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์--(อุปกรณ์แห่งการปฏิบัติมรรค)
    -(รายชื่อแห่งธรรมเป็นเครื่องขูดเกลา ๔๔ คู่นี้ ไม่ได้ใช้เพื่ออธิบายเกี่ยวกับการขูดเกลาอย่างเดียว แต่ใช้เพื่ออธิบายในการประพฤติกระทำอย่างอื่นด้วย ดังที่ได้แยกไว้เป็น ข้อ ก. ข. ค. ง. ในตอนท้าย; ผู้ที่ตั้งใจจะศึกษาจริงๆ พึงกำหนดให้ชัดเจนว่ามีลำดับอย่างไร เป็นฝ่ายผิดหรือฝ่ายถูกอย่างไร ก็จะสามารถเข้าใจข้อความที่ละไว้ โดยไม่นำมาใส่ไว้ให้เต็ม เช่น อ้างถึงแต่ข้อต้น และ ข้อสุดท้าย เป็นต้น, ก็จะสำเร็จประโยชน์ได้ตามปรารถนา). องค์คุณที่ทำให้เจริญงอกงามไพบูลย์ในพรหมจรรย์ (อุปกรณ์แห่งการปฏิบัติมรรค) ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโค ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างแล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. องคคุณ ๑๑ อย่าง อะไรบ้างเล่า ? สิบเอ็ดอย่างคือ คนเลี้ยงโคในกรณีนี้ เป็นผู้รู้จักเรื่องร่างกายของโค, เป็นผู้ ฉลาดในลักษณะของโค, เป็นผู้เขี่ยไข่ขาง, เป็นผู้ปิดแผล, เป็นผู้สุมควัน, เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรนำโคไป, เป็นผู้รู้จักน้ำที่โคควรดื่ม, เป็นผู้รู้จักทางที่โค ควรเดิน, เป็นผู้ฉลาดในที่ที่โคควรไป, เป็นผู้รู้จักรีดนมโคให้มีเหลือไว้บ้าง, เป็นผู้ให้เกียรติแก่โคอุสภ อันเป็นโคพ่อฝูง เป็นโคนำฝูง ด้วยการเอาใจใส่เป็นพิเศษ. ภิกษุ ท. ! คนเลี้ยงโคที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ อย่างนี้แล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะเลี้ยงโค ทำให้เพิ่มกำไรได้. ข้อนี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการแล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์) นี้ได้ ฉันนั้น. องคคุณ ๑๑ ประการ อย่างไรบ้างเล่า? สิบเอ็ดประการคือ ภิกษุ ในกรณีนี้ เป็นผู้รู้จักรูป, เป็นผู้ฉลาดในลักษณะ, เป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง, เป็นผู้ปิดแผล, เป็นผู้สุมควัน, เป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไป, เป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม, เป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน, เป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป, เป็นผู้รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง, เป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลาย ผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ. พวกรู้จักรูป ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรูป เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “รูปชนิดใดก็ตาม ทั้งหมดนั้น ชื่อว่า รูป คือ มหาภูตรูปมี ๔ และอุปาทายรูปคือรูปที่อาศัยมหาภูตรูปทั้งสี่” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักรูป เป็นอย่างนี้แล. พวกฉลาดในลักษณะ ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า “คนพาล มีกรรม (การกระทำ) เป็นเครื่องหมาย, บัณฑิต ก็มีกรรม (การกระทำ) เป็นเครื่องหมาย” ดังนี้เป็นต้น. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ฉลาดในลักษณะ เป็นอย่างนี้แล. พวกคอยเขี่ยไข่ขาง ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ อดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น ซึ่งความ ตรึกเกี่ยวด้วยกาม, ความตรึกเกี่ยวด้วยความมุ่งร้าย, ความตรึกเกี่ยวด้วยการทำความลำบากให้แก่ตนเองและผู้อื่นแม้โดยไม่เจตนา ที่เกิดขึ้นแล้ว; และอดกลั้นได้ ละ บรรเทา ทำให้สิ้นสุด ทำให้หมดสิ้น ซึ่งสิ่งอันเป็นอกุศลลามกทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้คอยเขี่ยไข่ขาง เป็นอย่างนี้ แล. พวกปิดแผล ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ปิดแผล เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เห็นรูปด้วยตา, ฟังเสียงด้วยหู, ดมกลิ่นด้วยจมูก, ลิ้มรสด้วยลิ้น, สัมผัสโผฏฐัพพะด้วยกาย, รู้ธรรมมารมณ์ด้วยใจ, แล้วไม่มีจิตยึดถือเอาทั้งโดยลักษณะที่เป็นการรวบถือทั้งหมด และการถือเอาโดยการแยกเป็นส่วน ๆ, สิ่งที่อกุศลลามกคืออภิชฌาและโทมนัส จะพึงไหลไปตามผู้ที่ ไม่สำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะการไม่สำรวมอินทรีย์ใดเป็นเหตุ, เธอ ก็ปฏิบัติ เพื่อปิดกั้นอินทรีย์นั้นไว้, เธอรักษาและถึงการสำรวม ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ปิดแผล เป็นอย่างนี้แล. พวกสุมควัน ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ สุมควัน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้แสดงธรรม ตามที่ได้ฟัง ได้เล่าเรียนมาแล้ว แก่ผู้อื่นโดยพิสดาร. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้สุมควัน เป็นอย่างนี้แล. พวกรู้จักท่าที่ควรไป ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักท่าที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เมื่อเข้าไปหาภิกษุผู้เป็นพหุสูต คล่องแคล่วในหลักพระพุทธวจนะ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แม่บท), ก็ไต่ถาม ไล่เลียงโดยทำนองนี้ว่า “ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ! พระพุทธวจนะนี้ เป็นอย่างไร ? ความหมายแห่งพระพุทธวจนะนี้มีอย่างไร ?” ดังนี้เป็นต้น ตามเวลาอันสมควร ; ท่านพหุสูตเหล่านั้น จึงทำข้อความที่ยังลี้ลับให้เปิดเผย ทำข้อความอันลึกซึ้ง ให้ตื้น และบรรเทา ถ่ายถอน ความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งความสงสัยนานาประการให้แก่ภิกษุนั้นได้. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักท่าที่ควรไปเป็นอย่างนี้แล. พวกที่รู้จักน้ำที่ควรดื่ม ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เมื่อธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศไว้แล้ว อันผู้ใดผู้หนึ่งแสดง อยู่ เธอได้ความรู้อรรถ ได้ความรู้ธรรม และได้ความปราโมทย์อันอาศัยธรรม. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักน้ำที่ควรดื่ม เป็นอย่างนี้แล. พวกรู้จักทางที่ควรเดิน ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่งอริยมรรคมีองค์ ๘. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักทางที่ควรเดิน เป็นอย่างนี้แล. พวกฉลาดในที่ที่ควรไป ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมรู้ชัดแจ้งตามที่เป็นจริง ซึ่งสติปัฏฐาน ๔. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ฉลาดในที่ที่ควรไป เป็นอย่างนี้แล. พวกรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือ ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! พวกคฤหัสถ์ผู้มีศรัทธา ย่อมปวารณาไม่มีขีดขั้น แก่ภิกษุในกรณีนี้ ด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริกขาร. ในการที่เขาปวารณาเช่นนั้น, ภิกษุ เป็นผู้รู้จักประมาณในการรับปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้นเหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้รู้จักรีด “นมโค” ให้มีส่วนเหลือไว้บ้าง เป็นอย่างนี้แล. พวกบูชาผู้เฒ่า ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้ บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล เป็นผู้นำสงฆ์เป็นบิดาสงฆ์ ฯลฯ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เข้าไปตั้งไว้ซึ่งการกระทำทางกาย การกระทำทางวาจา และการกระทำทางใจ อันประกอบด้วยเมตตา ในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ มีพรรษายุกาล บวชนาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้นำสงฆ์ ทั้งในที่แจ้งและทั้งในที่ลับ. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเป็นผู้บูชาอย่างยิ่งในภิกษุทั้งหลายผู้เถระ ฯลฯ ด้วยการบูชาเป็นพิเศษ เป็นอย่างนี้แล. ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ที่ประกอบด้วยองคคุณ ๑๑ ประการเหล่านี้แล้ว ย่อมเหมาะสมที่จะถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย (พรหมจรรย์) นี้ได้แท้.
    0 Comments 0 Shares 295 Views 0 Reviews
  • ประชุมผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 โรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา"

    วันที่ 7 มิถุนายน 2568 ที่ หอประชุมโรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา" อ.สีคิ้ว #นายสาทิช บวชสันเทียะ รองนายก อบจ.นครราชสีมา ประธานประชุมผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2568 เพื่อมอบนโยบายด้านพัฒนาการศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายของ นางยลดา หวังศุภกิจโกศล นายก อบจ.นครราชสีมา ที่มุ่งเน้นพัฒนาการศึกษาแบบก้าวกระโดด นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในจัดการเรียนการสอน ให้เด็กนักเรียนได้เรียนอย่างที่อยากเรียน รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย สร้างความมั่นใจผู้ปกครองและชุมชน ที่ได้ส่งบุตรหลานเข้ามาเรียนในสถานศึกษา สังกัด อบจ.

    โดยมี ผู้อำนวยการสถานศึกษา, คณะกรรมการสถานศึกษา, ครู, ผู้ปกครอง และนักเรียน เข้าร่วม

    #นายกหน่อย #อบจโคราช
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    #prkoratpao
    ประชุมผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 โรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา" วันที่ 7 มิถุนายน 2568 ที่ หอประชุมโรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา" อ.สีคิ้ว #นายสาทิช บวชสันเทียะ รองนายก อบจ.นครราชสีมา ประธานประชุมผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2568 เพื่อมอบนโยบายด้านพัฒนาการศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายของ นางยลดา หวังศุภกิจโกศล นายก อบจ.นครราชสีมา ที่มุ่งเน้นพัฒนาการศึกษาแบบก้าวกระโดด นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในจัดการเรียนการสอน ให้เด็กนักเรียนได้เรียนอย่างที่อยากเรียน รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย สร้างความมั่นใจผู้ปกครองและชุมชน ที่ได้ส่งบุตรหลานเข้ามาเรียนในสถานศึกษา สังกัด อบจ. โดยมี ผู้อำนวยการสถานศึกษา, คณะกรรมการสถานศึกษา, ครู, ผู้ปกครอง และนักเรียน เข้าร่วม #นายกหน่อย #อบจโคราช #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช #prkoratpao
    0 Comments 0 Shares 154 Views 0 Reviews
  • ประชุมผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 โรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา"

    วันที่ 7 มิถุนายน 2568 ที่ หอประชุมโรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา" อ.สีคิ้ว #นายสาทิช บวชสันเทียะ รองนายก อบจ.นครราชสีมา ประธานประชุมผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2568 เพื่อมอบนโยบายด้านพัฒนาการศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายของ นางยลดา หวังศุภกิจโกศล นายก อบจ.นครราชสีมา ที่มุ่งเน้นพัฒนาการศึกษาแบบก้าวกระโดด นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในจัดการเรียนการสอน ให้เด็กนักเรียนได้เรียนอย่างที่อยากเรียน รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย สร้างความมั่นใจผู้ปกครองและชุมชน ที่ได้ส่งบุตรหลานเข้ามาเรียนในสถานศึกษา สังกัด อบจ.

    โดยมี ผู้อำนวยการสถานศึกษา, คณะกรรมการสถานศึกษา, ครู, ผู้ปกครอง และนักเรียน เข้าร่วม

    #นายกหน่อย #อบจโคราช
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    #prkoratpao
    ประชุมผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 โรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา" วันที่ 7 มิถุนายน 2568 ที่ หอประชุมโรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา" อ.สีคิ้ว #นายสาทิช บวชสันเทียะ รองนายก อบจ.นครราชสีมา ประธานประชุมผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2568 เพื่อมอบนโยบายด้านพัฒนาการศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายของ นางยลดา หวังศุภกิจโกศล นายก อบจ.นครราชสีมา ที่มุ่งเน้นพัฒนาการศึกษาแบบก้าวกระโดด นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในจัดการเรียนการสอน ให้เด็กนักเรียนได้เรียนอย่างที่อยากเรียน รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย สร้างความมั่นใจผู้ปกครองและชุมชน ที่ได้ส่งบุตรหลานเข้ามาเรียนในสถานศึกษา สังกัด อบจ. โดยมี ผู้อำนวยการสถานศึกษา, คณะกรรมการสถานศึกษา, ครู, ผู้ปกครอง และนักเรียน เข้าร่วม #นายกหน่อย #อบจโคราช #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช #prkoratpao
    0 Comments 0 Shares 155 Views 0 Reviews
  • วันนี้พักเรื่องมือปราบ เรามาคุยกันเรื่องบทกวีที่มีคติสอนใจ เป็นบทกวีอีกหนึ่งบทที่ปรากฎในนิยาย/ละคร <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ในตอนที่พระเอกวาดภาพดอกบัว

    ความมีอยู่ว่า
    ...โจวเซิงเฉินมองเธอเช่นกัน ยิ้มเล็กน้อย เปลี่ยนพู่กันแล้วเขียนลงตรงข้างๆ ภาพวาด: “ยามมองปทุมสะอาดหมดจด พึงหยั่งรู้ถึงใจที่ไม่แปดเปื้อน”
    นี่เป็นวลีของเมิ่งฮ่าวหรัน
    เธอจำวลีนี้ได้ ย่อมเข้าใจถึงความหมายของมัน: เจ้าเห็นดอกบัวนี้โผล่พ้นโคลนตมออกมาแต่ไม่เปรอะเปื้อน ควรเป็นคติเตือนใจ อย่าให้โลกแห่งกิเลสมาครอบงำ รักษาจิตใจของตนให้ดี...
    - จากเรื่อง <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (แต่ Storyฯ แปลเองจ้า)

    วลี “ยามมองปทุมสะอาดหมดจด พึงหยั่งรู้ถึงใจที่ไม่แปดเปื้อน” (看取莲花净,应知不染心) นี้ ในละครตีความหมายผ่านบทสนทนาของตัวละครว่า โจวเซิงเฉินใช้วลีนี้สื่อถึงความรักที่มั่นคงต่อสืออี๋ ไม่ยอมให้ประเพณีนิยมมากวนใจ

    ขออภัยหากทำลายความโรแมนติกลง แต่จริงๆ แล้ววลีนี้ไม่ได้หมายถึงการยึดมั่นในความคิดของตน หากแต่เป็นบทกวีที่มีพื้นฐานจากคำสอนของศาสนาพุทธจึงมีการเปรียบเปรยถึงดอกบัวอันบริสุทธิ์ และความหมายเป็นไปตามที่บรรยายในนิยายข้างต้น ซึ่งก็คือการดำรงให้ ‘ใจไร้รอยแปดเปื้อน’ (ปู้หร่านซิน / 不染心)

    บทกวีนี้มีชื่อเต็มว่า “เรื่องกุฏิของอี้กง” (ถีอี้กงฉานฝาง / 题义公禅房) มีทั้งหมดแปดวรรค เป็นหนึ่งในบทกวีเลื่องชื่อของเมิ่งฮ่าวหรัน (ค.ศ. 689 – 740) กวีเอกสมัยราชวงศ์ถัง สรุปใจความเป็นการบรรยายถึง นักบวชขั้นสูงนามว่าอี้กงผู้บำเพ็ญศีลในกุฏิที่สร้างอยู่ในป่าเงียบสงบและศึกษาจบบทที่เรียกว่า ‘คัมภีร์ดอกบัว’ ด้วยใจสงบนิ่งไม่ถูกสิ่งแวดล้อมทำให้ไขว้เขว สะท้อนถึงใจที่บริสุทธิ์ไม่แปดเปื้อนด้วยกิเลส

    บทกวีนี้จัดอยู่ในประเภทที่เรียกว่า ‘กลอนทิวทัศน์ภูผาวารี’ หรือ ‘ซานสุ่ยซือ’ มีลักษณะเป็นโคลงห้า (五言律诗) ซึ่งเป็นสไตล์ที่เมิ่งฮ่าวหรันชอบใช้ โคลงห้าของจีนในแต่ละวรรคมีห้าอักษร นอกจากคำคล้องจองแล้ว อักษรที่ใช้ต้องมีจังหวะเสียงประมาณนี้ (อาจสลับเรียงวรรคก่อนหลังได้ แต่จังหวะในแต่ละวรรคไม่เปลี่ยน)
    เข้ม เข้ม - เบา เบา เข้ม / เข้ม เข้ม - เข้ม เบา เบา
    เบา เบา - เบา เข้ม เข้ม / เบา เบา - เข้ม เข้ม เบา

    สำหรับท่านที่ต้องการสำนวนที่สื่อถึงการยึดมั่นในเจตนารมณ์ Storyฯ อยากแนะนำอีกวลีหนึ่งแทน เป็นวลีสั้นๆ ว่า “ไม่ลืมใจเดิม” (ปู้ว่างชูซิน / 不忘初心) เป็นวลีที่ยกมาจากงานเขียนสมัยราชวงศ์ถังเช่นกัน มาจากวรรคเต็มที่เขียนไว้ว่า หากคนเราไม่ลืมความคิดและใจที่ตั้งต้น ย่อมสามารถเดินถึงจุดหมายปลายทางตามเจตนารมณ์เดิมได้

    มันเป็นวลีที่มีคุณค่าทางจิตใจต่อ Storyฯ เพราะเพจนี้เกิดจากความ ‘ไม่ลืมใจเดิม’ ที่อยากจะเป็นนักเขียน หลังจากเส้นทางชีวิตนำพาให้ Storyฯ ไปทำอะไรอย่างอื่นมากมาย ตอนนี้จึงอยากกลับมาตามฝันตั้งต้นของตัวเอง

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก:
    https://3g.163.com/dy/article/GHPHHJRU05527S2X.html
    http://huamenglianyuan.blog.epochtimes.com/article/show?articleid=75762
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.xiaogushi.cn/shici/mingju/414146.html
    https://so.gushiwen.cn/mingju/juv_44e80087e9b5.aspx
    https://baike.baidu.com/item/五言律诗/10294694
    https://www.chinacourt.org/article/detail/2019/09/id/4425543.shtml

    #กระดูกงดงาม #โจวเซิงเฉิน #สืออี๋ #เมิ่งฮ่าวหรัน #บทกวีจีนโบราณ #วลีจีนโบราณ #วัฒนธรรมจีนโบราณ #ราชวงศ์ถัง
    วันนี้พักเรื่องมือปราบ เรามาคุยกันเรื่องบทกวีที่มีคติสอนใจ เป็นบทกวีอีกหนึ่งบทที่ปรากฎในนิยาย/ละคร <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ในตอนที่พระเอกวาดภาพดอกบัว ความมีอยู่ว่า ...โจวเซิงเฉินมองเธอเช่นกัน ยิ้มเล็กน้อย เปลี่ยนพู่กันแล้วเขียนลงตรงข้างๆ ภาพวาด: “ยามมองปทุมสะอาดหมดจด พึงหยั่งรู้ถึงใจที่ไม่แปดเปื้อน” นี่เป็นวลีของเมิ่งฮ่าวหรัน เธอจำวลีนี้ได้ ย่อมเข้าใจถึงความหมายของมัน: เจ้าเห็นดอกบัวนี้โผล่พ้นโคลนตมออกมาแต่ไม่เปรอะเปื้อน ควรเป็นคติเตือนใจ อย่าให้โลกแห่งกิเลสมาครอบงำ รักษาจิตใจของตนให้ดี... - จากเรื่อง <ทุกชาติภพ กระดูกงดงาม> ผู้แต่ง โม่เป่าเฟยเป่า (แต่ Storyฯ แปลเองจ้า) วลี “ยามมองปทุมสะอาดหมดจด พึงหยั่งรู้ถึงใจที่ไม่แปดเปื้อน” (看取莲花净,应知不染心) นี้ ในละครตีความหมายผ่านบทสนทนาของตัวละครว่า โจวเซิงเฉินใช้วลีนี้สื่อถึงความรักที่มั่นคงต่อสืออี๋ ไม่ยอมให้ประเพณีนิยมมากวนใจ ขออภัยหากทำลายความโรแมนติกลง แต่จริงๆ แล้ววลีนี้ไม่ได้หมายถึงการยึดมั่นในความคิดของตน หากแต่เป็นบทกวีที่มีพื้นฐานจากคำสอนของศาสนาพุทธจึงมีการเปรียบเปรยถึงดอกบัวอันบริสุทธิ์ และความหมายเป็นไปตามที่บรรยายในนิยายข้างต้น ซึ่งก็คือการดำรงให้ ‘ใจไร้รอยแปดเปื้อน’ (ปู้หร่านซิน / 不染心) บทกวีนี้มีชื่อเต็มว่า “เรื่องกุฏิของอี้กง” (ถีอี้กงฉานฝาง / 题义公禅房) มีทั้งหมดแปดวรรค เป็นหนึ่งในบทกวีเลื่องชื่อของเมิ่งฮ่าวหรัน (ค.ศ. 689 – 740) กวีเอกสมัยราชวงศ์ถัง สรุปใจความเป็นการบรรยายถึง นักบวชขั้นสูงนามว่าอี้กงผู้บำเพ็ญศีลในกุฏิที่สร้างอยู่ในป่าเงียบสงบและศึกษาจบบทที่เรียกว่า ‘คัมภีร์ดอกบัว’ ด้วยใจสงบนิ่งไม่ถูกสิ่งแวดล้อมทำให้ไขว้เขว สะท้อนถึงใจที่บริสุทธิ์ไม่แปดเปื้อนด้วยกิเลส บทกวีนี้จัดอยู่ในประเภทที่เรียกว่า ‘กลอนทิวทัศน์ภูผาวารี’ หรือ ‘ซานสุ่ยซือ’ มีลักษณะเป็นโคลงห้า (五言律诗) ซึ่งเป็นสไตล์ที่เมิ่งฮ่าวหรันชอบใช้ โคลงห้าของจีนในแต่ละวรรคมีห้าอักษร นอกจากคำคล้องจองแล้ว อักษรที่ใช้ต้องมีจังหวะเสียงประมาณนี้ (อาจสลับเรียงวรรคก่อนหลังได้ แต่จังหวะในแต่ละวรรคไม่เปลี่ยน) เข้ม เข้ม - เบา เบา เข้ม / เข้ม เข้ม - เข้ม เบา เบา เบา เบา - เบา เข้ม เข้ม / เบา เบา - เข้ม เข้ม เบา สำหรับท่านที่ต้องการสำนวนที่สื่อถึงการยึดมั่นในเจตนารมณ์ Storyฯ อยากแนะนำอีกวลีหนึ่งแทน เป็นวลีสั้นๆ ว่า “ไม่ลืมใจเดิม” (ปู้ว่างชูซิน / 不忘初心) เป็นวลีที่ยกมาจากงานเขียนสมัยราชวงศ์ถังเช่นกัน มาจากวรรคเต็มที่เขียนไว้ว่า หากคนเราไม่ลืมความคิดและใจที่ตั้งต้น ย่อมสามารถเดินถึงจุดหมายปลายทางตามเจตนารมณ์เดิมได้ มันเป็นวลีที่มีคุณค่าทางจิตใจต่อ Storyฯ เพราะเพจนี้เกิดจากความ ‘ไม่ลืมใจเดิม’ ที่อยากจะเป็นนักเขียน หลังจากเส้นทางชีวิตนำพาให้ Storyฯ ไปทำอะไรอย่างอื่นมากมาย ตอนนี้จึงอยากกลับมาตามฝันตั้งต้นของตัวเอง (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://3g.163.com/dy/article/GHPHHJRU05527S2X.html http://huamenglianyuan.blog.epochtimes.com/article/show?articleid=75762 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.xiaogushi.cn/shici/mingju/414146.html https://so.gushiwen.cn/mingju/juv_44e80087e9b5.aspx https://baike.baidu.com/item/五言律诗/10294694 https://www.chinacourt.org/article/detail/2019/09/id/4425543.shtml #กระดูกงดงาม #โจวเซิงเฉิน #สืออี๋ #เมิ่งฮ่าวหรัน #บทกวีจีนโบราณ #วลีจีนโบราณ #วัฒนธรรมจีนโบราณ #ราชวงศ์ถัง
    3G.163.COM
    任嘉伦白鹿新戏《周生如故》,朝堂线太过儿戏,剧情偏平淡_手机网易网
    任嘉伦,白鹿的新戏《周生如故》开播了。任嘉伦出演周生辰,坐拥数十万兵马的小南辰王,驻守西州的不败将军。白鹿出演漼时宜,世家大族漼家的嫡女,指腹为婚的未来太子妃。无论是周生辰还是漼时宜他们的事业线、感情线都和朝堂线有密切的联系,甚至是决定性作用。
    1 Comments 0 Shares 409 Views 0 Reviews
  • ประชุมคณะกรรมการพัฒนา อบจ.โคราช ครั้งที่ 1/2568

    วันที่ 5 มิถุนายน 2568 ที่โรงแรมเซนเตอร์ พอยต์ เทอร์มินอล 21 โคราช #นายสาทิช บวชสันเทียะ รองนายก อบจ.นครราชสีมา เป็นประธานประชุมคณะกรรมการพัฒนา อบจ.นครราชสีมา และคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา อบจ.นครราชสีมา ครั้งที่ 1/2568 เพื่อเสนอที่ประชุมพิจารณาบัญชีโครงการเกินศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนครราชสีมา ร่างทบทวนแผนพัฒนาท้องถิ่น ฉบับที่ 2 พ.ศ.2566 – 2570 ครั้งที่ 1/2568 โดยคณะกรรมการฯ ในที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ พร้อมที่จะได้ประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่นต่อไป

    #นายกหน่อย
    #โคราชโฉมใหม่
    #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช
    #prkoratpao
    ประชุมคณะกรรมการพัฒนา อบจ.โคราช ครั้งที่ 1/2568 วันที่ 5 มิถุนายน 2568 ที่โรงแรมเซนเตอร์ พอยต์ เทอร์มินอล 21 โคราช #นายสาทิช บวชสันเทียะ รองนายก อบจ.นครราชสีมา เป็นประธานประชุมคณะกรรมการพัฒนา อบจ.นครราชสีมา และคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา อบจ.นครราชสีมา ครั้งที่ 1/2568 เพื่อเสนอที่ประชุมพิจารณาบัญชีโครงการเกินศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนครราชสีมา ร่างทบทวนแผนพัฒนาท้องถิ่น ฉบับที่ 2 พ.ศ.2566 – 2570 ครั้งที่ 1/2568 โดยคณะกรรมการฯ ในที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ พร้อมที่จะได้ประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่นต่อไป #นายกหน่อย #โคราชโฉมใหม่ #สร้างคนสร้างเศรษฐกิจสร้างเมืองโคราช #prkoratpao
    Haha
    1
    0 Comments 0 Shares 190 Views 0 Reviews
  • เหรียญเม็ดแตงหลวงพ่อปราบ รุ่นแรก วัดพุทธภูมิ จ.ยะลา ปี2521
    เหรียญเม็ดแตงหลวงพ่อปราบ รุ่นแรก เนื้อทองแดงรมดำ วัดพุทธภูมิ พระอารามหลวง จ.ยะลา ปี2521 //พระดีพิธีใหญ่ หายาก //พระสถาพสวย พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    "" เหรียญขนาดเล็ก เหมาะก็บเด็ก ผู้หญิง หรือ ลูกหลาน ไว้คุ้มครอง คนที่ท่านห่วงใย ครับ ""^o^

    ** พุทธคุณเมตตามหานิยม อุดมโชคโภคทรัพย์ แคล้วคลาด และป้องกันคุณไสยต่างๆ ช่วยส่งเสริมให้อุดมสมบูรณ์ในเรื่องโภคทรัพย์และมีโชคมีลาภทางด้านการเงิน อีกทั้งยังช่วยทำให้ผู้ครอบครองบูชานั้นแคล้วคลาดปลอดภัย >>

    ** หลวงพ่อพระปราบ (หลวงพ่อปราบประทุษฐพ่าย) พระเกจิศักดิ์สิทธิ์เมืองยะลา ท่านเป็นตำรวจจอมขมังเวทย์ ปราบโจรทั่วแผ่นดิน จนกระทั่งในปี 2459 ท่านได้ลาออกจากราชการ มาบวชที่วัดพุทธภูมิ ชื่อเสียงของท่านโด่งดังในเรื่องอาคมขลัง มีคนมาขอของขลังเป็นจำนวนมาก >>


    * พระสถาพสวย พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญเม็ดแตงหลวงพ่อปราบ รุ่นแรก วัดพุทธภูมิ จ.ยะลา ปี2521 เหรียญเม็ดแตงหลวงพ่อปราบ รุ่นแรก เนื้อทองแดงรมดำ วัดพุทธภูมิ พระอารามหลวง จ.ยะลา ปี2521 //พระดีพิธีใหญ่ หายาก //พระสถาพสวย พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> "" เหรียญขนาดเล็ก เหมาะก็บเด็ก ผู้หญิง หรือ ลูกหลาน ไว้คุ้มครอง คนที่ท่านห่วงใย ครับ ""^o^ ** พุทธคุณเมตตามหานิยม อุดมโชคโภคทรัพย์ แคล้วคลาด และป้องกันคุณไสยต่างๆ ช่วยส่งเสริมให้อุดมสมบูรณ์ในเรื่องโภคทรัพย์และมีโชคมีลาภทางด้านการเงิน อีกทั้งยังช่วยทำให้ผู้ครอบครองบูชานั้นแคล้วคลาดปลอดภัย >> ** หลวงพ่อพระปราบ (หลวงพ่อปราบประทุษฐพ่าย) พระเกจิศักดิ์สิทธิ์เมืองยะลา ท่านเป็นตำรวจจอมขมังเวทย์ ปราบโจรทั่วแผ่นดิน จนกระทั่งในปี 2459 ท่านได้ลาออกจากราชการ มาบวชที่วัดพุทธภูมิ ชื่อเสียงของท่านโด่งดังในเรื่องอาคมขลัง มีคนมาขอของขลังเป็นจำนวนมาก >> * พระสถาพสวย พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 243 Views 0 Reviews
  • #เสาสัญญาณเเห่งความร่ำรวย
    #พิธีกรรมจิต เเละความศรัทธาในเงินสด

    การสร้างความร่ำรวยแท้จริงนั้น "ง่าย"

    อย่างที่ไม่เคยมีใครบอกคุณมาก่อน
    แต่ความง่ายนี้มีเงื่อนไขสำคัญ

    มันต้องกลายเป็น “กิจวัตร”
    ต้องทำซ้ำ ต้องย้ำต้องวน
    ต้องชัด และต้องศรัทธา

    #กุญแจสำคัญที่สุด คือ
    การล้างกระดานเก่าในจิต
    แล้วแทนที่ด้วยภาพใหม่
    ของความมั่งคั่ง

    จากนั้น #เปิดคลื่นวิทยุของจิต

    ให้รับ-ส่งแค่ช่องสัญญาณเดียว

    ช่องที่ชื่อว่า

    "ฉันมีเงิน ฉันร่ำรวย ฉันสำเร็จ"

    ซ้ำแล้วซ้ำอีกทั้งวันทั้งคืน

    อย่าปล่อยให้จิตเปิดรับทุกคลื่น
    เหมือนการฟังวิทยุหลายสถานี
    มีทั้งเพลง ข่าว โฆษณา
    ซึ่งมีสาระก็จริง แต่ไม่เข้มข้น
    และไม่ต่อเนื่องพอจะสร้างอะไรได้เลย

    เพราะมันเพียง
    สะกิดใจไม่กี่วินาที
    แล้วหายวับไป

    หากคุณอยากรวย ต้อง #ถักจิต
    เหมือน การทอผ้า ต้องนั่งทำซ้ำๆ ทุกวัน
    เหมือนการสร้างผืนผ้าขนาดใหญ่
    ที่ใช้เวลาเป็นเดือนหรือเป็นปี

    หากเปรียบความร่ำรวยเป็นผืนผ้า

    คุณต้องยอมใช้ชีวิต
    ปักเข็มเส้นเดิมทุกวัน
    ไม่มีทางลัด

    #จิตที่แน่วแน่เท่านั้นที่รวยได้

    คุณต้องมีความหมกมุ่นระดับสูงสุด
    หมกมุ่นแบบนักธุรกิจ
    ที่คิดแค่เรื่องเงิน คิดหาเงิน เก็บเงิน
    ขยายเงิน ตั้งบริษัท สร้างอาณาจักร
    แล้วส่งต่อความมั่งคั่งให้รุ่นลูกหลาน

    เพราะจิตของคนรวยจะมีคลื่นเดียว

    “ฉันรวยและฉันกำลังรวย”

    แต่ในยุคนี้ อินเทอร์เน็ต
    ทำให้จิตคนยุคใหม่อ่อนแอ

    คลื่นสัญญาณถูกรบกวน
    จากข้อมูลสารพัดรูปแบบ
    ทำให้จิตสร้างอะไรไม่ได้เลย
    เพราะมันไม่แน่วแน่พอ
    ไม่มีคลื่นหลักของตัวเอง

    #ฟอร์มจิตให้กลายเป็นพลังสร้าง

    จะเปลี่ยนจิตให้สร้างสิ่งใดเป็นรูปธรรม
    ต้องใช้กลไกแบบเดียวกับ
    การดูละครซีรีส์ที่เราหลงใหล

    อ่านนิยายที่เรารู้สึกว่า “เราเองคือตัวเอก”
    มันต้องอิน ต้องย้ำ ต้องหมกมุ่น
    แล้วเราจะเริ่ม “กลายเป็นสิ่งนั้นจริงๆ”

    คนที่ไม่สำเร็จ เพราะจิตไม่ชัดเจน
    ไม่อิน ไม่เชื่อ ไม่ซ้ำ ใช้ชีวิตแบบดูผ่าน
    ฟังผ่าน แล้วก็หมดวันไปอย่างไร้พลัง

    เริ่มต้นความร่ำรวยจาก "พิธีกรรมเงินสด"

    หากคุณตัดสินใจแน่นอนแล้วว่า
    “ฉันจะรวย” ให้ตั้งพิธีกรรมของคุณขึ้นมา
    ด้วยความศักดิ์สิทธิ์ที่สุด

    1.หา #เครื่องยึดเหนี่ยว
    สัญลักษณ์ที่สั่นสะเทือนหัวใจ
    เช่น ทองคำแท่ง เงินสด ที่ดิน
    มาวางบนโต๊ะพิธีของคุณ
    เพื่อย้ำเตือนว่า นี่คือ
    เป้าหมายเดียวของชีวิตช่วงนี้

    2.#ถอนเงินสดออกจากออนไลน์
    อย่าปล่อยให้เงินอยู่แค่ในระบบดิจิทัล
    จิตจะไม่เห็นว่าตัวเองได้รับเงินเลย
    เพราะมันจำแค่ตอนโอนออก

    3.#ให้เงินสดอยู่ตรงหน้าคุณ 24 ชั่วโมง
    วางบนโต๊ะพิธี วางไว้ข้างหัวนอน
    วางตรงกระจกห้องน้ำ
    ถ้าคุณเห็นเงินทุกวัน
    จิตจะเริ่มซึมซับคลื่นความร่ำรวย

    4.#เมื่อเงินสดเริ่มมีแล้ว
    #ให้ขยับไปสู่ทองคำ
    ไม่ใช่เพื่อขาย แต่เพื่อ “ดูดเงินเพิ่ม”
    ทอง คือ แม่เหล็กเงิน
    ถ้าคุณศรัทธา
    มันจะกลายเป็นสนามแม่เหล็ก
    ดึงดูดความมั่งคั่ง

    5.#คิดวนซ้ำสร้างเงิน เก็บเงิน ซื้อทอง
    เพื่อดูดเงิน ทำจนจิตของคุณ
    เปลี่ยนสนามพลังจากขาดแคลนเป็นมั่งคั่ง

    คุณ คือ #เสาสัญญาณแห่งความร่ำรวย

    เมื่อจิตคุณเปลี่ยน
    พลังงทานทั้งเมืองจะเปลี่ยน
    พลังงานประเทศจะเปลี่ยน
    เพราะเศรษฐกิจรอบตัวคุณ
    จะต้องสนับสนุนให้คุณได้เงิน

    เพราะคุณ คือ #ผู้ถือคลื่นแห่งเงินสด

    ลูกค้าจะเข้ามา หุ้นส่วนจะมาหา
    งานจะไหลมา เพราะคุณ
    กำลังทำพิธีกรรมเงินซ้ำๆ อย่างมีพลัง
    จิตคุณชัดและไม่สั่นไหว

    อย่าอิจฉาใคร
    เพราะทุกคนที่รวยขึ้นรอบตัวคุณ
    คือ เครื่องสะท้อนว่า
    คุณกำลังอยู่ในสนามถูกต้องแล้ว

    บทส่งท้าย: #บูชาเงินสดอย่างมีศรัทธา

    จงดำเนินชีวิตใหม่ให้เหมือน

    #นักบวชแห่งเงินสด

    ผู้ที่เชื่อมั่น ศรัทธา และยึดมั่น
    ในเส้นทางแห่งความมั่งคั่งทุกลมหายใจ

    #ตัดสิ่งไร้สาระทิ้งไป

    ปกป้องพลังจิตอย่างเข้มแข็ง
    ทำทุกอย่างให้ใจมีความสุข
    เพื่อให้กลายเป็นการสร้างเงินที่ยั่งยืน

    เพราะสุดท้ายแล้ว
    “ความสุขและความร่ำรวย”
    คือ สิ่งเดียวกัน คุณไม่มีวันรวยได้จริง
    หากไม่รักหนทางที่กำลังเดิน

    จงหมกมุ่น จงตั้งใจ จงลงมือ จงทำซ้ำ
    แล้วคุณจะไม่เพียงแค่ร่ำรวย
    แต่จะกลายเป็นต้นน้ำแห่งความมั่งคั่ง
    ให้กับผู้คนทั้งแผ่นดิน
    #เสาสัญญาณเเห่งความร่ำรวย #พิธีกรรมจิต เเละความศรัทธาในเงินสด การสร้างความร่ำรวยแท้จริงนั้น "ง่าย" อย่างที่ไม่เคยมีใครบอกคุณมาก่อน แต่ความง่ายนี้มีเงื่อนไขสำคัญ มันต้องกลายเป็น “กิจวัตร” ต้องทำซ้ำ ต้องย้ำต้องวน ต้องชัด และต้องศรัทธา #กุญแจสำคัญที่สุด คือ การล้างกระดานเก่าในจิต แล้วแทนที่ด้วยภาพใหม่ ของความมั่งคั่ง จากนั้น #เปิดคลื่นวิทยุของจิต ให้รับ-ส่งแค่ช่องสัญญาณเดียว ช่องที่ชื่อว่า "ฉันมีเงิน ฉันร่ำรวย ฉันสำเร็จ" ซ้ำแล้วซ้ำอีกทั้งวันทั้งคืน อย่าปล่อยให้จิตเปิดรับทุกคลื่น เหมือนการฟังวิทยุหลายสถานี มีทั้งเพลง ข่าว โฆษณา ซึ่งมีสาระก็จริง แต่ไม่เข้มข้น และไม่ต่อเนื่องพอจะสร้างอะไรได้เลย เพราะมันเพียง สะกิดใจไม่กี่วินาที แล้วหายวับไป หากคุณอยากรวย ต้อง #ถักจิต เหมือน การทอผ้า ต้องนั่งทำซ้ำๆ ทุกวัน เหมือนการสร้างผืนผ้าขนาดใหญ่ ที่ใช้เวลาเป็นเดือนหรือเป็นปี หากเปรียบความร่ำรวยเป็นผืนผ้า คุณต้องยอมใช้ชีวิต ปักเข็มเส้นเดิมทุกวัน ไม่มีทางลัด #จิตที่แน่วแน่เท่านั้นที่รวยได้ คุณต้องมีความหมกมุ่นระดับสูงสุด หมกมุ่นแบบนักธุรกิจ ที่คิดแค่เรื่องเงิน คิดหาเงิน เก็บเงิน ขยายเงิน ตั้งบริษัท สร้างอาณาจักร แล้วส่งต่อความมั่งคั่งให้รุ่นลูกหลาน เพราะจิตของคนรวยจะมีคลื่นเดียว “ฉันรวยและฉันกำลังรวย” แต่ในยุคนี้ อินเทอร์เน็ต ทำให้จิตคนยุคใหม่อ่อนแอ คลื่นสัญญาณถูกรบกวน จากข้อมูลสารพัดรูปแบบ ทำให้จิตสร้างอะไรไม่ได้เลย เพราะมันไม่แน่วแน่พอ ไม่มีคลื่นหลักของตัวเอง #ฟอร์มจิตให้กลายเป็นพลังสร้าง จะเปลี่ยนจิตให้สร้างสิ่งใดเป็นรูปธรรม ต้องใช้กลไกแบบเดียวกับ การดูละครซีรีส์ที่เราหลงใหล อ่านนิยายที่เรารู้สึกว่า “เราเองคือตัวเอก” มันต้องอิน ต้องย้ำ ต้องหมกมุ่น แล้วเราจะเริ่ม “กลายเป็นสิ่งนั้นจริงๆ” คนที่ไม่สำเร็จ เพราะจิตไม่ชัดเจน ไม่อิน ไม่เชื่อ ไม่ซ้ำ ใช้ชีวิตแบบดูผ่าน ฟังผ่าน แล้วก็หมดวันไปอย่างไร้พลัง เริ่มต้นความร่ำรวยจาก "พิธีกรรมเงินสด" หากคุณตัดสินใจแน่นอนแล้วว่า “ฉันจะรวย” ให้ตั้งพิธีกรรมของคุณขึ้นมา ด้วยความศักดิ์สิทธิ์ที่สุด 1.หา #เครื่องยึดเหนี่ยว สัญลักษณ์ที่สั่นสะเทือนหัวใจ เช่น ทองคำแท่ง เงินสด ที่ดิน มาวางบนโต๊ะพิธีของคุณ เพื่อย้ำเตือนว่า นี่คือ เป้าหมายเดียวของชีวิตช่วงนี้ 2.#ถอนเงินสดออกจากออนไลน์ อย่าปล่อยให้เงินอยู่แค่ในระบบดิจิทัล จิตจะไม่เห็นว่าตัวเองได้รับเงินเลย เพราะมันจำแค่ตอนโอนออก 3.#ให้เงินสดอยู่ตรงหน้าคุณ 24 ชั่วโมง วางบนโต๊ะพิธี วางไว้ข้างหัวนอน วางตรงกระจกห้องน้ำ ถ้าคุณเห็นเงินทุกวัน จิตจะเริ่มซึมซับคลื่นความร่ำรวย 4.#เมื่อเงินสดเริ่มมีแล้ว #ให้ขยับไปสู่ทองคำ ไม่ใช่เพื่อขาย แต่เพื่อ “ดูดเงินเพิ่ม” ทอง คือ แม่เหล็กเงิน ถ้าคุณศรัทธา มันจะกลายเป็นสนามแม่เหล็ก ดึงดูดความมั่งคั่ง 5.#คิดวนซ้ำสร้างเงิน เก็บเงิน ซื้อทอง เพื่อดูดเงิน ทำจนจิตของคุณ เปลี่ยนสนามพลังจากขาดแคลนเป็นมั่งคั่ง คุณ คือ #เสาสัญญาณแห่งความร่ำรวย เมื่อจิตคุณเปลี่ยน พลังงทานทั้งเมืองจะเปลี่ยน พลังงานประเทศจะเปลี่ยน เพราะเศรษฐกิจรอบตัวคุณ จะต้องสนับสนุนให้คุณได้เงิน เพราะคุณ คือ #ผู้ถือคลื่นแห่งเงินสด ลูกค้าจะเข้ามา หุ้นส่วนจะมาหา งานจะไหลมา เพราะคุณ กำลังทำพิธีกรรมเงินซ้ำๆ อย่างมีพลัง จิตคุณชัดและไม่สั่นไหว อย่าอิจฉาใคร เพราะทุกคนที่รวยขึ้นรอบตัวคุณ คือ เครื่องสะท้อนว่า คุณกำลังอยู่ในสนามถูกต้องแล้ว บทส่งท้าย: #บูชาเงินสดอย่างมีศรัทธา จงดำเนินชีวิตใหม่ให้เหมือน #นักบวชแห่งเงินสด ผู้ที่เชื่อมั่น ศรัทธา และยึดมั่น ในเส้นทางแห่งความมั่งคั่งทุกลมหายใจ #ตัดสิ่งไร้สาระทิ้งไป ปกป้องพลังจิตอย่างเข้มแข็ง ทำทุกอย่างให้ใจมีความสุข เพื่อให้กลายเป็นการสร้างเงินที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว “ความสุขและความร่ำรวย” คือ สิ่งเดียวกัน คุณไม่มีวันรวยได้จริง หากไม่รักหนทางที่กำลังเดิน จงหมกมุ่น จงตั้งใจ จงลงมือ จงทำซ้ำ แล้วคุณจะไม่เพียงแค่ร่ำรวย แต่จะกลายเป็นต้นน้ำแห่งความมั่งคั่ง ให้กับผู้คนทั้งแผ่นดิน
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 466 Views 0 Reviews
  • คนจนนี้แหละชอบทำบุญ ไปมาหลายวัดหลายงาน ผ้า กริญ เทศสามัคคี งามสมโภชพระ งานบวชชีพราหมณ์ นุ่งขาวห่มขาวเฒ่าๆ กันนะ อาชีพทำนา เกษตรกร อาชีพขอเงินลูกหลานมาทำบุญกัน (ลูกหลานพากันยินดีในบุญ) พราหมณ์คือเขาทั่งหลายจน..แต่ใจศรัทธา จิตบริสุทธิ์ที่จะสร้างบุญกุศล
    คนจนนี้แหละชอบทำบุญ ไปมาหลายวัดหลายงาน ผ้า กริญ เทศสามัคคี งามสมโภชพระ งานบวชชีพราหมณ์ นุ่งขาวห่มขาวเฒ่าๆ กันนะ อาชีพทำนา เกษตรกร อาชีพขอเงินลูกหลานมาทำบุญกัน (ลูกหลานพากันยินดีในบุญ) พราหมณ์คือเขาทั่งหลายจน..แต่ใจศรัทธา จิตบริสุทธิ์ที่จะสร้างบุญกุศล
    0 Comments 0 Shares 166 Views 0 Reviews
  • กินข้าวกันค่ะกล้วยบวชชีล้างปาก
    #ข้าวต้มกุ้ง
    กินข้าวกันค่ะ🍽️🥰กล้วยบวชชีล้างปาก #ข้าวต้มกุ้ง
    0 Comments 0 Shares 139 Views 0 Reviews
  • บุญ..สวดมนต์ท่านเป็นบุญ ภาวนาท่านก็ว่าเป็นบุญ ใส่บาตรท่านก็ว่าเป็น กฐิน ผ้าป่าท่านก็ว่าเป็นบุญ ไปบวชพระท่านว่าเป็นบุญ สงเคราะห์คนท่านว่าเป็นบุญ..บุญ
    บุญ..สวดมนต์ท่านเป็นบุญ ภาวนาท่านก็ว่าเป็นบุญ ใส่บาตรท่านก็ว่าเป็น กฐิน ผ้าป่าท่านก็ว่าเป็นบุญ ไปบวชพระท่านว่าเป็นบุญ สงเคราะห์คนท่านว่าเป็นบุญ..บุญ
    0 Comments 0 Shares 95 Views 0 Reviews
  • ยิวและปาเลสไตน์
    ==========
    .
    การศึกษาที่ตีพิมพ์โดย National Academy of Sciences พบว่า "กลุ่มยีนของชุมชนชาวยิวจากยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง.. สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษ 'ตะวันออกกลาง' ร่วมกัน" และแนะนำว่า "ชุมชนชาวยิวส่วนใหญ่ยังคงแยกตัวจากชุมชนที่ไม่ใช่ชาวยิวในละแวกใกล้เคียงค่อนข้างมาก ทั้งในช่วงอพยพและหลังการอพยพของชาวยิว"
    .
    นักพันธุศาสตร์ Doron Behar และเพื่อนร่วมงาน (2010) ระบุว่า "ข้อมูลนี้สอดคล้องกับการกำหนดทางประวัติศาสตร์ว่า ชาวยิวสืบเชื้อสายมาจากชาวอิสราเอลโบราณ" ประมาณ 35% ถึง 43% ของชายชาวยิวอยู่ในสายเลือดของบิดาที่เรียกว่ากลุ่มยีน Hg "J" และกลุ่มยีนย่อย. กลุ่มยีนนี้พบโดยเฉพาะในตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันออก คอเคซัส และยุโรปตอนใต้ราว 15% ถึง 30% อยู่ในกลุ่มยีน Hg "E1b1b" (หรือ E-M35)
    [ Hg = Haplogroup ]
    .
    การศึกษาโดยใช้ดีเอ็นเอโครโมโซม Y ของชาวยิวชาย โดยพยายามสืบหาสายเลือดของนักบวชชาวยิว (โคฮานิม) จากบิดา ผลการศึกษาเผยให้เห็นแฮพโลไทป์โครโมโซม Y บรรพบุรุษร่วมกันเมื่อประมาณ 2,650 ปีก่อน ซึ่งอาจเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ของการทำลายวิหารแรกของเยรูซาเล็มในปี 586 ก่อนคริสตกาล และการกระจายตัวของนักบวช การศึกษาดีเอ็นเอไมโตคอนเดรียของประชากรชาวยิวเป็นการศึกษาที่ค่อนข้างใหม่ เป็นที่ถกเถียง และมีความหลากหลายมากกว่า
    .
    ส่วนชาวปาเลสไตน์ บันทึกทางประวัติศาสตร์และการศึกษาด้านพันธุกรรมในเวลาต่อมาบ่งชี้ว่าชาวปาเลสไตน์สืบเชื้อสายมาจากเลแวนไทน์โบราณเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งย้อนกลับไปถึงชาวเลแวนไทน์ในยุคสำริด การศึกษาในปี 2015 โดย Verónica Fernandes และคนอื่นๆ สรุปว่าชาวปาเลสไตน์มี "ต้นกำเนิดเป็นชนพื้นเมืองเป็นหลัก"
    .
    การศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับซากศพมนุษย์จากกลุ่มคนคานาอันในยุคสำริดกลาง (2100–1550 ปีก่อนคริสตกาล) ชี้ให้เห็นถึงความต่อเนื่องทางพันธุกรรมในระดับที่สำคัญในกลุ่มคนที่พูดภาษาอาหรับในเลวานไทน์ (เช่น ชาวปาเลสไตน์ ชาวดรูซ ชาวเลบานอน ชาวจอร์แดน ชาวเบดูอิน และชาวซีเรีย) พบว่าชาวปาเลสไตน์และกลุ่มคนเลวานไทน์อื่นๆ มีบรรพบุรุษ 81–87% มาจากเลวานไทน์ในยุคสำริด ซึ่งเกี่ยวข้องกับชาวคานาอันและอิทธิพลของวัฒนธรรมคูรา–อารักเซสตั้งแต่ก่อน 2400 ปีก่อนคริสตกาล (4400 ปีก่อนปัจจุบัน) 8–12% มาจากแหล่งแอฟริกาตะวันออก และ 5–10% มาจากชาวยุโรปในยุคสำริด
    .
    การศึกษาดีเอ็นเอครั้งหนึ่งโดย Nebel พบว่ามีการทับซ้อนกันทางพันธุกรรมอย่างมากในหมู่ชาวอาหรับอิสราเอล ปาเลสไตน์และชาวยิว เนเบลเสนอว่า "บางส่วนหรือบางทีอาจเป็นส่วนใหญ่" ของชาวปาเลสไตน์ที่เป็นมุสลิม สืบเชื้อสายมาจาก "ชาวพื้นเมือง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคริสเตียนและยิวที่เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามหลังจากอิสลามพิชิตในคริสตศตวรรษที่ 7"
    .
    ในการศึกษาทางพันธุกรรมของ STR ที่มีโครโมโซม Y ในประชากรสองกลุ่มจากอิสราเอลและพื้นที่ปกครองปาเลสไตน์ พบว่าชาวปาเลสไตน์ที่เป็นคริสเตียนและมุสลิมแสดงความแตกต่างทางพันธุกรรมเล็กน้อย คริสเตียนปาเลสไตน์ส่วนใหญ่ (31.82%) เป็นกลุ่มย่อยของ Hg"E1b1b" รองลงมาคือ Hg"G2a" (11.36%) และ Hg"J1" (9.09%) ชาวมุสลิมปาเลสไตน์ส่วนใหญ่มียีนเป็นกลุ่มย่อยของ Hg"J1" (37.82%) รองลงมาคือ Hg"E1b1b" (19.33%) และ Hg"T" (5.88%)
    .
    ในปี 2004 ทีมนักพันธุศาสตร์จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด กับมหาวิทยาลัยฮิบรูแห่งเยรูซาเล็ม มหาวิทยาลัยทาร์ทู (เอสโตเนีย) ศูนย์การแพทย์บาร์ซิไล (อัชเคลอน อิสราเอล) และศูนย์การแพทย์อัสซาฟ ฮาโรเฟห์ (เซริฟิน อิสราเอล) ทำการศึกษาชุมชนชาติพันธุ์ซามาริตันสมัยใหม่ที่อาศัยอยู่ในอิสราเอลโดยเปรียบเทียบกับประชากรอิสราเอลสมัยใหม่เพื่อสำรวจประวัติศาสตร์ทางพันธุกรรมโบราณของกลุ่มคนเหล่านี้ ผลการค้นพบของพวกเขารายงานถึงวงศ์ตระกูลสี่วงศ์ในหมู่ชาวซามาริตัน ได้แก่ ตระกูล Tsdaka, Joshua-Marhiv, Danfi และครอบครัว Cohen ครอบครัวชาวซามาริตันทั้งหมดพบในกลุ่มยีน Hg"J1" และ Hg"J2" ยกเว้นครอบครัว Cohen ซึ่งพบในกลุ่มยีน Hg"E3b1a-M78" ข้อมูลนี้มีเนื้อหาก่อนกลุ่มย่อย "E3b1a" โดยอิงตามการวิจัยของ Cruciani et al. (2006)
    .
    Mekel-Bobrov et al. (2005) ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบยีน ASPM พบว่าชาว"ดรูซ"อิสราเอลในภูมิภาคคาร์เมล มีอัตราการเกิดกลุ่มยีน ASPM Hg D ที่เพิ่งวิวัฒนาการใหม่สูงที่สุด โดยมีการเกิดขึ้นของอัลลีลที่มีอายุประมาณ 6,000 ปีถึง 52.2% แม้ว่าจะยังไม่ทราบแน่ชัดว่ารูปแบบยีนนี้ให้ข้อได้เปรียบในการคัดเลือกอย่างไร แต่เชื่อกันว่าอัลลีลกลุ่มยีน Hg D ได้รับการคัดเลือกในเชิงบวกในประชากร และมอบข้อได้เปรียบที่สำคัญบางประการที่ทำให้ความถี่ของอัลลีลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว.. ตามการทดสอบ DNA ชาวดรูซโดดเด่นในเรื่องความถี่สูง (35%) ของผู้ชายที่มีกลุ่มยีน Y-chromosomal "L" ซึ่งไม่ธรรมดาในตะวันออกกลาง กลุ่มยีนนี้มีต้นกำเนิดมาจากเอเชียใต้ในยุคก่อนประวัติศาสตร์และแพร่กระจายจากปากีสถานไปยังอิหร่านตอนใต้
    [ * อัลลีล (allele) คือรูปแบบหนึ่ง จากหลายๆ รูปแบบของยีนหนึ่ง บางครั้งอัลลีลที่แตกต่างกันอาจทำให้เกิดลักษณะที่แสดงออก เช่น สีตา สีผม ที่แตกต่างกันได้ บางครั้งอัลลีลที่แตกต่างกันอาจไม่ได้ทำให้มีลักษณะแสดงออกที่แตกต่างกันก็ได้ ]
    .
    มายาอคติที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยพวกไซออนิสท์ที่ครอบงำชาวยิวในอิสราเอลทำให้พวกเขามืดบอด ทั้งที่ในทางวิทยาศาสตร์ ชาวยิวและชาวอาหรับมียีนร่วมกันมากกว่าใครในโลกนี้จะมี ผลจากอาชญากรรมอันรุนแรงที่อิสราเอลก่อ ทำให้เกิดความเกลียดชังชาวยิวพุ่งขึ้น ชาวยิวมากมายที่ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ในภูมิภาคอื่นที่ไม่ใช่อิสราเอล เริ่มเดือดร้อนและต่อต้าน พวกไซออนิสท์กลับนำคำคำหนึ่งมานิยามตราหน้าใครก็ตามที่เกลียดยิวว่า "Anti Semitism" ซึ่งยิ่งทำให้โลกทัศน์บิดเบี้ยวมากขึ้น จนในบัดนี้มีคนยิวในประเทศอื่นที่ทนไม่ได้กับบาปที่พวกเขาไม่ได้ก่อเริ่มออกมาต่อต้านกันมากขึ้นทุกทีและโต้แย้งว่าสิ่งที่พวกไซออนทำไม่ควรทำให้เกิด "Anti Semitism แต่เป็น Anti Zionism ต่างหาก"
    .
    คำว่า Anti Semitism ในที่นี้ หมายถึงอะไร? อิสราเอลตั้งใจจะให้หมายถึงการต่อต้านพวกที่พูดภาษา Semitic นั่นแหละ ปัญหาคือเซมิติคไม่ได้หมายถึงเพียงแค่ภาษาฮิบรูของยิวเท่านั้น แต่พวกที่พูดภาษาสกุลเซมิติคยังหมายถึงภาษาอาราบิค อัมฮาริค ทิกรินยา อารามาอิค... ซึ่งพูดกันอยู่ในประชากรโลกมากกว่า 330 ล้านคน ทั้งยิวและปาเลสไตน์ต่างก็พูดภาษาในสกุลเซมิติคทั้งคู่ ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากดีเอ็นเอ ไม่เพียงพวกเขาก็เป็นพี่น้องกันแล้ว (Hg J / E) เมื่อพิจารณาจากทางภาษา พวกเขาก็เป็นพี่น้องกันอีก
    .
    คำว่า Semitic มาจากคำว่า Sem (Shem) ปรากฏในคัมภีร์ไบเบิ้ลบทปฐมกาล คือชื่อของบุตรชายคนหนึ่งของโนอาห์. พูดง่ายๆ พวกที่พูดภาษาสกุลเซมก็คือลูกหลานของโนอาห์นั่นแหละ
    คุณคิดว่ามันน่าเศร้าไหม ที่ลูกหลานโนอาห์เข่นฆ่ากันเอง
    หรือว่าที่จริงแล้วพวกอิสราเอลเป็นลูกหลานของคาอิน ไม่ใช่โนอาห์
    อีกครั้งที่ผมจะพูด
    ความแบ่งแยกคือความคิดของปีศาจ
    มันคือมูลเหตุของ Genocide ทั้งที่รวันดาและกาซ่าในตอนนี้
    .
    ยิวและปาเลสไตน์ ========== . การศึกษาที่ตีพิมพ์โดย National Academy of Sciences พบว่า "กลุ่มยีนของชุมชนชาวยิวจากยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง.. สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษ 'ตะวันออกกลาง' ร่วมกัน" และแนะนำว่า "ชุมชนชาวยิวส่วนใหญ่ยังคงแยกตัวจากชุมชนที่ไม่ใช่ชาวยิวในละแวกใกล้เคียงค่อนข้างมาก ทั้งในช่วงอพยพและหลังการอพยพของชาวยิว" . นักพันธุศาสตร์ Doron Behar และเพื่อนร่วมงาน (2010) ระบุว่า "ข้อมูลนี้สอดคล้องกับการกำหนดทางประวัติศาสตร์ว่า ชาวยิวสืบเชื้อสายมาจากชาวอิสราเอลโบราณ" ประมาณ 35% ถึง 43% ของชายชาวยิวอยู่ในสายเลือดของบิดาที่เรียกว่ากลุ่มยีน Hg "J" และกลุ่มยีนย่อย. กลุ่มยีนนี้พบโดยเฉพาะในตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันออก คอเคซัส และยุโรปตอนใต้ราว 15% ถึง 30% อยู่ในกลุ่มยีน Hg "E1b1b" (หรือ E-M35) [ Hg = Haplogroup ] . การศึกษาโดยใช้ดีเอ็นเอโครโมโซม Y ของชาวยิวชาย โดยพยายามสืบหาสายเลือดของนักบวชชาวยิว (โคฮานิม) จากบิดา ผลการศึกษาเผยให้เห็นแฮพโลไทป์โครโมโซม Y บรรพบุรุษร่วมกันเมื่อประมาณ 2,650 ปีก่อน ซึ่งอาจเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ของการทำลายวิหารแรกของเยรูซาเล็มในปี 586 ก่อนคริสตกาล และการกระจายตัวของนักบวช การศึกษาดีเอ็นเอไมโตคอนเดรียของประชากรชาวยิวเป็นการศึกษาที่ค่อนข้างใหม่ เป็นที่ถกเถียง และมีความหลากหลายมากกว่า . ส่วนชาวปาเลสไตน์ บันทึกทางประวัติศาสตร์และการศึกษาด้านพันธุกรรมในเวลาต่อมาบ่งชี้ว่าชาวปาเลสไตน์สืบเชื้อสายมาจากเลแวนไทน์โบราณเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งย้อนกลับไปถึงชาวเลแวนไทน์ในยุคสำริด การศึกษาในปี 2015 โดย Verónica Fernandes และคนอื่นๆ สรุปว่าชาวปาเลสไตน์มี "ต้นกำเนิดเป็นชนพื้นเมืองเป็นหลัก" . การศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับซากศพมนุษย์จากกลุ่มคนคานาอันในยุคสำริดกลาง (2100–1550 ปีก่อนคริสตกาล) ชี้ให้เห็นถึงความต่อเนื่องทางพันธุกรรมในระดับที่สำคัญในกลุ่มคนที่พูดภาษาอาหรับในเลวานไทน์ (เช่น ชาวปาเลสไตน์ ชาวดรูซ ชาวเลบานอน ชาวจอร์แดน ชาวเบดูอิน และชาวซีเรีย) พบว่าชาวปาเลสไตน์และกลุ่มคนเลวานไทน์อื่นๆ มีบรรพบุรุษ 81–87% มาจากเลวานไทน์ในยุคสำริด ซึ่งเกี่ยวข้องกับชาวคานาอันและอิทธิพลของวัฒนธรรมคูรา–อารักเซสตั้งแต่ก่อน 2400 ปีก่อนคริสตกาล (4400 ปีก่อนปัจจุบัน) 8–12% มาจากแหล่งแอฟริกาตะวันออก และ 5–10% มาจากชาวยุโรปในยุคสำริด . การศึกษาดีเอ็นเอครั้งหนึ่งโดย Nebel พบว่ามีการทับซ้อนกันทางพันธุกรรมอย่างมากในหมู่ชาวอาหรับอิสราเอล ปาเลสไตน์และชาวยิว เนเบลเสนอว่า "บางส่วนหรือบางทีอาจเป็นส่วนใหญ่" ของชาวปาเลสไตน์ที่เป็นมุสลิม สืบเชื้อสายมาจาก "ชาวพื้นเมือง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคริสเตียนและยิวที่เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามหลังจากอิสลามพิชิตในคริสตศตวรรษที่ 7" . ในการศึกษาทางพันธุกรรมของ STR ที่มีโครโมโซม Y ในประชากรสองกลุ่มจากอิสราเอลและพื้นที่ปกครองปาเลสไตน์ พบว่าชาวปาเลสไตน์ที่เป็นคริสเตียนและมุสลิมแสดงความแตกต่างทางพันธุกรรมเล็กน้อย คริสเตียนปาเลสไตน์ส่วนใหญ่ (31.82%) เป็นกลุ่มย่อยของ Hg"E1b1b" รองลงมาคือ Hg"G2a" (11.36%) และ Hg"J1" (9.09%) ชาวมุสลิมปาเลสไตน์ส่วนใหญ่มียีนเป็นกลุ่มย่อยของ Hg"J1" (37.82%) รองลงมาคือ Hg"E1b1b" (19.33%) และ Hg"T" (5.88%) . ในปี 2004 ทีมนักพันธุศาสตร์จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด กับมหาวิทยาลัยฮิบรูแห่งเยรูซาเล็ม มหาวิทยาลัยทาร์ทู (เอสโตเนีย) ศูนย์การแพทย์บาร์ซิไล (อัชเคลอน อิสราเอล) และศูนย์การแพทย์อัสซาฟ ฮาโรเฟห์ (เซริฟิน อิสราเอล) ทำการศึกษาชุมชนชาติพันธุ์ซามาริตันสมัยใหม่ที่อาศัยอยู่ในอิสราเอลโดยเปรียบเทียบกับประชากรอิสราเอลสมัยใหม่เพื่อสำรวจประวัติศาสตร์ทางพันธุกรรมโบราณของกลุ่มคนเหล่านี้ ผลการค้นพบของพวกเขารายงานถึงวงศ์ตระกูลสี่วงศ์ในหมู่ชาวซามาริตัน ได้แก่ ตระกูล Tsdaka, Joshua-Marhiv, Danfi และครอบครัว Cohen ครอบครัวชาวซามาริตันทั้งหมดพบในกลุ่มยีน Hg"J1" และ Hg"J2" ยกเว้นครอบครัว Cohen ซึ่งพบในกลุ่มยีน Hg"E3b1a-M78" ข้อมูลนี้มีเนื้อหาก่อนกลุ่มย่อย "E3b1a" โดยอิงตามการวิจัยของ Cruciani et al. (2006) . Mekel-Bobrov et al. (2005) ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบยีน ASPM พบว่าชาว"ดรูซ"อิสราเอลในภูมิภาคคาร์เมล มีอัตราการเกิดกลุ่มยีน ASPM Hg D ที่เพิ่งวิวัฒนาการใหม่สูงที่สุด โดยมีการเกิดขึ้นของอัลลีลที่มีอายุประมาณ 6,000 ปีถึง 52.2% แม้ว่าจะยังไม่ทราบแน่ชัดว่ารูปแบบยีนนี้ให้ข้อได้เปรียบในการคัดเลือกอย่างไร แต่เชื่อกันว่าอัลลีลกลุ่มยีน Hg D ได้รับการคัดเลือกในเชิงบวกในประชากร และมอบข้อได้เปรียบที่สำคัญบางประการที่ทำให้ความถี่ของอัลลีลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว.. ตามการทดสอบ DNA ชาวดรูซโดดเด่นในเรื่องความถี่สูง (35%) ของผู้ชายที่มีกลุ่มยีน Y-chromosomal "L" ซึ่งไม่ธรรมดาในตะวันออกกลาง กลุ่มยีนนี้มีต้นกำเนิดมาจากเอเชียใต้ในยุคก่อนประวัติศาสตร์และแพร่กระจายจากปากีสถานไปยังอิหร่านตอนใต้ [ * อัลลีล (allele) คือรูปแบบหนึ่ง จากหลายๆ รูปแบบของยีนหนึ่ง บางครั้งอัลลีลที่แตกต่างกันอาจทำให้เกิดลักษณะที่แสดงออก เช่น สีตา สีผม ที่แตกต่างกันได้ บางครั้งอัลลีลที่แตกต่างกันอาจไม่ได้ทำให้มีลักษณะแสดงออกที่แตกต่างกันก็ได้ ] . มายาอคติที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยพวกไซออนิสท์ที่ครอบงำชาวยิวในอิสราเอลทำให้พวกเขามืดบอด ทั้งที่ในทางวิทยาศาสตร์ ชาวยิวและชาวอาหรับมียีนร่วมกันมากกว่าใครในโลกนี้จะมี ผลจากอาชญากรรมอันรุนแรงที่อิสราเอลก่อ ทำให้เกิดความเกลียดชังชาวยิวพุ่งขึ้น ชาวยิวมากมายที่ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ในภูมิภาคอื่นที่ไม่ใช่อิสราเอล เริ่มเดือดร้อนและต่อต้าน พวกไซออนิสท์กลับนำคำคำหนึ่งมานิยามตราหน้าใครก็ตามที่เกลียดยิวว่า "Anti Semitism" ซึ่งยิ่งทำให้โลกทัศน์บิดเบี้ยวมากขึ้น จนในบัดนี้มีคนยิวในประเทศอื่นที่ทนไม่ได้กับบาปที่พวกเขาไม่ได้ก่อเริ่มออกมาต่อต้านกันมากขึ้นทุกทีและโต้แย้งว่าสิ่งที่พวกไซออนทำไม่ควรทำให้เกิด "Anti Semitism แต่เป็น Anti Zionism ต่างหาก" . คำว่า Anti Semitism ในที่นี้ หมายถึงอะไร? อิสราเอลตั้งใจจะให้หมายถึงการต่อต้านพวกที่พูดภาษา Semitic นั่นแหละ ปัญหาคือเซมิติคไม่ได้หมายถึงเพียงแค่ภาษาฮิบรูของยิวเท่านั้น แต่พวกที่พูดภาษาสกุลเซมิติคยังหมายถึงภาษาอาราบิค อัมฮาริค ทิกรินยา อารามาอิค... ซึ่งพูดกันอยู่ในประชากรโลกมากกว่า 330 ล้านคน ทั้งยิวและปาเลสไตน์ต่างก็พูดภาษาในสกุลเซมิติคทั้งคู่ ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากดีเอ็นเอ ไม่เพียงพวกเขาก็เป็นพี่น้องกันแล้ว (Hg J / E) เมื่อพิจารณาจากทางภาษา พวกเขาก็เป็นพี่น้องกันอีก . คำว่า Semitic มาจากคำว่า Sem (Shem) ปรากฏในคัมภีร์ไบเบิ้ลบทปฐมกาล คือชื่อของบุตรชายคนหนึ่งของโนอาห์. พูดง่ายๆ พวกที่พูดภาษาสกุลเซมก็คือลูกหลานของโนอาห์นั่นแหละ คุณคิดว่ามันน่าเศร้าไหม ที่ลูกหลานโนอาห์เข่นฆ่ากันเอง หรือว่าที่จริงแล้วพวกอิสราเอลเป็นลูกหลานของคาอิน ไม่ใช่โนอาห์ อีกครั้งที่ผมจะพูด ความแบ่งแยกคือความคิดของปีศาจ มันคือมูลเหตุของ Genocide ทั้งที่รวันดาและกาซ่าในตอนนี้ .
    1 Comments 0 Shares 603 Views 0 Reviews
  • กลับมาอีกครั้งกับเรื่องราวใน <ตำนานหมิงหลัน> เพื่อนเพจที่ได้ดูละครเรื่องนี้จะเห็นว่ามีหลายฉากที่ดำเนินเรื่องผ่านการนั่งเรียนหนังสือของสามสาวตระกูลเสิ้ง ซึ่งพวกนางเข้าเรียนพร้อมพี่ชายในโรงเรียนส่วนบุคคลของครอบครัวสกุลเสิ้ง หรือที่เรียกว่า ‘เจียสู’ (家塾/Family School)

    เจียสูคืออะไร?

    เจียสูมีมาตั้งแต่สมัยชุนชิว (กว่าเจ็ดร้อยปีก่อนคริสตกาล) จวบจนสมัยราชวงศ์ชิงก็ยังมีอยู่ เป็นการจัดห้องเรียนขึ้นที่บ้าน เชิญอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิมาสอน โดยปกติแล้วอาจารย์จะพำนักอยู่ในเรือนตระกูลนั้นเลย มีค่าจ้าง ที่พักและอาหารครบทุกมื้อ ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องเป็นเฉพาะตระกูลที่มีฐานะ (ปกติเป็นตระกูลขุนนาง) จึงจะมีกำลังทรัพย์พอที่จะทำอย่างนี้ได้

    ในละครเรื่อง <ตำนานหมิงหลัน> นี้ มีฉีเหิงและกู้ถิงเยี่ยซึ่งเป็นบุรุษนอกสกุลมาร่วมเรียนด้วย ในนิยายบอกว่าฉีเหิงมาร่วมเรียนเพราะเป็นศิษย์ของอาจารย์คนนี้อยู่แล้ว ในขณะที่กู้ถิงเยี่ยเป็นญาติของตระกูลเสิ้งจึงมาร่วมเรียนได้ และที่ยอมมาเรียนที่เจียสูของตระกูลเสิ้งที่เป็นขุนนางยศต่ำกว่าครอบครัวของพวกเขาก็เพราะอาจารย์ท่านนี้ดังมาก ปกติไม่รับสอนตามเจียสู แต่ที่มาสอนให้ตระกูลเสิ้งก็เพื่อทดแทนบุญคุณ

    แต่ Storyฯ เกิดความ ‘เอ๊ะ’ ว่าทำไมพวกเขาทำได้ในเมื่อสตรีตระกูลสูงศักดิ์สมัยโบราณต้องเก็บตัวเงียบอยู่ในเรือนห้ามพบปะผู้ชายนอกสกุล?

    ในบทประพันธ์ <ความฝันในหอแดง> ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนคลาสสิคมีการอธิบายโดยตัวละครเอกไว้ว่า คนในเครือวงศ์ตระกูลที่ไม่มีกำลังทรัพย์จ้างอาจารย์ส่วนตัวก็มาเรียนที่เจียสูได้ หรือหากใครมีญาติที่เป็นนักเรียนอยู่แล้วก็มาเรียนด้วยกันที่เจียสูนี้ได้ ซึ่งการเรียนในเจียสูเป็นการเรียนรวมคละวัยคละเพศชายหญิง

    เนื่องจากลูกหลานฝ่ายชายมีเป้าหมายคือลงสนามสอบราชบัณฑิตด้วย ดังนั้นหลักสูตรที่สอนจะเข้มข้นมาก แล้วเขาเรียนอะไร? หลักสูตรทั่วไปคือ ‘ซื่อซู อู่จิง’ (四书五经 / Four Books and Five Classics / สี่หนังสือห้าคัมภีร์) ซึ่ง ‘สี่หนังสือ’ นี้คือหนังสือว่าด้วยปรัชญาต่างๆ ของขงจื้อ ส่วน ‘ห้าคัมภีร์’ นั้นหมายถึง
    - ซือจิง (บทกวีและบทร้อยกรอง)
    - ซูจิง (บทความและประวัติศาสตร์)
    - อี้จิง (โหราศาสตร์)
    - ชุนชิว (บันทึกเหตุการณ์สำคัญและพงศาวดาร)
    - หลี่จี้ (พิธีกรรมและประเพณี)

    เจียสูเป็นหนึ่งในรูปแบบของการเรียนเอกชน นอกจากเจียสูนี้ เอกชนยังมีการลงขันเปิดเป็นโรงเรียนกันในหมู่บ้าน (เรียกว่า ชุนสู/村塾) หรืออาจมีเจ้าภาพที่ได้รับเงินบริจาคจัดตั้งเป็นโรงเรียนขึ้น (เรียกว่า อี้สู/义塾) หรืออาจเป็นตัวอาจารย์เองเปิดสอนหนังสือโดยเรียกเก็บค่าเล่าเรียนจากนักเรียน

    สตรีจีนโบราณไม่มีโอกาสได้เรียนในสำนักศึกษาหลวง และส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับเรื่องจรรยาของสตรี โคลงกลอนและการดนตรี หากไม่ได้เรียนตามโรงเรียนเอกชนที่กล่าวมาข้างต้นก็จะเรียนกันที่บ้านตามมีตามเกิดหรือไม่ได้เรียน นอกจากนี้ ยังมีที่ศึกษาเองในระหว่างที่ออกบวชเป็นชี หรืออีกสุดขั้วหนึ่งคือการเรียนในหอนางโลมสำหรับนางโลมที่ต้องมีวิชาความรู้ติดตัวเพื่อทำมาหากิน

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://kknews.cc/zh-my/entertainment/4k6q6zg.html
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    https://www.fxjyb.com/xiandai/276.html
    https://zhuanlan.zhihu.com/p/77983438
    https://m.lunwendata.com/show.php?id=34312
    https://kknews.cc/history/pvkjmzj.html
    https://baike.baidu.com/tashuo/browse/content?id=e3ce1325253f66e731416fc1
    http://old-book.ru.ac.th/e-book/e/EF206(49)/EF206(49)-5.pdf
    #หมิงหลัน #การเรียนเอกชนจีนโบราณ #การเรียนสตรีจีนโบราณ #สี่หนังสือห้าคัมภีร์ #เจียสู
    กลับมาอีกครั้งกับเรื่องราวใน <ตำนานหมิงหลัน> เพื่อนเพจที่ได้ดูละครเรื่องนี้จะเห็นว่ามีหลายฉากที่ดำเนินเรื่องผ่านการนั่งเรียนหนังสือของสามสาวตระกูลเสิ้ง ซึ่งพวกนางเข้าเรียนพร้อมพี่ชายในโรงเรียนส่วนบุคคลของครอบครัวสกุลเสิ้ง หรือที่เรียกว่า ‘เจียสู’ (家塾/Family School) เจียสูคืออะไร? เจียสูมีมาตั้งแต่สมัยชุนชิว (กว่าเจ็ดร้อยปีก่อนคริสตกาล) จวบจนสมัยราชวงศ์ชิงก็ยังมีอยู่ เป็นการจัดห้องเรียนขึ้นที่บ้าน เชิญอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิมาสอน โดยปกติแล้วอาจารย์จะพำนักอยู่ในเรือนตระกูลนั้นเลย มีค่าจ้าง ที่พักและอาหารครบทุกมื้อ ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องเป็นเฉพาะตระกูลที่มีฐานะ (ปกติเป็นตระกูลขุนนาง) จึงจะมีกำลังทรัพย์พอที่จะทำอย่างนี้ได้ ในละครเรื่อง <ตำนานหมิงหลัน> นี้ มีฉีเหิงและกู้ถิงเยี่ยซึ่งเป็นบุรุษนอกสกุลมาร่วมเรียนด้วย ในนิยายบอกว่าฉีเหิงมาร่วมเรียนเพราะเป็นศิษย์ของอาจารย์คนนี้อยู่แล้ว ในขณะที่กู้ถิงเยี่ยเป็นญาติของตระกูลเสิ้งจึงมาร่วมเรียนได้ และที่ยอมมาเรียนที่เจียสูของตระกูลเสิ้งที่เป็นขุนนางยศต่ำกว่าครอบครัวของพวกเขาก็เพราะอาจารย์ท่านนี้ดังมาก ปกติไม่รับสอนตามเจียสู แต่ที่มาสอนให้ตระกูลเสิ้งก็เพื่อทดแทนบุญคุณ แต่ Storyฯ เกิดความ ‘เอ๊ะ’ ว่าทำไมพวกเขาทำได้ในเมื่อสตรีตระกูลสูงศักดิ์สมัยโบราณต้องเก็บตัวเงียบอยู่ในเรือนห้ามพบปะผู้ชายนอกสกุล? ในบทประพันธ์ <ความฝันในหอแดง> ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนคลาสสิคมีการอธิบายโดยตัวละครเอกไว้ว่า คนในเครือวงศ์ตระกูลที่ไม่มีกำลังทรัพย์จ้างอาจารย์ส่วนตัวก็มาเรียนที่เจียสูได้ หรือหากใครมีญาติที่เป็นนักเรียนอยู่แล้วก็มาเรียนด้วยกันที่เจียสูนี้ได้ ซึ่งการเรียนในเจียสูเป็นการเรียนรวมคละวัยคละเพศชายหญิง เนื่องจากลูกหลานฝ่ายชายมีเป้าหมายคือลงสนามสอบราชบัณฑิตด้วย ดังนั้นหลักสูตรที่สอนจะเข้มข้นมาก แล้วเขาเรียนอะไร? หลักสูตรทั่วไปคือ ‘ซื่อซู อู่จิง’ (四书五经 / Four Books and Five Classics / สี่หนังสือห้าคัมภีร์) ซึ่ง ‘สี่หนังสือ’ นี้คือหนังสือว่าด้วยปรัชญาต่างๆ ของขงจื้อ ส่วน ‘ห้าคัมภีร์’ นั้นหมายถึง - ซือจิง (บทกวีและบทร้อยกรอง) - ซูจิง (บทความและประวัติศาสตร์) - อี้จิง (โหราศาสตร์) - ชุนชิว (บันทึกเหตุการณ์สำคัญและพงศาวดาร) - หลี่จี้ (พิธีกรรมและประเพณี) เจียสูเป็นหนึ่งในรูปแบบของการเรียนเอกชน นอกจากเจียสูนี้ เอกชนยังมีการลงขันเปิดเป็นโรงเรียนกันในหมู่บ้าน (เรียกว่า ชุนสู/村塾) หรืออาจมีเจ้าภาพที่ได้รับเงินบริจาคจัดตั้งเป็นโรงเรียนขึ้น (เรียกว่า อี้สู/义塾) หรืออาจเป็นตัวอาจารย์เองเปิดสอนหนังสือโดยเรียกเก็บค่าเล่าเรียนจากนักเรียน สตรีจีนโบราณไม่มีโอกาสได้เรียนในสำนักศึกษาหลวง และส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับเรื่องจรรยาของสตรี โคลงกลอนและการดนตรี หากไม่ได้เรียนตามโรงเรียนเอกชนที่กล่าวมาข้างต้นก็จะเรียนกันที่บ้านตามมีตามเกิดหรือไม่ได้เรียน นอกจากนี้ ยังมีที่ศึกษาเองในระหว่างที่ออกบวชเป็นชี หรืออีกสุดขั้วหนึ่งคือการเรียนในหอนางโลมสำหรับนางโลมที่ต้องมีวิชาความรู้ติดตัวเพื่อทำมาหากิน (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากในละครและจาก: https://kknews.cc/zh-my/entertainment/4k6q6zg.html Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: https://www.fxjyb.com/xiandai/276.html https://zhuanlan.zhihu.com/p/77983438 https://m.lunwendata.com/show.php?id=34312 https://kknews.cc/history/pvkjmzj.html https://baike.baidu.com/tashuo/browse/content?id=e3ce1325253f66e731416fc1 http://old-book.ru.ac.th/e-book/e/EF206(49)/EF206(49)-5.pdf #หมิงหลัน #การเรียนเอกชนจีนโบราณ #การเรียนสตรีจีนโบราณ #สี่หนังสือห้าคัมภีร์ #เจียสู
    1 Comments 0 Shares 697 Views 0 Reviews
  • หลวงปู่คล้าย วัดบางนมโค

    ในสมัยก่อนที่หลวงพ่อปานจะบวช ท่านพบพระองค์หนึ่งซึ่งมีปฏิปทาการปฏิบัติดีเป็นพิเศษ พระองค์นี้เดิมทีท่านอยู่จังหวัดธนบุรี ต่อมาท่านได้ออกธุดงค์ที่อยุธยามาถึงก็ปักกลดอยู่ที่วัดบางนมโค

    สมัยนั้นวัดบางนมโคยังเป็นวัดร้างอยู่ ยังไม่มีสิ่งก่อสร้างเป็นถาวรวัตถุอะไร พอท่านมาอยู่ท่านก็เริ่มสร้างกุฏิไว้ 2-3 หลังก่อน แล้วถึงมาสร้างโบสถ์ โดยสร้างทับที่เดิม ก็เป็นอันว่าท่านเป็นผู้เริ่มก่อสร้างวัดบางนมโคเป็นองค์แรก

    พระองค์นี้คือ "หลวงปู่คล้าย" หลวงปู่คล้ายองค์นี้เป็นพระที่มีปาฏิหาริย์มาก มีความสามารถในทางไสยศาสตร์และสมาธิ หมายความว่าท่านจะทำสิ่งของต่าง ๆ ให้เป็นอะไรก็ได้ ถ้าจะกล่าวกันไปตามหลักวิชาการในสมัยนี้ ในทางพุทธศาสนาที่เรารู้กันก็หมายความว่าท่านเป็นผู้ทรงอภิญญานั่นเอง

    และเรื่องราวของหลวงปู่คล้ายหลวงพ่อปานท่านเล่าให้ฟังว่า ในสมัยที่หลวงพ่อปานเข้ามาอยู่เป็นนาคจะบวชพระนั้น วันหนึ่งเขาลองยิงพระกัน (พระเครื่อง) พระองค์ไหนก็ยิงออกหมด หลวงปู่คล้ายเดินไปถึงที่ที่เขากำลังลองพระกัน ท่านก็เปลื้องจีวรออกแล้วก็เอาจีวรวางไว้

    ท่านบอกว่า "ไหนลองยิงจีวรของฉันดูซิ" พวกนั้นใช้ปืนทุกอย่างยิงจีวรของท่านไม่ติด ท่านก็บอกว่า "ทุด ! ไอ้ปืนของพวกมึงนี่มันไม่ดี ยิงพระออก แต่ยิงจีวรของกูไม่ออก ปืนของมึงเสีย" นั่นครั้งหนึ่ง

    อีกครั้งหนึ่งหลวงพ่อปานบอกว่า ขณะที่ท่านกำลังท่องหนังสืออยู่ในป่าช้า ท่องหนังสือขานนาคหรือสวดมนต์ หลวงปู่คล้ายท่านเดินเข้าไปหาท่านถามว่า

    "ปานทำอะไรวะ?"
    "ผมกำลังท่องหนังสือครับ"
    "ปาน แกบวชแล้วแกจะสึกไหม?"
    "ผมบวชแล้วผมไม่อยากสึกครับ"
    "ฮือ...ดี บุคคลที่เขาไม่สึกเขาต้องทำอย่างนี้นะปาน" แล้วท่านก็วางจีวรไว้ท่านถามว่า
    "ปาน...อยากดูช้างไหม?"
    "อยากดูครับ"
    "แกดูจีวรนี่นะ เดี๋ยวมันจะเป็นช้าง"

    จีวรกลายเป็นช้าง

    พอมองไปประเดี๋ยวเดียวจีวรค่อย ๆ กลายเป็นช้างทีละนิด ๆ ทีแรกมันจะเกิดเป็นงวงมาก่อน สุดงวงแล้วจะเห็นงา เห็นงาแล้วจะเห็นหัว ตัวช้างขาช้าง หางช้าง แล้วช้างมันเดินไปได้ตามความประสงค์

    ท่านก็บอกว่า "ปานอยากขี่ช้างไหม?"
    "อยากขี่ครับ"
    "เอ้า ! เทาลงมาหน่อยให้เขาขี่" หัวช้างก็เทาลงมา แล้วก็ขี่เล่นภายในป่าช้าวนไปวนมาสัก 5 นาทีก็บอกให้ลงจากคอช้าง

    เมื่อลงจากคอช้างแล้วท่านก็พูดว่า
    "ช้าง เอ็งกลับเป็นจีวรตามเดิมซิ ข้าจะกลับไปกุฏิ เดี๋ยวข้าไปไม่มีจีวรห่ม" เท่านั้นเองก็ปรากฏว่าช้างกลายเป็นจีวรตามเดิม

    หลวงพ่อปานท่านเลยถามว่า
    "พระที่ทำอย่างนี้ได้น่ะ ทำได้ทุกองค์ไหมครับ?"
    " ทำไม่ได้ทุกองค์หรอก พระที่จะทำอย่างนี้ได้ต้องเจริญกรรมฐาน"
    "กรรมฐานเป็นอย่างไรครับ?"
    "เอาเถอะ เวลานี้ท่องหนังสือไปก่อน เมื่อเธอบวชแล้วถ้าเธอมีความประสงค์จะทำได้อย่างนี้ ฉันจะสอนให้"

    ท่านบอกว่าเป็นเหตุจับใจที่สุดในการเข้ามาสู่เขตพระพุทธศาสนา ซึ่งไม่เคยทราบมาก่อน ท่านบอกว่ามีความเลื่อมใสมาก คิดไม่ถึงเลยว่าพระจะทำอะไรต่ออะไรได้ทุกอย่าง และท่านก็ถามหลวงปู่คล้ายว่า

    "หลวงพ่อทำได้แต่เพียงเท่านี้หรือครับ?"
    "ทำได้ทุกอย่าง เอาอย่างนี้ไหมล่ะ แกอยากดูไหมว่าฉันสูงแค่ไหน? คอยดูนะ ให้ดูหลังคาศาลาปรก"

    เมื่อมีสมาธิก็ทำได้ทุกอย่าง

    แล้วท่านก็มายืนอยู่ข้างนอก "หัวฉันจะแค่หลังคาศาลาปรก" มองไปประเดี๋ยวเดียวปรากฏว่าท่านสูงแค่หลังคาศาลาปรก "ฉันจะทำให้สูงกว่ายอดไม้" ประเดี๋ยวเดียวตัวของท่านก็สูงกว่ายอดไม้

    ครู่หนึ่งท่านก็ทำตัวย่อลงมา แล้วก็บอกว่าจะทำตัวให้เล็กนิดเดียว ตัวของท่านก็เล็กนิดเดียวจริง ๆ ปรากฏว่าท่านสูงไม่ถึงคืบ ท่านบอกว่าทำให้เล็กกว่านี้ก็ได้ และในที่สุดท่านก็คลายสมาธิ กลับมาอยู่ในสภาพเดิม

    หลวงพ่อปานถามว่า
    "วิชาอย่างนี้เรียนได้จากไหน หลวงพ่อจะสอนผมได้ไหมครับ?"
    "เมื่อเธอทำสมาธิได้ เธอทำอย่างนี้ได้ แล้วก็ไม่ใช่จะได้เพียงเท่านี้นะ ทำได้ทุกอย่าง จะเหาะเหินเดินอากาศก็ได้ จะดำดิน เดินน้ำทำได้ทุกอย่าง เขาเรียกว่าสมาบัติ"

    ท่านก็จำคำว่า "สมาบัติ" ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา แล้วก็สนใจในการประพฤติปฏิบัติ แล้วก็พยายามท่องหนังสือหนังหาให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ท่านต้องเป็นนาคอยู่ 3 เดือน ต่อมาเมื่อเวลาบวชหลวงปู่คล้ายบอกว่า

    "ถ้าจะบวชก็ไปบอกพ่อแกให้ไปนิมนต์หลวงพ่อปั้น วัดพิกุล เป็นพระคู่สวดอีกองค์หนึ่งนอกจากฉัน แล้วก็ไปนิมนต์หลวงพ่อสุ่นวัดบางปลาหมอเป็นพระอุปัชฌาย์ เพราะทั้งสององค์นั้นเก่งกว่าฉัน

    (ตอนหน้า...หลวงพ่อสุ่นวัดบางปลาหมอ)

    พระราชพรหมยาน,ธัมมวิโมกข์ (2525),23,111-116
    หลวงปู่คล้าย วัดบางนมโค ในสมัยก่อนที่หลวงพ่อปานจะบวช ท่านพบพระองค์หนึ่งซึ่งมีปฏิปทาการปฏิบัติดีเป็นพิเศษ พระองค์นี้เดิมทีท่านอยู่จังหวัดธนบุรี ต่อมาท่านได้ออกธุดงค์ที่อยุธยามาถึงก็ปักกลดอยู่ที่วัดบางนมโค สมัยนั้นวัดบางนมโคยังเป็นวัดร้างอยู่ ยังไม่มีสิ่งก่อสร้างเป็นถาวรวัตถุอะไร พอท่านมาอยู่ท่านก็เริ่มสร้างกุฏิไว้ 2-3 หลังก่อน แล้วถึงมาสร้างโบสถ์ โดยสร้างทับที่เดิม ก็เป็นอันว่าท่านเป็นผู้เริ่มก่อสร้างวัดบางนมโคเป็นองค์แรก พระองค์นี้คือ "หลวงปู่คล้าย" หลวงปู่คล้ายองค์นี้เป็นพระที่มีปาฏิหาริย์มาก มีความสามารถในทางไสยศาสตร์และสมาธิ หมายความว่าท่านจะทำสิ่งของต่าง ๆ ให้เป็นอะไรก็ได้ ถ้าจะกล่าวกันไปตามหลักวิชาการในสมัยนี้ ในทางพุทธศาสนาที่เรารู้กันก็หมายความว่าท่านเป็นผู้ทรงอภิญญานั่นเอง และเรื่องราวของหลวงปู่คล้ายหลวงพ่อปานท่านเล่าให้ฟังว่า ในสมัยที่หลวงพ่อปานเข้ามาอยู่เป็นนาคจะบวชพระนั้น วันหนึ่งเขาลองยิงพระกัน (พระเครื่อง) พระองค์ไหนก็ยิงออกหมด หลวงปู่คล้ายเดินไปถึงที่ที่เขากำลังลองพระกัน ท่านก็เปลื้องจีวรออกแล้วก็เอาจีวรวางไว้ ท่านบอกว่า "ไหนลองยิงจีวรของฉันดูซิ" พวกนั้นใช้ปืนทุกอย่างยิงจีวรของท่านไม่ติด ท่านก็บอกว่า "ทุด ! ไอ้ปืนของพวกมึงนี่มันไม่ดี ยิงพระออก แต่ยิงจีวรของกูไม่ออก ปืนของมึงเสีย" นั่นครั้งหนึ่ง อีกครั้งหนึ่งหลวงพ่อปานบอกว่า ขณะที่ท่านกำลังท่องหนังสืออยู่ในป่าช้า ท่องหนังสือขานนาคหรือสวดมนต์ หลวงปู่คล้ายท่านเดินเข้าไปหาท่านถามว่า "ปานทำอะไรวะ?" "ผมกำลังท่องหนังสือครับ" "ปาน แกบวชแล้วแกจะสึกไหม?" "ผมบวชแล้วผมไม่อยากสึกครับ" "ฮือ...ดี บุคคลที่เขาไม่สึกเขาต้องทำอย่างนี้นะปาน" แล้วท่านก็วางจีวรไว้ท่านถามว่า "ปาน...อยากดูช้างไหม?" "อยากดูครับ" "แกดูจีวรนี่นะ เดี๋ยวมันจะเป็นช้าง" ▪️จีวรกลายเป็นช้าง▪️ พอมองไปประเดี๋ยวเดียวจีวรค่อย ๆ กลายเป็นช้างทีละนิด ๆ ทีแรกมันจะเกิดเป็นงวงมาก่อน สุดงวงแล้วจะเห็นงา เห็นงาแล้วจะเห็นหัว ตัวช้างขาช้าง หางช้าง แล้วช้างมันเดินไปได้ตามความประสงค์ ท่านก็บอกว่า "ปานอยากขี่ช้างไหม?" "อยากขี่ครับ" "เอ้า ! เทาลงมาหน่อยให้เขาขี่" หัวช้างก็เทาลงมา แล้วก็ขี่เล่นภายในป่าช้าวนไปวนมาสัก 5 นาทีก็บอกให้ลงจากคอช้าง เมื่อลงจากคอช้างแล้วท่านก็พูดว่า "ช้าง เอ็งกลับเป็นจีวรตามเดิมซิ ข้าจะกลับไปกุฏิ เดี๋ยวข้าไปไม่มีจีวรห่ม" เท่านั้นเองก็ปรากฏว่าช้างกลายเป็นจีวรตามเดิม หลวงพ่อปานท่านเลยถามว่า "พระที่ทำอย่างนี้ได้น่ะ ทำได้ทุกองค์ไหมครับ?" " ทำไม่ได้ทุกองค์หรอก พระที่จะทำอย่างนี้ได้ต้องเจริญกรรมฐาน" "กรรมฐานเป็นอย่างไรครับ?" "เอาเถอะ เวลานี้ท่องหนังสือไปก่อน เมื่อเธอบวชแล้วถ้าเธอมีความประสงค์จะทำได้อย่างนี้ ฉันจะสอนให้" ท่านบอกว่าเป็นเหตุจับใจที่สุดในการเข้ามาสู่เขตพระพุทธศาสนา ซึ่งไม่เคยทราบมาก่อน ท่านบอกว่ามีความเลื่อมใสมาก คิดไม่ถึงเลยว่าพระจะทำอะไรต่ออะไรได้ทุกอย่าง และท่านก็ถามหลวงปู่คล้ายว่า "หลวงพ่อทำได้แต่เพียงเท่านี้หรือครับ?" "ทำได้ทุกอย่าง เอาอย่างนี้ไหมล่ะ แกอยากดูไหมว่าฉันสูงแค่ไหน? คอยดูนะ ให้ดูหลังคาศาลาปรก" ▪️เมื่อมีสมาธิก็ทำได้ทุกอย่าง▪️ แล้วท่านก็มายืนอยู่ข้างนอก "หัวฉันจะแค่หลังคาศาลาปรก" มองไปประเดี๋ยวเดียวปรากฏว่าท่านสูงแค่หลังคาศาลาปรก "ฉันจะทำให้สูงกว่ายอดไม้" ประเดี๋ยวเดียวตัวของท่านก็สูงกว่ายอดไม้ ครู่หนึ่งท่านก็ทำตัวย่อลงมา แล้วก็บอกว่าจะทำตัวให้เล็กนิดเดียว ตัวของท่านก็เล็กนิดเดียวจริง ๆ ปรากฏว่าท่านสูงไม่ถึงคืบ ท่านบอกว่าทำให้เล็กกว่านี้ก็ได้ และในที่สุดท่านก็คลายสมาธิ กลับมาอยู่ในสภาพเดิม หลวงพ่อปานถามว่า "วิชาอย่างนี้เรียนได้จากไหน หลวงพ่อจะสอนผมได้ไหมครับ?" "เมื่อเธอทำสมาธิได้ เธอทำอย่างนี้ได้ แล้วก็ไม่ใช่จะได้เพียงเท่านี้นะ ทำได้ทุกอย่าง จะเหาะเหินเดินอากาศก็ได้ จะดำดิน เดินน้ำทำได้ทุกอย่าง เขาเรียกว่าสมาบัติ" ท่านก็จำคำว่า "สมาบัติ" ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา แล้วก็สนใจในการประพฤติปฏิบัติ แล้วก็พยายามท่องหนังสือหนังหาให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ท่านต้องเป็นนาคอยู่ 3 เดือน ต่อมาเมื่อเวลาบวชหลวงปู่คล้ายบอกว่า "ถ้าจะบวชก็ไปบอกพ่อแกให้ไปนิมนต์หลวงพ่อปั้น วัดพิกุล เป็นพระคู่สวดอีกองค์หนึ่งนอกจากฉัน แล้วก็ไปนิมนต์หลวงพ่อสุ่นวัดบางปลาหมอเป็นพระอุปัชฌาย์ เพราะทั้งสององค์นั้นเก่งกว่าฉัน (ตอนหน้า...หลวงพ่อสุ่นวัดบางปลาหมอ) พระราชพรหมยาน,ธัมมวิโมกข์ (2525),23,111-116
    0 Comments 0 Shares 343 Views 0 Reviews
  • พระไตรปิฏก (บาลี: **Tipiṭaka**; สันสกฤต: **Tripiṭaka**) เป็นคัมภีร์หลักของพุทธศาสนาเถรวาท ที่รวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ้าและคำอธิบายของพระสาวกไว้อย่างเป็นระบบ แบ่งออกเป็น 3 ปิฏก (หมวดใหญ่) ได้แก่ **วินัยปิฏก, สุตตันตปิฏก,** และ **อภิธรรมปิฏก**

    ### **1. วินัยปิฏก (Vinaya Piṭaka)**
    ว่าด้วยระเบียบวินัยของภิกษุ-ภิกษุณี แบ่งเป็น 5 คัมภีร์ย่อย (ขันธกะ):

    1. **มหาวิภังค์**
    - ว่าด้วยศีลของภิกษุ 227 ข้อ
    - รวมเรื่องราวการบัญญัติสิกขาบท เช่น เรื่องพระสุทินน์

    2. **ภิกขุนีวิภังค์**
    - ว่าด้วยศีลของภิกษุณี 311 ข้อ

    3. **มหาวรรค**
    - ว่าด้วยพิธีกรรมสำคัญ เช่น การบวช, การอุปสมบท, การทำสังฆกรรม

    4. **จุลวรรค**
    - ระเบียบย่อย เช่น การอยู่จำพรรษา, การกรานกฐิน

    5. **ปริวาร**
    - สรุปและคำถาม-ตอบเกี่ยวกับวินัย

    ---

    ### **2. สุตตันตปิฏก (Sutta Piṭaka)**
    รวบรวมพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า แบ่งเป็น 5 นิกาย (Nikāya):

    1. **ทีฆนิกาย** (คัมภีร์ยาว)
    - เช่น มหาปรินิพพานสูตร, พรหมชาลสูตร

    2. **มัชฌิมนิกาย** (คัมภีร์ปานกลาง)
    - เช่น สติปัฏฐานสูตร, มงคลสูตร

    3. **สังยุตตนิกาย** (คัมภีร์กลุ่มเรื่อง)
    - เช่น ธาตุสังยุตต์, อริยสัจจสังยุตต์

    4. **อังคุตตรนิกาย** (คัมภีร์เลขเพิ่ม)
    - จัดหมวดธรรมตามจำนวน เช่น เอกนิบาต (หมวด 1), ทุกนิบาต (หมวด 2)

    5. **ขุททกนิกาย** (คัมภีร์เล็กๆ)
    - รวมคัมภีร์สำคัญ เช่น
    - **ธรรมบท** (พุทธวจนะสั้นๆ)
    - **ชาดก** (เรื่องอดีตชาติพระพุทธเจ้า)
    - **มิลินทปัญหา** (สนทนาระหว่างพระนาคเสนกับพระเจ้ามิลินท์)

    ---

    ### **3. อภิธรรมปิฏก (Abhidhamma Piṭaka)**
    ว่าด้วยหลักธรรมเชิงปรัชญาล้วน แบ่งเป็น 7 คัมภีร์:

    1. **ธัมมสังคณี** (การจัดหมวดธรรม)
    2. **วิภังค์** (การแยกแยะธรรม)
    3. **ธาตุกถา** (ว่าด้วยธาตุ 18)
    4. **ปุคคลบัญญัติ** (การกำหนดบุคคล)
    5. **กถาวัตถุ** (คำอภิปรายธรรม)
    6. **ยมก** (ธรรมคู่กัน)
    7. **ปัฏฐาน** (ปัจจัย 24)

    ---

    ### **สรุปเนื้อหาสำคัญ**
    - **วินัยปิฏก**: ควบคุมความประพฤติของสงฆ์
    - **สุตตันตปิฏก**: คำสอนสำหรับการปฏิบัติ (เช่น มรรคมีองค์ 8, อริยสัจ 4)
    - **อภิธรรมปิฏก**: วิเคราะห์ธรรมะเชิงลึก (เช่น จิต, เจตสิก, นิพพาน)

    พระไตรปิฏกฉบับภาษาไทยมีทั้งหมด **45 เล่ม** (ฉบับมหาจุฬาฯ) และยังมีอรรถกถา (คำอธิบาย) เพิ่มเติมอีกมาก

    หากต้องการศึกษาลึกขึ้น แนะนำให้อ่านทีละส่วน เช่น **ธรรมบท** หรือ **มงคลสูตร** ก่อน แล้วค่อยขยายไปยังส่วนอื่นๆ
    พระไตรปิฏก (บาลี: **Tipiṭaka**; สันสกฤต: **Tripiṭaka**) เป็นคัมภีร์หลักของพุทธศาสนาเถรวาท ที่รวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ้าและคำอธิบายของพระสาวกไว้อย่างเป็นระบบ แบ่งออกเป็น 3 ปิฏก (หมวดใหญ่) ได้แก่ **วินัยปิฏก, สุตตันตปิฏก,** และ **อภิธรรมปิฏก** ### **1. วินัยปิฏก (Vinaya Piṭaka)** ว่าด้วยระเบียบวินัยของภิกษุ-ภิกษุณี แบ่งเป็น 5 คัมภีร์ย่อย (ขันธกะ): 1. **มหาวิภังค์** - ว่าด้วยศีลของภิกษุ 227 ข้อ - รวมเรื่องราวการบัญญัติสิกขาบท เช่น เรื่องพระสุทินน์ 2. **ภิกขุนีวิภังค์** - ว่าด้วยศีลของภิกษุณี 311 ข้อ 3. **มหาวรรค** - ว่าด้วยพิธีกรรมสำคัญ เช่น การบวช, การอุปสมบท, การทำสังฆกรรม 4. **จุลวรรค** - ระเบียบย่อย เช่น การอยู่จำพรรษา, การกรานกฐิน 5. **ปริวาร** - สรุปและคำถาม-ตอบเกี่ยวกับวินัย --- ### **2. สุตตันตปิฏก (Sutta Piṭaka)** รวบรวมพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า แบ่งเป็น 5 นิกาย (Nikāya): 1. **ทีฆนิกาย** (คัมภีร์ยาว) - เช่น มหาปรินิพพานสูตร, พรหมชาลสูตร 2. **มัชฌิมนิกาย** (คัมภีร์ปานกลาง) - เช่น สติปัฏฐานสูตร, มงคลสูตร 3. **สังยุตตนิกาย** (คัมภีร์กลุ่มเรื่อง) - เช่น ธาตุสังยุตต์, อริยสัจจสังยุตต์ 4. **อังคุตตรนิกาย** (คัมภีร์เลขเพิ่ม) - จัดหมวดธรรมตามจำนวน เช่น เอกนิบาต (หมวด 1), ทุกนิบาต (หมวด 2) 5. **ขุททกนิกาย** (คัมภีร์เล็กๆ) - รวมคัมภีร์สำคัญ เช่น - **ธรรมบท** (พุทธวจนะสั้นๆ) - **ชาดก** (เรื่องอดีตชาติพระพุทธเจ้า) - **มิลินทปัญหา** (สนทนาระหว่างพระนาคเสนกับพระเจ้ามิลินท์) --- ### **3. อภิธรรมปิฏก (Abhidhamma Piṭaka)** ว่าด้วยหลักธรรมเชิงปรัชญาล้วน แบ่งเป็น 7 คัมภีร์: 1. **ธัมมสังคณี** (การจัดหมวดธรรม) 2. **วิภังค์** (การแยกแยะธรรม) 3. **ธาตุกถา** (ว่าด้วยธาตุ 18) 4. **ปุคคลบัญญัติ** (การกำหนดบุคคล) 5. **กถาวัตถุ** (คำอภิปรายธรรม) 6. **ยมก** (ธรรมคู่กัน) 7. **ปัฏฐาน** (ปัจจัย 24) --- ### **สรุปเนื้อหาสำคัญ** - **วินัยปิฏก**: ควบคุมความประพฤติของสงฆ์ - **สุตตันตปิฏก**: คำสอนสำหรับการปฏิบัติ (เช่น มรรคมีองค์ 8, อริยสัจ 4) - **อภิธรรมปิฏก**: วิเคราะห์ธรรมะเชิงลึก (เช่น จิต, เจตสิก, นิพพาน) พระไตรปิฏกฉบับภาษาไทยมีทั้งหมด **45 เล่ม** (ฉบับมหาจุฬาฯ) และยังมีอรรถกถา (คำอธิบาย) เพิ่มเติมอีกมาก หากต้องการศึกษาลึกขึ้น แนะนำให้อ่านทีละส่วน เช่น **ธรรมบท** หรือ **มงคลสูตร** ก่อน แล้วค่อยขยายไปยังส่วนอื่นๆ
    0 Comments 0 Shares 363 Views 0 Reviews
  • เหรียญแซยิด หลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย จ.นครพนม ปี2538
    เหรียญแซยิด หลวงปู่คำพันธ์ ( ตอกโค๊ต "ช" ) วัดธาตุมหาชัย ต.มหาชัย อ.ปลาปาก จ.นครพนม ปี2538 // รุ่นนี้มีประสบการณ์สูง // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ @"

    ** พุทธคุณเมตตามหานิยม ค้าขายร่ำรวย ค้าขายดี เลื่อนยศ มหาเสน่ห์ โชคลาภ และแคล้วคลาดปลอดภัย คงกระพันชาตรี เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >>

    ** หลวงปู่คำพันธ์ บรรพชา เป็นสามเณร วันที่ ๗ กันยายน ๒๔๗๕ (อายุ ๑๗ ปี) บวชเป็นสามเณร ที่วัดศรีบุญเรือง บ.หนองหอย ต.นาแก อ.นาแก จ.นครพนม โดยมีพระอาจารย์เชื่อม เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ศึกษาอักษรธรรม และหนังสือสูตรคาม แบบโบราณ และฝึกปฏิบัติกัมมัฎฐาน อาจารย์ผู้สอนกรรมฐาน หลวงปู่ได้มีโอกาสฟังธรรมการปฏิบัติ จาก พระอาจารย์เสาร์ กันตะสีโล >>


    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญแซยิด หลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย จ.นครพนม ปี2538 เหรียญแซยิด หลวงปู่คำพันธ์ ( ตอกโค๊ต "ช" ) วัดธาตุมหาชัย ต.มหาชัย อ.ปลาปาก จ.นครพนม ปี2538 // รุ่นนี้มีประสบการณ์สูง // พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ @" ** พุทธคุณเมตตามหานิยม ค้าขายร่ำรวย ค้าขายดี เลื่อนยศ มหาเสน่ห์ โชคลาภ และแคล้วคลาดปลอดภัย คงกระพันชาตรี เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >> ** หลวงปู่คำพันธ์ บรรพชา เป็นสามเณร วันที่ ๗ กันยายน ๒๔๗๕ (อายุ ๑๗ ปี) บวชเป็นสามเณร ที่วัดศรีบุญเรือง บ.หนองหอย ต.นาแก อ.นาแก จ.นครพนม โดยมีพระอาจารย์เชื่อม เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ศึกษาอักษรธรรม และหนังสือสูตรคาม แบบโบราณ และฝึกปฏิบัติกัมมัฎฐาน อาจารย์ผู้สอนกรรมฐาน หลวงปู่ได้มีโอกาสฟังธรรมการปฏิบัติ จาก พระอาจารย์เสาร์ กันตะสีโล >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 205 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    สัทธรรมลำดับที่ : 981
    ชื่อบทธรรม : -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    --ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว
    สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท.

    ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ
    http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=อรหนฺโต+ขีณาสวา
    อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว
    มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว
    มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น
    เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท.
    ข้อนี้เพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุว่า #กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาทเธอทำเสร็จแล้ว และ
    เธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป.

    ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ
    มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ
    ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่;
    +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้
    จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร
    จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร
    จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย
    ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า
    ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน
    ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนโดยชอบ
    ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาท
    ข้อนี้สำหรับภิกษุนี้อยู่ #จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/178/229.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/178/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๒๘/๒๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=981
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก สัทธรรมลำดับที่ : 981 ชื่อบทธรรม : -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981 เนื้อความทั้งหมด :- --ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก --ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=อรหนฺโต+ขีณาสวา อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า #กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาทเธอทำเสร็จแล้ว และ เธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป. ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่; +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้ จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนโดยชอบ ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาท ข้อนี้สำหรับภิกษุนี้อยู่ #จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/178/229. http://etipitaka.com/read/thai/13/178/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๒๘/๒๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=981 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท เธอทำเสร็จแล้ว และเธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป. ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์ ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่; ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้ จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือน โดยชอบ ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาทข้อนี้ สำหรับภิกษุนี้อยู่ จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 322 Views 0 Reviews
More Results