• 12 พฤษภาคม 2568-รายงานข่าวเนชั่นทีวีระบุว่า นายจุลภาส เครือโสภณ หรือ ทอม เครือโสภณ นักธุรกิจดัง ในฐานะกรรมการบริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด พร้อมด้วยนายวิฑูรย์ เก่งงาน หรือทนายอ๋อง ในฐานะทนายความบริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด แถลงข่าวเปิดโปงธุรกรรมผิดกฎหมาย หลังตรวจพบความเสี่ยงปกปิดข้อมูล ก่อนเข้าซื้อกิจการ โดยผู้บริหารชุดเก่าปล่อยให้เว็บพนันมาใช้บริการช่องทางการรับชำระเงินทางออนไลน์เป็นจำนวนมาก พบเงินหมุนเวียนกว่า 10,000 ล้านบาท

    โดย นายวิฑูรย์ ทนายระบุว่า บริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด เป็นบริษัทจากทางอินโดนีเซียและอเมริกา เข้ามาลงทุนในไทย โดยมีการซื้อบริษัทแห่งหนึ่งที่ทำเกี่ยวกับ Payment Gateway เพื่อเอามาพัฒนาต่อ เนื่องจากหากเป็นบริษัทแม่จากต่างประเทศจะไม่มี license เป็นของตัวเอง การซื้อบริษัทจากไทยจึงง่ายกว่า ซึ่งบริษัทเรามีลักษณะเป็นบริษัทตัวกลางรับชำระเงิน ทำธุรกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบ Payment Gateway

    และการลงทุนซื้อบริษัทดังกล่าว เกิดขึ้นในกลางปี 2565 โดยผู้บริหารของ บริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด เข้ามาบริหาร เมื่อปลายปี 2566 แต่ตอนนั้นยังเป็นชื่อเดิมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด ในกุมภาพันธ์ปี 2567

    แต่ในระหว่างปลายปี 2566 ที่ผู้บริหารชุดใหม่เข้ามาบริหาร ได้มีการตรวจพบธุรกรรมที่น่าสงสัยของลูกค้า 20 อันดับแรก จากนั้นจึงทำการตรวจสอบเชิงลึก และตรวจสอบเป็นลิงก์ URL จึงพบว่า เป็นธุรกิจเว็บพนันออนไลน์ และเว็บพนันไม่ใช่ธุรกิจที่ถูกกฎหมาย

    ซึ่งตรวจพบ URL กว่า 100 ร้านค้า พบเงินหมุนเวียนปีละ กว่า 10,000 ล้านบาท เป็นเว็บพนันจากในประเทศไทยทั้งหมด

    ทางบริษัท จึงได้ทำการไล่ ผู้บริหารชุดเก่า 2 คนออก จากนั้นผู้บริหารชุดเก่าจึงได้ไปฟ้องศาลแรงงานกับบริษัทในข้อหาผิดสัญญาจ้างและเลิกจ้างไม่เป็นธรรม จึงได้มีการต่อสู้คดีกัน โดยทางบริษัทส่งหลักฐานทางธุรกรรมที่ชี้ให้เห็นว่า มีการทำธุรกรรมที่ผิดกฎหมาย ซึ่งศาลพิพากษาว่า 2 ผู้บริหารเก่าทำผิดกฎหมายจริง และทำให้บริษัทเสียหาย แต่ศาลสั่งให้จ่ายโบนัสตามสัญญาจ้าง 300 ล้านบาท โดยให้เหตุผลว่า สัญญาจ้างไม่มีการระบุว่า จะไม่จ่ายเงินให้**กรณีมีการทำธุรกรรมที่ผิดกฎหมาย แม้ในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จะระบุไว้ว่าผิดก็ตาม ทางบริษัทจึงใช้สิทธิ์ยื่นอุทธรณ์

    นายวิฑูรย์ กล่าวต่อว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับทางบริษัท คือ บริษัทขาดความน่าเชื่อถือ และจะถูกสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือ ปปง. ตรวจสอบธุรกรรมทางการเงินของบริษัทในวันอังคาร-ศุกร์ที่จะถึงนี้ เพราะไม่ใช่แค่เว็บพนันออนไลน์ แต่มีการกู้ยืมเงินออนไลน์ด้วย แต่ทางบริษัทยินดีให้มาดำเนินการตรวจสอบ

    นายวิฑูรย์ บอกอีกว่า สิ่งที่น่าตกใจกับบริษัท คือกรมบังคับคดี มีการอายัดเงินของลูกค้าบริษัท ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2568 มูลค่า 8 ล้านเหรียญ หรือประมาณ 200-300 ล้านบาท จึงมีข้อสงสัยว่า ปกติแล้วมีการอายัดกันไวขนาดนี้เลยหรือ เพราะทำเรื่องอายัดวันที่ 30 เมษายน 2568 เวลา 12.44 น. หลังจากนั้นมีออกคำสั่งอายัดเวลา 13.00 น. และยังออกหมายการอายัดเงินไปยังธนาคารภายในวันเดียวกัน และส่งหมายผ่านทางไปรษณีย์มาที่บริษัทวันที่ 1 พฤษภาคม 2568 จึงตั้งข้อสังเกตว่าทนายส่วนใหญ่ไม่เคยเจอสถานการณ์นี้มาก่อน ที่กระบวนการการออกหมายและอายัดเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วภายในวันเดียว

    โดยหลังจากนี้ทางบริษัท จะรวบรวมข้อมูลทั้งหมดส่งมอบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยจะไปยื่นให้กับตำรวจไซเบอร์ และ กองบังคับการปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี หรือ บก.ปอท. ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเว็บพนัน

    ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการฟอกเงิน จะไปยื่นหลักฐานให้กับ ปปง. และประสานงาน เพื่อที่จะนำข้อมูลส่งไปให้ที่กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือดีเอสไอ ในการตรวจสอบ เนื่องจากการทำธุรกรรมที่เกิดขึ้นเป็นการทำธุรกรรมที่ใหญ่ในประเทศไทย พร้อมยืนยันว่า ทางบริษัทจะให้ความร่วมมือในการตรวจสอบทลายเครือข่ายเว็บพนันอย่างเต็มที่ พร้อมเน้นว่า เรื่องนี้ทำงานกันอย่างสนุกแน่นอน โดยหลังจากนี้จะไปยื่นหนังสือขอความเป็นธรรมกับทางกรมบังคับคดีอีกด้วย

    นายทอม เครือโสภณ เปิดใจถึงความไม่ชอบมาพากลว่า ว่า ระหว่างการสู้คดี มีผู้ใหญ่ที่มีชื่อเสียงระดับประเทศ พูดไปแล้วทุกคนรู้จัก และมีเสธ.ท่านหนึ่ง โทรศัพท์มาหาตนเอง ซึ่งรวมๆแล้วที่โทรมาหาตนเองมีมากกว่า 10 คน เป็นการโทรมาเจรจาขอให้ยุติเรื่องและจ่ายเงิน 300 ล้านบาท ให้กับ 2 ผู้บริหารชุดเก่าที่กระทำความผิด และกล่าวหาว่าตนเองทำไมถึงไปช่วยชาวต่างชาติ ตนเองจึงขอบอกเสธ.ที่โทรมาว่า “ผมไม่เล่นเกมนี้”

    สิ่งที่ตนยอมไม่ได้ เนื่องจากมีการกลั่นแกล้งลูกค้าของตนเอง โดยการส่งหมายอายัดบัญชีมา ทั้งๆที่รู้ว่าเรากำลังอุทธรณ์ จึงเป็นเหมือนการกลั่นแกล้งนักลงทุนที่จะมาลงทุนในประเทศไทย

    นอกจากนี้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของ 2 ผู้บริหารชุดเก่ากับเสธ. ตนเองไม่ทราบว่าเป็นอะไรกัน แต่ในช่วงเวลานั้นใครที่น่าจะ เจรจากับตนเองได้ ก็คงจะให้คนระดับเดียวกันมาเจรจา

    “คุณมีผู้ใหญ่ผมก็มีผู้ใหญ่ คุณมีเสธผมมีนายพล ทุกคนที่โทรมาล็อบบี้ บอกผมว่าเดี๋ยวมีของขวัญให้คุณทอม โชคดีเมียพี่รวย ล็อบบี้คนผิดแล้ว“ นายทอม เครือโสภณ กล่าว

    ทั้งนี้ การออกมาแถลงข่าว แม้จะเกิดความเสียหายเป็นหมื่นล้าน แต่บริษัท ตัดสินใจแล้วว่า จะจ่ายเงินให้กับลูกค้าแทนที่ถูกอายัดบัญชี เองจำนวนกว่า 10,000 ราย จะต้องควักเงินตัวเองเพื่อประเทศชาติ เพราะบริษัทต้องการเป็นบริษัทที่โปร่งใส และมองว่า การทำแบบนี้ทำให้ประเทศชาติเสียผลประโยชน์

    ดังนั้น ตนเองในฐานะผู้บริหารของบริษัท อยากจะเรียกร้องให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ มีความเข้มงวดและปราบปรามบริษัท Payment Gateway ของรายอื่นที่รับโอนเงินจาก เว็บพนันอย่างจริงจัง เพราะเชื่อว่าเงินหมุนเวียนหลักหมื่นล้านที่เป็นเงินจากเว็บพนัน จะหมุนเวียนไปใช้บริษัท Payment Gateway ของบริษัทอื่นแน่นอน

    ส่วนกรณีที่ 2 ผู้บริหารชุดเก่าจะอ้างว่าไม่ทราบมาก่อนว่ามีลูกค้าเป็นเว็บพนันออนไลน์ เรื่องนี้ นายยศกร เหล่าโชติธนกุล ทีมทนายความ ระบุด้วยว่า เป็นไปไม่ได้ เนื่องจากเป็นผู้บริหาร ก็ต้องรู้ฐานลูกค้าอยู่เเล้ว และก่อนหน้านี้ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ทำหนังสือเตือนถึงผู้บริหารชุดเก่าให้ปรับเปลี่ยนการบริหาร และปรับเปลี่ยนการดำเนินการหลายอย่าง เพราะเป็นไปตามกฎระเบียบ ซึ่งชี้ให้เห็นว่าผู้บริหารชุดเก่ามีความหละหลวมในการบริหารงาน
    12 พฤษภาคม 2568-รายงานข่าวเนชั่นทีวีระบุว่า นายจุลภาส เครือโสภณ หรือ ทอม เครือโสภณ นักธุรกิจดัง ในฐานะกรรมการบริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด พร้อมด้วยนายวิฑูรย์ เก่งงาน หรือทนายอ๋อง ในฐานะทนายความบริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด แถลงข่าวเปิดโปงธุรกรรมผิดกฎหมาย หลังตรวจพบความเสี่ยงปกปิดข้อมูล ก่อนเข้าซื้อกิจการ โดยผู้บริหารชุดเก่าปล่อยให้เว็บพนันมาใช้บริการช่องทางการรับชำระเงินทางออนไลน์เป็นจำนวนมาก พบเงินหมุนเวียนกว่า 10,000 ล้านบาท โดย นายวิฑูรย์ ทนายระบุว่า บริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด เป็นบริษัทจากทางอินโดนีเซียและอเมริกา เข้ามาลงทุนในไทย โดยมีการซื้อบริษัทแห่งหนึ่งที่ทำเกี่ยวกับ Payment Gateway เพื่อเอามาพัฒนาต่อ เนื่องจากหากเป็นบริษัทแม่จากต่างประเทศจะไม่มี license เป็นของตัวเอง การซื้อบริษัทจากไทยจึงง่ายกว่า ซึ่งบริษัทเรามีลักษณะเป็นบริษัทตัวกลางรับชำระเงิน ทำธุรกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบ Payment Gateway และการลงทุนซื้อบริษัทดังกล่าว เกิดขึ้นในกลางปี 2565 โดยผู้บริหารของ บริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด เข้ามาบริหาร เมื่อปลายปี 2566 แต่ตอนนั้นยังเป็นชื่อเดิมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท เซ็นดิท เทค จำกัด ในกุมภาพันธ์ปี 2567 แต่ในระหว่างปลายปี 2566 ที่ผู้บริหารชุดใหม่เข้ามาบริหาร ได้มีการตรวจพบธุรกรรมที่น่าสงสัยของลูกค้า 20 อันดับแรก จากนั้นจึงทำการตรวจสอบเชิงลึก และตรวจสอบเป็นลิงก์ URL จึงพบว่า เป็นธุรกิจเว็บพนันออนไลน์ และเว็บพนันไม่ใช่ธุรกิจที่ถูกกฎหมาย ซึ่งตรวจพบ URL กว่า 100 ร้านค้า พบเงินหมุนเวียนปีละ กว่า 10,000 ล้านบาท เป็นเว็บพนันจากในประเทศไทยทั้งหมด ทางบริษัท จึงได้ทำการไล่ ผู้บริหารชุดเก่า 2 คนออก จากนั้นผู้บริหารชุดเก่าจึงได้ไปฟ้องศาลแรงงานกับบริษัทในข้อหาผิดสัญญาจ้างและเลิกจ้างไม่เป็นธรรม จึงได้มีการต่อสู้คดีกัน โดยทางบริษัทส่งหลักฐานทางธุรกรรมที่ชี้ให้เห็นว่า มีการทำธุรกรรมที่ผิดกฎหมาย ซึ่งศาลพิพากษาว่า 2 ผู้บริหารเก่าทำผิดกฎหมายจริง และทำให้บริษัทเสียหาย แต่ศาลสั่งให้จ่ายโบนัสตามสัญญาจ้าง 300 ล้านบาท โดยให้เหตุผลว่า สัญญาจ้างไม่มีการระบุว่า จะไม่จ่ายเงินให้**กรณีมีการทำธุรกรรมที่ผิดกฎหมาย แม้ในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จะระบุไว้ว่าผิดก็ตาม ทางบริษัทจึงใช้สิทธิ์ยื่นอุทธรณ์ นายวิฑูรย์ กล่าวต่อว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับทางบริษัท คือ บริษัทขาดความน่าเชื่อถือ และจะถูกสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือ ปปง. ตรวจสอบธุรกรรมทางการเงินของบริษัทในวันอังคาร-ศุกร์ที่จะถึงนี้ เพราะไม่ใช่แค่เว็บพนันออนไลน์ แต่มีการกู้ยืมเงินออนไลน์ด้วย แต่ทางบริษัทยินดีให้มาดำเนินการตรวจสอบ นายวิฑูรย์ บอกอีกว่า สิ่งที่น่าตกใจกับบริษัท คือกรมบังคับคดี มีการอายัดเงินของลูกค้าบริษัท ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2568 มูลค่า 8 ล้านเหรียญ หรือประมาณ 200-300 ล้านบาท จึงมีข้อสงสัยว่า ปกติแล้วมีการอายัดกันไวขนาดนี้เลยหรือ เพราะทำเรื่องอายัดวันที่ 30 เมษายน 2568 เวลา 12.44 น. หลังจากนั้นมีออกคำสั่งอายัดเวลา 13.00 น. และยังออกหมายการอายัดเงินไปยังธนาคารภายในวันเดียวกัน และส่งหมายผ่านทางไปรษณีย์มาที่บริษัทวันที่ 1 พฤษภาคม 2568 จึงตั้งข้อสังเกตว่าทนายส่วนใหญ่ไม่เคยเจอสถานการณ์นี้มาก่อน ที่กระบวนการการออกหมายและอายัดเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วภายในวันเดียว โดยหลังจากนี้ทางบริษัท จะรวบรวมข้อมูลทั้งหมดส่งมอบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยจะไปยื่นให้กับตำรวจไซเบอร์ และ กองบังคับการปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี หรือ บก.ปอท. ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเว็บพนัน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการฟอกเงิน จะไปยื่นหลักฐานให้กับ ปปง. และประสานงาน เพื่อที่จะนำข้อมูลส่งไปให้ที่กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือดีเอสไอ ในการตรวจสอบ เนื่องจากการทำธุรกรรมที่เกิดขึ้นเป็นการทำธุรกรรมที่ใหญ่ในประเทศไทย พร้อมยืนยันว่า ทางบริษัทจะให้ความร่วมมือในการตรวจสอบทลายเครือข่ายเว็บพนันอย่างเต็มที่ พร้อมเน้นว่า เรื่องนี้ทำงานกันอย่างสนุกแน่นอน โดยหลังจากนี้จะไปยื่นหนังสือขอความเป็นธรรมกับทางกรมบังคับคดีอีกด้วย นายทอม เครือโสภณ เปิดใจถึงความไม่ชอบมาพากลว่า ว่า ระหว่างการสู้คดี มีผู้ใหญ่ที่มีชื่อเสียงระดับประเทศ พูดไปแล้วทุกคนรู้จัก และมีเสธ.ท่านหนึ่ง โทรศัพท์มาหาตนเอง ซึ่งรวมๆแล้วที่โทรมาหาตนเองมีมากกว่า 10 คน เป็นการโทรมาเจรจาขอให้ยุติเรื่องและจ่ายเงิน 300 ล้านบาท ให้กับ 2 ผู้บริหารชุดเก่าที่กระทำความผิด และกล่าวหาว่าตนเองทำไมถึงไปช่วยชาวต่างชาติ ตนเองจึงขอบอกเสธ.ที่โทรมาว่า “ผมไม่เล่นเกมนี้” สิ่งที่ตนยอมไม่ได้ เนื่องจากมีการกลั่นแกล้งลูกค้าของตนเอง โดยการส่งหมายอายัดบัญชีมา ทั้งๆที่รู้ว่าเรากำลังอุทธรณ์ จึงเป็นเหมือนการกลั่นแกล้งนักลงทุนที่จะมาลงทุนในประเทศไทย นอกจากนี้ในเรื่องของความสัมพันธ์ของ 2 ผู้บริหารชุดเก่ากับเสธ. ตนเองไม่ทราบว่าเป็นอะไรกัน แต่ในช่วงเวลานั้นใครที่น่าจะ เจรจากับตนเองได้ ก็คงจะให้คนระดับเดียวกันมาเจรจา “คุณมีผู้ใหญ่ผมก็มีผู้ใหญ่ คุณมีเสธผมมีนายพล ทุกคนที่โทรมาล็อบบี้ บอกผมว่าเดี๋ยวมีของขวัญให้คุณทอม โชคดีเมียพี่รวย ล็อบบี้คนผิดแล้ว“ นายทอม เครือโสภณ กล่าว ทั้งนี้ การออกมาแถลงข่าว แม้จะเกิดความเสียหายเป็นหมื่นล้าน แต่บริษัท ตัดสินใจแล้วว่า จะจ่ายเงินให้กับลูกค้าแทนที่ถูกอายัดบัญชี เองจำนวนกว่า 10,000 ราย จะต้องควักเงินตัวเองเพื่อประเทศชาติ เพราะบริษัทต้องการเป็นบริษัทที่โปร่งใส และมองว่า การทำแบบนี้ทำให้ประเทศชาติเสียผลประโยชน์ ดังนั้น ตนเองในฐานะผู้บริหารของบริษัท อยากจะเรียกร้องให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ มีความเข้มงวดและปราบปรามบริษัท Payment Gateway ของรายอื่นที่รับโอนเงินจาก เว็บพนันอย่างจริงจัง เพราะเชื่อว่าเงินหมุนเวียนหลักหมื่นล้านที่เป็นเงินจากเว็บพนัน จะหมุนเวียนไปใช้บริษัท Payment Gateway ของบริษัทอื่นแน่นอน ส่วนกรณีที่ 2 ผู้บริหารชุดเก่าจะอ้างว่าไม่ทราบมาก่อนว่ามีลูกค้าเป็นเว็บพนันออนไลน์ เรื่องนี้ นายยศกร เหล่าโชติธนกุล ทีมทนายความ ระบุด้วยว่า เป็นไปไม่ได้ เนื่องจากเป็นผู้บริหาร ก็ต้องรู้ฐานลูกค้าอยู่เเล้ว และก่อนหน้านี้ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ทำหนังสือเตือนถึงผู้บริหารชุดเก่าให้ปรับเปลี่ยนการบริหาร และปรับเปลี่ยนการดำเนินการหลายอย่าง เพราะเป็นไปตามกฎระเบียบ ซึ่งชี้ให้เห็นว่าผู้บริหารชุดเก่ามีความหละหลวมในการบริหารงาน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 57 มุมมอง 0 รีวิว
  • เช็คบิลปมใหม่ พีระพันธุ์ ขาดคุณสมบัติ เป็นรัฐมนตรี
    .
    “ดร.ณัฏฐ์” เปิดปมใหม่ “พีระพันธุ์” คุณสมบัติรัฐมนตรี ขาดตั้งแต่วันยื่นใบสมัคร สส.บัญชีรายชื่อ -แต่งตั้งกรรมการบริษัท-ผู้ถือหุ้นในบริษัทตนเอง ผลประโยชน์ทับซ้อน

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000044176

    #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    เช็คบิลปมใหม่ พีระพันธุ์ ขาดคุณสมบัติ เป็นรัฐมนตรี . “ดร.ณัฏฐ์” เปิดปมใหม่ “พีระพันธุ์” คุณสมบัติรัฐมนตรี ขาดตั้งแต่วันยื่นใบสมัคร สส.บัญชีรายชื่อ -แต่งตั้งกรรมการบริษัท-ผู้ถือหุ้นในบริษัทตนเอง ผลประโยชน์ทับซ้อน อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000044176 #News1live #News1 #Sondhitalk #SondhiX #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 243 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายงานล่าสุดเผยว่า บริษัททั่วโลกกำลังดิ้นรนเพื่อสร้างรายได้จาก AI แม้ว่าจะถือเป็น ภารกิจสำคัญในอีก 5 ปีข้างหน้า โดยผลสำรวจจาก DigitalRoute พบว่า 71% ของ CFOs ระบุว่าพวกเขายังไม่สามารถสร้างรายได้จาก AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    แม้ว่า AI จะถูกมองว่าเป็น "ยุคทองดิจิทัลครั้งที่สอง" แต่ปัญหาหลักคือ โมเดลการตั้งราคาที่ล้าสมัย ซึ่งไม่สามารถรองรับ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยการใช้งาน AI ได้ CFOs ส่วนใหญ่ยอมรับว่า การตั้งราคาตามการใช้งานจริงเป็นสิ่งจำเป็น แต่ 70% ของ CFOs ระบุว่าความซับซ้อนของการตั้งราคาคืออุปสรรคใหญ่ที่สุด

    ✅ 71% ของ CFOs ระบุว่าพวกเขายังไม่สามารถสร้างรายได้จาก AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    - แม้ว่า 90% ของบริษัทจะมองว่า AI เป็นภารกิจสำคัญในอีก 5 ปีข้างหน้า
    - มีเพียง 29% ของบริษัทที่มีโมเดลการสร้างรายได้จาก AI ที่ใช้งานได้จริง

    ✅ ปัญหาหลักคือโมเดลการตั้งราคาที่ล้าสมัย
    - 68% ของบริษัทเทคโนโลยีระบุว่าโมเดลการตั้งราคาดั้งเดิมไม่สามารถใช้กับ AI ได้
    - CFOs ต้องการ ระบบติดตามการใช้งาน AI แบบเรียลไทม์ เพื่อช่วยในการตั้งราคา

    ✅ AI Monetization กลายเป็นวาระสำคัญในห้องประชุม
    - 64% ของ CFOs ระบุว่าการสร้างรายได้จาก AI เป็นวาระสำคัญของคณะกรรมการบริษัท
    - แต่มีเพียง 20% ของบริษัทที่สามารถติดตามการใช้งาน AI รายบุคคลได้

    ✅ แนวทางแก้ไขที่แนะนำ
    - ติดตามการใช้งาน AI ในระดับฟีเจอร์
    - พัฒนาโมเดลการตั้งราคาตามมูลค่าและการใช้งานจริงก่อนเปิดตัว
    - ปรับปรุงการทำงานร่วมกันระหว่างทีมผลิตภัณฑ์ การเงิน และรายได้

    https://www.techradar.com/pro/security/global-bean-counters-are-struggling-to-find-value-for-money-in-anything-ai-and-that-is-a-big-big-problem
    รายงานล่าสุดเผยว่า บริษัททั่วโลกกำลังดิ้นรนเพื่อสร้างรายได้จาก AI แม้ว่าจะถือเป็น ภารกิจสำคัญในอีก 5 ปีข้างหน้า โดยผลสำรวจจาก DigitalRoute พบว่า 71% ของ CFOs ระบุว่าพวกเขายังไม่สามารถสร้างรายได้จาก AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่า AI จะถูกมองว่าเป็น "ยุคทองดิจิทัลครั้งที่สอง" แต่ปัญหาหลักคือ โมเดลการตั้งราคาที่ล้าสมัย ซึ่งไม่สามารถรองรับ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยการใช้งาน AI ได้ CFOs ส่วนใหญ่ยอมรับว่า การตั้งราคาตามการใช้งานจริงเป็นสิ่งจำเป็น แต่ 70% ของ CFOs ระบุว่าความซับซ้อนของการตั้งราคาคืออุปสรรคใหญ่ที่สุด ✅ 71% ของ CFOs ระบุว่าพวกเขายังไม่สามารถสร้างรายได้จาก AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - แม้ว่า 90% ของบริษัทจะมองว่า AI เป็นภารกิจสำคัญในอีก 5 ปีข้างหน้า - มีเพียง 29% ของบริษัทที่มีโมเดลการสร้างรายได้จาก AI ที่ใช้งานได้จริง ✅ ปัญหาหลักคือโมเดลการตั้งราคาที่ล้าสมัย - 68% ของบริษัทเทคโนโลยีระบุว่าโมเดลการตั้งราคาดั้งเดิมไม่สามารถใช้กับ AI ได้ - CFOs ต้องการ ระบบติดตามการใช้งาน AI แบบเรียลไทม์ เพื่อช่วยในการตั้งราคา ✅ AI Monetization กลายเป็นวาระสำคัญในห้องประชุม - 64% ของ CFOs ระบุว่าการสร้างรายได้จาก AI เป็นวาระสำคัญของคณะกรรมการบริษัท - แต่มีเพียง 20% ของบริษัทที่สามารถติดตามการใช้งาน AI รายบุคคลได้ ✅ แนวทางแก้ไขที่แนะนำ - ติดตามการใช้งาน AI ในระดับฟีเจอร์ - พัฒนาโมเดลการตั้งราคาตามมูลค่าและการใช้งานจริงก่อนเปิดตัว - ปรับปรุงการทำงานร่วมกันระหว่างทีมผลิตภัณฑ์ การเงิน และรายได้ https://www.techradar.com/pro/security/global-bean-counters-are-struggling-to-find-value-for-money-in-anything-ai-and-that-is-a-big-big-problem
    WWW.TECHRADAR.COM
    AI is transforming business - except on the balance sheet
    Second digital gold rush? CFOs say AI isn’t paying off - yet, anyway
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 153 มุมมอง 0 รีวิว
  • การนำ AI มาใช้ในองค์กรกำลังสร้างความท้าทายด้าน ความปลอดภัยไซเบอร์ และ โครงสร้างพื้นฐานเครือข่าย โดยรายงานจาก Expereo พบว่า เกือบ 20% ขององค์กรในสหรัฐฯ ประสบปัญหาด้านความปลอดภัยจากการใช้ AI

    นอกจากนี้ 41% ขององค์กรทั่วโลก เผชิญกับปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านความปลอดภัยไซเบอร์ แม้ว่าความปลอดภัยจะเป็น ลำดับที่สองของการลงทุน รองจาก เครือข่ายและการเชื่อมต่อ (43%)

    ความคาดหวังเกี่ยวกับ AI ในองค์กรยังคงสูงเกินจริง โดย หนึ่งในสามของ CIO ทั่วโลก เชื่อว่าคณะกรรมการบริษัทมีความคาดหวังที่ไม่สมเหตุสมผลเกี่ยวกับผลกระทบของ AI และ 27% ของผู้นำด้านเทคโนโลยีในสหรัฐฯ มีความคิดเห็นเช่นเดียวกัน

    ✅ ผลกระทบด้านความปลอดภัยไซเบอร์
    - เกือบ 20% ขององค์กรในสหรัฐฯ ประสบปัญหาด้านความปลอดภัยจากการใช้ AI
    - 41% ขององค์กรทั่วโลก เผชิญกับปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านความปลอดภัยไซเบอร์

    ✅ การลงทุนด้านเทคโนโลยี
    - ความปลอดภัยไซเบอร์เป็น ลำดับที่สองของการลงทุน (38%)
    - เครือข่ายและการเชื่อมต่อเป็น ลำดับแรกของการลงทุน (43%)

    ✅ ความคาดหวังเกี่ยวกับ AI
    - หนึ่งในสามของ CIO ทั่วโลก เชื่อว่าคณะกรรมการบริษัทมีความคาดหวังที่ไม่สมเหตุสมผลเกี่ยวกับ AI
    - 27% ของผู้นำด้านเทคโนโลยีในสหรัฐฯ มีความคิดเห็นเช่นเดียวกัน

    ✅ ผลกระทบจากความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์
    - 50% ขององค์กรในสหรัฐฯ ระบุว่าความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ส่งผลต่อกลยุทธ์การเติบโตของพวกเขา
    - 34% ของผู้นำด้านเทคโนโลยีทั่วโลก ต้องปรับโครงสร้างพื้นฐานเนื่องจากความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์

    https://www.techradar.com/pro/rushed-ai-deployments-and-skills-shortages-are-putting-businesses-at-risk
    การนำ AI มาใช้ในองค์กรกำลังสร้างความท้าทายด้าน ความปลอดภัยไซเบอร์ และ โครงสร้างพื้นฐานเครือข่าย โดยรายงานจาก Expereo พบว่า เกือบ 20% ขององค์กรในสหรัฐฯ ประสบปัญหาด้านความปลอดภัยจากการใช้ AI นอกจากนี้ 41% ขององค์กรทั่วโลก เผชิญกับปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านความปลอดภัยไซเบอร์ แม้ว่าความปลอดภัยจะเป็น ลำดับที่สองของการลงทุน รองจาก เครือข่ายและการเชื่อมต่อ (43%) ความคาดหวังเกี่ยวกับ AI ในองค์กรยังคงสูงเกินจริง โดย หนึ่งในสามของ CIO ทั่วโลก เชื่อว่าคณะกรรมการบริษัทมีความคาดหวังที่ไม่สมเหตุสมผลเกี่ยวกับผลกระทบของ AI และ 27% ของผู้นำด้านเทคโนโลยีในสหรัฐฯ มีความคิดเห็นเช่นเดียวกัน ✅ ผลกระทบด้านความปลอดภัยไซเบอร์ - เกือบ 20% ขององค์กรในสหรัฐฯ ประสบปัญหาด้านความปลอดภัยจากการใช้ AI - 41% ขององค์กรทั่วโลก เผชิญกับปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านความปลอดภัยไซเบอร์ ✅ การลงทุนด้านเทคโนโลยี - ความปลอดภัยไซเบอร์เป็น ลำดับที่สองของการลงทุน (38%) - เครือข่ายและการเชื่อมต่อเป็น ลำดับแรกของการลงทุน (43%) ✅ ความคาดหวังเกี่ยวกับ AI - หนึ่งในสามของ CIO ทั่วโลก เชื่อว่าคณะกรรมการบริษัทมีความคาดหวังที่ไม่สมเหตุสมผลเกี่ยวกับ AI - 27% ของผู้นำด้านเทคโนโลยีในสหรัฐฯ มีความคิดเห็นเช่นเดียวกัน ✅ ผลกระทบจากความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ - 50% ขององค์กรในสหรัฐฯ ระบุว่าความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ส่งผลต่อกลยุทธ์การเติบโตของพวกเขา - 34% ของผู้นำด้านเทคโนโลยีทั่วโลก ต้องปรับโครงสร้างพื้นฐานเนื่องจากความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ https://www.techradar.com/pro/rushed-ai-deployments-and-skills-shortages-are-putting-businesses-at-risk
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 183 มุมมอง 0 รีวิว
  • ยอมรับแก้แบบตึก สตง. ลดความหนาปล่องลิฟต์ : [NEWS UPDATE]
    นายธีระ วรรธนะทรัพย์ กรรมการบริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จำกัด ในฐานะหัวหน้าผู้ออกแบบ
    อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) แห่งใหม่ เข้าให้ข้อมูลกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) กรณีสัญญาออกแบบก่อสร้างอาคาร สตง. โดยนำเอกสารหลายอย่างมายื่น ซึ่งเป็นเอกสารเดิมที่เคยชี้แจงไปแล้ว แต่วันนี้ขอชี้แจงให้กระจ่าง ยอมรับมีการแก้ไขแบบแปลนจริง โดยลดขนาดความหนาปล่องลิฟต์ เพื่อให้ขนาดทางเดินมีความกว้างขึ้น ด้านนายเกรียงศักดิ์ กอวัฒนา รองประธานบริหารอาวุโส บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) เผย ได้คุยเรื่องนอมินีกับเจ้าหน้าที่ และยังสอบปากคำเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการประมูลด้วย


    คำสารภาพกระทบทนายตั้ม

    เพิ่มทางเลือกชุดลูกเสือ

    หนุนจ่ายยาสมุนไพร

    เงินหมื่นเฟส 3 คืบหน้า
    ยอมรับแก้แบบตึก สตง. ลดความหนาปล่องลิฟต์ : [NEWS UPDATE] นายธีระ วรรธนะทรัพย์ กรรมการบริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จำกัด ในฐานะหัวหน้าผู้ออกแบบ อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) แห่งใหม่ เข้าให้ข้อมูลกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ(ดีเอสไอ) กรณีสัญญาออกแบบก่อสร้างอาคาร สตง. โดยนำเอกสารหลายอย่างมายื่น ซึ่งเป็นเอกสารเดิมที่เคยชี้แจงไปแล้ว แต่วันนี้ขอชี้แจงให้กระจ่าง ยอมรับมีการแก้ไขแบบแปลนจริง โดยลดขนาดความหนาปล่องลิฟต์ เพื่อให้ขนาดทางเดินมีความกว้างขึ้น ด้านนายเกรียงศักดิ์ กอวัฒนา รองประธานบริหารอาวุโส บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) เผย ได้คุยเรื่องนอมินีกับเจ้าหน้าที่ และยังสอบปากคำเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการประมูลด้วย คำสารภาพกระทบทนายตั้ม เพิ่มทางเลือกชุดลูกเสือ หนุนจ่ายยาสมุนไพร เงินหมื่นเฟส 3 คืบหน้า
    Like
    Sad
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 669 มุมมอง 28 0 รีวิว
  • Match Group ซึ่งเป็นบริษัทแม่ของแพลตฟอร์มหาคู่ชื่อดัง เช่น Tinder, Hinge และ OkCupid ได้บรรลุข้อตกลงกับ Anson Funds ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นที่เคยเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบริหารของบริษัท โดยข้อตกลงนี้รวมถึงการแต่งตั้ง Kelly Campbell อดีตประธานของ NBCUniversal Peacock เป็นกรรมการบริษัท และการเปลี่ยนแปลงนโยบายให้กรรมการทุกคนต้องเข้ารับการเลือกตั้งใหม่ทุกปี

    Anson Funds ซึ่งถือหุ้นประมาณ 0.6% ของ Match Group ได้ผลักดันให้มีการเลือกตั้งกรรมการใหม่สามคนเพื่อปรับปรุงโครงสร้างบริหารที่พวกเขามองว่า ล้าสมัยและขาดความโปร่งใส อย่างไรก็ตาม ข้อตกลงที่เกิดขึ้นช่วยให้ทั้งสองฝ่ายสามารถหาทางออกที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งรุนแรง และอาจนำไปสู่การปรับปรุงกลยุทธ์ทางธุรกิจ เช่น การจัดสรรเงินทุนใหม่ การลดต้นทุน และการพิจารณาทิศทางของธุรกิจ MG Asia

    Match Group ประสบปัญหาหุ้นตกลงเกือบ 70% ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นหนึ่งในเหตุผลที่ทำให้ผู้ถือหุ้นต้องการการเปลี่ยนแปลง

    ✅ การแต่งตั้งกรรมการใหม่
    - Kelly Campbell อดีตประธานของ NBCUniversal Peacock ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท
    - Alan Spoon ซึ่งเป็นกรรมการเดิมจะไม่เข้ารับการเลือกตั้งใหม่

    ✅ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบริหาร
    - กรรมการทุกคนต้องเข้ารับการเลือกตั้งใหม่ทุกปี
    - ลดความขัดแย้งระหว่างผู้ถือหุ้นและบริษัท

    ✅ ผลกระทบต่อกลยุทธ์ทางธุรกิจ
    - อาจมีการปรับปรุงการจัดสรรเงินทุนและการลดต้นทุน
    - พิจารณาทิศทางของธุรกิจ MG Asia

    ✅ สถานการณ์หุ้นของ Match Group
    - หุ้นของบริษัทลดลงเกือบ 70% ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/29/match-settles-dispute-with-anson-funds-adds-new-director-to-board
    Match Group ซึ่งเป็นบริษัทแม่ของแพลตฟอร์มหาคู่ชื่อดัง เช่น Tinder, Hinge และ OkCupid ได้บรรลุข้อตกลงกับ Anson Funds ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นที่เคยเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบริหารของบริษัท โดยข้อตกลงนี้รวมถึงการแต่งตั้ง Kelly Campbell อดีตประธานของ NBCUniversal Peacock เป็นกรรมการบริษัท และการเปลี่ยนแปลงนโยบายให้กรรมการทุกคนต้องเข้ารับการเลือกตั้งใหม่ทุกปี Anson Funds ซึ่งถือหุ้นประมาณ 0.6% ของ Match Group ได้ผลักดันให้มีการเลือกตั้งกรรมการใหม่สามคนเพื่อปรับปรุงโครงสร้างบริหารที่พวกเขามองว่า ล้าสมัยและขาดความโปร่งใส อย่างไรก็ตาม ข้อตกลงที่เกิดขึ้นช่วยให้ทั้งสองฝ่ายสามารถหาทางออกที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งรุนแรง และอาจนำไปสู่การปรับปรุงกลยุทธ์ทางธุรกิจ เช่น การจัดสรรเงินทุนใหม่ การลดต้นทุน และการพิจารณาทิศทางของธุรกิจ MG Asia Match Group ประสบปัญหาหุ้นตกลงเกือบ 70% ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นหนึ่งในเหตุผลที่ทำให้ผู้ถือหุ้นต้องการการเปลี่ยนแปลง ✅ การแต่งตั้งกรรมการใหม่ - Kelly Campbell อดีตประธานของ NBCUniversal Peacock ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท - Alan Spoon ซึ่งเป็นกรรมการเดิมจะไม่เข้ารับการเลือกตั้งใหม่ ✅ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบริหาร - กรรมการทุกคนต้องเข้ารับการเลือกตั้งใหม่ทุกปี - ลดความขัดแย้งระหว่างผู้ถือหุ้นและบริษัท ✅ ผลกระทบต่อกลยุทธ์ทางธุรกิจ - อาจมีการปรับปรุงการจัดสรรเงินทุนและการลดต้นทุน - พิจารณาทิศทางของธุรกิจ MG Asia ✅ สถานการณ์หุ้นของ Match Group - หุ้นของบริษัทลดลงเกือบ 70% ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/29/match-settles-dispute-with-anson-funds-adds-new-director-to-board
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Match settles dispute with Anson Funds, adds new director to board
    (Reuters) - Online dating company Match Group will add a consumer-technology executive to its board and lay the groundwork for all directors to stand for election annually, ending a dispute with shareholder Anson Funds.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 179 มุมมอง 0 รีวิว
  • ดีเอสไอฝากขัง 3 นอมินีคนไทย กรรมการบริษัทก่อสร้างจีน ศาลอนุญาตฝากขัง ก่อนให้ประกันตัวระหว่างสู้คดี วงเงินคนละ 3 แสนบาท

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000037791

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ดีเอสไอฝากขัง 3 นอมินีคนไทย กรรมการบริษัทก่อสร้างจีน ศาลอนุญาตฝากขัง ก่อนให้ประกันตัวระหว่างสู้คดี วงเงินคนละ 3 แสนบาท อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000037791 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 498 มุมมอง 0 รีวิว
  • ดีเอสไอฝากขัง "ชวนหลิง จาง" กรรมการบริษัท "ไชน่า เรลเวย์" จ้างนอมินีคนไทยถือหุ้น ประมูลโครงการก่อสร้างตึก สตง.ถล่ม ด้านทนายความยื่นหลักทรัพย์ 1 ล้านบาทขอประกันตัว ขณะ จนท.ไม่คัดค้าน เพราะมีหนังสือยืนยันเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจจีน

    เมื่อเวลา 10.00 น. วันนี้ (21 เม.ย.) น.ส.เนรัญชรา กอมะณี พนักงานสอบสวนกรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้ยื่นคำร้องฝากขังครั้งแรก นายชวนหลิง จาง อายุ 42 ปี กรรมการบริษัทชาวจีน ผู้ต้องหาในข้อหา เป็นคนต่างด้าวที่ประกอบธุรกิจซึ่งต้องห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบกิจการหรือต้องได้รับอนุญาตก่อน และเป็นนิติบุคคลซึ่งรู้เห็นเป็นใจกับการกระทำความผิดนั้น ตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 มาตรา 37 และมาตรา 41

    คำร้องระบุว่า กรมสอบสวนคดีพิเศษได้รับกรณีกิจการร่วมค้าเข้าประมูลโครงการก่อสร้างอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน อาจมีพฤติกรรมเข้าข่ายการเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 และอาจมีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างหน่วยงานของรัฐ อันอาจเข้าข่ายเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 เป็นคดีพิเศษที่ 32/2568

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/crime/detail/9680000037278

    #MGROnline #ดีเอสไอ #กรรมการบริษัท #ไชน่าเรลเวย์ #นอมินีคนไทย #ถือหุ้น #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง.
    ดีเอสไอฝากขัง "ชวนหลิง จาง" กรรมการบริษัท "ไชน่า เรลเวย์" จ้างนอมินีคนไทยถือหุ้น ประมูลโครงการก่อสร้างตึก สตง.ถล่ม ด้านทนายความยื่นหลักทรัพย์ 1 ล้านบาทขอประกันตัว ขณะ จนท.ไม่คัดค้าน เพราะมีหนังสือยืนยันเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจจีน • เมื่อเวลา 10.00 น. วันนี้ (21 เม.ย.) น.ส.เนรัญชรา กอมะณี พนักงานสอบสวนกรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้ยื่นคำร้องฝากขังครั้งแรก นายชวนหลิง จาง อายุ 42 ปี กรรมการบริษัทชาวจีน ผู้ต้องหาในข้อหา เป็นคนต่างด้าวที่ประกอบธุรกิจซึ่งต้องห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบกิจการหรือต้องได้รับอนุญาตก่อน และเป็นนิติบุคคลซึ่งรู้เห็นเป็นใจกับการกระทำความผิดนั้น ตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 มาตรา 37 และมาตรา 41 • คำร้องระบุว่า กรมสอบสวนคดีพิเศษได้รับกรณีกิจการร่วมค้าเข้าประมูลโครงการก่อสร้างอาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน อาจมีพฤติกรรมเข้าข่ายการเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 และอาจมีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างหน่วยงานของรัฐ อันอาจเข้าข่ายเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 เป็นคดีพิเศษที่ 32/2568 • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/crime/detail/9680000037278 • #MGROnline #ดีเอสไอ #กรรมการบริษัท #ไชน่าเรลเวย์ #นอมินีคนไทย #ถือหุ้น #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง.
    Angry
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 390 มุมมอง 0 รีวิว
  • สารัชถ์ รัตนาวะดี ขึ้นประธานบอร์ด THCOM หลัง “สมประสงค์ บุญยะชัย” ยื่นลาออก มีผลตั้งแต่ 1 พ.ค. 68

    นายอนุวัฒน์ สงวนทรัพยากร หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการเงิน บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) หรือ THCOM รายงานตลาดหลักทรัพย์ฯว่า ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทวันนี้ (18 เม.ย. 2568) มีมติเปลี่ยนแปลงกรรมการ/ผู้บริหาร โดยมีมติแต่งตั้ง นายสารัชถ์ รัตนาวะดี ขึ้นดำรงตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการ มีผลตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2568 แทน นายสมประสงค์ บุญยะชัย ที่ยื่นลาออกจากตำแหน่ง เนื่องจากติดภารกิจอื่น
    สารัชถ์ รัตนาวะดี ขึ้นประธานบอร์ด THCOM หลัง “สมประสงค์ บุญยะชัย” ยื่นลาออก มีผลตั้งแต่ 1 พ.ค. 68 นายอนุวัฒน์ สงวนทรัพยากร หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการเงิน บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) หรือ THCOM รายงานตลาดหลักทรัพย์ฯว่า ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทวันนี้ (18 เม.ย. 2568) มีมติเปลี่ยนแปลงกรรมการ/ผู้บริหาร โดยมีมติแต่งตั้ง นายสารัชถ์ รัตนาวะดี ขึ้นดำรงตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการ มีผลตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2568 แทน นายสมประสงค์ บุญยะชัย ที่ยื่นลาออกจากตำแหน่ง เนื่องจากติดภารกิจอื่น
    Haha
    Angry
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 380 มุมมอง 0 รีวิว
  • Amazon ได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับค่าตอบแทนของผู้บริหารในปี 2024 โดยพบว่า Jeff Bezos อดีต CEO ของบริษัทได้รับค่าตอบแทนรวมมากกว่าผู้บริหารคนปัจจุบัน Andy Jassy แม้ว่าจะมีเงินเดือนที่ต่ำกว่า

    ✅ Jeff Bezos ได้รับค่าตอบแทนรวมสูงกว่า Andy Jassy
    - เงินเดือนของ Bezos อยู่ที่ 81,840 ดอลลาร์ ในปี 2024
    - Andy Jassy ได้รับเงินเดือน 365,000 ดอลลาร์ ซึ่งสูงกว่า Bezos ถึง 4.5 เท่า
    - อย่างไรก็ตาม Bezos ได้รับ ค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัย 1.6 ล้านดอลลาร์ ซึ่งทำให้ค่าตอบแทนรวมของเขาสูงขึ้น

    ✅ ค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูงของ Amazon
    - CEO ของ AWS Matt Garman ได้รับเงินเดือน 358,750 ดอลลาร์
    - CFO Brian Olsavsky, CEO ของ Amazon Stores Douglas Herrington และ Chief Global Affairs & Legal Officer David Zapolsky ได้รับเงินเดือน 365,000 ดอลลาร์ เช่นเดียวกับ Jassy

    ✅ การประชุมผู้ถือหุ้นและข้อเสนอที่ถูกปฏิเสธ
    - มีการเสนอให้ เพิ่มความโปร่งใสในการรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    - มีข้อเสนอให้ รายงานผลกระทบของศูนย์ข้อมูลและบรรจุภัณฑ์
    - คณะกรรมการบริษัทลงมติ ปฏิเสธข้อเสนอทั้งหมด โดยให้เหตุผลว่าบริษัทมีมาตรการที่เพียงพออยู่แล้ว

    ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม
    ℹ️ ค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัยของ Bezos
    - Amazon ให้เหตุผลว่าค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัยของ Bezos เป็นสิ่งจำเป็นและสมเหตุสมผล
    - อย่างไรก็ตาม มีการตั้งคำถามเกี่ยวกับความจำเป็นของค่าใช้จ่ายที่สูงขนาดนี้

    ℹ️ ความโปร่งใสในการบริหารของ Amazon
    - การปฏิเสธข้อเสนอเกี่ยวกับการรายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอาจทำให้เกิดข้อกังวลในกลุ่มนักลงทุน
    - ต้องติดตามว่า Amazon จะมีการปรับปรุงนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมในอนาคตหรือไม่

    ℹ️ แนวโน้มของค่าตอบแทนผู้บริหารในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี
    - บริษัทเทคโนโลยีขนาดใหญ่ เช่น Google และ Microsoft มีแนวโน้มให้ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงขึ้น
    - อาจมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างค่าตอบแทนเพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มของตลาด

    https://www.techradar.com/pro/amazon-paid-out-more-to-jeff-bezos-than-its-actual-ceo-in-2024
    Amazon ได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับค่าตอบแทนของผู้บริหารในปี 2024 โดยพบว่า Jeff Bezos อดีต CEO ของบริษัทได้รับค่าตอบแทนรวมมากกว่าผู้บริหารคนปัจจุบัน Andy Jassy แม้ว่าจะมีเงินเดือนที่ต่ำกว่า ✅ Jeff Bezos ได้รับค่าตอบแทนรวมสูงกว่า Andy Jassy - เงินเดือนของ Bezos อยู่ที่ 81,840 ดอลลาร์ ในปี 2024 - Andy Jassy ได้รับเงินเดือน 365,000 ดอลลาร์ ซึ่งสูงกว่า Bezos ถึง 4.5 เท่า - อย่างไรก็ตาม Bezos ได้รับ ค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัย 1.6 ล้านดอลลาร์ ซึ่งทำให้ค่าตอบแทนรวมของเขาสูงขึ้น ✅ ค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูงของ Amazon - CEO ของ AWS Matt Garman ได้รับเงินเดือน 358,750 ดอลลาร์ - CFO Brian Olsavsky, CEO ของ Amazon Stores Douglas Herrington และ Chief Global Affairs & Legal Officer David Zapolsky ได้รับเงินเดือน 365,000 ดอลลาร์ เช่นเดียวกับ Jassy ✅ การประชุมผู้ถือหุ้นและข้อเสนอที่ถูกปฏิเสธ - มีการเสนอให้ เพิ่มความโปร่งใสในการรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก - มีข้อเสนอให้ รายงานผลกระทบของศูนย์ข้อมูลและบรรจุภัณฑ์ - คณะกรรมการบริษัทลงมติ ปฏิเสธข้อเสนอทั้งหมด โดยให้เหตุผลว่าบริษัทมีมาตรการที่เพียงพออยู่แล้ว ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม ℹ️ ค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัยของ Bezos - Amazon ให้เหตุผลว่าค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัยของ Bezos เป็นสิ่งจำเป็นและสมเหตุสมผล - อย่างไรก็ตาม มีการตั้งคำถามเกี่ยวกับความจำเป็นของค่าใช้จ่ายที่สูงขนาดนี้ ℹ️ ความโปร่งใสในการบริหารของ Amazon - การปฏิเสธข้อเสนอเกี่ยวกับการรายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอาจทำให้เกิดข้อกังวลในกลุ่มนักลงทุน - ต้องติดตามว่า Amazon จะมีการปรับปรุงนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมในอนาคตหรือไม่ ℹ️ แนวโน้มของค่าตอบแทนผู้บริหารในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี - บริษัทเทคโนโลยีขนาดใหญ่ เช่น Google และ Microsoft มีแนวโน้มให้ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงขึ้น - อาจมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างค่าตอบแทนเพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มของตลาด https://www.techradar.com/pro/amazon-paid-out-more-to-jeff-bezos-than-its-actual-ceo-in-2024
    WWW.TECHRADAR.COM
    Amazon paid out more to Jeff Bezos than its actual CEO in 2024
    Former CEO Jeff Bezos is still costing Amazon millions
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 385 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้เล่าถึงแนวทางที่ CISOs (Chief Information Security Officers) ควรใช้ในการสื่อสารกับคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้สามารถนำเสนอข้อมูลด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับเป้าหมายทางธุรกิจ

    ✅ แนวทางการสื่อสารของ CISOs กับคณะกรรมการ
    - แปลความเสี่ยงทางไซเบอร์ให้เป็นภาษาธุรกิจ
    - หาพันธมิตรในคณะกรรมการเพื่อช่วยปรับปรุงการนำเสนอ

    ✅ การพัฒนาเอกสารช่วยให้คณะกรรมการเข้าใจข้อมูล
    - เอกสารอธิบายคำศัพท์ด้านความปลอดภัย
    - เอกสารแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐาน

    ✅ การศึกษาประวัติของสมาชิกคณะกรรมการ
    - เข้าใจมุมมองและความคาดหวังของคณะกรรมการ
    - ปรับการนำเสนอให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบริษัท

    ℹ️ ข้อจำกัดของการสื่อสารด้านความปลอดภัย
    - คณะกรรมการบางคนอาจไม่มีความรู้ด้านเทคโนโลยี
    - การนำเสนอข้อมูลที่ซับซ้อนอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิด

    ℹ️ ผลกระทบต่อการตัดสินใจของคณะกรรมการ
    - หากข้อมูลด้านความปลอดภัยไม่ถูกนำเสนออย่างเหมาะสม อาจส่งผลต่อการตัดสินใจลงทุน
    - การขาดความเข้าใจด้านไซเบอร์อาจทำให้คณะกรรมการมองข้ามความเสี่ยงที่สำคัญ

    https://www.csoonline.com/article/3953098/what-boards-want-and-dont-want-to-hear-from-cybersecurity-leaders.html
    ข่าวนี้เล่าถึงแนวทางที่ CISOs (Chief Information Security Officers) ควรใช้ในการสื่อสารกับคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้สามารถนำเสนอข้อมูลด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับเป้าหมายทางธุรกิจ ✅ แนวทางการสื่อสารของ CISOs กับคณะกรรมการ - แปลความเสี่ยงทางไซเบอร์ให้เป็นภาษาธุรกิจ - หาพันธมิตรในคณะกรรมการเพื่อช่วยปรับปรุงการนำเสนอ ✅ การพัฒนาเอกสารช่วยให้คณะกรรมการเข้าใจข้อมูล - เอกสารอธิบายคำศัพท์ด้านความปลอดภัย - เอกสารแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐาน ✅ การศึกษาประวัติของสมาชิกคณะกรรมการ - เข้าใจมุมมองและความคาดหวังของคณะกรรมการ - ปรับการนำเสนอให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบริษัท ℹ️ ข้อจำกัดของการสื่อสารด้านความปลอดภัย - คณะกรรมการบางคนอาจไม่มีความรู้ด้านเทคโนโลยี - การนำเสนอข้อมูลที่ซับซ้อนอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิด ℹ️ ผลกระทบต่อการตัดสินใจของคณะกรรมการ - หากข้อมูลด้านความปลอดภัยไม่ถูกนำเสนออย่างเหมาะสม อาจส่งผลต่อการตัดสินใจลงทุน - การขาดความเข้าใจด้านไซเบอร์อาจทำให้คณะกรรมการมองข้ามความเสี่ยงที่สำคัญ https://www.csoonline.com/article/3953098/what-boards-want-and-dont-want-to-hear-from-cybersecurity-leaders.html
    WWW.CSOONLINE.COM
    What boards want and don’t want to hear from cybersecurity leaders
    To get through to board members, cybersecurity leaders need to not only learn the language of business but how to translate cyber risk in a way board members can make sense of.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 221 มุมมอง 0 รีวิว
  • 10 แนวทางบริหารจัดการช่องโหว่ด้านความปลอดภัยที่ CISOs แนะนำ 🔒🛡️

    ปัจจุบันองค์กรทั่วโลกให้ความสำคัญกับ การจัดการช่องโหว่ด้านความปลอดภัย (Vulnerability Management) มากขึ้น เนื่องจากการละเลยในอดีตทำให้เกิด ความเสี่ยงทางธุรกิจ อย่างมหาศาล โดย CISOs (Chief Information Security Officers) หลายคนได้แบ่งปันบทเรียนและแนวทางที่ช่วยให้องค์กรสามารถลดความเสี่ยงจากช่องโหว่ทางไซเบอร์ได้

    ✅ 1. สร้างวัฒนธรรมไซเบอร์ซีเคียวริตี้ในองค์กร
    - องค์กรต้องมี แนวคิดที่เน้นความปลอดภัย โดยเฉพาะหลังเกิดเหตุการณ์ร้ายแรง เช่น การโจมตี Log4J หรือ Ransomware
    - CISOs ย้ำว่า ต้องทำให้ความปลอดภัยเป็นวาระสำคัญระดับ CEO และคณะกรรมการบริษัท

    ✅ 2. เอกสารและกระบวนการที่ชัดเจน
    - ทุกขั้นตอนต้องมีการ บันทึกและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการช่องโหว่

    ✅ 3. กำหนดกระบวนการที่เป็นมาตรฐาน
    - หลายองค์กรใช้กรอบงาน NIST หรือ ISO 27001 และปรับให้เข้ากับความต้องการขององค์กร
    - บางบริษัทมี ระบบบูรณาการที่สามารถปรับเปลี่ยนได้เมื่อมีการควบรวมกิจการ

    ✅ 4. ระบุข้อมูลความปลอดภัยที่จำเป็น
    - ไม่ใช่แค่การตรวจสอบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แต่ต้องกำหนด ข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารความเสี่ยง

    ✅ 5. บูรณาการข้อมูลให้เป็นระบบ
    - CISOs ต้องเข้าใจว่า ข้อมูลเกี่ยวกับช่องโหว่ควรส่งถึงใครบ้าง และต้องดำเนินการอย่างไรเมื่อได้รับข้อมูล

    ✅ 6. ตั้งค่ามาตรวัดเพื่อจัดลำดับความสำคัญ
    - ระบบต้องมีการ ประเมินมูลค่าธุรกิจของสินทรัพย์ที่มีช่องโหว่ และพิจารณาว่า มีมาตรการป้องกันที่เพียงพอหรือไม่

    ✅ 7. ตั้งค่า SLA เพื่อกำหนดขอบเขตเวลาแก้ไขปัญหา
    - ต้องมี Service Level Agreements (SLA) เพื่อกำหนดระยะเวลาที่ต้องแก้ไขช่องโหว่
    - หากทีมไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ตามกำหนด ต้องมีการตรวจสอบและปรับปรุงกระบวนการต่อไป

    ✅ 8. พัฒนาแผนฉุกเฉินสำหรับแพตช์ระบบ
    - กรณี Log4Shell และ SolarWinds เป็นบทเรียนว่าองค์กรต้องมี แผนฉุกเฉินสำหรับการแพตช์ระบบในเหตุการณ์เร่งด่วน

    ✅ 9. ปรับเป้าหมายและแรงจูงใจให้สอดคล้องกัน
    - ต้องมี การทำงานร่วมกันระหว่างฝ่าย IT, DevOps, Security และฝ่ายธุรกิจ
    - บางองค์กรใช้ ค่าตอบแทนและโบนัสเพื่อกระตุ้นให้ทุกฝ่ายให้ความสำคัญกับความปลอดภัย

    ✅ 10. ทดสอบความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
    - เปลี่ยนจาก Penetration Testing แบบรายปี เป็น Continuous Security Testing
    - ใช้แนวทาง Threat-Informed Defense เพื่อ ทดสอบความสามารถของมาตรการป้องกัน

    https://www.csoonline.com/article/3853759/10-best-practices-for-vulnerability-management-according-to-cisos.html
    10 แนวทางบริหารจัดการช่องโหว่ด้านความปลอดภัยที่ CISOs แนะนำ 🔒🛡️ ปัจจุบันองค์กรทั่วโลกให้ความสำคัญกับ การจัดการช่องโหว่ด้านความปลอดภัย (Vulnerability Management) มากขึ้น เนื่องจากการละเลยในอดีตทำให้เกิด ความเสี่ยงทางธุรกิจ อย่างมหาศาล โดย CISOs (Chief Information Security Officers) หลายคนได้แบ่งปันบทเรียนและแนวทางที่ช่วยให้องค์กรสามารถลดความเสี่ยงจากช่องโหว่ทางไซเบอร์ได้ ✅ 1. สร้างวัฒนธรรมไซเบอร์ซีเคียวริตี้ในองค์กร - องค์กรต้องมี แนวคิดที่เน้นความปลอดภัย โดยเฉพาะหลังเกิดเหตุการณ์ร้ายแรง เช่น การโจมตี Log4J หรือ Ransomware - CISOs ย้ำว่า ต้องทำให้ความปลอดภัยเป็นวาระสำคัญระดับ CEO และคณะกรรมการบริษัท ✅ 2. เอกสารและกระบวนการที่ชัดเจน - ทุกขั้นตอนต้องมีการ บันทึกและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการช่องโหว่ ✅ 3. กำหนดกระบวนการที่เป็นมาตรฐาน - หลายองค์กรใช้กรอบงาน NIST หรือ ISO 27001 และปรับให้เข้ากับความต้องการขององค์กร - บางบริษัทมี ระบบบูรณาการที่สามารถปรับเปลี่ยนได้เมื่อมีการควบรวมกิจการ ✅ 4. ระบุข้อมูลความปลอดภัยที่จำเป็น - ไม่ใช่แค่การตรวจสอบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แต่ต้องกำหนด ข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารความเสี่ยง ✅ 5. บูรณาการข้อมูลให้เป็นระบบ - CISOs ต้องเข้าใจว่า ข้อมูลเกี่ยวกับช่องโหว่ควรส่งถึงใครบ้าง และต้องดำเนินการอย่างไรเมื่อได้รับข้อมูล ✅ 6. ตั้งค่ามาตรวัดเพื่อจัดลำดับความสำคัญ - ระบบต้องมีการ ประเมินมูลค่าธุรกิจของสินทรัพย์ที่มีช่องโหว่ และพิจารณาว่า มีมาตรการป้องกันที่เพียงพอหรือไม่ ✅ 7. ตั้งค่า SLA เพื่อกำหนดขอบเขตเวลาแก้ไขปัญหา - ต้องมี Service Level Agreements (SLA) เพื่อกำหนดระยะเวลาที่ต้องแก้ไขช่องโหว่ - หากทีมไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ตามกำหนด ต้องมีการตรวจสอบและปรับปรุงกระบวนการต่อไป ✅ 8. พัฒนาแผนฉุกเฉินสำหรับแพตช์ระบบ - กรณี Log4Shell และ SolarWinds เป็นบทเรียนว่าองค์กรต้องมี แผนฉุกเฉินสำหรับการแพตช์ระบบในเหตุการณ์เร่งด่วน ✅ 9. ปรับเป้าหมายและแรงจูงใจให้สอดคล้องกัน - ต้องมี การทำงานร่วมกันระหว่างฝ่าย IT, DevOps, Security และฝ่ายธุรกิจ - บางองค์กรใช้ ค่าตอบแทนและโบนัสเพื่อกระตุ้นให้ทุกฝ่ายให้ความสำคัญกับความปลอดภัย ✅ 10. ทดสอบความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง - เปลี่ยนจาก Penetration Testing แบบรายปี เป็น Continuous Security Testing - ใช้แนวทาง Threat-Informed Defense เพื่อ ทดสอบความสามารถของมาตรการป้องกัน https://www.csoonline.com/article/3853759/10-best-practices-for-vulnerability-management-according-to-cisos.html
    WWW.CSOONLINE.COM
    10 best practices for vulnerability management according to CISOs
    After years of neglect, organizations are investing in vulnerability management programs to address business risk. A dozen CISOs offer lessons learned and best practices.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 404 มุมมอง 0 รีวิว
  • เมื่อเกิดการโจมตีไซเบอร์ ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำที่เข้มแข็ง ไม่ใช่แค่การแก้ไขปัญหาทางเทคนิค การฝึกซ้อมสถานการณ์, การสื่อสารที่ชัดเจน และการบริหารจัดการภายใต้แรงกดดันล้วนเป็นปัจจัยที่ช่วยให้องค์กรรับมือได้ดีขึ้น ผู้นำต้องแสดงความรับผิดชอบและปรับปรุงมาตรการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำ

    == 6 แนวทางสำคัญที่ผู้นำองค์กรควรรู้เมื่อเกิดเหตุโจมตีไซเบอร์ ==
    1) กำหนดอำนาจการตัดสินใจให้ชัดเจน
    - CISO ควรเป็นผู้นำหลักของการรับมือเหตุการณ์ และองค์กรต้องกำหนดบทบาทและความรับผิดชอบให้ชัดเจน
    - ควรมีเอกสารระบุว่าใครมีอำนาจตัดสินใจเรื่องสำคัญ เช่น การแจ้งลูกค้าหรือการประเมินผลกระทบทางธุรกิจ
    2) ซ้อมรับมือกับเหตุการณ์เพื่อสร้างความพร้อม
    - การซ้อมจำลองสถานการณ์ (Tabletop Exercises) ช่วยให้ทีมสามารถรับมือกับวิกฤติจริงได้ดีขึ้น
    - การฝึกซ้อมควรรวมทุกระดับขององค์กร ตั้งแต่ทีมเทคนิคไปจนถึงผู้บริหาร
    3) รักษาความเยือกเย็นภายใต้ความกดดัน
    - ภาวะผู้นำที่สงบนิ่งมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของพนักงานและผู้บริหารระดับสูง
    - CISO ควรโฟกัสที่การนำทีม มากกว่าการลงมือแก้ไขปัญหาด้านเทคนิคเอง
    4) เชื่อมั่นในทีมและขอความช่วยเหลือจากภายนอกหากจำเป็น
    - ผู้นำองค์กรไม่ควรรับภาระทั้งหมดไว้คนเดียว ควรเปิดรับทีมที่มีความเชี่ยวชาญและใช้บุคลากรภายนอกหากจำเป็น
    - บางครั้งการนำทีมที่ปรึกษาด้านไซเบอร์เข้ามาอาจช่วยลดความเสียหายได้ดีกว่าการพยายามแก้ไขเอง
    5) สื่อสารกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ
    - ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายในการสื่อสารกับพนักงานและผู้บริหาร
    - ต้องมีแผนสื่อสารเพื่อให้ลูกค้า, นักลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้องรับรู้เหตุการณ์โดยไม่เกิดความตื่นตระหนก
    6) รับผิดชอบและเดินหน้าปรับปรุงระบบความปลอดภัย
    - หลังจากเหตุการณ์โจมตีไซเบอร์ต้องมีการปรับปรุงมาตรการรักษาความปลอดภัยและสรุปบทเรียน
    - CISO ควรนำเสนอแผนฟื้นฟูความเชื่อมั่นต่อคณะกรรมการบริษัท

    https://www.csoonline.com/article/3846318/6-hard-earned-tips-for-leading-through-a-cyberattack-from-csos-whove-been-there.html
    เมื่อเกิดการโจมตีไซเบอร์ ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำที่เข้มแข็ง ไม่ใช่แค่การแก้ไขปัญหาทางเทคนิค การฝึกซ้อมสถานการณ์, การสื่อสารที่ชัดเจน และการบริหารจัดการภายใต้แรงกดดันล้วนเป็นปัจจัยที่ช่วยให้องค์กรรับมือได้ดีขึ้น ผู้นำต้องแสดงความรับผิดชอบและปรับปรุงมาตรการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำ == 6 แนวทางสำคัญที่ผู้นำองค์กรควรรู้เมื่อเกิดเหตุโจมตีไซเบอร์ == 1) กำหนดอำนาจการตัดสินใจให้ชัดเจน - CISO ควรเป็นผู้นำหลักของการรับมือเหตุการณ์ และองค์กรต้องกำหนดบทบาทและความรับผิดชอบให้ชัดเจน - ควรมีเอกสารระบุว่าใครมีอำนาจตัดสินใจเรื่องสำคัญ เช่น การแจ้งลูกค้าหรือการประเมินผลกระทบทางธุรกิจ 2) ซ้อมรับมือกับเหตุการณ์เพื่อสร้างความพร้อม - การซ้อมจำลองสถานการณ์ (Tabletop Exercises) ช่วยให้ทีมสามารถรับมือกับวิกฤติจริงได้ดีขึ้น - การฝึกซ้อมควรรวมทุกระดับขององค์กร ตั้งแต่ทีมเทคนิคไปจนถึงผู้บริหาร 3) รักษาความเยือกเย็นภายใต้ความกดดัน - ภาวะผู้นำที่สงบนิ่งมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของพนักงานและผู้บริหารระดับสูง - CISO ควรโฟกัสที่การนำทีม มากกว่าการลงมือแก้ไขปัญหาด้านเทคนิคเอง 4) เชื่อมั่นในทีมและขอความช่วยเหลือจากภายนอกหากจำเป็น - ผู้นำองค์กรไม่ควรรับภาระทั้งหมดไว้คนเดียว ควรเปิดรับทีมที่มีความเชี่ยวชาญและใช้บุคลากรภายนอกหากจำเป็น - บางครั้งการนำทีมที่ปรึกษาด้านไซเบอร์เข้ามาอาจช่วยลดความเสียหายได้ดีกว่าการพยายามแก้ไขเอง 5) สื่อสารกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ - ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายในการสื่อสารกับพนักงานและผู้บริหาร - ต้องมีแผนสื่อสารเพื่อให้ลูกค้า, นักลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้องรับรู้เหตุการณ์โดยไม่เกิดความตื่นตระหนก 6) รับผิดชอบและเดินหน้าปรับปรุงระบบความปลอดภัย - หลังจากเหตุการณ์โจมตีไซเบอร์ต้องมีการปรับปรุงมาตรการรักษาความปลอดภัยและสรุปบทเรียน - CISO ควรนำเสนอแผนฟื้นฟูความเชื่อมั่นต่อคณะกรรมการบริษัท https://www.csoonline.com/article/3846318/6-hard-earned-tips-for-leading-through-a-cyberattack-from-csos-whove-been-there.html
    WWW.CSOONLINE.COM
    6 hard-earned tips for leading through a cyberattack — from CSOs who’ve been there
    When a cyberattack strikes, security leaders must go beyond the incident response plan to ensure holistic preparation, effective collaboration, and strong leadership under fire.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 328 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาทนายกฤษฎา ประเสริฐสุโข กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GGC เปิดเผยว่าตามที่บริษัทฯ ได้แจ้งความร้องทุกข์อดีตผู้บริหารและคู่ค้าที่เกี่ยวข้องกับพวก ต่อพนักงานสอบสวนกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) ในไตรมาส 3/2561 รวมทั้งสิ้น 8คดี ปัจจุบันคดีอยู่ในขั้นพนักงานสอบสวน 4 คดี อยู่ในชั้นพนักงานอัยการ 1 คดี และอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอีก 3 คดี นั้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2568 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาในคดีหมายเลขดำที่ อ.1926/2565 ว่า จำเลยบางคนมีความผิดฐานฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา และ/หรือ ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยมีคำพิพากษาให้ลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯจำนวน 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และให้นับโทษต่อจากคคีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565 อีกทั้งพิพากษาลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯ อีก 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และจำคุกกรรมการบริษัทคู่ค้า 1 คน เป็นระยะเวลา 1 ปี 4 เดือน พร้อมให้นับโทษต่อจากคดีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565
    “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาทนายกฤษฎา ประเสริฐสุโข กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GGC เปิดเผยว่าตามที่บริษัทฯ ได้แจ้งความร้องทุกข์อดีตผู้บริหารและคู่ค้าที่เกี่ยวข้องกับพวก ต่อพนักงานสอบสวนกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) ในไตรมาส 3/2561 รวมทั้งสิ้น 8คดี ปัจจุบันคดีอยู่ในขั้นพนักงานสอบสวน 4 คดี อยู่ในชั้นพนักงานอัยการ 1 คดี และอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอีก 3 คดี นั้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2568 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาในคดีหมายเลขดำที่ อ.1926/2565 ว่า จำเลยบางคนมีความผิดฐานฉ้อโกงตามประมวลกฎหมายอาญา และ/หรือ ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยมีคำพิพากษาให้ลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯจำนวน 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และให้นับโทษต่อจากคคีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565 อีกทั้งพิพากษาลงโทษจำคุกอดีตผู้บริหารของบริษัทฯ อีก 1 คน เป็นระยะเวลา 2 ปี และจำคุกกรรมการบริษัทคู่ค้า 1 คน เป็นระยะเวลา 1 ปี 4 เดือน พร้อมให้นับโทษต่อจากคดีอาญาหมายเลขดำที่ อ.600/2565
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 331 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาท

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000028902
    “ศาลอาญา” มีคำพิพากษาให้จำคุกอดีตผู้บริหาร GGC และกรรมการบริษัทคู่ค้าในคดีฉ้อโกงและละเมิดกฎหมายหลักทรัพย์ หลังตรวจพบสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบหายไปจากระบบ มูลค่ากว่า 2,157 ล้านบาท อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000028902
    Like
    12
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 866 มุมมอง 0 รีวิว
  • จากประเด็นดราม่าของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ที่ "มาดามแป้ง" นวลพรรณ ล่ำซำ นายกสมาคมฯ คนปัจจุบัน ออกมาแฉวีรกรรมของ "บิ๊กอ๊อด" พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง อดีตนายกฯ คนก่อน ถึงการทุจริตภายในองค์กรหลากหลายเรื่อง ล่าสุดเว็บไซต์ Sanook Money ได้ตรวจสอบข้อมูลที่รวบรวมรายชื่อบริษัทของ พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง จากฐานข้อมูลกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ปรากฎว่า "บิ๊กอ๊อด" มีชื่อเป็นกรรมการบริษัท 4 แห่ง ถือหุ้น 11 รายการ มูลค่าทั้งหมด 730,542,041 บาท ดังนี้ 1.บริษัท กู๊ด เบทเทอร์ เบสท์ จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2564 พบรายชื่อนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง เป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริษัท และถือหุ้นจำนวน 2,507,000 หุ้น (99.88%) มูลค่าหุ้น 250,669,251 บาท ดำเนินธุรกิจการซื้อและการขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นของตนเอง ปัจจุบันทุนจดทะเบียน 251,000,0002.บริษัท พระแสงกรีน พาวเวอร์ จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 26 มิ.ย. 2555 พบรายชื่อนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง เป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริษัท ดำเนินธุรกิจประกอบกิจการผลิตและจำหน่ายกระแสไฟฟ้า ปัจจุบันทุนจดทะเบียน 77,000,000 บาท 3.บริษัท เมดิคอล แอนด์ ฟู๊ด แลบ จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2535 พบรายชื่อนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง เป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริษัท ดำเนินธุรกิจจำหน่ายและให้บริการเกี่ยวกับอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ปัจจุบันทุนจดทะเบียน 390,500,000 บาท4.บริษัท เอ็นเนอร์ยี่ รีโวลูชั่น จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 เม.ย. 2558 พบรายชื่อนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง เป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริษัท ดำเนินธุรกิจกิจกรรมด้านวิศวกรรมและการให้คำปรึกษาที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันทุนจดทะเบียน 100,000,000 บาท ขณะเดียวกันยังมีการเปิดเผยว่า พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ยังมีการถือหุ้นบริษัทอีกหลายแห่งด้วยกัน ดังนี้ - บริษัท ออลล์ เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ ยูทิลิตี้ จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจกิจกรรมของบริษัทโฮลดิ้ง พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 266,375,434 หุ้น (5.18%) มูลค่าหุ้น 136,042,664 บาท- บริษัท ดับบลิวพี เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 31,043,914 หุ้น (5.99%) มูลค่าหุ้น 86,749,286 บาท- บริษัท แอสเซ็ท มิลเลี่ยน จำกัด ดำเนินธุรกิจการให้เช่า การขาย การซื้อและการดำเนินงานด้านอสังหาริมทรัพย์ พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 10,187,600 หุ้น (50.94%) มูลค่าหุ้น 76,891,474 บาท- บริษัท โกลด์ ชอร์ส จำกัด ดำเนินธุรกิจประกอบกิจการค้าน้ำดื่ม น้ำแร่ น้ำดิบ และเครื่องบริโภคอื่น พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 610,000 หุ้น (8.09%) มูลค่าหุ้น 49,748,675 บาท- บริษัท อาร์เอสเอ็กซ์วายแซด จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจจำหน่ายเคมีภัณฑ์ พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 15,000,000 หุ้น (4.53%) มูลค่าหุ้น 46,067,090 บาท- บริษัท สามารถคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจการออกแบบและติดตั้งระบบสื่อสารโทรคมนาคมและจำหน่ายอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 14,290,500 หุ้น (1.42%) มูลค่าหุ้น 44,244,603 บาท- บริษัท พีแอนด์วี คอร์ปอเรชั่น ซิสเต็ม จำกัด ดำเนินธุรกิจการก่อสร้างอาคารที่ไม่ใช่ที่พักอาศัย พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 365,000 หุ้น (11.06%) มูลค่าหุ้น 36,437,810 บาท- ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.พุ่มพันธุ์ม่วง ดำเนินธุรกิจกิจกรรมการบริการอื่นๆเพื่อสนับสนุนธุรกิจซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ ในที่อื่น พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 500,000 หุ้น (50.00%) มูลค่าหุ้น 1,845,670 บาท- บริษัท สามารถ ดิจิตอล จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจขายและบริการโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์โทรศัพท์ พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 85,448,200 หุ้น (0.58%) มูลค่าหุ้น 1,153,637 บาท- บริษัท เขาใหญ่ กรีน จำกัด ดำเนินธุรกิจประกอบกิจการทำการเกษตร พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 7,000 หุ้น (70.00%) มูลค่าหุ้น 691,881 บาทขอบคุณข้อมูลจาก : เว็บไซต์ Sanook
    จากประเด็นดราม่าของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ที่ "มาดามแป้ง" นวลพรรณ ล่ำซำ นายกสมาคมฯ คนปัจจุบัน ออกมาแฉวีรกรรมของ "บิ๊กอ๊อด" พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง อดีตนายกฯ คนก่อน ถึงการทุจริตภายในองค์กรหลากหลายเรื่อง ล่าสุดเว็บไซต์ Sanook Money ได้ตรวจสอบข้อมูลที่รวบรวมรายชื่อบริษัทของ พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง จากฐานข้อมูลกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ปรากฎว่า "บิ๊กอ๊อด" มีชื่อเป็นกรรมการบริษัท 4 แห่ง ถือหุ้น 11 รายการ มูลค่าทั้งหมด 730,542,041 บาท ดังนี้ 1.บริษัท กู๊ด เบทเทอร์ เบสท์ จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2564 พบรายชื่อนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง เป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริษัท และถือหุ้นจำนวน 2,507,000 หุ้น (99.88%) มูลค่าหุ้น 250,669,251 บาท ดำเนินธุรกิจการซื้อและการขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นของตนเอง ปัจจุบันทุนจดทะเบียน 251,000,0002.บริษัท พระแสงกรีน พาวเวอร์ จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 26 มิ.ย. 2555 พบรายชื่อนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง เป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริษัท ดำเนินธุรกิจประกอบกิจการผลิตและจำหน่ายกระแสไฟฟ้า ปัจจุบันทุนจดทะเบียน 77,000,000 บาท 3.บริษัท เมดิคอล แอนด์ ฟู๊ด แลบ จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2535 พบรายชื่อนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง เป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริษัท ดำเนินธุรกิจจำหน่ายและให้บริการเกี่ยวกับอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ปัจจุบันทุนจดทะเบียน 390,500,000 บาท4.บริษัท เอ็นเนอร์ยี่ รีโวลูชั่น จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 เม.ย. 2558 พบรายชื่อนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง เป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริษัท ดำเนินธุรกิจกิจกรรมด้านวิศวกรรมและการให้คำปรึกษาที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันทุนจดทะเบียน 100,000,000 บาท ขณะเดียวกันยังมีการเปิดเผยว่า พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ยังมีการถือหุ้นบริษัทอีกหลายแห่งด้วยกัน ดังนี้ - บริษัท ออลล์ เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ ยูทิลิตี้ จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจกิจกรรมของบริษัทโฮลดิ้ง พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 266,375,434 หุ้น (5.18%) มูลค่าหุ้น 136,042,664 บาท- บริษัท ดับบลิวพี เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจค้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 31,043,914 หุ้น (5.99%) มูลค่าหุ้น 86,749,286 บาท- บริษัท แอสเซ็ท มิลเลี่ยน จำกัด ดำเนินธุรกิจการให้เช่า การขาย การซื้อและการดำเนินงานด้านอสังหาริมทรัพย์ พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 10,187,600 หุ้น (50.94%) มูลค่าหุ้น 76,891,474 บาท- บริษัท โกลด์ ชอร์ส จำกัด ดำเนินธุรกิจประกอบกิจการค้าน้ำดื่ม น้ำแร่ น้ำดิบ และเครื่องบริโภคอื่น พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 610,000 หุ้น (8.09%) มูลค่าหุ้น 49,748,675 บาท- บริษัท อาร์เอสเอ็กซ์วายแซด จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจจำหน่ายเคมีภัณฑ์ พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 15,000,000 หุ้น (4.53%) มูลค่าหุ้น 46,067,090 บาท- บริษัท สามารถคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจการออกแบบและติดตั้งระบบสื่อสารโทรคมนาคมและจำหน่ายอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 14,290,500 หุ้น (1.42%) มูลค่าหุ้น 44,244,603 บาท- บริษัท พีแอนด์วี คอร์ปอเรชั่น ซิสเต็ม จำกัด ดำเนินธุรกิจการก่อสร้างอาคารที่ไม่ใช่ที่พักอาศัย พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 365,000 หุ้น (11.06%) มูลค่าหุ้น 36,437,810 บาท- ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.พุ่มพันธุ์ม่วง ดำเนินธุรกิจกิจกรรมการบริการอื่นๆเพื่อสนับสนุนธุรกิจซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ ในที่อื่น พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 500,000 หุ้น (50.00%) มูลค่าหุ้น 1,845,670 บาท- บริษัท สามารถ ดิจิตอล จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจขายและบริการโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์โทรศัพท์ พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 85,448,200 หุ้น (0.58%) มูลค่าหุ้น 1,153,637 บาท- บริษัท เขาใหญ่ กรีน จำกัด ดำเนินธุรกิจประกอบกิจการทำการเกษตร พบนายสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ถือหุ้นจำนวน 7,000 หุ้น (70.00%) มูลค่าหุ้น 691,881 บาทขอบคุณข้อมูลจาก : เว็บไซต์ Sanook
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 798 มุมมอง 0 รีวิว
  • ซิมเพนกวินลดล้างสต็อก ปิดตำนาน MVNO ของ NT

    การสิ้นสุดสัญญาอนุญาตคลื่นความถี่ย่าน 850, 2100 และ 2300 MHz. ของบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT ในเดือน ส.ค. 2568 ส่งผลกระทบกับบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เครือข่ายเสมือน (MVNO) ที่ซื้อบริการต่อจาก NT โดยมีผู้ใช้บริการนับแสนราย เพราะผู้บริหาร NT ตัดสินใจถอนตัวออกจากตลาด เพราะต้นทุนค่าโรมมิ่งที่สูง และผู้ให้บริการหลายรายขาดสภาพคล่อง

    ล่าสุด บริษัท เดอะ ไวท์สเปซ จำกัด หรือซิมเพนกวิน ซึ่งเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 1 มี.ค.2559 หรือเมื่อ 9 ปีก่อน ประกาศปิดระบบลงทะเบียนซิมการ์ด เนื่องจากต้องยุติการให้บริการตามสัญญาอนุญาตคลื่นความถี่ในวันที่ 16 ก.ค. 2568 เป็นต้นไป เพื่อให้การยุติการให้บริการซิมเพนกวินเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้ใช้งาน ลูกค้าสามารถลงทะเบียนซิมการ์ด (เปิดเบอร์ใหม่) ได้ถึงวันที่ 20 เม.ย.2568 หลังจากวันดังกล่าว ลูกค้าจะไม่สามารถเปิดเบอร์ใหม่ได้ตามข้อกำนดของ กสทช.

    และเพื่อให้ลูกค้าซิมเพนกวินสามารถใช้งานเลขหมายอย่างต่อเนื่อง และรักษาสิทธิการครอบครองเลขหมาย บริษัทฯ เสนอแนวทางให้โอนย้ายเลขหมายซิมเพนกวินที่ใช้อยู่ ไปยังผู้ให้บริการรายอื่น (การย้ายค่ายเบอร์เดิม) ได้ถึงวันที่ 16 ก.ค. 2568 ในระหว่างดำเนินการย้ายค่าย ยังสามารถใช้บริการได้ตามปกติ จนกว่าระบบจะแจ้งผลการย้ายค่ายสำเร็จ

    ขณะที่เฟซบุ๊ก "ซิมเพนกวิน Penguin SIM" ประกาศลดล้างสต็อก ปรับราคาเบอร์มงคล 2,838 เลขหมาย ลด 50% ในราคาเริ่มต้นที่ 600-10,000 บาท เมื่อซื้อแล้วสามารถทำเรื่องย้ายค่ายได้ทันที

    ปัจจุบัน ผู้ให้บริการ MVNO โดยใช้เครือข่ายของ NT ประกอบด้วย

    1. บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) หรือ i-Kool 3G ซึ่งให้บริการมานาน 16 ปี มีแผนสิ้นสุดการให้บริการ 30 มิ.ย.2568 โดยให้ลูกค้าย้ายค่ายเบอร์เดิม หรือปิดเบอร์แล้วขอรับเงินคืนภายใน 31 พ.ค.2568

    2. บริษัท เรดวัน เน็ตเวิร์ค (ประเทศไทย) จำกัด หรือ redONE กำลังเจรจากับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เพื่อเปลี่ยนมาทำธุรกิจ MVNO โดยใช้เครือข่าย True แต่ยังไม่มีความคืบหน้า

    3. บริษัท เดอะ ไวท์สเปซ จำกัด หรือซิมเพนกวิน

    4. บริษัท บางกอกเทลลิ้ง จำกัด หรือซิมอินฟินิท (Infinite)

    5. บริษัท ฟีล เทเลคอม คอร์ปอเรชั่น จำกัด หรือ ฟิล (Feels)

    6. บริษัท เคโฟร์ คอมมูนิเคชั่น จำกัด หรือซิมเคโฟร์ (K4) กรรมการบริษัทถูกจับกุมฐานร่วมกันฉ้อโกงประชาชน และร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน กสทช.อยู่ระหว่างเพิกถอนใบอนุญาต และให้ NT ออกมาตรการเยียวยาผู้ใช้งานราว 40,000 ราย

    #Newskit
    ซิมเพนกวินลดล้างสต็อก ปิดตำนาน MVNO ของ NT การสิ้นสุดสัญญาอนุญาตคลื่นความถี่ย่าน 850, 2100 และ 2300 MHz. ของบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT ในเดือน ส.ค. 2568 ส่งผลกระทบกับบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เครือข่ายเสมือน (MVNO) ที่ซื้อบริการต่อจาก NT โดยมีผู้ใช้บริการนับแสนราย เพราะผู้บริหาร NT ตัดสินใจถอนตัวออกจากตลาด เพราะต้นทุนค่าโรมมิ่งที่สูง และผู้ให้บริการหลายรายขาดสภาพคล่อง ล่าสุด บริษัท เดอะ ไวท์สเปซ จำกัด หรือซิมเพนกวิน ซึ่งเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 1 มี.ค.2559 หรือเมื่อ 9 ปีก่อน ประกาศปิดระบบลงทะเบียนซิมการ์ด เนื่องจากต้องยุติการให้บริการตามสัญญาอนุญาตคลื่นความถี่ในวันที่ 16 ก.ค. 2568 เป็นต้นไป เพื่อให้การยุติการให้บริการซิมเพนกวินเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้ใช้งาน ลูกค้าสามารถลงทะเบียนซิมการ์ด (เปิดเบอร์ใหม่) ได้ถึงวันที่ 20 เม.ย.2568 หลังจากวันดังกล่าว ลูกค้าจะไม่สามารถเปิดเบอร์ใหม่ได้ตามข้อกำนดของ กสทช. และเพื่อให้ลูกค้าซิมเพนกวินสามารถใช้งานเลขหมายอย่างต่อเนื่อง และรักษาสิทธิการครอบครองเลขหมาย บริษัทฯ เสนอแนวทางให้โอนย้ายเลขหมายซิมเพนกวินที่ใช้อยู่ ไปยังผู้ให้บริการรายอื่น (การย้ายค่ายเบอร์เดิม) ได้ถึงวันที่ 16 ก.ค. 2568 ในระหว่างดำเนินการย้ายค่าย ยังสามารถใช้บริการได้ตามปกติ จนกว่าระบบจะแจ้งผลการย้ายค่ายสำเร็จ ขณะที่เฟซบุ๊ก "ซิมเพนกวิน Penguin SIM" ประกาศลดล้างสต็อก ปรับราคาเบอร์มงคล 2,838 เลขหมาย ลด 50% ในราคาเริ่มต้นที่ 600-10,000 บาท เมื่อซื้อแล้วสามารถทำเรื่องย้ายค่ายได้ทันที ปัจจุบัน ผู้ให้บริการ MVNO โดยใช้เครือข่ายของ NT ประกอบด้วย 1. บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) หรือ i-Kool 3G ซึ่งให้บริการมานาน 16 ปี มีแผนสิ้นสุดการให้บริการ 30 มิ.ย.2568 โดยให้ลูกค้าย้ายค่ายเบอร์เดิม หรือปิดเบอร์แล้วขอรับเงินคืนภายใน 31 พ.ค.2568 2. บริษัท เรดวัน เน็ตเวิร์ค (ประเทศไทย) จำกัด หรือ redONE กำลังเจรจากับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เพื่อเปลี่ยนมาทำธุรกิจ MVNO โดยใช้เครือข่าย True แต่ยังไม่มีความคืบหน้า 3. บริษัท เดอะ ไวท์สเปซ จำกัด หรือซิมเพนกวิน 4. บริษัท บางกอกเทลลิ้ง จำกัด หรือซิมอินฟินิท (Infinite) 5. บริษัท ฟีล เทเลคอม คอร์ปอเรชั่น จำกัด หรือ ฟิล (Feels) 6. บริษัท เคโฟร์ คอมมูนิเคชั่น จำกัด หรือซิมเคโฟร์ (K4) กรรมการบริษัทถูกจับกุมฐานร่วมกันฉ้อโกงประชาชน และร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน กสทช.อยู่ระหว่างเพิกถอนใบอนุญาต และให้ NT ออกมาตรการเยียวยาผู้ใช้งานราว 40,000 ราย #Newskit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 514 มุมมอง 0 รีวิว
  • ความขัดแย้งระหว่างพ่อกับลูกของหนึ่งในตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศแห่งนี้ และมีความเป็นและความตายของบริษัทอสังหาริมทรัพย์ยักษ์ใหญ่ของสิงคโปร์อย่าง City Developments Ltd (CDL) เป็นเดิมพัน ได้ปะทุขึ้นต่อหน้าสาธารณชนในสัปดาห์นี้ การโต้เถียงกันระหว่างประธานบริหารของ CDL คือ กัวลิ่งหมิง (Kwek Leng Beng) และลูกชายของเขา คือ กัวอี้จื้อ (Sherman Kwek) ได้เปิดเผยถึงรอยร้าวที่ลึกซึ้งภายในตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดเป็นอันดับสี่ของสิงคโปร์ ซึ่งอยู่ในอันดับมหาเศรษฐฐีชั้นนำที่จัดอันดับโดย Forbesศึกสายเลือกครั้งนี้เต็มไปด้วยข้อกล่าวหาเรื่องความผิดพลาดขององค์กร การละเมิดการกำกับดูแล และความสัมพันธ์ส่วนตัวกำลังคุกคามที่จะยกระดับเป็นการต่อสู้ในศาลเพื่อแย่งชิงส่วนแบ่งในอาณาจักรอสังหาริมทรัพย์มูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์เรื่องพิพาทของทั้งคู่เดิมทีเป็นเรื่องในบริษัท แต่ปรากฏต่อสาธารณชนครั้งแรกของปัญหาเกิดขึ้นเมื่อวันพุธ เมื่อ CDL ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดัชนี Straits Times ของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ เรียกร้องให้หยุดการซื้อขายกะทันหัน ตามด้วยแถลงการณ์ยกเลิกการสรุปผลประกอบการประจำปีงบประมาณ 2024 ที่กำหนดไว้จากนั้นก็เกิดเรื่องที่น่าตกตะลึง นั่นคือ กัวลิ่งหมิง (Kwek Leng Beng) ผู้นำตระกูลวัย 84 ปี กล่าวหาลูกชายและซีอีโอของ CDL ต่อสาธารณะว่าวางแผน "พยายามก่อรัฐประหารในระดับคณะกรรมการ"ผู้เป็นพ่อกล่าวว่า กัวอี้จื้อ (Sherman Kwek) ลูกชายคนเล็ก พร้อมด้วยคณะกรรมการส่วนใหญ่ ได้แต่งตั้งกรรมการเพิ่มเติมอีก 2 คนเพื่อ "รวมอำนาจการควบคุมคณะกรรมการ" และ CDL เพื่อขัดขวางการแย่งชิงอำนาจ กัวลิ่งหมิง ผู้เป็นพ่อได้ยื่นฟ้องและต่อมาประกาศว่าเขาได้รับคำสั่งศาลให้หยุดการเปลี่ยนแปลงในคณะกรรมการและฝ่ายบริหารของ CDL Groupกัวอี้จื้อ วัย 49 ปี ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยบอสตัน ปฏิเสธข้อกล่าวหาดังกล่าว โดยกล่าวว่า "เราไม่ได้พยายามขับไล่ประธาน"เขาเรียกการเคลื่อนไหวของพ่อว่าเป็นการ "ซุ่มโจมตี" แต่กลับชี้ไปที่ที่มาชองความตึงเครียดที่ลึกซึ้งกว่า นั่นคือ แคเธอรีน วู (Catherine Wu) ที่ปรึกษาคณะกรรมการของบริษัทลูก CDL แต่ลูกชายของเขากล่าวหาว่าแทรกแซงกิจการของบริษัทกัวอี้จื้อ กล่าวว่า "เธอแทรกแซงในเรื่องต่างๆ มากเกินกว่าขอบเขตของเธอ และเธอมีอิทธิพลมหาศาล เรื่องเหล่านี้สร้างปัญหาให้กับเราในฐานะกรรมการ""เนื่องจากความสัมพันธ์อันยาวนานของเธอกับประธานบริษัท (ผู้เป็นพ่อ) ความพยายามในการจัดการสถานการณ์จึงทำไปด้วยความอ่อนไหว แต่ก็ไร้ผล" กัวอี้จื้อ ผู้เป็นลูก กล่าวข้อพิพาทดังกล่าวได้เปิดเผยถึงการแย่งชิงอำนาจภายใน CDL ซึ่งเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในสิงคโปร์ตามมูลค่าตลาด และตระกูลกัว ซึ่งอาณาจักรของพวกเขามีมูลค่า 11,500 ล้านดอลลาร์ตามการจัดอันดับของนิตยสาร Forbesในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ กัวลิ่งหมิง ได้ยื่นคำร้องให้ กัวอี้จื้อ ออกจากตำแหน่ง CEO โดยระบุว่าลูกชายกระทำการให้เกิด "ความผิดพลาดหลายครั้ง" โดยอ้างถึงการขาดทุนมหาศาล 1.4 พันล้านดอลลาร์ใน "ความล้มเหลว" ในปี 2020 และการตัดสินใจลงทุนที่ผิดพลาดในสหราชอาณาจักรราคาหุ้นของ CDL ยัง "ทำผลงานได้ต่ำกว่าคู่แข่งอย่างสม่ำเสมอตั้งแต่ (กัวอี้จื้อ) เข้ารับตำแหน่งผู้นำในปี 2018" กัวลิ่งหมิง ผู้ก่อตั้งบริษัทกล่าว"(คนหนุ่มสาว) อาจทำผิดพลาดในอาชีพการงานได้ และนั่นก็เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ แต่การหลีกเลี่ยงกฎหมายการกำกับดูแลกิจการถือเป็นการล้ำเส้น" กัวลิ่งหมิง กล่าว"ในฐานะพ่อ การไล่ลูกชายออกไม่ใช่การตัดสินใจที่ง่ายเลย" แต่ผลที่ตามมา "ก็สูงเกินไปที่จะปล่อยให้การยึดอำนาจโดยไม่คิดหน้าคิดหลังมาทำให้บริษัทไม่มั่นคง" เขากล่าวหุ้นของบริษัทมูลค่า 3.4 พันล้านเหรียญสหรัฐยังคงถูกระงับ และ CDL ถูกปรับลดระดับโดยบริษัทต่างๆ รวมถึง JPMorgan Chase & Co ตามรายงานของ Bloomberg'การกระทำที่ไม่รอบคอบ'CDL เริ่มต้นจากธุรกิจที่ขาดทุนตอนที่ กัวลิ่งหมิง พ่อของเขา กัวฟางเฟิง (Kwek Hong Png) และพี่ชายของเขา กัวลิ่วอวี้ (Kwek Leng Joo) ซื้อกิจการในปี 1971ภายใต้การบริหารของ กัวลิ่งหมิง บริษัทได้ขยายตัวอย่างมาก โดยปัจจุบันพอร์ตโฟลิโอของบริษัทครอบคลุมถึงที่พักอาศัย สำนักงาน โรงแรม ศูนย์การค้า และการพัฒนาแบบบูรณาการในสิงคโปร์ รวมถึงจีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และทั่วทั้งยุโรปการที่บริษัทเข้าสู่ธุรกิจโรงแรมทำให้บริษัทในเครือ Millennium & Copthorne Hotels กลายเป็นกลุ่มโรงแรมระดับนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในศูนย์กลางการเงิน โดยมีทรัพย์สินรวมถึงโรงแรม The Biltmore ในย่าน Mayfair ของลอนดอน และ Millennium ในย่าน Wall Street และ Times Square ของนิวยอร์กกัวลิ่งหมิง กล่าวว่าการรักษามรดกของเขาไว้เป็นหนึ่งในเหตุผลที่เขาต่อสู้กับลูกชายและพันธมิตรในห้องประชุมของเขา“การกระทำที่ไร้ความรอบคอบของกลุ่มที่พยายามจะรวมอำนาจควบคุมที่ไร้การควบคุมเข้าด้วยกันนั้นไม่เพียงแต่ทำลายรากฐานของการปกครองของ CDL เท่านั้น แต่ยังทำให้มรดกที่เราสร้างมาตลอดหลายทศวรรษตกอยู่ในความเสี่ยงอีกด้วย” กัวลิ่งหมิง กล่าวขณะนี้ศาลเข้ามาเกี่ยวข้องและผู้นำของ CDL ก็ตกเป็นเป้าหมาย ความขัดแย้งในครอบครัวที่ขมขื่นนี้ยังไม่จบสิ้นกัวอี้จื้อ ได้ปกป้องการเคลื่อนไหวของเขาในการปลด แคเทอรีน วู ออกจากคณะกรรมการบริษัท Millennium & Copthorne เนื่องจาก "จำเป็น" สำหรับผลประโยชน์ของ CDL โดยเสริมว่ากรรมการส่วนใหญ่จะยังคง "รักษาการกำกับดูแลกิจการและความรับผิดชอบขององค์กรต่อไป"กัวลิ่งหมิง พ่อของเขาซึ่งไม่ได้กล่าวถึง วู ในคำตอบของตนยืนยันว่า "การลิดรอนอำนาจที่สำคัญใดๆ ของประธานบริหารถือเป็นการก่อรัฐประหาร"“ตอนนี้เป็นเรื่องของศาล และผมจะปล่อยให้ศาลตัดสิน ความยุติธรรมย่อมมีชัยเสมอ” กัวลิ่งหมิง กล่าวAgence France-PressePhoto Kwek Leng Beng by Roslan RAHMAN / AFP
    ความขัดแย้งระหว่างพ่อกับลูกของหนึ่งในตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศแห่งนี้ และมีความเป็นและความตายของบริษัทอสังหาริมทรัพย์ยักษ์ใหญ่ของสิงคโปร์อย่าง City Developments Ltd (CDL) เป็นเดิมพัน ได้ปะทุขึ้นต่อหน้าสาธารณชนในสัปดาห์นี้ การโต้เถียงกันระหว่างประธานบริหารของ CDL คือ กัวลิ่งหมิง (Kwek Leng Beng) และลูกชายของเขา คือ กัวอี้จื้อ (Sherman Kwek) ได้เปิดเผยถึงรอยร้าวที่ลึกซึ้งภายในตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดเป็นอันดับสี่ของสิงคโปร์ ซึ่งอยู่ในอันดับมหาเศรษฐฐีชั้นนำที่จัดอันดับโดย Forbesศึกสายเลือกครั้งนี้เต็มไปด้วยข้อกล่าวหาเรื่องความผิดพลาดขององค์กร การละเมิดการกำกับดูแล และความสัมพันธ์ส่วนตัวกำลังคุกคามที่จะยกระดับเป็นการต่อสู้ในศาลเพื่อแย่งชิงส่วนแบ่งในอาณาจักรอสังหาริมทรัพย์มูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์เรื่องพิพาทของทั้งคู่เดิมทีเป็นเรื่องในบริษัท แต่ปรากฏต่อสาธารณชนครั้งแรกของปัญหาเกิดขึ้นเมื่อวันพุธ เมื่อ CDL ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดัชนี Straits Times ของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ เรียกร้องให้หยุดการซื้อขายกะทันหัน ตามด้วยแถลงการณ์ยกเลิกการสรุปผลประกอบการประจำปีงบประมาณ 2024 ที่กำหนดไว้จากนั้นก็เกิดเรื่องที่น่าตกตะลึง นั่นคือ กัวลิ่งหมิง (Kwek Leng Beng) ผู้นำตระกูลวัย 84 ปี กล่าวหาลูกชายและซีอีโอของ CDL ต่อสาธารณะว่าวางแผน "พยายามก่อรัฐประหารในระดับคณะกรรมการ"ผู้เป็นพ่อกล่าวว่า กัวอี้จื้อ (Sherman Kwek) ลูกชายคนเล็ก พร้อมด้วยคณะกรรมการส่วนใหญ่ ได้แต่งตั้งกรรมการเพิ่มเติมอีก 2 คนเพื่อ "รวมอำนาจการควบคุมคณะกรรมการ" และ CDL เพื่อขัดขวางการแย่งชิงอำนาจ กัวลิ่งหมิง ผู้เป็นพ่อได้ยื่นฟ้องและต่อมาประกาศว่าเขาได้รับคำสั่งศาลให้หยุดการเปลี่ยนแปลงในคณะกรรมการและฝ่ายบริหารของ CDL Groupกัวอี้จื้อ วัย 49 ปี ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยบอสตัน ปฏิเสธข้อกล่าวหาดังกล่าว โดยกล่าวว่า "เราไม่ได้พยายามขับไล่ประธาน"เขาเรียกการเคลื่อนไหวของพ่อว่าเป็นการ "ซุ่มโจมตี" แต่กลับชี้ไปที่ที่มาชองความตึงเครียดที่ลึกซึ้งกว่า นั่นคือ แคเธอรีน วู (Catherine Wu) ที่ปรึกษาคณะกรรมการของบริษัทลูก CDL แต่ลูกชายของเขากล่าวหาว่าแทรกแซงกิจการของบริษัทกัวอี้จื้อ กล่าวว่า "เธอแทรกแซงในเรื่องต่างๆ มากเกินกว่าขอบเขตของเธอ และเธอมีอิทธิพลมหาศาล เรื่องเหล่านี้สร้างปัญหาให้กับเราในฐานะกรรมการ""เนื่องจากความสัมพันธ์อันยาวนานของเธอกับประธานบริษัท (ผู้เป็นพ่อ) ความพยายามในการจัดการสถานการณ์จึงทำไปด้วยความอ่อนไหว แต่ก็ไร้ผล" กัวอี้จื้อ ผู้เป็นลูก กล่าวข้อพิพาทดังกล่าวได้เปิดเผยถึงการแย่งชิงอำนาจภายใน CDL ซึ่งเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในสิงคโปร์ตามมูลค่าตลาด และตระกูลกัว ซึ่งอาณาจักรของพวกเขามีมูลค่า 11,500 ล้านดอลลาร์ตามการจัดอันดับของนิตยสาร Forbesในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ กัวลิ่งหมิง ได้ยื่นคำร้องให้ กัวอี้จื้อ ออกจากตำแหน่ง CEO โดยระบุว่าลูกชายกระทำการให้เกิด "ความผิดพลาดหลายครั้ง" โดยอ้างถึงการขาดทุนมหาศาล 1.4 พันล้านดอลลาร์ใน "ความล้มเหลว" ในปี 2020 และการตัดสินใจลงทุนที่ผิดพลาดในสหราชอาณาจักรราคาหุ้นของ CDL ยัง "ทำผลงานได้ต่ำกว่าคู่แข่งอย่างสม่ำเสมอตั้งแต่ (กัวอี้จื้อ) เข้ารับตำแหน่งผู้นำในปี 2018" กัวลิ่งหมิง ผู้ก่อตั้งบริษัทกล่าว"(คนหนุ่มสาว) อาจทำผิดพลาดในอาชีพการงานได้ และนั่นก็เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ แต่การหลีกเลี่ยงกฎหมายการกำกับดูแลกิจการถือเป็นการล้ำเส้น" กัวลิ่งหมิง กล่าว"ในฐานะพ่อ การไล่ลูกชายออกไม่ใช่การตัดสินใจที่ง่ายเลย" แต่ผลที่ตามมา "ก็สูงเกินไปที่จะปล่อยให้การยึดอำนาจโดยไม่คิดหน้าคิดหลังมาทำให้บริษัทไม่มั่นคง" เขากล่าวหุ้นของบริษัทมูลค่า 3.4 พันล้านเหรียญสหรัฐยังคงถูกระงับ และ CDL ถูกปรับลดระดับโดยบริษัทต่างๆ รวมถึง JPMorgan Chase & Co ตามรายงานของ Bloomberg'การกระทำที่ไม่รอบคอบ'CDL เริ่มต้นจากธุรกิจที่ขาดทุนตอนที่ กัวลิ่งหมิง พ่อของเขา กัวฟางเฟิง (Kwek Hong Png) และพี่ชายของเขา กัวลิ่วอวี้ (Kwek Leng Joo) ซื้อกิจการในปี 1971ภายใต้การบริหารของ กัวลิ่งหมิง บริษัทได้ขยายตัวอย่างมาก โดยปัจจุบันพอร์ตโฟลิโอของบริษัทครอบคลุมถึงที่พักอาศัย สำนักงาน โรงแรม ศูนย์การค้า และการพัฒนาแบบบูรณาการในสิงคโปร์ รวมถึงจีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และทั่วทั้งยุโรปการที่บริษัทเข้าสู่ธุรกิจโรงแรมทำให้บริษัทในเครือ Millennium & Copthorne Hotels กลายเป็นกลุ่มโรงแรมระดับนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในศูนย์กลางการเงิน โดยมีทรัพย์สินรวมถึงโรงแรม The Biltmore ในย่าน Mayfair ของลอนดอน และ Millennium ในย่าน Wall Street และ Times Square ของนิวยอร์กกัวลิ่งหมิง กล่าวว่าการรักษามรดกของเขาไว้เป็นหนึ่งในเหตุผลที่เขาต่อสู้กับลูกชายและพันธมิตรในห้องประชุมของเขา“การกระทำที่ไร้ความรอบคอบของกลุ่มที่พยายามจะรวมอำนาจควบคุมที่ไร้การควบคุมเข้าด้วยกันนั้นไม่เพียงแต่ทำลายรากฐานของการปกครองของ CDL เท่านั้น แต่ยังทำให้มรดกที่เราสร้างมาตลอดหลายทศวรรษตกอยู่ในความเสี่ยงอีกด้วย” กัวลิ่งหมิง กล่าวขณะนี้ศาลเข้ามาเกี่ยวข้องและผู้นำของ CDL ก็ตกเป็นเป้าหมาย ความขัดแย้งในครอบครัวที่ขมขื่นนี้ยังไม่จบสิ้นกัวอี้จื้อ ได้ปกป้องการเคลื่อนไหวของเขาในการปลด แคเทอรีน วู ออกจากคณะกรรมการบริษัท Millennium & Copthorne เนื่องจาก "จำเป็น" สำหรับผลประโยชน์ของ CDL โดยเสริมว่ากรรมการส่วนใหญ่จะยังคง "รักษาการกำกับดูแลกิจการและความรับผิดชอบขององค์กรต่อไป"กัวลิ่งหมิง พ่อของเขาซึ่งไม่ได้กล่าวถึง วู ในคำตอบของตนยืนยันว่า "การลิดรอนอำนาจที่สำคัญใดๆ ของประธานบริหารถือเป็นการก่อรัฐประหาร"“ตอนนี้เป็นเรื่องของศาล และผมจะปล่อยให้ศาลตัดสิน ความยุติธรรมย่อมมีชัยเสมอ” กัวลิ่งหมิง กล่าวAgence France-PressePhoto Kwek Leng Beng by Roslan RAHMAN / AFP
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 868 มุมมอง 0 รีวิว
  • รวบมาดามบอสเต๋ ปิดตำนานซิมเคโฟร์

    การจับกุม น.ส.เริงฤดี ลักษณะหุต หรือบอสเต๋ อายุ 45 ปี กรรมการบริษัท ปันสุข 555 จำกัด และ น.ส.พรพิมล สีลาดเลา อายุ 30 ปี กรรมการบริษัท เคโฟร์ คอมมูนิเคชั่น จำกัด หลานสาว น.ส.เริงฤดี ของตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) ตามหมายจับของศาลอาญา ลงวันที่ 24 ก.พ. 2568 ฐานร่วมกันฉ้อโกงประชาชน และร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พร้อมตรวจยึดของกลางจำนวน 413 รายการ มีทั้งตู้เติมเงินเคธี่ปันสุข 258 ตู้ รถยนต์ 11 คัน กระเป๋าแบรนด์เนม เครื่องประดับ ที่ดินปราจีนบุรี 4 แปลง รวมมูลค่าประมาณ 50 ล้านบาท ถือเป็นการปิดฉากอีกหนึ่งธุรกิจเครือข่ายต่อจากดิไอคอนกรุ๊ป

    ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 6 ธ.ค. 2567 นายแทนคุณ จิตต์อิสระ และนายเกรียงไกรมาศ พจนสุนทร นำผู้เสียหาย 8 คน แจ้งความร้องทุกข์กับตำรวจ บก.ปคบ. ว่าถูกชักชวนหลอกลงทุนซิมการ์ดและตู้เติมเงิน 5,000 บาท จะได้ผลตอบแทน 3 เท่าภายใน 500 วัน และอ้างว่าได้รับอนุญาตจาก กสทช. ปรากฎว่าไม่ได้รับผลตอบแทนมา 2 เดือน เมื่อทวงถามก็ถูกข่มขู่ว่าจะแจ้งความกลับ ต่อมามีผู้เสียหายร้องทุกข์กับพนักงานสอบสวน กก.4 บก.ปอศ. รวม 61 ราย มูลค่าความเสียหาย 27,557,701 บาท

    สืบสวนพบว่าผู้ต้องหาชักชวนให้ประชาชนร่วมลงทุนซิมเคโฟร์ ซึ่งเช่าโครงข่ายเสมือน (MVNO) จากบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT และตู้เติมเงินเคธี่ปันสุข เสนอแพ็คเกจลงทุน 50,000 บาท รับผลตอบแทนสูงสุด 150,000 บาท ภายใน 500 วัน และขยายตัวแทนจำหน่ายไปยังจังหวัดต่างๆ จัดการอบรมสัมมนาชักชวนร่วมลงทุน โดยจะได้รับส่วนแบ่งสูงสุดถึง 50% ของค่าสมัคร อีกทั้งธุรกิจตู้เติมเงินเคธี่ปันสุขไม่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ตรวจสอบเส้นทางการเงินพบเงินหมุนเวียนในบัญชีบริษัทกว่า 400 ล้านบาท และมีการยักย้ายถ่ายโอนแปรสภาพเงินเป็นทรัพย์สินต่างๆ เพื่อหลบเลี่ยงการตรวจสอบ

    ด้านสำนักงาน กสทช. เตรียมนำเรื่องนี้ไปหารือเพื่อพิจารณาเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการ พร้อมหารือกับ NT ให้ออกมาตรการเยียวยาผู้ใช้งานซิมเคโฟร์ 40,000 รายอีกด้วย

    สำหรับซิมเคโฟร์เปิดตัวเมื่อเดือน เม.ย. 2566 ก่อนเปิดตัวตู้เติมเงินเคธี่ปันสุขเมื่อต้นปี 2567 ต่อมาสำนักงาน กสทช. ได้รับการร้องเรียนว่ามีการชักชวนลงทุนให้ผลตอบแทนสูง อ้างว่าได้รับใบอนุญาตจากสำนักงาน กสทช. จึงสั่งยุติการขายหรือแจกซิมมือถือ นอกจากนี้ยังพบว่าได้รับการจัดสรรเลขหมาย 331,000 เลขหมาย แต่ใช้งานจริงเพียง 46,000 เลขหมาย เติมเงินเฉลี่ยเพียงเลขหมายละ 38 บาท สอดคล้องกับที่แจ้งว่ามีรายได้ประมาณปีละ 5 ล้านบาท และจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาตปีละ 7,000 บาท

    #Newskit
    รวบมาดามบอสเต๋ ปิดตำนานซิมเคโฟร์ การจับกุม น.ส.เริงฤดี ลักษณะหุต หรือบอสเต๋ อายุ 45 ปี กรรมการบริษัท ปันสุข 555 จำกัด และ น.ส.พรพิมล สีลาดเลา อายุ 30 ปี กรรมการบริษัท เคโฟร์ คอมมูนิเคชั่น จำกัด หลานสาว น.ส.เริงฤดี ของตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) ตามหมายจับของศาลอาญา ลงวันที่ 24 ก.พ. 2568 ฐานร่วมกันฉ้อโกงประชาชน และร่วมกันกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พร้อมตรวจยึดของกลางจำนวน 413 รายการ มีทั้งตู้เติมเงินเคธี่ปันสุข 258 ตู้ รถยนต์ 11 คัน กระเป๋าแบรนด์เนม เครื่องประดับ ที่ดินปราจีนบุรี 4 แปลง รวมมูลค่าประมาณ 50 ล้านบาท ถือเป็นการปิดฉากอีกหนึ่งธุรกิจเครือข่ายต่อจากดิไอคอนกรุ๊ป ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 6 ธ.ค. 2567 นายแทนคุณ จิตต์อิสระ และนายเกรียงไกรมาศ พจนสุนทร นำผู้เสียหาย 8 คน แจ้งความร้องทุกข์กับตำรวจ บก.ปคบ. ว่าถูกชักชวนหลอกลงทุนซิมการ์ดและตู้เติมเงิน 5,000 บาท จะได้ผลตอบแทน 3 เท่าภายใน 500 วัน และอ้างว่าได้รับอนุญาตจาก กสทช. ปรากฎว่าไม่ได้รับผลตอบแทนมา 2 เดือน เมื่อทวงถามก็ถูกข่มขู่ว่าจะแจ้งความกลับ ต่อมามีผู้เสียหายร้องทุกข์กับพนักงานสอบสวน กก.4 บก.ปอศ. รวม 61 ราย มูลค่าความเสียหาย 27,557,701 บาท สืบสวนพบว่าผู้ต้องหาชักชวนให้ประชาชนร่วมลงทุนซิมเคโฟร์ ซึ่งเช่าโครงข่ายเสมือน (MVNO) จากบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT และตู้เติมเงินเคธี่ปันสุข เสนอแพ็คเกจลงทุน 50,000 บาท รับผลตอบแทนสูงสุด 150,000 บาท ภายใน 500 วัน และขยายตัวแทนจำหน่ายไปยังจังหวัดต่างๆ จัดการอบรมสัมมนาชักชวนร่วมลงทุน โดยจะได้รับส่วนแบ่งสูงสุดถึง 50% ของค่าสมัคร อีกทั้งธุรกิจตู้เติมเงินเคธี่ปันสุขไม่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ตรวจสอบเส้นทางการเงินพบเงินหมุนเวียนในบัญชีบริษัทกว่า 400 ล้านบาท และมีการยักย้ายถ่ายโอนแปรสภาพเงินเป็นทรัพย์สินต่างๆ เพื่อหลบเลี่ยงการตรวจสอบ ด้านสำนักงาน กสทช. เตรียมนำเรื่องนี้ไปหารือเพื่อพิจารณาเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการ พร้อมหารือกับ NT ให้ออกมาตรการเยียวยาผู้ใช้งานซิมเคโฟร์ 40,000 รายอีกด้วย สำหรับซิมเคโฟร์เปิดตัวเมื่อเดือน เม.ย. 2566 ก่อนเปิดตัวตู้เติมเงินเคธี่ปันสุขเมื่อต้นปี 2567 ต่อมาสำนักงาน กสทช. ได้รับการร้องเรียนว่ามีการชักชวนลงทุนให้ผลตอบแทนสูง อ้างว่าได้รับใบอนุญาตจากสำนักงาน กสทช. จึงสั่งยุติการขายหรือแจกซิมมือถือ นอกจากนี้ยังพบว่าได้รับการจัดสรรเลขหมาย 331,000 เลขหมาย แต่ใช้งานจริงเพียง 46,000 เลขหมาย เติมเงินเฉลี่ยเพียงเลขหมายละ 38 บาท สอดคล้องกับที่แจ้งว่ามีรายได้ประมาณปีละ 5 ล้านบาท และจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาตปีละ 7,000 บาท #Newskit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1005 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตำรวจ ปอศ.บุกจับ 2 กรรมการบริษัทตู้เติมเงิน "เคธี่ปันสุข -Sim K4" ตุ๋นเหยื่อลงทุนอ้างให้ผลตอบแทนสูง ยอดความเสียหายร่วม 30 ล้าน พร้อมตรวจยึดทรัพย์สินของกลางกว่า 50 ล้าน

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000019412

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ตำรวจ ปอศ.บุกจับ 2 กรรมการบริษัทตู้เติมเงิน "เคธี่ปันสุข -Sim K4" ตุ๋นเหยื่อลงทุนอ้างให้ผลตอบแทนสูง ยอดความเสียหายร่วม 30 ล้าน พร้อมตรวจยึดทรัพย์สินของกลางกว่า 50 ล้าน อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000019412 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1281 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายงานข่าวไฟแนนซ์เชียลไทม์ระบุว่า ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์แห่งสหรัฐฯ ประกาศยกเลิก “ข้อตกลงสัมปทาน” ในภาคพลังงานของเวเนซุเอลา ซึ่งอนุญาตให้บริษัทเชฟรอนสามารถสูบและส่งออกน้ำมันในประเทศอเมริกาใต้ที่ถูกคว่ำบาตรได้ ทรัมป์ได้โพสต์บนแพลตฟอร์ม Truth Social ของเขา ทรัมป์กล่าวเมื่อวันพุธที่26 กุมภาพันธ์ว่า เขากำลัง “ยกเลิกข้อตกลงสัมปทาน” ที่รัฐบาลของโจ ไบเดนให้ไว้แก่บริษัทเชฟรอนเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2022ว่า “เราขอยกเลิกข้อตกลงที่โจ ไบเดน ให้กับนิโคลัส มาดูโร แห่งเวเนซุเอลา ที่เกี่ยวกับข้อตกลงธุรกรรมน้ำมัน และยังเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขการเลือกตั้งภายในเวเนซุเอลาที่ระบอบมาดูโรไม่ปฏิบัติตาม” ทรัมป์เขียน มาตรการดังกล่าวเป็นความพยายามที่จะโน้มน้าวให้มาดูโร ประธานาธิบดีเผด็จการของเวเนซุเอลา จัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่เสรีและยุติธรรม แม้ว่าทรัมป์จะไม่ได้เอ่ยชื่อเชฟรอนโดยตรง แต่เชฟรอนก็เป็นบริษัทเดียวที่ได้รับใบอนุญาตให้ดำเนินการร่วมกับบริษัทเปโตรเลออส เดอ เวเนซุเอลา (PDVSA) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของเวเนซุเอลาในสัมปทานเดือนพฤศจิกายน 2022 ใบอนุญาตอื่นๆ ได้ถูกมอบให้กับบริษัทเรปโซล เอนี่ และเมาเรล แอนด์ โพรม เชฟรอนกล่าวว่ากำลังพิจารณาถึงผลกระทบจากการตัดสินใจครั้งนี้ และเสริมว่าบริษัทดำเนินธุรกิจในเวเนซุเอลาโดยปฏิบัติตามกฎหมายและกรอบการคว่ำบาตรที่รัฐบาลสหรัฐฯ กำหนดไว้ นักวิเคราะห์กล่าวว่าการสูญเสียใบอนุญาตสัมปทานของเชฟรอนจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมน้ำมันของเวเนซุเอลา “การสูญเสียสารเจือจางที่เชฟรอนจัดหาให้เป็นปัญหาใหญ่ ถือเป็นเส้นเลือดใหญ่สำหรับการผลิตของพวกเขา” ชไรเนอร์ ปาร์กเกอร์ นักวิเคราะห์จาก Rystad Energy ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษา กล่าว สารเจือจางเป็นสารที่ผู้ผลิตน้ำมันใช้ในการเจือจางน้ำมันดิบหนักประเภทหนึ่งที่ผลิตในเวเนซุเอลา และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการสกัดและขนส่ง นายพาร์คเกอร์กล่าวว่า การสูญเสียสารเจือจางอาจทำให้การผลิตน้ำมันของเวเนซุเอลาลดลงต่ำกว่า 500,000 บาร์เรลต่อวัน จากเดิมที่อยู่ที่ 900,000 บาร์เรลต่อวันเมื่อปีที่แล้ว แม้จะมีปริมาณสำรองน้ำมันที่พิสูจน์แล้วมากที่สุดในโลกและเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งโอเปก แต่การทุจริต การบริหารจัดการที่ผิดพลาด และการคว่ำบาตรที่นำโดยสหรัฐฯ ทำให้การผลิตน้ำมันดิบของประเทศลดลงจากประมาณ 2.5 ล้านบาร์เรลต่อวันในปี 2016 เหลือ 400,000 บาร์เรลต่อวันในปี 2020 ซึ่งฟื้นตัวเมื่อปีที่แล้ว โดยส่วนหนึ่งเป็นเพราะการร่วมทุนของเชฟรอน อัสดรูบัล โอลิเวโรส กรรมการบริษัทที่ปรึกษา Ecoanalitica ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองการากัส คาดการณ์ว่าการยกเลิกใบอนุญาตของเชฟรอนอาจทำให้การเติบโตของ GDP หดตัวลงจาก 3.2% เหลือ 2% ในปีนี้ “เห็นได้ชัดว่าการยกเลิกใบอนุญาตมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ ไม่เพียงแต่ต่อการเติบโตเท่านั้น แต่ยังรวมถึงแนวโน้มของกระแสเงินตราต่างประเทศ อัตราเงินเฟ้อ และการลดค่าเงินด้วย” โอลิเวโรสกล่าว มาดูโรเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่สามในเดือนมกราคม แม้จะมีหลักฐานมากมายเกี่ยวกับการทุจริตในการเลือกตั้งเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา คู่แข่งหลักของเขาในการลงคะแนนเสียงครั้งนั้น คือ เอ็ดมันโด กอนซาเลซ ซึ่งตอนนี้ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ในขณะที่ มาเรีย คอรินา มาชาโด ผู้นำฝ่ายค้านที่เป็นที่นิยมมากที่สุด ซึ่งถูกห้ามไม่ให้ลงสมัคร กำลังหลบซ่อนตัวอยู่ เดลซี โรดริเกซ รองประธานาธิบดีเวเนซุเอลา กล่าวว่าการตัดสินใจยกเลิกใบอนุญาตของเชฟรอนนั้น “สร้างความเสียหายและอธิบายไม่ได้” เชฟรอนได้ล็อบบี้อย่างหนักเพื่อปกป้องสัมปทานของสหรัฐฯ “โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวเนซุเอลา สิ่งที่คุณเห็นเมื่อประเทศต่างๆ จากตะวันตกออกจากประเทศ คุณจะเห็นบริษัทจากจีนและรัสเซียเพิ่มการมีอยู่ของตนเองเป็นผล” ไมค์ เวิร์ธ ซีอีโอ กล่าวกับไฟแนนเชียล ไทมส์ในการสัมภาษณ์เมื่อเดือนที่แล้ว ในช่วงปลายเดือนมกราคม ริชาร์ด เกรเนลล์ ผู้แทนพิเศษของทรัมป์ที่ดูแลวิกฤตการณ์ ได้เดินทางไปยังกรุงการากัส ซึ่งเขาได้พบกับมาดูโร และประกาศข้อตกลงให้เวเนซุเอลารับผู้ถูกเนรเทศออกจากประเทศ ชาวเวเนซุเอลามากกว่า 7 ล้านคนหลบหนีความยากลำบากทางเศรษฐกิจและการปราบปรามในประเทศในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ขณะที่กลุ่มอาชญากร Tren de Aragua ก็ได้ขยายตัวไปทั่วโลก รวมถึงในสหรัฐอเมริกาด้วย
    รายงานข่าวไฟแนนซ์เชียลไทม์ระบุว่า ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์แห่งสหรัฐฯ ประกาศยกเลิก “ข้อตกลงสัมปทาน” ในภาคพลังงานของเวเนซุเอลา ซึ่งอนุญาตให้บริษัทเชฟรอนสามารถสูบและส่งออกน้ำมันในประเทศอเมริกาใต้ที่ถูกคว่ำบาตรได้ ทรัมป์ได้โพสต์บนแพลตฟอร์ม Truth Social ของเขา ทรัมป์กล่าวเมื่อวันพุธที่26 กุมภาพันธ์ว่า เขากำลัง “ยกเลิกข้อตกลงสัมปทาน” ที่รัฐบาลของโจ ไบเดนให้ไว้แก่บริษัทเชฟรอนเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2022ว่า “เราขอยกเลิกข้อตกลงที่โจ ไบเดน ให้กับนิโคลัส มาดูโร แห่งเวเนซุเอลา ที่เกี่ยวกับข้อตกลงธุรกรรมน้ำมัน และยังเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขการเลือกตั้งภายในเวเนซุเอลาที่ระบอบมาดูโรไม่ปฏิบัติตาม” ทรัมป์เขียน มาตรการดังกล่าวเป็นความพยายามที่จะโน้มน้าวให้มาดูโร ประธานาธิบดีเผด็จการของเวเนซุเอลา จัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่เสรีและยุติธรรม แม้ว่าทรัมป์จะไม่ได้เอ่ยชื่อเชฟรอนโดยตรง แต่เชฟรอนก็เป็นบริษัทเดียวที่ได้รับใบอนุญาตให้ดำเนินการร่วมกับบริษัทเปโตรเลออส เดอ เวเนซุเอลา (PDVSA) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของเวเนซุเอลาในสัมปทานเดือนพฤศจิกายน 2022 ใบอนุญาตอื่นๆ ได้ถูกมอบให้กับบริษัทเรปโซล เอนี่ และเมาเรล แอนด์ โพรม เชฟรอนกล่าวว่ากำลังพิจารณาถึงผลกระทบจากการตัดสินใจครั้งนี้ และเสริมว่าบริษัทดำเนินธุรกิจในเวเนซุเอลาโดยปฏิบัติตามกฎหมายและกรอบการคว่ำบาตรที่รัฐบาลสหรัฐฯ กำหนดไว้ นักวิเคราะห์กล่าวว่าการสูญเสียใบอนุญาตสัมปทานของเชฟรอนจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมน้ำมันของเวเนซุเอลา “การสูญเสียสารเจือจางที่เชฟรอนจัดหาให้เป็นปัญหาใหญ่ ถือเป็นเส้นเลือดใหญ่สำหรับการผลิตของพวกเขา” ชไรเนอร์ ปาร์กเกอร์ นักวิเคราะห์จาก Rystad Energy ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษา กล่าว สารเจือจางเป็นสารที่ผู้ผลิตน้ำมันใช้ในการเจือจางน้ำมันดิบหนักประเภทหนึ่งที่ผลิตในเวเนซุเอลา และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการสกัดและขนส่ง นายพาร์คเกอร์กล่าวว่า การสูญเสียสารเจือจางอาจทำให้การผลิตน้ำมันของเวเนซุเอลาลดลงต่ำกว่า 500,000 บาร์เรลต่อวัน จากเดิมที่อยู่ที่ 900,000 บาร์เรลต่อวันเมื่อปีที่แล้ว แม้จะมีปริมาณสำรองน้ำมันที่พิสูจน์แล้วมากที่สุดในโลกและเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งโอเปก แต่การทุจริต การบริหารจัดการที่ผิดพลาด และการคว่ำบาตรที่นำโดยสหรัฐฯ ทำให้การผลิตน้ำมันดิบของประเทศลดลงจากประมาณ 2.5 ล้านบาร์เรลต่อวันในปี 2016 เหลือ 400,000 บาร์เรลต่อวันในปี 2020 ซึ่งฟื้นตัวเมื่อปีที่แล้ว โดยส่วนหนึ่งเป็นเพราะการร่วมทุนของเชฟรอน อัสดรูบัล โอลิเวโรส กรรมการบริษัทที่ปรึกษา Ecoanalitica ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองการากัส คาดการณ์ว่าการยกเลิกใบอนุญาตของเชฟรอนอาจทำให้การเติบโตของ GDP หดตัวลงจาก 3.2% เหลือ 2% ในปีนี้ “เห็นได้ชัดว่าการยกเลิกใบอนุญาตมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ ไม่เพียงแต่ต่อการเติบโตเท่านั้น แต่ยังรวมถึงแนวโน้มของกระแสเงินตราต่างประเทศ อัตราเงินเฟ้อ และการลดค่าเงินด้วย” โอลิเวโรสกล่าว มาดูโรเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่สามในเดือนมกราคม แม้จะมีหลักฐานมากมายเกี่ยวกับการทุจริตในการเลือกตั้งเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา คู่แข่งหลักของเขาในการลงคะแนนเสียงครั้งนั้น คือ เอ็ดมันโด กอนซาเลซ ซึ่งตอนนี้ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ในขณะที่ มาเรีย คอรินา มาชาโด ผู้นำฝ่ายค้านที่เป็นที่นิยมมากที่สุด ซึ่งถูกห้ามไม่ให้ลงสมัคร กำลังหลบซ่อนตัวอยู่ เดลซี โรดริเกซ รองประธานาธิบดีเวเนซุเอลา กล่าวว่าการตัดสินใจยกเลิกใบอนุญาตของเชฟรอนนั้น “สร้างความเสียหายและอธิบายไม่ได้” เชฟรอนได้ล็อบบี้อย่างหนักเพื่อปกป้องสัมปทานของสหรัฐฯ “โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวเนซุเอลา สิ่งที่คุณเห็นเมื่อประเทศต่างๆ จากตะวันตกออกจากประเทศ คุณจะเห็นบริษัทจากจีนและรัสเซียเพิ่มการมีอยู่ของตนเองเป็นผล” ไมค์ เวิร์ธ ซีอีโอ กล่าวกับไฟแนนเชียล ไทมส์ในการสัมภาษณ์เมื่อเดือนที่แล้ว ในช่วงปลายเดือนมกราคม ริชาร์ด เกรเนลล์ ผู้แทนพิเศษของทรัมป์ที่ดูแลวิกฤตการณ์ ได้เดินทางไปยังกรุงการากัส ซึ่งเขาได้พบกับมาดูโร และประกาศข้อตกลงให้เวเนซุเอลารับผู้ถูกเนรเทศออกจากประเทศ ชาวเวเนซุเอลามากกว่า 7 ล้านคนหลบหนีความยากลำบากทางเศรษฐกิจและการปราบปรามในประเทศในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ขณะที่กลุ่มอาชญากร Tren de Aragua ก็ได้ขยายตัวไปทั่วโลก รวมถึงในสหรัฐอเมริกาด้วย
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 564 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตามที่มีข่าวออกไปก่อนหน้านี้ ว่าทาง DSI หรือ กรมสอบสวนคดีพิเศษ อยู่ระหว่างกระบวนการเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องเข้ามาให้ถ้อยคำเกี่ยวกับคดี “แตงโม นิดา พัชรวีระพงษ์” ซึ่งมีประมาณ 20 ปาก โดยจะทยอยนัดหมายมาพบภายในเดือนกุมภาพันธ์ และในจำนวนดังกล่าว มีเหล่าคนดังรวมอยู่ด้วย ได้แก่ (3 ก.พ. 68) มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ เข้าให้ปากคำแล้ว, (11 ก.พ. 68) กรรมการบริษัท ดีคืนดีวัน จำกัด และ หนุ่ม กรรชัย กำเนิดพลอย, (13 ก.พ. 68) บิณฑ์ - เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์, (18 ก.พ. 68) พ.ต.ต.ปภิณวิช รอดบางยาง, (19 ก.พ. 68 ) ชัช ตลาดไท ตามลำดับ

    แต่ในวันนี้ที่ถึงคิวของ “หนุ่ม กรรชัย” ก็มีหลายคำถามถาโถมมาว่าทำไมถึงไม่พบดีเอสไอตามที่นัดหมาย จนเจ้าตัวต้องร่ายยาวกลางรายการ เที่ยงวันทันเหตุการณ์ ว่าไม่ใช่เป็นการนัด

    “ขอชี้แจงสักนิดนึงนะครับ ผมรำคาญเรื่องนี้มากเลยครับ ขออนุญาต คนมาถามผมเยอะมากว่าทำไมวันนี้ผมถึงไม่ไปดีเอสไอ ขอความร่วมมือให้ผมเข้าไปพบ ต้องเรียนแบบนี้ครับในกรณีของคุณแตงโม ทางดีเอสไอได้ออกหนังสือเพื่อจะเรียกผม ผมขอใช้คำว่าตามในหนังสือขอความร่วมมือ ไม่ใช่เป็นการเรียกตัวให้ไปพบ อันนี้เอาไปลง กรุณาใช้วิจารณญาณในการนำเสนอด้วย เป็นการขอความร่วมมือ อย่างที่เห็นอยู่ว่าผมเองก็ต้องทำงาน ผมก็ไปไม่ได้หรอก ผมก็เลยให้ทางฝั่งของทนายความ ประสานไป 2-3 วันแล้ว ว่าผมเองไม่ว่าง ต้องอ่านข่าว ต้องขอเลื่อนไปก่อน ถ้าได้วันไหนจะแจ้งให้ทราบอีกที หรือท่าทางดีเอสไอจะเข้ามาพบผม ผมก็ยินดี ยินดีที่จะให้ความร่วมมืออยู่แล้ว

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/entertainment/detail/9680000013711

    #MGROnline #DSI #กรมสอบสวนคดีพิเศษ #หนุ่มกรรชัย #แตงโมนิดา #แตงโมต้องได้รับความยุติธรรม
    ตามที่มีข่าวออกไปก่อนหน้านี้ ว่าทาง DSI หรือ กรมสอบสวนคดีพิเศษ อยู่ระหว่างกระบวนการเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องเข้ามาให้ถ้อยคำเกี่ยวกับคดี “แตงโม นิดา พัชรวีระพงษ์” ซึ่งมีประมาณ 20 ปาก โดยจะทยอยนัดหมายมาพบภายในเดือนกุมภาพันธ์ และในจำนวนดังกล่าว มีเหล่าคนดังรวมอยู่ด้วย ได้แก่ (3 ก.พ. 68) มงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์ เข้าให้ปากคำแล้ว, (11 ก.พ. 68) กรรมการบริษัท ดีคืนดีวัน จำกัด และ หนุ่ม กรรชัย กำเนิดพลอย, (13 ก.พ. 68) บิณฑ์ - เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์, (18 ก.พ. 68) พ.ต.ต.ปภิณวิช รอดบางยาง, (19 ก.พ. 68 ) ชัช ตลาดไท ตามลำดับ • แต่ในวันนี้ที่ถึงคิวของ “หนุ่ม กรรชัย” ก็มีหลายคำถามถาโถมมาว่าทำไมถึงไม่พบดีเอสไอตามที่นัดหมาย จนเจ้าตัวต้องร่ายยาวกลางรายการ เที่ยงวันทันเหตุการณ์ ว่าไม่ใช่เป็นการนัด • “ขอชี้แจงสักนิดนึงนะครับ ผมรำคาญเรื่องนี้มากเลยครับ ขออนุญาต คนมาถามผมเยอะมากว่าทำไมวันนี้ผมถึงไม่ไปดีเอสไอ ขอความร่วมมือให้ผมเข้าไปพบ ต้องเรียนแบบนี้ครับในกรณีของคุณแตงโม ทางดีเอสไอได้ออกหนังสือเพื่อจะเรียกผม ผมขอใช้คำว่าตามในหนังสือขอความร่วมมือ ไม่ใช่เป็นการเรียกตัวให้ไปพบ อันนี้เอาไปลง กรุณาใช้วิจารณญาณในการนำเสนอด้วย เป็นการขอความร่วมมือ อย่างที่เห็นอยู่ว่าผมเองก็ต้องทำงาน ผมก็ไปไม่ได้หรอก ผมก็เลยให้ทางฝั่งของทนายความ ประสานไป 2-3 วันแล้ว ว่าผมเองไม่ว่าง ต้องอ่านข่าว ต้องขอเลื่อนไปก่อน ถ้าได้วันไหนจะแจ้งให้ทราบอีกที หรือท่าทางดีเอสไอจะเข้ามาพบผม ผมก็ยินดี ยินดีที่จะให้ความร่วมมืออยู่แล้ว • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/entertainment/detail/9680000013711 • #MGROnline #DSI #กรมสอบสวนคดีพิเศษ #หนุ่มกรรชัย #แตงโมนิดา #แตงโมต้องได้รับความยุติธรรม
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 579 มุมมอง 0 รีวิว
  • เผย "โอภาส บุญจันทร์" กก.บริษัทวิน โพรเสส ระยอง เสียชีวิตที่โรงพยาบาลบ้านค่าย เมื่อคืนที่ผ่านมา หลังออกจากเรือนจำมารักษาด้วยอาการขาดน้ำตาล หลังศาลพิพากษาจำคุก 5 ปี 15 เดือน คดีทิ้งสารพิษและครอบครองวัตถุอันตรายเพียงวันเดียว
    .
    วันนี้ (9 ก.พ.) เฟซบุ๊ก "มนตรี อุดมพงษ์" ของนายมนตรี อุดมพงษ์ ผู้สื่อข่าวรายการข่าว 3 มติ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โพสต์ข้อความระบุว่า นายโอภาส บุญจันทร์ อายุ 67 ปี กรรมการบริษัท วิน โพรเสส จำกัด เสียชีวิตที่โรงพยาบาลบ้านค่าย จ.ระยอง เมื่อเวลา 00.45 นาที ของวันที่ 9 ก.พ. หลังจากนายโอภาสมีอาการขาดน้ำตาล ถูกย้ายออกจากเรือนจำ มาเข้ารับการรักษาตั้งแต่ 23.38 น. ของวันที่ 5 ก.พ. ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างชันสูตรพลิกศพ ซึ่งนายโอภาส เป็นผู้ต้องขังจำคุกระหว่างอุทธรณ์ฎีกา คดีอาญาหมายเลขดำที่ สวอ.21/2567 ของศาลจังหวัดระยอง ต้องหาว่ากระทำความผิดตาม พ.ร.บ.วัตถุอันตราย นอกจากนี้ ยังมีชื่อเป็นผู้ต้องหาร่วมในคดีลอบเก็บและฝังวัตถุอันตรายในหลายพื้นที่ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    .
    รายงานข่าวเพิ่มเติมระบุว่า สำหรับคดีที่เกี่ยวข้องกับนายโอภาส มีทั้งคดีทิ้งสารพิษ และครอบครองวัตถุอันตรายโดยไม่ได้รับอนุญาต ในโรงงานวิน โพรเสส ต.บางบุตร อ.บ้านค่าย จ.ระยอง ศาลจังหวัดระยองเพิ่งมีพิพากษาจำคุกนายโอภาส 5 ปี 15 เดือน และปรับเงิน บริษัท วิน โพรเสส จำกัด ที่นายโอภาสเป็นกรรมการบริษัท รวมทุกข้อกล่าวหา 350,000 บาท พร้อมกับให้ริบของกลางซึ่งเป็นสารเคมีไปทำลายทั้งหมด พร้อมทั้งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบนำกากอุตสาหกรรมไปกำจัด โดยให้นายโอภาสรับผิดชอบค่าใช้จ่าย เมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2567 หรือจะเป็นคดีครอบครองวัตถุอันตรายโดยไม่ได้รับอนุญาต ในพื้นที่ ต.โขดหิน อ.มาบตาพุด จ.ระยอง ศาลจังหวัดระยองพิพากษาจำคุก 18 เดือน เมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2567
    .
    นอกจากนี้ ยังมีความผิดเกี่ยวข้องกับโกดังเก็บสารเคมีเถื่อน อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา ความผิดเกี่ยวกับโกกังเก็บสารเคมีเถื่อน บริษัทซันเทค อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา คดีลักลอบทิ้งของเสียอันตราย ลงที่ดินส่วนบุคคลใน ต.ข้าวเม่า และ ต.เสนา อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา และคดีเพลิงไหม้โกดังโรงงาน 2 ครั้ง รวมทั้งคดีทางแพ่ง ศาลจังหวัดระยองพิพากษาเมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2565 ให้จ่ายค่าชดเชยชาวบ้านหนองพะวา จำนวน 15 คน รวม 20,823,718 บาทพร้อมดอกเบี้ย และเมื่อวันที่ 2 ก.ย. 2567 บริษัทฯ เคยถูกศาลพิพากษาให้ชดใช้เงินค่าเสียหายทางแพ่ง 1,743,609,923.46 บาท แก่กรมควบคุมมลพิษ ฐานเป็นแหล่งก่อกำเนิดของกากสารเคมีที่ปนเปื้อนลงแหล่งน้ำสาธารณะและพื้นดิน รวมถึงสภาพแวดล้อมธรรมชาติ
    .
    นายโอภาส ถูกตำรวจ สภ.มาบตาพุด จ.ระยอง เข้าจับกุมเมื่อวันที่ 29 พ.ค. 2567 ขณะเดินทางไปโรงงานเอกอุทัย สาขาศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรม แจ้งความเอาผิดไว้หลายพื้นที่ ในข้อหาครอบครองวัตถุอันตราย ก่อนฝากขังที่ศาลจังหวัดระยอง ศาลให้ประกันตัวด้วยหลักทรัพย์ 20,000 บาท ก่อนที่ตำรวจ สภ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา ไปอายัดตัวนายโอภาสตามหมายจับเหตุเพลิงไหม้โรงงานสารเคมีที่ อ.ภาชี ข้อหาปลอมแปลงเอกสารทางราชการ ก่อนจะได้รับการประกันตัว แล้ว สภ.บ้านค่ายเข้าอายัดตัว ในข้อหาร่วมกันครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 โดยไม่ได้รับอนุญาต เอาของที่มีพิษเป็นอันตรายแก่สุขภาพ เจือปนลงในอาหารหรือน้ำ ฝากขังที่ศาลจังหวัดระยองเมื่อวันที่ 2 มิ.ย. 2567 ตำรวจคัดค้านการประกันตัว และศาลยกคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราว ก่อนคุมตัวไปฝากขังในเรือนจำตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
    .
    เป็นที่น่าสังเกตว่า นายโอภาสถูกศาลพิพากษาจำคุก 5 ปี 15 เดือน เมื่อวันที่ 4 ก.พ. แต่ผ่านไปเพียง 1 วัน คืนวันที่ 5 ก.พ. นายโอภาสถูกนำตัวออกจากเรือนจำกลางระยอง ต.หนองละลอก อ.บ้านค่าย จ.ระยอง มารักษาตัวที่โรงพยาบาลบ้านค่าย ก่อนเสียชีวิตเมื่อคืนที่ผ่านมา
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000013031
    ..............
    Sondhi X
    เผย "โอภาส บุญจันทร์" กก.บริษัทวิน โพรเสส ระยอง เสียชีวิตที่โรงพยาบาลบ้านค่าย เมื่อคืนที่ผ่านมา หลังออกจากเรือนจำมารักษาด้วยอาการขาดน้ำตาล หลังศาลพิพากษาจำคุก 5 ปี 15 เดือน คดีทิ้งสารพิษและครอบครองวัตถุอันตรายเพียงวันเดียว . วันนี้ (9 ก.พ.) เฟซบุ๊ก "มนตรี อุดมพงษ์" ของนายมนตรี อุดมพงษ์ ผู้สื่อข่าวรายการข่าว 3 มติ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โพสต์ข้อความระบุว่า นายโอภาส บุญจันทร์ อายุ 67 ปี กรรมการบริษัท วิน โพรเสส จำกัด เสียชีวิตที่โรงพยาบาลบ้านค่าย จ.ระยอง เมื่อเวลา 00.45 นาที ของวันที่ 9 ก.พ. หลังจากนายโอภาสมีอาการขาดน้ำตาล ถูกย้ายออกจากเรือนจำ มาเข้ารับการรักษาตั้งแต่ 23.38 น. ของวันที่ 5 ก.พ. ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างชันสูตรพลิกศพ ซึ่งนายโอภาส เป็นผู้ต้องขังจำคุกระหว่างอุทธรณ์ฎีกา คดีอาญาหมายเลขดำที่ สวอ.21/2567 ของศาลจังหวัดระยอง ต้องหาว่ากระทำความผิดตาม พ.ร.บ.วัตถุอันตราย นอกจากนี้ ยังมีชื่อเป็นผู้ต้องหาร่วมในคดีลอบเก็บและฝังวัตถุอันตรายในหลายพื้นที่ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา . รายงานข่าวเพิ่มเติมระบุว่า สำหรับคดีที่เกี่ยวข้องกับนายโอภาส มีทั้งคดีทิ้งสารพิษ และครอบครองวัตถุอันตรายโดยไม่ได้รับอนุญาต ในโรงงานวิน โพรเสส ต.บางบุตร อ.บ้านค่าย จ.ระยอง ศาลจังหวัดระยองเพิ่งมีพิพากษาจำคุกนายโอภาส 5 ปี 15 เดือน และปรับเงิน บริษัท วิน โพรเสส จำกัด ที่นายโอภาสเป็นกรรมการบริษัท รวมทุกข้อกล่าวหา 350,000 บาท พร้อมกับให้ริบของกลางซึ่งเป็นสารเคมีไปทำลายทั้งหมด พร้อมทั้งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบนำกากอุตสาหกรรมไปกำจัด โดยให้นายโอภาสรับผิดชอบค่าใช้จ่าย เมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2567 หรือจะเป็นคดีครอบครองวัตถุอันตรายโดยไม่ได้รับอนุญาต ในพื้นที่ ต.โขดหิน อ.มาบตาพุด จ.ระยอง ศาลจังหวัดระยองพิพากษาจำคุก 18 เดือน เมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2567 . นอกจากนี้ ยังมีความผิดเกี่ยวข้องกับโกดังเก็บสารเคมีเถื่อน อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา ความผิดเกี่ยวกับโกกังเก็บสารเคมีเถื่อน บริษัทซันเทค อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา คดีลักลอบทิ้งของเสียอันตราย ลงที่ดินส่วนบุคคลใน ต.ข้าวเม่า และ ต.เสนา อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา และคดีเพลิงไหม้โกดังโรงงาน 2 ครั้ง รวมทั้งคดีทางแพ่ง ศาลจังหวัดระยองพิพากษาเมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2565 ให้จ่ายค่าชดเชยชาวบ้านหนองพะวา จำนวน 15 คน รวม 20,823,718 บาทพร้อมดอกเบี้ย และเมื่อวันที่ 2 ก.ย. 2567 บริษัทฯ เคยถูกศาลพิพากษาให้ชดใช้เงินค่าเสียหายทางแพ่ง 1,743,609,923.46 บาท แก่กรมควบคุมมลพิษ ฐานเป็นแหล่งก่อกำเนิดของกากสารเคมีที่ปนเปื้อนลงแหล่งน้ำสาธารณะและพื้นดิน รวมถึงสภาพแวดล้อมธรรมชาติ . นายโอภาส ถูกตำรวจ สภ.มาบตาพุด จ.ระยอง เข้าจับกุมเมื่อวันที่ 29 พ.ค. 2567 ขณะเดินทางไปโรงงานเอกอุทัย สาขาศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรม แจ้งความเอาผิดไว้หลายพื้นที่ ในข้อหาครอบครองวัตถุอันตราย ก่อนฝากขังที่ศาลจังหวัดระยอง ศาลให้ประกันตัวด้วยหลักทรัพย์ 20,000 บาท ก่อนที่ตำรวจ สภ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา ไปอายัดตัวนายโอภาสตามหมายจับเหตุเพลิงไหม้โรงงานสารเคมีที่ อ.ภาชี ข้อหาปลอมแปลงเอกสารทางราชการ ก่อนจะได้รับการประกันตัว แล้ว สภ.บ้านค่ายเข้าอายัดตัว ในข้อหาร่วมกันครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 โดยไม่ได้รับอนุญาต เอาของที่มีพิษเป็นอันตรายแก่สุขภาพ เจือปนลงในอาหารหรือน้ำ ฝากขังที่ศาลจังหวัดระยองเมื่อวันที่ 2 มิ.ย. 2567 ตำรวจคัดค้านการประกันตัว และศาลยกคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราว ก่อนคุมตัวไปฝากขังในเรือนจำตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา . เป็นที่น่าสังเกตว่า นายโอภาสถูกศาลพิพากษาจำคุก 5 ปี 15 เดือน เมื่อวันที่ 4 ก.พ. แต่ผ่านไปเพียง 1 วัน คืนวันที่ 5 ก.พ. นายโอภาสถูกนำตัวออกจากเรือนจำกลางระยอง ต.หนองละลอก อ.บ้านค่าย จ.ระยอง มารักษาตัวที่โรงพยาบาลบ้านค่าย ก่อนเสียชีวิตเมื่อคืนที่ผ่านมา . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000013031 .............. Sondhi X
    Like
    Sad
    Haha
    13
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1947 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนื่องจากสำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) ติดตามตรวจสอบข้อมูลเชิงลึกการแจ้งบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กรณีเข้ารับตำแหน่ง เมื่อวันที่ 6 ก.ย. 2567 นางสาวแพทองธาร นายปิฎก สุขสวัสดิ์ ผู้อยู่กินฉันสามีภริยาตามที่ ป.ป.ช. กำหนด และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ แจ้งมีทรัพย์สินทั้งสิ้น 13,993,826,903 บาท หนี้สินทั้งสิ้น 4,441,159,711 บาท 
    มีการระบุสิทธิในการเช่าที่อยู่ที่อังกฤษ 2 แห่ง ได้แก่ 1. สิทธิในการเช่าที่ Flat 11 Knaresborough Place London 2. สิทธิในการเช่าที่ Flat 6, 14 Montpelier street London
    โดยรายการสิทธิในการเช่าที่ Flat 11 Knaresborough Place London มีการระบุว่า ได้สิทธินี้มาตั้งแต่วันที่ 20 ก.พ.2550 สิ้นสุดวันที่ 24 ธ.ค. 3537 หรือก็คือระยะเวลาเช่าสิทธินาน ถึง 987 ปี มูลค่าอยู่ที่ 111,612,250 บาท
    ส่วนสิทธิในการเช่าที่ Flat 6, 14 Montpelier street London ระบุว่า ได้สิทธินี้มาตั้งแต่วันที่ 20 ก.พ.2560 สิ้นสุดวันที่ 24 ม.ค. 3552 หรือก็คือระยะเวลาเช่าสิทธินาน ถึง 992 ปี มูลค่าอยู่ที่ 208,342,867 บาท  

    ล่าสุด ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวอิศรา ย้อนกลับไปตรวจสอบรายละเอียดสิทธิในการเช่าที่อยู่ที่อังกฤษ 2 แห่ง เพิ่มเติม พบว่า สิทธิในการเช่าที่ Flat 6, 14 Montpelier street London มีการแนบเอกสารเกี่ยวกับสิทธิในการเช่า จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 26 ก.ค.2560 ระบุรายละเอียดคร่าวๆว่ามีเงื่อนไขการเช่า 999 ปี ถึงวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 3009
    มีคู่สัญญา (Parties) สองฝ่าย ได้แก่ 1.Tropic Offshore Holdings Inc และ 2. น.ส.แพทองธาร ชินวัตร,นายพานทองแท้ ชินวัตร และ น.ส.พินทองทา ชินวัตร
    ในส่วนทะเบียนกรรมสิทธิ์ระบุว่า มีผู้เป็นเจ้าของหรือProprietor ได้แก่ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร,นายพานทองแท้ ชินวัตร และ น.ส.พินทองทา ชินวัตร 
    โดยราคานอกเหนือจากค่าเช่าที่ระบุไว้ว่าได้จ่ายจากการให้สัญญาเช่าคือ 1 ปอนด์ (The Price, other than rents,  stated to have been paid on the grant of the lease was 1 Pound)
    สำหรับรายละเอียด บริษัท Tropic Offshore Holdings Inc ปรากฏข้อมูลจากเอกสารข่าวปานามาเปเปอร์ส ซึ่งเป็นการตีแผ่ข้อมูลการถือครองบริษัทนอกอาณาเขต (offshore company) ที่อยู่ในฐานข้อมูลของสำนักกฎหมายชื่อ มอสแซค ฟอนเซก้า (Mossack Fonceka) ที่เป็นบริษัทรับจดทะเบียนก่อตั้งบริษัทนอกอาณาเขตที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ปานามา และมีสาขาอยู่ใน 42 ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ฐานข้อมูลดังกล่าวเป็นฐานข้อมูลเรื่องการถือครองบริษัทนอกอาณาเขตที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ตกถึงมือของสื่อมวลชน โดยมีขนาดความจุ 2.6 เทราไบต์ มีเอกสารทั้งหมด 11.5 ล้านชิ้น ประกอบไปด้วยข้อมูลของบริษัทนอกอาณาเขตทั้งหมด 214,000 บริษัท โดยการขุดคุ้ยและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดของเอกสารที่ให้ชื่อว่า “ปานามาลีก” (Panama Leak) นี้เป็นความร่วมมือกันของผู้สื่อข่าวจำนวน 370 คนจาก 78 ประเทศ) 
    เอกสารข่าวปานามาเปเปอร์ส ระบุว่า เมื่อปี 2549 นายบรรณพจน์ ดามาพงศ์ ประธานกรรมการบริษัท โรงพยาบาลพระราม 9 จำกัด (มหาชน) พี่ชายบุญธรรม ของคุณหญิงพจมาน ดามาพงศ์ ได้ดำเนินการเข้าซื้อและจดทะเบียนเป็นเจ้าของผู้รับผลประโยชน์แต่เพียงผู้เดียว อย่างไรก็ตาม ชื่อเจ้าของผู้รับผลประโยชน์ได้เปลี่ยนจากนายบรรณพจน์เป็นนาย กาลิด โมฮัมหมัด กาดฟอร์ อัลเมไฮรี (Khalid Mohamad Kadfoor Almehairi) ในปี 2550

    ข้อมูลบริคณห์สนธิบริษัทฯ ระบุว่า บริษัท Tropic Offshore Holdings Inc ถูกจัดตั้งโดยบริษัทในสิงคโปร์ชื่อว่าบริษัท UBS AG สิงคโปร์ โดยการจัดตั้งบริษัทนี้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 9 พ.ค. 2549 และมีการขายบริษัทไปเมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2549 และบริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 5 หมื่นดอลลาร์สหรัฐฯ (คิดเป็น 1,681,675 บาท ตามค่าเงินปัจจุบัน)

    โดยผู้ถือหุ้นและผู้อำนวยการบริษัทในปัจจุบัน คือ บริษัท NWT Directors Limited ซึ่งเข้ามาเป็นทั้งผู้ถือหุ้นและผู้อำนวยการเมื่อวันที่ 26 พ.ย. 2550
    สำหรับที่อยู่ปัจจุบันของบริษัทฯ อยู่ที่ One Raffles Quay#50-01 North TowerSINGAPORE 048583

    ทั้งหมดนี้ คือ ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบริษัทที่เป็นคู่สัญญาที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในการเช่าที่ Flat 6, 14 Montpelier street London ของ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร ที่มีการแจ้งบัญชีทรัพย์และหนี้สิน ต่อ ป.ป.ช. กรณีเข้ารับตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 ก.ย. 2567 

    ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews/135213-isranews-Panamaaart.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR2nLggEACbFIpzdcfGrZHzXUZThT8iizlgvTwRRYpTn4EOauqjWa9YuLWk_aem_NcAfeRGv0VtwZQuV8JHOxA#a76xjgtso0awrd0kdad0xn25e74459qj
    เนื่องจากสำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) ติดตามตรวจสอบข้อมูลเชิงลึกการแจ้งบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กรณีเข้ารับตำแหน่ง เมื่อวันที่ 6 ก.ย. 2567 นางสาวแพทองธาร นายปิฎก สุขสวัสดิ์ ผู้อยู่กินฉันสามีภริยาตามที่ ป.ป.ช. กำหนด และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ แจ้งมีทรัพย์สินทั้งสิ้น 13,993,826,903 บาท หนี้สินทั้งสิ้น 4,441,159,711 บาท  มีการระบุสิทธิในการเช่าที่อยู่ที่อังกฤษ 2 แห่ง ได้แก่ 1. สิทธิในการเช่าที่ Flat 11 Knaresborough Place London 2. สิทธิในการเช่าที่ Flat 6, 14 Montpelier street London โดยรายการสิทธิในการเช่าที่ Flat 11 Knaresborough Place London มีการระบุว่า ได้สิทธินี้มาตั้งแต่วันที่ 20 ก.พ.2550 สิ้นสุดวันที่ 24 ธ.ค. 3537 หรือก็คือระยะเวลาเช่าสิทธินาน ถึง 987 ปี มูลค่าอยู่ที่ 111,612,250 บาท ส่วนสิทธิในการเช่าที่ Flat 6, 14 Montpelier street London ระบุว่า ได้สิทธินี้มาตั้งแต่วันที่ 20 ก.พ.2560 สิ้นสุดวันที่ 24 ม.ค. 3552 หรือก็คือระยะเวลาเช่าสิทธินาน ถึง 992 ปี มูลค่าอยู่ที่ 208,342,867 บาท   ล่าสุด ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวอิศรา ย้อนกลับไปตรวจสอบรายละเอียดสิทธิในการเช่าที่อยู่ที่อังกฤษ 2 แห่ง เพิ่มเติม พบว่า สิทธิในการเช่าที่ Flat 6, 14 Montpelier street London มีการแนบเอกสารเกี่ยวกับสิทธิในการเช่า จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 26 ก.ค.2560 ระบุรายละเอียดคร่าวๆว่ามีเงื่อนไขการเช่า 999 ปี ถึงวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 3009 มีคู่สัญญา (Parties) สองฝ่าย ได้แก่ 1.Tropic Offshore Holdings Inc และ 2. น.ส.แพทองธาร ชินวัตร,นายพานทองแท้ ชินวัตร และ น.ส.พินทองทา ชินวัตร ในส่วนทะเบียนกรรมสิทธิ์ระบุว่า มีผู้เป็นเจ้าของหรือProprietor ได้แก่ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร,นายพานทองแท้ ชินวัตร และ น.ส.พินทองทา ชินวัตร  โดยราคานอกเหนือจากค่าเช่าที่ระบุไว้ว่าได้จ่ายจากการให้สัญญาเช่าคือ 1 ปอนด์ (The Price, other than rents,  stated to have been paid on the grant of the lease was 1 Pound) สำหรับรายละเอียด บริษัท Tropic Offshore Holdings Inc ปรากฏข้อมูลจากเอกสารข่าวปานามาเปเปอร์ส ซึ่งเป็นการตีแผ่ข้อมูลการถือครองบริษัทนอกอาณาเขต (offshore company) ที่อยู่ในฐานข้อมูลของสำนักกฎหมายชื่อ มอสแซค ฟอนเซก้า (Mossack Fonceka) ที่เป็นบริษัทรับจดทะเบียนก่อตั้งบริษัทนอกอาณาเขตที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ปานามา และมีสาขาอยู่ใน 42 ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ฐานข้อมูลดังกล่าวเป็นฐานข้อมูลเรื่องการถือครองบริษัทนอกอาณาเขตที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ตกถึงมือของสื่อมวลชน โดยมีขนาดความจุ 2.6 เทราไบต์ มีเอกสารทั้งหมด 11.5 ล้านชิ้น ประกอบไปด้วยข้อมูลของบริษัทนอกอาณาเขตทั้งหมด 214,000 บริษัท โดยการขุดคุ้ยและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดของเอกสารที่ให้ชื่อว่า “ปานามาลีก” (Panama Leak) นี้เป็นความร่วมมือกันของผู้สื่อข่าวจำนวน 370 คนจาก 78 ประเทศ)  เอกสารข่าวปานามาเปเปอร์ส ระบุว่า เมื่อปี 2549 นายบรรณพจน์ ดามาพงศ์ ประธานกรรมการบริษัท โรงพยาบาลพระราม 9 จำกัด (มหาชน) พี่ชายบุญธรรม ของคุณหญิงพจมาน ดามาพงศ์ ได้ดำเนินการเข้าซื้อและจดทะเบียนเป็นเจ้าของผู้รับผลประโยชน์แต่เพียงผู้เดียว อย่างไรก็ตาม ชื่อเจ้าของผู้รับผลประโยชน์ได้เปลี่ยนจากนายบรรณพจน์เป็นนาย กาลิด โมฮัมหมัด กาดฟอร์ อัลเมไฮรี (Khalid Mohamad Kadfoor Almehairi) ในปี 2550 ข้อมูลบริคณห์สนธิบริษัทฯ ระบุว่า บริษัท Tropic Offshore Holdings Inc ถูกจัดตั้งโดยบริษัทในสิงคโปร์ชื่อว่าบริษัท UBS AG สิงคโปร์ โดยการจัดตั้งบริษัทนี้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 9 พ.ค. 2549 และมีการขายบริษัทไปเมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2549 และบริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 5 หมื่นดอลลาร์สหรัฐฯ (คิดเป็น 1,681,675 บาท ตามค่าเงินปัจจุบัน) โดยผู้ถือหุ้นและผู้อำนวยการบริษัทในปัจจุบัน คือ บริษัท NWT Directors Limited ซึ่งเข้ามาเป็นทั้งผู้ถือหุ้นและผู้อำนวยการเมื่อวันที่ 26 พ.ย. 2550 สำหรับที่อยู่ปัจจุบันของบริษัทฯ อยู่ที่ One Raffles Quay#50-01 North TowerSINGAPORE 048583 ทั้งหมดนี้ คือ ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบริษัทที่เป็นคู่สัญญาที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในการเช่าที่ Flat 6, 14 Montpelier street London ของ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร ที่มีการแจ้งบัญชีทรัพย์และหนี้สิน ต่อ ป.ป.ช. กรณีเข้ารับตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 ก.ย. 2567  ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews/135213-isranews-Panamaaart.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR2nLggEACbFIpzdcfGrZHzXUZThT8iizlgvTwRRYpTn4EOauqjWa9YuLWk_aem_NcAfeRGv0VtwZQuV8JHOxA#a76xjgtso0awrd0kdad0xn25e74459qj
    WWW.ISRANEWS.ORG
    เปิดตัวบริษัทในเอกสารปานามา คู่สัญญานายกฯได้กรรมสิทธิ์เช่าอะพาร์ตเมนต์ลอนดอน เฉียดพันปี
    เอกสารข่าวปานามาเปเปอร์ส ระบุว่า เมื่อปี 2549 นายบรรณพจน์ ดามาพงศ์ ประธานกรรมการบริษัท โรงพยาบาลพระราม 9 จำกัด (มหาชน) พี่ชายคนโตของคุณหญิงพจมาน ดามาพงศ์ได้ดำเนินการเข้าซื้อและจดทะเบียนเป็นเจ้าของผู้รับผลประโยชน์แต่เพียงผู้เดียว อย่างไรก็ตาม ชื่อเจ้าของผู้รับผลประโยชน์ได้เปลี่ยนจากนายบรรณพจน์เป็นนาย กาลิด โมฮัมหมัด กาดฟอร์ อัลเมไฮรี (Khalid Mohamad Kadfoor Almehairi) ในปี 2550
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 970 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://www.blognone.com/node/

    ตามหาเจ้าของแอพ Fineasy แอพเงินกู้นอกระบบที่แถมมากับรอมของมือถือ Oppo และ Realme (ภาคสอง) ยืนยันได้แล้วว่าเจ้าของเป็นคนจีน

    หลังจากเมื่อวานนี้ Blognone ค้นหาข้อมูลว่าเจ้าของแอพ Fineasy เป็นบริษัทสิงคโปร์ชื่อ Wealth Hope Pte. วันนี้เราขุดเข้าไปดูในฐานข้อมูลบริษัทจดทะเบียน (ARCA) ของสิงคโปร์ ได้ข้อมูลเพิ่มเติมดังนี้

    - Wealth Hope Pte. มีผู้ถือหุ้นรายเดียว เป็นบริษัทจีนชื่อ Shenzhen Yufei Technology Corp จดทะเบียนในเซินเจิ้น ประเทศจีน
    - Wealth Hope Pte. มีกรรมการบริษัท 3 คน เป็นคนสิงคโปร์​ 1 ราย และคนจีนอีก 2 ราย

    ตัวบริษัท Shenzhen Yufei Technology Corp ไม่มีข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมากนัก ไม่มีเว็บไซต์ใดๆ ในฐานข้อมูลบริษัทจีน (https://www.qcc.com/firm/f8bcb57f26f98b5a8a8220cf34bde1c9.html) ระบุว่ามีทุนจดทะเบียน 1 ล้านหยวน และมีผู้ถือหุ้นรายเดียวชื่อ He Shanting (何山婷) ซึ่งเราก็ไม่รู้ว่าเขาคือใครกันแน่

    https://www.facebook.com/share/p/18VRiWYQvT/?mibextid=wwXIfr

    144072?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0ixyVg1-0S09-XlC8CfU64iwQGIphhIjNPD__gFAQ4JJ1WDF5KxIbK9v0_aem_A_aSHWHa57qIpHvOAlA5pw
    https://www.blognone.com/node/ ตามหาเจ้าของแอพ Fineasy แอพเงินกู้นอกระบบที่แถมมากับรอมของมือถือ Oppo และ Realme (ภาคสอง) ยืนยันได้แล้วว่าเจ้าของเป็นคนจีน หลังจากเมื่อวานนี้ Blognone ค้นหาข้อมูลว่าเจ้าของแอพ Fineasy เป็นบริษัทสิงคโปร์ชื่อ Wealth Hope Pte. วันนี้เราขุดเข้าไปดูในฐานข้อมูลบริษัทจดทะเบียน (ARCA) ของสิงคโปร์ ได้ข้อมูลเพิ่มเติมดังนี้ - Wealth Hope Pte. มีผู้ถือหุ้นรายเดียว เป็นบริษัทจีนชื่อ Shenzhen Yufei Technology Corp จดทะเบียนในเซินเจิ้น ประเทศจีน - Wealth Hope Pte. มีกรรมการบริษัท 3 คน เป็นคนสิงคโปร์​ 1 ราย และคนจีนอีก 2 ราย ตัวบริษัท Shenzhen Yufei Technology Corp ไม่มีข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมากนัก ไม่มีเว็บไซต์ใดๆ ในฐานข้อมูลบริษัทจีน (https://www.qcc.com/firm/f8bcb57f26f98b5a8a8220cf34bde1c9.html) ระบุว่ามีทุนจดทะเบียน 1 ล้านหยวน และมีผู้ถือหุ้นรายเดียวชื่อ He Shanting (何山婷) ซึ่งเราก็ไม่รู้ว่าเขาคือใครกันแน่ https://www.facebook.com/share/p/18VRiWYQvT/?mibextid=wwXIfr 144072?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0ixyVg1-0S09-XlC8CfU64iwQGIphhIjNPD__gFAQ4JJ1WDF5KxIbK9v0_aem_A_aSHWHa57qIpHvOAlA5pw
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 593 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts