• 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว
  • กดลิงก์เพื่อรับชมถ่ายทอดสด “ความจริงมีหนึ่งเดียว ครั้งที่ 3” เริ่มถ่ายทอดสด เวลา 13.00 น.

    https://thaitimes.co/livestream
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • เชิญโหลดแอป Thai times ค่ะ
    เชิญโหลดแอป Thai times ค่ะ
    กดลิงก์เพื่อรับชมถ่ายทอดสด “ความจริงมีหนึ่งเดียว ครั้งที่ 3” เริ่มถ่ายทอดสด เวลา 13.00 น.

    https://thaitimes.co/livestream
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🍀🐔🌈
    🍀🐔🌈
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • ต้นปีหน้าลุงธิเลิกจัดรายการในเฟส มาจัดใน ThaiTimes 😍😍😍
    ต้นปีหน้าลุงธิเลิกจัดรายการในเฟส มาจัดใน ThaiTimes 😍😍😍
    Like
    Yay
    8
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 191 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • ต้นปีหน้าลุงธิเลิกจัดรายการในเฟส มาจัดใน ThaiTimes 😍😍😍
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • กดลิงก์เพื่อรับชมถ่ายทอดสด “ความจริงมีหนึ่งเดียว ครั้งที่ 3” เริ่มถ่ายทอดสด เวลา 13.00 น.

    https://thaitimes.co/livestream
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชมคลิปที่ไม่สามารถเปิดเผยและเผยแพร่ในโซเชียลมีเดียอื่นๆได้ ผลกระทบจากวัคซีนทำให้คนที่แข็งแรงกลายเป็นผู้ป่วยหนักอย่าฃที้ไม่คาดคิและน่าเสียใจยิ่ง เรื่องดังกล่าวไม่ใช่ประเด็นที่ว่ามีจำนวนเท่าไหร่ แต่ประเด็นอยู่ที่ต้องพูดความจริง เปิดเผยความจริง ยอมรับความจริง และช่วยหาทางรักษา เยียวยา พัฒนาแก้ไข และรับผิดชอบ สร้างความตระหนักรู้และระมัดระวัง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 1519 0 รีวิว
  • ตำรับยารักษา “โรคฝีดาษ” จากศิลาจารึก/ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    สำหรับตำรับยาโรคระบาดในประเทศไทยนั้น ได้ยึดถึอเอาพระคัมภีร์ตักกะศิลาเป็นกระบวนการรักษาโรค โดยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอนด้วยยา 7 ขนาน กล่าวคือ

    ขั้นตอนแรก ตำรับยาสำหรับกระทุ้งพิษไข้ โดยใช้ตำรับยาห้าราก

    ขั้นตอนที่สอง ตำรับยาสำหรับแปรไข้ภายในและรักษาผิวภายนอก มีตำรับยา 5 ขนาน คือ ตำรับยาประสระผิว ตำรับยาพ่นผิวภายนอก ตำรับยาพ่นและยากิน และตำรับยาแปรไข้จากร้ายให้เป็นดี และตำรับยาพ่นแปรผิวภายนอก

    ขั้นตอนสุดท้าย ตำรับยาครอบไข้[1]

    ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้นอยู่ในตำรายาหลวง ชื่อตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ สมัยรัชกาลที่ 5 โดยในตำราดังกล่าวได้กล่าวถึงพระคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ซึ่งประพันธ์โดยเจ้าพระยาวิชยาธิบดี (กล่อม) เจ้าเมืองจันทบูร ตั้งแต่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ตกทอดมาตั้งแต่สมัยอยุธยา และยังเป็นตำราสำหรับการเรียนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์มาจนถึงปัจจุบัน

    ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ได้ทรงมีพระบรมราโชบายให้มีตำรายาจารึกเอาไว้ในแผ่นศิลาประดับอยู่ตามผนังและเสาของวัดเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) พระราชทานเป็นมรดกให้กับประชาชนชาวสยามสืบไปตราบนานเท่านาน รวมถึงวิวัฒนาการที่ลดทอนยา 7 ขนาน 3 ขั้นตอน มาเหลือ “ตำรับยาเดียว” ในการรับมือโรคระบาดหลายชนิดด้วย ซึ่งปัจจุบันคนในวงการแพทย์แผนไทยเรียกว่า “ยาขาว”

    ตำรับยาขาวของวัดโพธิ์นี้ได้ระบุเอาไว้ในตำราว่าแผ่นศิลาแผ่นนี้ได้ถูกรื้อออกมาจากศาลาต่างๆ แต่โชคดีได้บันทึกตำรับยาสำคัญนี้เอาไว้ในตำรายาของวัดโพธิ์ จึงทำให้สามารถตกทอดมาได้จนถึงทุกวันนี้ โดยตำรายาวัดเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ฉบับเก่า 51 ปีที่แล้ว คือ พ.ศ. 2516 ได้บันทึกตำรับยานี้เอาไว้อยู่ที่หน้า 62-64[2]

    ตำรับยาขนานนี้ได้บรรยายสรรพคุณว่า เพียงตำรับยาเดียวสามารถ “แก้สรรพไข้จากโรคระบาด” โดยตำรายาศิลาจารึกบันทึกว่าตำรับยานี้ใช้สมุนไพร 15 ตัวและมีสรรพคุณแก้สรรพไข้จากโรคระบาดหลายชนิด โดยระบุในบันทึกของแผ่นศิลาความตอนนี้ว่า

    “ขนาน 1 เอา กระเช้าผีมด หัวคล้า รากทองพันชั่ง รากชา รากง้วนหมู รากส้มเส็ด รากข้าวไหม้ รากจิงจ้อ รากสวาด รากสะแก รากมะนาว รากหญ้านาง รากฟักข้าว รากผักสาบ รากผักหวานบ้าน เอาเสมอภาคทำเปนจุณ บดทำแท่ง ไว้ละลายน้ำซาวข้าวกินแก้ไข้รากสาด ออกดำ แดง ขาว และแก้ไข้ประกายดาษ ไข้หงษ์ระทด และแก้ไข้ไฟเดือนห้า ไข้ละอองไฟฟ้า และแก้ไข้มหาเมฆ มหานิล ซึ่งกล่าวมาแล้วนั้น และยาขนานนี้แก้ได้ทุกประการ ตามอาจารย์กล่าวไว้ ให้แพทย์ทั้งหลายรู้ว่าเปน มหาวิเศษนัก“[2]

    แม้ในความจริงแล้วจะมีขั้นตอนและวิวัฒนาการในการรักษาโรคระบาดหลายชนิดในภาพรวม แต่ภายใต้พระคัมภีร์ตักกะศิลา ได้วางหลักถึง “รสยา” สำหรับรับมือโรคระบาดว่ามีข้อห้ามและสิ่งที่ควรจะลองดูในเวลาติดเชื้ออันจากเกิดโรคระบาดเอาไว้ความว่า

    ห้ามใช้ยาหรือการกระทำที่มีรสกระตุ้นธาตุไฟหรือระบบความร้อน (ปิตตะ) แต่ให้ยาที่มีลดธาตุไฟหรือระบบความร้อน หากไม่ฟังตามนี้อาจจะถึงแก่ความตายได้ ความว่า

    “ไข้จำพวกนี้ย่อมห้ามมิให้วางยาร้อนเผ็ดเปรี้ยว อย่าให้ประคบนวด อย่าปล่อยปลิง อย่าให้กอกเอาโลหิตออก อย่าให้ถูกน้ำมัน เหล้าก็อย่าให้ถูก น้ำร้อนก็อย่าให้อาบ อย่าให้กิน ส้มมีควันมีผิวกะทิน้ำมันห้ามิให้กิน ถ้าใครไม่รู้ทำผิดดังกล่าวมานี้ ก็ถึงความตายดังนี้แล”[3]

    ต่อมาเจ้าพระยาวิชยาธิบดี (กล่อม) เจ้าเมืองจันทบูร ได้เรียบเรียงเอาไว้ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในเรื่อง “ว่าด้วยคัมภีร์ตักกะศิลา” ว่าช่วงเวลาที่มีกำเดาหรือเปลวแห่งความร้อนนี้ ไม่ว่าจะวัดว่ามีไข้จากภายนอก หรือรู้สึกครั่นเนื้อตัวอยู่ภายใน ปวดเมื่อยเนื้อตัว หรือมีผื่นขึ้น จะไม่ใช้ยารสร้อน ห้ามเหล้า น้ำมัน กอกเลือด นวด หรือปล่อยปลิงเพื่อเอาเลือดออก หากไม่ฟังให้ยาหรือการดำเนินการเช่นดังกล่าวนี้ อาจแก้กันไม่ทัน ความว่า

    “ถ้าแรกล้มไข้ ท่านมากล่าวไว้ ให้พิจารณา ภายนอกภายใน ให้ร้อนหนักหนา เมื่อยขบกายา ตาแดงเป็นสาย บ้างเย็นบ้างร้อน เปนบั้นเป็นท่อน ไปทั่วทั้งกาย ขึ้นมาให้เห็น เปนวงเปนสาย เปนริ้วยาวรี ลางบางไม่ขึ้น เปนวงฟกลื่น กายหมดดิบดี หมอมักว่าเปนสันนิบาติก็มี ให้ยาผิดที แก้กันไม่ทัน อย่าเพ่อกินยา ร้อนแรงแขงกล้า ส้มเหล้าน้ำมัน เอาโลหิตออก กอกเลือดนวดฟั้น ปล่อยปลิงมิทัน แก้กันเลยนา” [4]

    ด้วยประสบการณ์ของเจ้าพระยาวิชยาธิบดี (กล่อม) เจ้าเมืองจันทบูร ที่เกิดมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้รวบยอดสรุปถ่ายทอดมาเป็นความรู้ว่า ในยามที่ยังต้องถกเถียงกันว่าโรคระบาดที่ทำให้เกิดคนตายมากเป็นโรคประเภทใดกันแน่ ในยามที่ยังไม่แน่ใจหรือไม่รู้จึงให้ใช้รสยาแรกไปในทางรสขม เย็นอย่างยิ่ง หรือฝาดจืด ซึ่งเป็นรสยาที่ไม่มีธาตุไฟมาปน ดังความว่า

    “ถ้ายังไม่รู้ให้แก้กันดู แต่พรรณฝูงยา เย็นเปนอย่างยิ่ง ขมจริงโอชา ฝาดจืดพืชน์ยา ตามอาจารย์สอน”[4]

    แต่ถึงแม้จะมีหลักการและขั้นตอนต่างๆในการวางรสยาเพื่อรับมือกับโรคระบาด แต่เนื่องจากโรคฝีดาษและไข้ทรพิษนั้น อาจมีลักษณะจำเพาะที่มีการระบาดมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนกว่าจะได้หมดสิ้นจากประเทศไทยได้นั้นต้องใช้เวลาหลายร้อยปีจนมาถึงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ปี พ.ศ. 2523

    การเอาชนะโรคฝีดาษหรือไข้ทรพิษ นอกจากการรับมือกับโรคระบาดในเรื่องตำรับยาต่างๆแล้ว ความรู้เรื่องการปลูกฝีตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 ก็เป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่ง เพราะได้เป็นรากฐานที่ทำให้ประเทศไทยสามารถเอาชนะโรคฝีดาษได้ด้วย

    โดยในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการตราพระราชบัญญัติจัดการปลูกฝีไข้ทรพิษ และพระราชบัญญัติระงับโรคระบาทว์ พ.ศ.​2456 ซึ่งเป็นครั้งแรกที่บังคับใช้กฎหมายควบคุมโรคแก่ประชาชน

    ต่อมาในปี 2504 กระทรวงสาธารณสุขเริ่มโครงการกำจัดไข้ทรพิษครั้งแรกในประเทศไทย โดยตั้งเป้า 3 ปี (พ.ศ.2504-2506) คือคนไทยอย่างน้อย 80% ต้องได้รับการปลูกฝี ภายหลังขยายเวลาเป็น 5 ปี (พ.ศ.2504-2508) ซึ่งเป็นช่วงเวลาระดมการปลูกฝีทั่วประเทศไทย

    โดยประเทศไทยได้พบผู้ป่วยโรคฝีดาษรายสุดท้ายในปี พ.ศ. 2505 เป็นแขกชื่อ ยาริดาเนา ได้เสียชีวิตที่โรงพยาบาลบำราศนราดูร

    เมื่อสิ้นสุดโครงการการระดมปลูกฝี ถึงปี พ.ศ. 2508 ก็เป็นผลทำให้ฝีดาษหรือไข้ทรพิษหายไปจากประเทศไทยติดต่อกันถึง 3 ปีติดต่อกันแล้ว จนกระทั่งวันที่ 8 พฤษภาคม 2523 องค์การอนามัยโลก ได้ประกาศรับรองว่าฝีดาษหรือไข้ทรพิษได้สูญพันธุ์ไปจากโลกแล้ว[5]

    นี่คือเหตุผลว่าผู้ที่เกิดก่อนปี 2523 หรืออายุมากกว่า 44 ปีขึ้นไปส่วนใหญ่น่าจะได้รับการปลูกฝีแล้ว(โดยดูได้จากแผลเป็นบนหัวไหล่) แต่ถึงกระนั้นก็ยังพบผู้ที่มีอายุมากกว่า 44 ปีติดโรคฝีดาษลิงได้ โดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีภูมิคุ้มกันในร่างกายบกพร่อง เช่นผู้ป่วยโรคเอดส์เป็นต้น

    อย่างไรก็ตามเนื่องจากฝีดาษที่ได้สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ปี 2523 หรือเป็นเวลา 44 ปี ทำให้ภูมิปัญญาที่เคยรับมือในการรักษาโรคฝีดาษขาดความต่อเนื่อง โดยเฉพาะขั้นตอนการรับมือด้วยสมุนไพร ตำรับยาไทย และกรรมวิธีต่างๆในการรักษา

    ดังนั้นความรู้ที่ว่าคนไทยควรจะรับมือในการรักษาโรคฝีดาษลิงอย่างไร ส่วนใหญ่ก็จะอ้างอิงไปตามพระคัมภีร์ตักกะศิลาในการใช้ยา 3 ขั้นตอนด้วยยา 7 ขนาน หรือยาขาวตามตำรับยาของวัดศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) บ้าง แต่ก็ไม่ใช่กล่าวถึงโรคฝีดาษ หรือฝีดาษลิงเป็นการเฉพาะ

    ทำให้หลายคนสงสัยว่าในเมื่อโรคฝีดาษ เป็นโรคที่ประเทศไทยเคยมีประสบการณ์ในการเกิดโรคระบาดมาหลายร้อยปี ควรจะต้องมี “ตำรับยา“ สำหรับโรคฝีดาษเป็นการเฉพาะหรือไม่

    เมื่อทบทวนข้อมูลตามตำราและคัมภีร์ทั้งหมดพบ ”การรักษาโรคฝีดาษ“ เป็นการเฉพาะจารึกเป็นตำรายาที่ปรากฏในแผ่นศิลาของวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

    โดย ศิลาจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร เป็นมรดกที่แสดงถึงภูมิปัญญาของแพทย์แผนโบราณในสมัยรัชกาลที่ 2 และรัชกาลที่ 3 ที่จารึกยาขนานต่างๆ ลักษณะของแผ่นศิลาจารึกเป็นหินอ่อนสีเทา สี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างด้านละ 33 เซนติเมตร จัดเรียงบรรทัดในมุมแหลม จำนวน 17 บรรทัด เหมือนกันทุกแผ่น ติดตามผนังด้านนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ 42 แผ่น และผนังศาลารายหน้าพระอุโบสถวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร 8 แผ่น เชื่อว่าในอดีตมีแผ่นศิลาจารึก 92 แผ่น แต่ปัจจุบันเหลือเพียง 50 แผ่น

    และนับว่าเป็นความโชคดีของคนไทย เพราะแผ่นศิลาที่กล่าวถึงการรักษาโรคฝีดาษ ยังไม่สูญหายและข้อความที่ปรากฏก็ยังไม่เลือนหายไปด้วย จึงนับว่าเป็นบุญของประเทศที่มีภูมิปัญญาและมีคุณค่ายิ่งในสถานการณ์ที่โรคฝีดาษลิงกลับมาเริ่มระบาดในบางประเทศ และเริ่มเข้ามาในประเทศไทย

    โดยแผ่นศิลาที่กล่าวถึงฝีดาษนั้น เป็นแผนที่ 18 ของศิลาจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ปรากฏข้อความดังนี้

    “๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวฝีดาษเกิดในเดือน 11 เดือน 12 เดือน 1 ทั้ง 3 เดือนนี้ เกิดเพื่ออาโปธาตุ มักให้เย็นในอกแลมักตกมูกตกเลือด ให้เสียแม่แสลงพ่อแสลง นุ่งขาวห่มขาว แล้วทำบัตรไปส่งทิศอุดรแลอีสาร จึ่งจะดี๚

    ถ้าจะแก้ให้เอาใบมะอึก ใบผักบุ้งร้วม ใบผักบุ้งขัน ใบก้างปลาทั้งสอง ใบพุงดา ใบผักขวง ใบหมาก ใบทองพันชั่ง เอาเสมอภาคตำเอาน้ำพ่น ดับฝี เพื่อเสมหะหาย ๚

    ขนานหนึ่ง เอากะทิมะพร้าว น้ำคาวปลาไหล ไข่เป็ดลูกหนึ่ง มูลโคดำ แก่นประดู่ เอาเสมอภาคบด พ่นฝีเพื่อเสมหะที่ด้านอยู่นั้นขึ้นแลแปรฝีร้ายให้เป็นดี ๚

    ขนานหนึ่ง เอาน้ำลูกตำลึง น้ำมันงา น้ำมันหัวกุ้ง น้ำรากถั่วพู เอาเสมอภาค พ่นฝีเพื่อเสมหะให้ยอดขึ้น หนองงามดีนัก๚

    ขนานหนึ่ง เอาเห็ดมูลโค ว่านกีบแรด ว่านร่อนทอง สังกรณี ชะเอม ลูกประคำดีควาย หวายตะค้า เขากวางเผา กระดูกเสือเผา มะกล่ำเครือ ขันฑสกร มะขามเปียก เอาเสมอภาคบดทคำเป็นจุณ บดด้วยน้ำมะนาวทำแท่งไว้ละลายสุรา ดีงูเหลือม รำหัด กินแก้คอแหบแห้ง แก้คอเครือ หายดีนัก๚

    ขนานหนึ่ง เอาใบหิ่งหาย ใบโหระพา ใบผักคราด ใบมะนาว พันงูแดง เอาเสมอภาค บดทำแท่งไว้ละลายสุรากิน แก้พิษฝี เพื่อเสมหะให้คลั่งให้สลบไปก็ดี หายวิเศษแล๚[6]

    ในตำรับยาขนานต่างๆข้างต้นนั้น เป็นยาพ่นภายนอกเสียส่วนใหญ่ ตำรับยาเพื่อการรับประทานที่พอาจะหาได้โดยไม่ต้องอาศัยสัตว์วัตถุคือตำรับยาขนานสุดท้ายที่น่าจะนำไปวิจัยต่อที่ว่า

    ”ขนานหนึ่ง เอาใบหิ่งหาย ใบโหระพา ใบผักคราด ใบมะนาว พันงูแดง เอาเสมอภาค บดทำแท่งไว้ละลายสุรากิน แก้พิษฝี เพื่อเสมหะให้คลั่งให้สลบไปก็ดี หายวิเศษแล๚“ [6]

    นอกจากนั้นจากจารึกวัดราชโอรสราชวรมหาวิหารยังปรากฏในแผ่นที่ 46 ทำให้เห็นว่ายังมีตำรับยาอีกขนานหนึ่งสำหรับโรคฝีดาษที่เป็นไข้หนักเข้าขั้นไข้สันนิบาตแล้วโดยใช้ ”ยาผายเลือด“ ความว่า

    “๏ สิทธิการิยะ ยาผายเลือดเอารากขี้กาแดง 1 เบญจาขี้เหล็ก ใบมะกา ใบมะขาม ใบส้มป่อย หญ้าไซ ลูกคัดเค้า ต้มให้งวดแล้วกรอง เอาน้ำขยำใส่ลงอีกเคี่ยวให้ข้น ปรุงยาดำ 1 สลึง 1 เฟื้อง ดีเกลือ 1 บาท กินประจุเลือดร้ายทั้งปวง แก้ไขสันนิบาตฝีดาษด้วย๚“[7]

    แต่สำหรับศิลาจารึกตำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ในสมัยรัชกาลที่ 3 ก็ได้กล่าวถึงโรคฝีดาษที่มีรายละเอียดในบางอาการเพิ่มเติมอีก เช่น อาการฝีดาษขึ้นตา ปรากฏในศิลาจารึกว่าด้วยตำรายาวิเศษสรรพคุณสำเร็จแก้สรรพโรคทั้งปวงแผ่นที่ 22 ความว่า

    “ยาชื่อ สังขรัศมี เอาชะมดสด พิมเสน สิ่งละส่วน ลิ้นทะเลแช่น้ำมะนาวไว้ยังรุ่งแล้วล้างเสีย จึงเอามาแช่น้ำท่าไว้แต่เช้าถึงเที่ยง แล้วเอาตากให้แห้ง 3 ส่วน รากช้าแป้น ดินถนำสุทธิ สังข์สุทธิ สิ่งละ 4 ส่วน ทำเป็นจุณบดทำแท่งไว้ ฝนป้ายจักษุแก้สรรพต้อให้ปวดเคืองต่างๆ แก้ฝีดาษขึ้นจักษุก็ได้หายวิเศษนักฯ”[8]

    อย่างไรก็ตามการบันทึกในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ในสมัยรัชกาลที่ 3 ยังให้เบาะแสเกี่ยวกับ “สมุนไพรเดี่ยว” ที่เป็นเบาะแสว่าอาจจะมีสรรพคุณในการลดฝีดาษได้ ได้แก่ ข่าลิง บอระเพ็ด ชิงช้าชาลี ฯลฯ[8]

    ดังปรากฏตัวอย่างในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)ในสมัยรัชกาลที่ 3 ว่าด้วยสรรพคุณยา เครื่องเทศและสมุนไพรแผ่นที่ 7 ที่กล่าวถึง “ต้นข่าลิง”แก้พิษฝีดาษ ความว่า

    “อันว่าคุณแห่งข่าลิงนั้น ต้นรู้แก้พิษฝีดาษ และรู้แก้ไข้เหนืออันบังเกิดเพื่อโลหิต รู้แก้ฝีกาฬ อันบังเกิดเพื่อฝีดาษ รู้แก้ไข้ตรีโทษ รู้กระทำให้เกิดกำลัง รู้กระทำเพลิงธาตุให้บริบูรณ์ รู้แก้กระหายน้ำ อันเป็นเพื่อโลหิตและลม รู้แก้สะอึก แก้สมุฏฐานกำเริบ ใบรู้ฆ่าพยาธิ์คือมะเร็ง ดอกรู้ฆ่าพยาธิ์ในอุทรและฟันในหูให้ตก ผลรู้แก้เสมหะอันเป็นพิษ รากรู้แก้โลหิตอันเป็นพิษไข้เหนือสันนิบาตฯ”[9]

    นอกจากนั้นยังปรากฏในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)ในสมัยรัชกาลที่ 3 ว่าด้วยสรรพคุณยา เครื่องเทศ และสมุนไพร แผ่นที่ 14 ซึ่งกล่าวถึง “บอระเพ็ด” และ “ชิงช้าชาลี” ความว่า

    “อันว่าคุณแห่งบอระเพ็ดและชิงช้าชาลีนั้นคุณดุจกัน ต้นรู้แก้ฝีดาษ และรู้แก้ไข้เหนืออันบังเกิดโลหิต รู้แก้ฝีกาฬอันบังเกิดฝีดาษ รู้แก้ไข้ตรีโทษ รู้กระทำให้เกิดกำลัง รู้กระทำเพลิงธาตุให้บริบูรณ์ รู้แก้กระหายน้ำ อันเป็นเพื่อโลหิตและลม รู้แก้สะอึก แก้สมุฏฐานกำเริบ ใบรู้ฆ่าพยาธิ์คือมะเร็ง ดอกรู้ฆ่าพยาธิ์ในอุทรและในฟันในหูให้ตก ผลรู้แก้เสมหะอันเป็นพิษ รากรู้แก้โลหิตอันเป็นพิษเพื่อไข้สันนิบาตฯ”[10]

    นอกจากนั้นสมุนไพรที่มีการวิจัยที่ออกฤทธิ์ต้านไวรัสหลายชนิดในยุคปัจจุบัน ก็ควรจะนำมาสู่การวิจัยกับฝีดาษลิงต่อไป เช่น ขมิ้นชัน ฟ้าทะลายโจร ใบสะเดา กัญชา กัญชง ฝีหมอบ เสลดพังพอนตัวเมีย ฯลฯ

    ดังนั้นการกลับมาของโรคฝีดาษลิง จึงควรให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาในการรักษาที่มีมาแต่ในอดีตรวมถึงความรู้จากการวิจัยในสมุนไพรต่างๆที่มีมากขึ้น ซึ่งควรจะนำมาวิจัยกับไวรัสฝีดาษลิงเอาไว้ล่วงหน้าเพื่อเตรียมประยุกต์ให้เหมาะสมใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันและต่อไปในกาลข้างหน้าด้วยความไม่ประมาท

    ด้วยความปรารถนาดี
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    5 กันยายน 2567
    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1045825823577784/?

    อ้างอิง
    [1] พิชชานันท์ เธียรทองอินทร์ และ รัชฎาพร พิสัยพันธุ์, การวิเคราะห์องค์ความรู้ไข้ตามคัมภีร์ตักศิลา: คัมภีร์ว่าด้วยโรคระบาด, วารสารหมอยาไทยวิจัย, ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2566), หน้า 131-152
    https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ttm/article/view/258845/180094

    [2] โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์), ตำรายา ศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) พระนคร พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จารึกไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ์ ฉบับ พ.ศ.​๒๕๑๖ หน้า ๖๒ - ๖๔

    [3] สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือชุดวรรณกรรมหายาก แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ :ภูมิปัญญาการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ, องค์การการค้าของ สกสค. จัดพิมพ์จำหน่าย พิมพ์ครั้งที่ 4, พ.ศ. 2554 จำนวน 3,000 เล่ม ISBN 978-947-01-9742-3 หน้า 694

    [4] เรื่องเดียวกัน, หน้า 37

    [5] เว็บไซต์กองนวัตกรรมและวิจัย กรมควบคุมโรค, การปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ จุดเริ่มงานควบคุมโรคติดต่อในประเทศไทย
    https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor2//files/การปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ.pdf

    [6] เว็บไซต์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน,จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 18 ด้านที่ 1, จารึกในประเทศไทย, โพสต์เมื่อวันที่ 3 ต.ค. 2557( อัพเดทเมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2567)
    https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/14798

    [7] เว็บไซต์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน,จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แผ่นที่ 46 (ยาผายเลือด) ด้านที่ 1, จารึกในประเทศไทย, โพสต์เมื่อ โพสต์เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558
    https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/16335

    [8] เว็บไซต์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน), จารึกตำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม(ว่าด้วยตำรายาวิเศษสรรพคุณสำเร็จแก้สรรพโรคทั้งปวง แผ่นที่ 22 ยาแก้จักษุโรคคือต้อ(5), จารึกในประเทศไทย, โพสต์เมื่อวันที่ 20 ม.ค. 2560
    https://db.sac.or.th/inscriptions/uploads/file/22-chaksurok-to5-tr2.pdf

    [9] เว็บไซต์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน), จารึกตำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (ว่าด้วยสรรพคุณยา เครื่องเทศ และสมุนไพร แผ่นที่ 7 ท้าวยายม่อม ข่าใหญ่ ข่าลิง กระทือ ไพล กระชาย หอม และกระเทียม) ด้านที่ 1, จารึกในประเทศไทย, โพสต์เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2564
    https://db.sac.or.th/inscriptions/uploads/file/7-thaoyaimom-khayai-khaling-tr1.pdf

    [10] เว็บไซต์ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน), จารึกตำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม, จารึกตำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (ว่าด้วยสรรพคุณยา เครื่องเทศ และสมุนไพร แผ่นที่ 14 แตงหนู ชิงชี่ บอระเพ็ด ชิงช้าชาลี บอระเพ็ดพุงช้าง ผักปอดตัวเมีย ผักปอดตัวผู้ และพลูแก), จารึกในประเทศไทย, โพสต์เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567
    https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/17723
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชมคลิปที่ไม่สามารถเปิดเผยได้ในโซเชียลมีเดียทั่วไป White Clot แท่งย้วยสีขาวในหลอดเลือด หลังฉีดวัคซีน เกิดขึ้นจริงในขณะยังมีชีวิตอยู่
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 1295 0 รีวิว
  • ขอแสดงความยินดีด้วยครับ
    ขอแสดงความยินดีด้วยครับ
    ขอแสดงความยินดีกับ ศาสตราจารย์นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับการประกาศยกย่องให้เป็นสุดยอดนักวิทยาศาสตร์ 2% ของโลก คนใหม่ล่าสุดเดือนกันยายน 2567 ที่มีผลงานที่ส่งผลกระทบในการอ้างอิงทางวิชาการตลอดชีพสูงที่สุด (career-long citation impact) โดยมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา

    ด้วยความยินดีอย่างยิ่ง
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    29 กันยายน 2567
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • ความจริงมีหนึ่งเดียว ครั้งที่ 2 (30 มิ.ย. 67)
    #สมรภูมิฟ้าทะลายโจรสงครามโรคในสงครามโลก
    ไม่ต้องรอให้ระเบิดลงหลังคาบ้านก่อน แล้วค่อยตื่นรู้! เตรียมตัวให้ดี
    ทองคำ อาหาร น้ำดื่ม ยารักษาโรค โดยเฉพาะสมุนไพร อาจารย์ปานเทพ พัวพงพันธ์
    จะมาบอกสิ่งที่พูดไม่ได้ในโซเชียลมีเดีย

    #sondhitalk #sondhix #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิทอล์ค #ควาจริงมีหนึ่งเดียว #สุขภาพ #ปานเทพ #ฟ้าทะลายโจร #สมุนไพรไทย
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 1972 0 รีวิว
  • ร่วมลงชื่อคัดค้านมติ ครม.กรณีฟอกขาวแรงงานพม่า ที่นี่
    https://chng.it/k8kM8CJZYr
    หรือค้นหาใน Google ด้วยคำว่า "คัดค้านแรงงานเถื่อน"

    สื่อสารให้ถูกนะครับ มีการสื่อสารผิดว่าไล่พม่ากลับ จริงๆคือ คัดค้านแรงงงานเถื่อน มติครม. ให้ต่างด้าวทำบัตรถูกกฎหมาย (บัตรสีชมพู) เพื่อทำงานในไทยครับ

    ต้องการรายชื่อประมาณ 50,000 คน เพื่อยื่นต่อศาลทุเลามติ ครม.วันที่ 24 กันยายน 2567
    https://passport.co.th/cabinet-resolution/2024-09-24/

    ปล. คนนึงสามารถลงชื่อให้คนอื่นได้นะครับ แต่ต้องเปลี่ยนอีเมล และต้องใช้ข้อมูลจริงครับ โดยหลังจากลงชื่อแต่ละชื่อแล้ว ที่ด้านบนเว็บ ออกจากระบบบัญชี แล้วสามารถลงชื่อใหม่ได้
    #ไทยไม่ทน #แรงงานต่างด้าว #แรงงานพม่า #มติครม.

    แนวทางในการแก้ปัญหาที่ควรจะเป็นคือนำคนที่เข้ามาผิดกฎหมายทั้งหมด กลับไปและทำ MOU ใหม่แบบสมัยรัฐบาลลุงตู่ เพื่อได้ข้อมูลประวัติของแรงงานที่ถูกต้อง ไม่เป็นอาชญากร หรือกบฏที่รัฐบาลพม่าหมายหัว …ป้องกันความขัดแย้งระหว่างประเทศ
    ร่วมลงชื่อคัดค้านมติ ครม.กรณีฟอกขาวแรงงานพม่า ที่นี่ https://chng.it/k8kM8CJZYr หรือค้นหาใน Google ด้วยคำว่า "คัดค้านแรงงานเถื่อน" สื่อสารให้ถูกนะครับ มีการสื่อสารผิดว่าไล่พม่ากลับ จริงๆคือ คัดค้านแรงงงานเถื่อน มติครม. ให้ต่างด้าวทำบัตรถูกกฎหมาย (บัตรสีชมพู) เพื่อทำงานในไทยครับ ต้องการรายชื่อประมาณ 50,000 คน เพื่อยื่นต่อศาลทุเลามติ ครม.วันที่ 24 กันยายน 2567 https://passport.co.th/cabinet-resolution/2024-09-24/ ปล. คนนึงสามารถลงชื่อให้คนอื่นได้นะครับ แต่ต้องเปลี่ยนอีเมล และต้องใช้ข้อมูลจริงครับ โดยหลังจากลงชื่อแต่ละชื่อแล้ว ที่ด้านบนเว็บ ออกจากระบบบัญชี แล้วสามารถลงชื่อใหม่ได้ #ไทยไม่ทน #แรงงานต่างด้าว #แรงงานพม่า #มติครม. แนวทางในการแก้ปัญหาที่ควรจะเป็นคือนำคนที่เข้ามาผิดกฎหมายทั้งหมด กลับไปและทำ MOU ใหม่แบบสมัยรัฐบาลลุงตู่ เพื่อได้ข้อมูลประวัติของแรงงานที่ถูกต้อง ไม่เป็นอาชญากร หรือกบฏที่รัฐบาลพม่าหมายหัว …ป้องกันความขัดแย้งระหว่างประเทศ
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 133 มุมมอง 214 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • 29 กันยายน 2567-รายงานจากเฟซบุ๊ก ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ กล่าวขอแสดงความยินดีกับ ศาสตราจารย์นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับการประกาศยกย่องให้เป็นสุดยอดนักวิทยาศาสตร์ 2% ของโลก คนใหม่ล่าสุดเดือนกันยายน 2567 ที่มีผลงานที่ส่งผลกระทบในการอ้างอิงทางวิชาการตลอดชีพสูงที่สุด (career-long citation impact) โดยมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา

    ด้วยความยินดีอย่างยิ่ง
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    29 กันยายน 2567

    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1061956778631355/?

    #Thaitimes
    29 กันยายน 2567-รายงานจากเฟซบุ๊ก ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ กล่าวขอแสดงความยินดีกับ ศาสตราจารย์นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับการประกาศยกย่องให้เป็นสุดยอดนักวิทยาศาสตร์ 2% ของโลก คนใหม่ล่าสุดเดือนกันยายน 2567 ที่มีผลงานที่ส่งผลกระทบในการอ้างอิงทางวิชาการตลอดชีพสูงที่สุด (career-long citation impact) โดยมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา ด้วยความยินดีอย่างยิ่ง ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 29 กันยายน 2567 https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1061956778631355/? #Thaitimes
    Like
    Angry
    9
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 213 มุมมอง 0 รีวิว
  • 👍🏻❤️‍🔥 #ความจริง​มี​หนึ่งเดียว ครั้งที่3 #ทีมหน้าจอ ✌🏻😁🖥️
    👍🏻❤️‍🔥 #ความจริง​มี​หนึ่งเดียว ครั้งที่3 #ทีมหน้าจอ ✌🏻😁🖥️
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • ย้อนอดีตเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2554 กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ พระราชทาน “กระต่ายเป่าทรัมโบน” เป็นตราสัญลักษณ์ ของ สำนักงานมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์

    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานภาพฝีพระหัตถ์ "กระต่ายเป่าทรัมโบน" เป็นสัญลักษณ์ ของ สำนักงานมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ (สลช.) เพื่อเป็นสิริมงคลในการดำเนินงานด้านการส่งเสริมและกำกับการพัฒนางานเลี้ยงและใช้สัตว์ เพื่องานทางวิทยาศาสตร์

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/knzSSmrvY6vy62Bp/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    ย้อนอดีตเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2554 กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ พระราชทาน “กระต่ายเป่าทรัมโบน” เป็นตราสัญลักษณ์ ของ สำนักงานมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานภาพฝีพระหัตถ์ "กระต่ายเป่าทรัมโบน" เป็นสัญลักษณ์ ของ สำนักงานมาตรฐานการเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ (สลช.) เพื่อเป็นสิริมงคลในการดำเนินงานด้านการส่งเสริมและกำกับการพัฒนางานเลี้ยงและใช้สัตว์ เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/knzSSmrvY6vy62Bp/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Love
    5
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 186 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอบคุณ🙏ทุกสิ่งอย่างที่มีใน #Thaitimes และเพื่อคนไทยสังคมไทย 👍💛🙏
    ขอบคุณ🙏ทุกสิ่งอย่างที่มีใน #Thaitimes และเพื่อคนไทยสังคมไทย 👍💛🙏
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 168 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอบคุณ🙏ทุกสิ่งอย่างที่มีใน #Thaitimes และเพื่อคนไทยสังคมไทย 👍💛🙏
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
  • สุดยอด
    สุดยอด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • Thaitimes แอปฯ "โซเชียลมีเดีย" ของคนไทย เปิดตัวอย่างเป็นทางการ
    .
    วันนี้ (29 ก.ย.) คุณสนธิ ลิ้มทองกุล กล่าวบนเวทีความจริงมีหนึ่งเดียว ณ หอประชุมเล็กมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ ว่า หลังการเปิดให้ทดลองใช้แอปพลิเคชันสื่อสังคมออนไลน์ไทยไทม์ (Thaitimes) เป็นครั้งแรกตั้งแต่ช่วงปลายเดือนสิงหาคม 2567 ที่ผ่านมา ถึงปัจจุบันเป็นเวลาประมาณหนึ่งเดือนแล้ว มีผู้สมัครเข้าใช้แอปฯ นี้แล้วมากกว่า 2 หมื่นคน
    .
    "จุดเด่นของแอปพลิเคชันไทยไทม์คือมีความเป็นสากล และมีความเป็นท้องถิ่นอยู่ในตัวเอง ซึ่งโซเชียลมีเดียของต่างชาติขาดไป คือ ใช้มาตรฐานเดียวกันหมดทั่วโลก ทั้ง ๆ ที่ทั่วโลกต้งอการความหลากหลาย เหมือนกับแมคโดนัลด์หรือเคเอฟซี ที่เข้ามาในเมืองไทยก็มีเมนูกะเพราขาย" นายสนธิระบุ และระบุว่า สิ่งที่สำคัญคือ โซเชียลมีเดียต่างชาตินั้นรับงานรัฐบาลของตัวเองปิดกั้นข้อมูลข้อเท็จจริง ที่คนไทยหรือคนทั่วโลกควรรับรู้อย่างเช่น เรื่องโควิด-19 วัคซีน ผลกระทบของวัคซีน ซึ่งเป็นเรื่องความเป็นความตายของผู้คนทั่วโลก
    .
    ต่อมา คุณสนธิได้เชิญคุณอาทิตย์ เซกาล และคุณกฤษณะ ผู้อยู่เบื้องหลังในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ขึ้นมาโชว์ตัวบนเวทีด้วย โดยทุกคนมั่นใจว่าแอปฯ นี้จะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับคนไทยในยุคที่แพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ต่างประเทศเซ็นเซอร์ ปิดกั้นข้อมูลข้อเท็จจริง และแสวงหากำไรเกินควร
    .
    ทั้งนี้คุณสนธิคาดการณ์ว่าหลังการเปิดตัวแล้ว แอปฯ Thaitimes ในวันนี้แล้ว ภายในสิ้นปี 2567 จะมีผู้ใช้มากกว่า 5 หมื่นคน ส่วนในปีหน้า 2568 จะแตะหลักแสนคน และอาจจะถึงหลักล้านคนก็เป็นได้
    .
    #Thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • Thaitimes แอปฯ "โซเชียลมีเดีย" ของคนไทย เปิดตัวอย่างเป็นทางการ
    .
    วันนี้ (29 ก.ย.) คุณสนธิ ลิ้มทองกุล กล่าวบนเวทีความจริงมีหนึ่งเดียว ณ หอประชุมเล็กมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ ว่า หลังการเปิดให้ทดลองใช้แอปพลิเคชันสื่อสังคมออนไลน์ไทยไทม์ (Thaitimes) เป็นครั้งแรกตั้งแต่ช่วงปลายเดือนสิงหาคม 2567 ที่ผ่านมา ถึงปัจจุบันเป็นเวลาประมาณหนึ่งเดือนแล้ว มีผู้สมัครเข้าใช้แอปฯ นี้แล้วมากกว่า 2 หมื่นคน
    .
    "จุดเด่นของแอปพลิเคชันไทยไทม์คือมีความเป็นสากล และมีความเป็นท้องถิ่นอยู่ในตัวเอง ซึ่งโซเชียลมีเดียของต่างชาติขาดไป คือ ใช้มาตรฐานเดียวกันหมดทั่วโลก ทั้ง ๆ ที่ทั่วโลกต้งอการความหลากหลาย เหมือนกับแมคโดนัลด์หรือเคเอฟซี ที่เข้ามาในเมืองไทยก็มีเมนูกะเพราขาย" นายสนธิระบุ และระบุว่า สิ่งที่สำคัญคือ โซเชียลมีเดียต่างชาตินั้นรับงานรัฐบาลของตัวเองปิดกั้นข้อมูลข้อเท็จจริง ที่คนไทยหรือคนทั่วโลกควรรับรู้อย่างเช่น เรื่องโควิด-19 วัคซีน ผลกระทบของวัคซีน ซึ่งเป็นเรื่องความเป็นความตายของผู้คนทั่วโลก
    .
    ต่อมา คุณสนธิได้เชิญคุณอาทิตย์ เซกาล และคุณกฤษณะ ผู้อยู่เบื้องหลังในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ขึ้นมาโชว์ตัวบนเวทีด้วย โดยทุกคนมั่นใจว่าแอปฯ นี้จะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับคนไทยในยุคที่แพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ต่างประเทศเซ็นเซอร์ ปิดกั้นข้อมูลข้อเท็จจริง และแสวงหากำไรเกินควร
    .
    ทั้งนี้คุณสนธิคาดการณ์ว่าหลังการเปิดตัวแล้ว แอปฯ Thaitimes ในวันนี้แล้ว ภายในสิ้นปี 2567 จะมีผู้ใช้มากกว่า 5 หมื่นคน ส่วนในปีหน้า 2568 จะแตะหลักแสนคน และอาจจะถึงหลักล้านคนก็เป็นได้
    .
    #Thaitimes
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • กดลิงก์เพื่อรับชมถ่ายทอดสด “ความจริงมีหนึ่งเดียว ครั้งที่ 3” เริ่มถ่ายทอดสด เวลา 13.00 น.

    https://thaitimes.co/livestream
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • #เช็คสุขภาพ จ็อกๆเดินๆ พอไหว 🏃🏾‍♂️‍➡️🏃🏽‍♀️
    #ออกกำลังกาย #กินดีอยู่ดี #entireaging
    #เช็คสุขภาพ จ็อกๆเดินๆ พอไหว 🏃🏾‍♂️‍➡️🏃🏽‍♀️ #ออกกำลังกาย #กินดีอยู่ดี #entireaging
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • แพทย์ในอเมริกาแฉความไร้ประสิทธิภาพ
    ของวัคซีนซึ่งทำให้เกิดสภาวะหัวใจล้มเหลว
    และการปกปิดไม่รายงานข้อมูลตามความเป็นจริง
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 399 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว