• อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 1000
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
    --บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้
    เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน.
    สี่อย่าง อย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :-
    ๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.
    ๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน.

    --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล
    เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ
    ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
    http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส
    ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน
    แล.-

    (การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้
    มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้
    ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้
    : &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ
    #สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ
    เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด
    จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมในรูปขององค์มรรค สัทธรรมลำดับที่ : 1000 ชื่อบทธรรม :- ความหมายเกี่ยวกับมรรคเป็นบทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค ) --บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ :- ๑--&อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อนภิชฺฌา ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๒--&อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=อพฺยาบา ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๓--&สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสติ ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ๔--&สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=สมฺมาสมาธิ ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. --ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย http://etipitaka.com/read/pali/21/38/?keywords=เอกคฺคจิตฺตสฺส ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน แล.- (การที่ทรงยืนยันว่า ธรรมบท ๔ อย่างเหล่านี้ มีมาแต่โบราณ ติดต่อสืบกันมาไม่ขาดสาย โดยไม่มีใครคัดค้าน จนถึงทุกวันนี้ ย่อมเป็นการแสดงว่าต้องมีมารวมอยู่ในคำสอนของพระองค์ในบัดนี้ : &อนภิชฌา และ &อัพยาบาท คือ #สัมมาสังกัปปะ รวมกันกับ สัมมาสติและ สัมมาสมาธิ เป็นสามองค์ในบรรดาองค์มรรคทั้งแปด จึงได้นำข้อความนี้มารวมไว้ในหมวดนี้ อันเป็นหมวดที่รวมแห่งมรรค ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/29/29. http://etipitaka.com/read/thai/21/29/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๗/๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/37/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1000 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=1000 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค )
    -หมวด จ. ว่าด้วย ธรรมชื่ออื่น ( ความหมายเกี่ยวกับมรรค ) บทธรรมเก่าที่อยู่ในรูปขององค์มรรค ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่าง เหล่านี้ เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัด กระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน อันสมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน. สี่อย่าง อย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สี่อย่างคือ : อนภิชฌา เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. อัพยาบาท เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. สัมมาสติ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. สัมมาสมาธิ เป็นธรรมบทที่รับรู้กันว่าเลิศ มีมานาน สืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้รู้ไม่คัดค้าน. ภิกษุ ท. ! ธรรมบท ๔ อย่างนี้แล เป็นธรรมที่รับรู้กันว่าเลิศ รับรู้กันว่ามีมานาน รับรู้ว่าสืบกันมาแต่โบราณ ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย ไม่ถูกเพิกถอน จักไม่ถูกเพิกถอน สมณพราหมณ์ผู้วิญญูชนไม่คัดค้าน แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 75 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    สัทธรรมลำดับที่ : 999
    ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    ...
    ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว
    --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด
    มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว,
    เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร
    เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย
    เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย.
    +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า
    เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง
    เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้.
    +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์
    จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว.
    +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา
    ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว
    พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า
    “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้,
    ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย
    ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป.
    ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่
    : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต
    กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่
    สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”.
    +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์
    ของเธอนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ
    --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ
    ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้,
    รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้,
    เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า
    “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน,
    ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย
    และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย”
    ดังนี้.
    --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์
    ของเธอนั้น,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ
    ดังนี้แล.
    --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97

    (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน
    เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว.
    ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น
    จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว.
    สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น
    ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์;
    ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว
    คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว
    )

    --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา
    +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม
    เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม สัทธรรมลำดับที่ : 999 ชื่อบทธรรม :- การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 เนื้อความทั้งหมด :- --การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ... ---ถูกแล้ว ถูกแล้ว --สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลใน #ตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=ตถาคต --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. +--สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น #วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=วิริยินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. +--สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สตินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สตินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่งโวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. +--สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น #สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=สมาธินฺทฺริ --สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่ สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. +--สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=ปญฺญินฺทฺริ --สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. --สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น #สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, http://etipitaka.com/read/pali/19/300/?keywords=สทฺธินฺทฺริ ดังนี้แล. --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙–๓๐๐/๑๐๑๗–๑๐๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/19/299/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%91%E0%B9%97 (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่ สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว ) --สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=สมฺมา +--สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. http://etipitaka.com/read/pali/24/255/?keywords=สมฺมาญาณํ+สมฺมาวิมุตฺติ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/207/122. http://etipitaka.com/read/thai/24/207/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๕๔/๑๒๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/254/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=999 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม
    -(ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) ; อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙) ; นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๖๙/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี). การทำกิจของอินทรีย์ ในขณะบรรลุธรรม ถูกแล้ว ถูกแล้ว สารีบุตร ! สารีบุตร ! อริยสาวกใด มีความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว, เขาย่อมไม่สงสัยหรือลังเลในตถาคตหรือคำสอนในตถาคต. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธาแล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรมทั้งหลาย เพื่อความถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นผู้มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. สารีบุตร ! ความเพียรเช่นนั้นของอริยสาวกนั้นย่อมเป็น วิริยินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้มีสติ ประกอบพร้อมด้วยสติเป็นเครื่องระวังรักษาตนเป็นอย่างยิ่ง เป็นผู้ระลึกได้ ตามระลึกได้ ซึ่งสิ่งที่ทำและคำที่พูดแม้ นานได้. สารีบุตร ! ความระลึกเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สตินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้แล้ว มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้กระทำแล้วได้ซึ่ง โวสสัคคารมณ์ จักได้ซึ่งความตั้งมั่นแห่งจิต กล่าวคือความที่จิตมีอารมณ์เป็นอันเดียว. สารีบุตร ! ความตั้งมั่นแห่งจิตเช่นนั้นของอริย สาวกนั้น ย่อมเป็น สมาธินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! เมื่ออริยสาวกเป็นผู้มีสัทธา ปรารภความเพียร มีสติเข้าไปตั้งไว้มีจิตตั้งมั่นโดยชอบ แล้ว พึงหวังข้อนี้สืบไปว่า เขาจักเป็นผู้รู้ชัดอย่างนี้ว่า “สังสารวัฏฏ์ เป็นสิ่งที่มีที่สุดอันบุคคลรู้ไม่ได้, ที่สุดฝ่ายข้างต้น ย่อมไม่ปรากฏแก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องผูก กำลังแล่นไป ท่องเที่ยวไป. ความจางคลายดับไปโดยไม่มีเหลือแห่งอวิชชาอันเป็นกองแห่งความมืดนั้นเสียได้ มีอยู่ : นั่นเป็นบทที่สงบ นั่นเป็นบทที่ประณีต กล่าวคือธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง เป็นที่สลัดคืนซึ่งอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นความจางคลาย เป็นความดับ เป็นนิพพาน”. สารีบุตร ! ความรู้ชัดเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น ปัญญินทรีย์ ของเธอนั้น. สารีบุตร ! อริยสาวกนั้นนั่นแหละ ตั้งไว้แล้ว ตั้งไว้แล้ว (ซึ่งวิริยะ) ด้วยอาการอย่างนี้, ระลึกแล้ว ระลึกแล้ว (ด้วยสติ) ด้วยอาการอย่างนี้, ตั้งมั่นแล้ว ตั้งมั่นแล้ว (ด้วยสมาธิ) ด้วยอาการอย่างนี้, รู้ชัดแล้ว รู้ชัดแล้ว (ด้วยปัญญา) ด้วยอาการอย่างนี้, เขาย่อมเชื่ออย่างยิ่ง อย่างนี้ว่า “ธรรมเหล่าใดเป็นธรรมที่เราเคยฟังแล้วในกาลก่อน, ในบัดนี้ เราถูกต้องธรรมเหล่านั้นด้วยนามกายแล้วแลอยู่ ด้วย และแทงตลอดธรรมเหล่านั้นด้วยปัญญาแล้วเห็นอยู่ ด้วย” ดังนี้. สารีบุตร ! ความเชื่อเช่นนั้นของอริยสาวกนั้น ย่อมเป็น สัทธินทรีย์ ของเธอนั้น, ดังนี้แล. มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๙๙ – ๓๐๐/๑๐๑๗ – ๑๐๒๒. (ข้อควรสังเกตอย่างยิ่งในกรณีนี้ คือข้อที่สัทธินทรีย์ทำกิจของตน เมื่ออินทรีย์ทั้งสี่นอกนั้นทำกิจเสร็จแล้ว. ข้อนี้หมายความว่า สิ่งที่เรียกว่าสัทธาหรือความเชื่อนั้น จะถึงที่สุดก็ต่อเมื่อทำกิจอันบุคคลนั้นจะต้องทำนั้นๆ ประสบผลสำเร็จแล้ว. สัทธาที่เกิดขึ้นเป็นตัวนำในเบื้องต้น ดังที่แสดงอยู่ในหมวดธรรมต่างๆนั้น ยังมิใช่สัทธาที่สมบูรณ์; ทำให้กล่าวได้ว่า สัทธาสมบูรณ์ปรากฏแก่จิตใจต่อเมื่อบรรลุมรรคผลแล้ว คือประกอบอยู่ในญาณที่เห็นความหลุดพ้นของตนแล้ว). สัมมัตตะ เป็นธรรมเครื่องสิ้นอาสวะ ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย. สิบประการอย่างไรเล่า ? สิบประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะทั้งหลาย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมาธิ…ไม่ใช่แค่พักใจ แต่คือก้าวแรกของการหลุดพ้น

    หลายคนอยากมีสมาธิ
    แต่ไม่รู้เลยว่า “สมาธิที่ใช่”
    จะพาให้ชีวิตเปลี่ยนจากโลกที่ผูกพัน
    ไปสู่โลกที่ใจเบาสบายไร้พันธนาการ

    ---

    คนทั่วไป…มีแต่จิตฟุ้งซ่าน

    เราถูกสอนให้ใช้สมองคิด
    แต่ไม่เคยถูกสอนให้รู้ว่า “สมองที่คิดเรื่อยเปื่อย”
    ก็คือ จิตฟุ้งซ่าน รูปแบบหนึ่ง

    คนจำนวนมาก
    เข้าใจว่าการมีชีวิตคือการไขว่คว้า
    จิตจึงไม่รู้จักนิ่ง ไม่รู้จักหยุด
    วิ่งตาม “ความอยาก” โดยไม่มีวันถึงฝั่ง

    ---

    แต่ถ้าจิตรวมเป็นสมาธิเมื่อใด…โลกใหม่จะเปิดออกทันที

    สมาธิที่แท้ คือจิตที่นิ่ง เด่น ดวงเดียว
    ตั้งมั่นพอจนไม่ไหลตามความอยาก
    ไม่ฟุ้งตามความกลัว
    ไม่เหวี่ยงไปตามเรื่องเล่าในหัว

    สมาธิไม่ใช่การ “คิดให้น้อยลง”
    แต่คือการ “คิดแบบมีทิศทาง”
    คือคิดแบบเห็นโลกตามที่มันเป็น
    ไม่ใช่แบบที่เราอยากให้มันเป็น

    ---

    พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในมหาจัตตารีสกสูตรว่า

    สมาธิที่เป็นสัมมาสมาธิ
    ต้องมี สัมมาทิฏฐิ เป็นประธาน
    ไม่ใช่สมาธิแบบคิดจะใช้จิตไปทำร้ายใคร
    หรือสมาธิเพื่อขอพลังพิเศษเอาชนะคนอื่น

    ---

    สัมมาทิฏฐิ คือหัวใจของการปฏิบัติธรรม

    ถ้าคุณนั่งสมาธิ แล้วใจยังเชื่อว่า

    ทำดีไม่มีผล

    ตายแล้วสูญ

    กรรมไม่มีผล

    พระพุทธเจ้าไม่มีจริง

    โลกหน้าคือเรื่องหลอกเด็ก

    สมาธิของคุณจะเหมือนปลูกต้นไม้ในดินเค็ม
    ไม่มีวันเติบโตไปถึงนิพพานได้

    ---

    แต่ถ้าคุณนั่งสมาธิแล้วเห็นว่า...

    โลกนี้มีผลแห่งกรรมจริง

    สิ่งที่เกิดล้วนเป็นผลของเหตุ

    กายใจนี้ไม่ใช่ของเราจริง

    ทุกสิ่งล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป

    และแม้ความคิดในหัว…ก็แค่แวบหนึ่งของกระแสธรรมดา

    คุณจะเริ่มเข้าใจว่า “ภพ” ไม่ได้อยู่ที่ไหน
    ภพอยู่ตรงที่คุณยึดติดกับกายนี้ ใจนี้ ความคิดนี้ว่าเป็น “ตัวเรา”

    ---

    สมาธิที่แท้…จึงไม่ใช่แค่หลบความเครียด

    แต่คือการค่อยๆ

    ถอดออกจากอุปาทาน

    ปลดจากพันธนาการของความเชื่อผิด

    ปลุกตนให้ตื่นจากภวังค์ของความเป็นตัวตน

    เมื่อสมาธิมาพร้อมสัมมาทิฏฐิ
    แม้กระทั่งความคิดที่ผ่านสมอง
    ก็จะกลายเป็นแค่ “ภาพมายา” ที่มาแล้วไป
    ไม่ใช่คำสั่งสุดท้ายของชีวิตอีกต่อไป

    ---

    ชาตินี้…กายใจนี้ อาจกลายเป็นกุญแจปลดล็อกทุกภพชาติ

    สมาธิแบบนี้
    คือสมาธิที่พระพุทธเจ้ารับรอง
    ว่าเป็นทางเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้จริง

    ไม่ใช่สมาธิที่มีไว้แค่พักใจ
    แต่คือ “ลูกไฟที่เผาผลาญกิเลส”
    พร้อมเปิดทางให้คุณเป็นอิสระจากทุกภพทุกชาติ
    สมาธิ…ไม่ใช่แค่พักใจ แต่คือก้าวแรกของการหลุดพ้น หลายคนอยากมีสมาธิ แต่ไม่รู้เลยว่า “สมาธิที่ใช่” จะพาให้ชีวิตเปลี่ยนจากโลกที่ผูกพัน ไปสู่โลกที่ใจเบาสบายไร้พันธนาการ --- คนทั่วไป…มีแต่จิตฟุ้งซ่าน เราถูกสอนให้ใช้สมองคิด แต่ไม่เคยถูกสอนให้รู้ว่า “สมองที่คิดเรื่อยเปื่อย” ก็คือ จิตฟุ้งซ่าน รูปแบบหนึ่ง คนจำนวนมาก เข้าใจว่าการมีชีวิตคือการไขว่คว้า จิตจึงไม่รู้จักนิ่ง ไม่รู้จักหยุด วิ่งตาม “ความอยาก” โดยไม่มีวันถึงฝั่ง --- แต่ถ้าจิตรวมเป็นสมาธิเมื่อใด…โลกใหม่จะเปิดออกทันที สมาธิที่แท้ คือจิตที่นิ่ง เด่น ดวงเดียว ตั้งมั่นพอจนไม่ไหลตามความอยาก ไม่ฟุ้งตามความกลัว ไม่เหวี่ยงไปตามเรื่องเล่าในหัว สมาธิไม่ใช่การ “คิดให้น้อยลง” แต่คือการ “คิดแบบมีทิศทาง” คือคิดแบบเห็นโลกตามที่มันเป็น ไม่ใช่แบบที่เราอยากให้มันเป็น --- พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในมหาจัตตารีสกสูตรว่า สมาธิที่เป็นสัมมาสมาธิ ต้องมี สัมมาทิฏฐิ เป็นประธาน ไม่ใช่สมาธิแบบคิดจะใช้จิตไปทำร้ายใคร หรือสมาธิเพื่อขอพลังพิเศษเอาชนะคนอื่น --- สัมมาทิฏฐิ คือหัวใจของการปฏิบัติธรรม ถ้าคุณนั่งสมาธิ แล้วใจยังเชื่อว่า ทำดีไม่มีผล ตายแล้วสูญ กรรมไม่มีผล พระพุทธเจ้าไม่มีจริง โลกหน้าคือเรื่องหลอกเด็ก สมาธิของคุณจะเหมือนปลูกต้นไม้ในดินเค็ม ไม่มีวันเติบโตไปถึงนิพพานได้ --- แต่ถ้าคุณนั่งสมาธิแล้วเห็นว่า... โลกนี้มีผลแห่งกรรมจริง สิ่งที่เกิดล้วนเป็นผลของเหตุ กายใจนี้ไม่ใช่ของเราจริง ทุกสิ่งล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป และแม้ความคิดในหัว…ก็แค่แวบหนึ่งของกระแสธรรมดา คุณจะเริ่มเข้าใจว่า “ภพ” ไม่ได้อยู่ที่ไหน ภพอยู่ตรงที่คุณยึดติดกับกายนี้ ใจนี้ ความคิดนี้ว่าเป็น “ตัวเรา” --- สมาธิที่แท้…จึงไม่ใช่แค่หลบความเครียด แต่คือการค่อยๆ ถอดออกจากอุปาทาน ปลดจากพันธนาการของความเชื่อผิด ปลุกตนให้ตื่นจากภวังค์ของความเป็นตัวตน เมื่อสมาธิมาพร้อมสัมมาทิฏฐิ แม้กระทั่งความคิดที่ผ่านสมอง ก็จะกลายเป็นแค่ “ภาพมายา” ที่มาแล้วไป ไม่ใช่คำสั่งสุดท้ายของชีวิตอีกต่อไป --- ชาตินี้…กายใจนี้ อาจกลายเป็นกุญแจปลดล็อกทุกภพชาติ สมาธิแบบนี้ คือสมาธิที่พระพุทธเจ้ารับรอง ว่าเป็นทางเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้จริง ไม่ใช่สมาธิที่มีไว้แค่พักใจ แต่คือ “ลูกไฟที่เผาผลาญกิเลส” พร้อมเปิดทางให้คุณเป็นอิสระจากทุกภพทุกชาติ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 65 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    สัทธรรมลำดับที่ : 998
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ
    ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง
    ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง
    ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง
    ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง
    ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง,
    นี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :
    +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ;
    +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา .
    (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด
    เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด,
    ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า
    (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
    สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
    สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . .
    ชนิดที่
    มีวิเวกอาศัยแล้ว
    มีวิราคะอาศัยแล้ว
    มีนิโรธอาศัยแล้ว
    มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล
    (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).-

    (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ
    ฯลฯ
    อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ

    ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
    โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
    โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97

    อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
    อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
    อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99

    นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน
    --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
    ดังนี้ก็มี
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 998 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือ ลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : +--แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; +--แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ . . . . ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).- (ในพระบาลีสูตรอื่นๆ แสดงลักษณะแห่งสัมมาทิฏฐิ ฯลฯ อันเป็นองค์แห่งอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปคือ ราคปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๗ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๖๙/๒๖๙ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน --มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๐/๒๗๑ ; http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 ดังนี้ก็มี ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/74/282–284. http://etipitaka.com/read/thai/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๔/๒๘๒–๒๘๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/74/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=998 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว--ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว
    -(ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่นคือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗) : อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วยความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วยปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วยอวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยการดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วยวิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วยอริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วยสมถะและวิปัสสนา. ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน). อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำให้โพธิปักขิยธรรมสมบูรณ์ไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนในอากาศ ย่อมมีลมชนิดต่างๆพัดไปมา; คือลมทางทิศตะวันออกพัดไปบ้าง ลมทางทิศตะวันตกพัดไปบ้าง ลมทางทิศเหนือพัดไปบ้าง ลมทางทิศใต้พัดไปบ้าง ลมมีธุลีพัดไปบ้าง ลมไม่มีธุลีพัดไปบ้าง ลมหนาวพัดไปบ้าง ลมร้อนพัดไปบ้าง ลมอ่อนพัดไปบ้าง ลมแรงพัดไปบ้าง, นี้ฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น, กล่าวคือ เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : แม้ สติปัฏฐานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ สัมมัปปธานสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อิทธิบาทสี่ ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ อินทรีย์ห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ พละห้า ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา ; แม้ โพชฌงค์เจ็ด ก็ถึงซึ่งความบริบูรณ์แห่งภาวนา . (ธรรมเหล่านี้ ครบอยู่ทั้ง ๖ ชนิด เช่นเดียวกับที่ในอากาศ มีลมพัดอยู่ ครบทุกชนิด, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างไรเล่า (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญกระทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่อย่างนี้แล (ธรรม ๖ ชนิดนั้น จึงถึงความบริบูรณ์แห่งภาวนา).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 82 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    สัทธรรมลำดับที่ : 997
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก
    มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง
    มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง
    มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี
    มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี
    (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด;
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :-
    +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ;
    +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้.
    (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น
    ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง
    เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น).
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์;
    กล่าวคือ
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร,
    ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น
    #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ?
    คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า
    (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ?
    --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ
    สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . .
    สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . .
    สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ
    ชนิดที่
    มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล
    (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).-

    (----+
    ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น
    ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ
    ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่;
    แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ
    ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง,
    ดังนี้ก็มี;
    ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด.
    +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น
    วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี;
    มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น
    ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน,
    โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน,
    โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗);
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97
    อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ,
    อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ,
    อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙);
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙
    http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99
    นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน,
    นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ;
    ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑
    http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91
    แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน.
    +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ
    วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้
    แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป
    วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น;
    วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา;
    วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา
    สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ;
    วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค
    ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา.
    +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว
    ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน
    +----).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86
    ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษาอัฏฐังคิกมรรคเป็นการทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว สัทธรรมลำดับที่ : 997 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขก มาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค :- +--ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; +--ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงละ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้แจ้ง ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. --ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น #ธรรมอันพึงทำให้เจริญ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? --ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญ สัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. --ภิกษุ ท. ! #เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).- (----+ ธรรม ๔ อย่างในสูตรนี้ เรียงลำดับไว้เป็น ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ ตรงกับหลักธรรมดาทั่วๆไป ของอริยสัจสี่; แต่มีสูตรอื่น (อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙) เรียงลำดับไว้เป็นอย่างอื่น คือ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี; ---อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๔/๘๒๙ http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 แต่ก็ยังคงเป็นอริยสัจสี่ได้อยู่นั่นเอง ไม่มีผลเป็นการขัดแย้งกันแต่ประการใด. +--พระบาลีในสูตรนี้ แสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคไว้เป็น วิเวกนิสฺสิต วิราคนิสฺสิต นิโรธนิสฺสิต โวสฺสคฺคปริณามี; มีสูตรอื่นๆแสดงลักษณะของอริยอัฏฐังคิกมรรคในกรณีเช่นนี้ แปลกออกไปเป็น ราควินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน, โทสวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน, โมหวินยปริโยสาน : มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๗); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๗ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%97 อมโตคธ : หยั่งลงสู่อมตะ, อมตปรายน : มีเบื้องหน้าเป็นอมตะ, อมตปริโยสาน : มีอมตะเป็นปริโยสาน (๑๙/๖๙/๒๖๙); ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๖๙/๒๖๙ http://etipitaka.com/read/pali/19/69/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%99 นิพฺพานนินฺน : เอียงไปสู่นิพพาน, นิพฺพานโปณ : โน้มไปสู่นิพพาน, นิพฺพานปพฺภาร : เงื้อมไปสู่นิพพาน (๑๙/๗๐/๒๗๑) ; ดังนี้ก็มี ; ---สํยุตฺต. ม. ๑๙/๗๐/๒๗๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/70/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%91 แม้โดยพยัญชนะจะต่างกัน แต่ก็มุ่งไปยังความหมายอย่างเดียวกัน. +--ข้อควรสังเกตอีกอย่างหนึ่งก็คือ วัตถุแห่งกิจของอริยสัจในสูตรนี้ แสดงไว้ต่างจากสูตรที่รู้กันอยู่ทั่วไป, คือสูตรทั่วๆไป วัตถุแห่งการกำหนดรู้ แสดงไว้ด้วย ความทุกข์ทุกชนิด สูตรนี้แสดงไว้ด้วย ปัญจุปาทานขันธ์เท่านั้น; วัตถุแห่งการละ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย ตัณหาสาม สูตรนี้แสดงไว้ด้วย อวิชชาและภวตัณหา; วัตถุแห่งการทำให้แจ้ง สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย การดับแห่งตัณหา สูตรนี้แสดงไว้ด้วย วิชชาและวิมุตติ; วัตถุแห่งการทำให้เจริญ สูตรทั่วๆไปแสดงไว้ด้วย อริยอัฏฐังคิกมรรค ส่วนในสูตรนี้แสดงไว้ด้วย สมถะและวิปัสสนา. +--ถ้าผู้ศึกษาเข้าใจความหมายของคำที่แสดงไว้แต่ละฝ่ายอย่างทั่วถึงแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าไม่ขัดขวางอะไรกัน +----). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/76-77/290-295. http://etipitaka.com/read/thai/19/76/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๗๗-๗๘/๒๙๐-๒๙๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/77/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%90 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86&id=997 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=86 ลำดับสาธยายธรรม : 86 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_86.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว-ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว
    -(ข้อนี้หมายความว่า เมื่อมีการปฏิบัติอยู่อย่างนี้ ผลย่อมเกิดขึ้นเป็นการน้อมไปเพื่อนิพพานอยู่ในตัวโดยไม่ต้องเจตนา เหมือนแม่ไก่ฟักไข่อย่างดีแล้ว ลูกไก่ย่อมออกมาเป็นตัวโดยที่แม่ไก่ไม่ต้องเจตนาให้ออกมา, ฉันใดก็ฉันนั้น. ขอให้พิจารณาดูให้ดี จงทุกคนเถิด). หมวด ง. ว่าด้วย การทำหน้าที่ของมรรค อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนรับรองแขก มีอยู่. ณ เรือนนั้น มีแขกมาจากทิศตะวันออก พักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศตะวันตกพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศเหนือพักอาศัยอยู่บ้าง มาจากทิศใต้พักอาศัยอยู่บ้าง มีแขกวรรณะกษัตริย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะพราหมณ์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะแพศย์มาพักอยู่ก็มี มีแขกวรรณะศูทรมาพักอยู่ก็มี (ในเรือนหลังเดียวพักกันอยู่ได้ถึงสี่วรรณะ จากสี่ทิศ ดังนี้), นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ภิกษุเมื่อเจริญทำให้มากอยู่ซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรค : ย่อม กำหนดรู้ ซึ่งธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ละ ซึ่งธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้แจ้ง ซึ่งธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งได้ ; ย่อม ทำให้เจริญ ซึ่งธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งได้. (หมายความว่า ในการเจริญอริยมรรคเพียงอย่างเดียวนั้น ย่อมมี การกระทำ และ ผลแห่งการกระทำ รวมอยู่ถึงสี่อย่าง เช่นเดียวกับเรือนหลังเดียวมีคนพักรวมอยู่ ๔ พวก, ฉันใดก็ฉันนั้น). ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า ปัญจุปาทานขันธ์; กล่าวคือ ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ รูป, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ เวทนา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สัญญา, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ สังขาร, ขันธ์เป็นที่ยึดมั่นคือ วิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงละด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า อวิชชา และ ภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า วิชชา และ วิมุตติ. ภิกษุ ท. ! ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็น ธรรมอันพึงทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง ? คำตอบพึงมีว่า สมถะ และ วิปัสสนา. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ เจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างไรเล่า (จึงจะ มีผล ๔ ประการนั้น) ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุย่อมเจริญสัมมาทิฏฐิ . . . . สัมมาสังกัปปะ . . . . สัมมาวาจา . . . . สัมมากัมมันตะ . . . . สัมมาอาชีวะ . . . . สัมมาวายามะ . . . . สัมมาสติ . . . . สัมมาสมาธิ ชนิดที่ มีวิเวกอาศัยแล้ว มีวิราคะอาศัยแล้ว มีนิโรธอาศัยแล้ว มีปกติน้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเจริญทำให้มากซึ่งอริยอัฏฐังคิกมรรคอยู่ อย่างนี้แล (จึงมีผล ๔ ประการนั้น).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 154 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 629
    ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ
    --ภิกษุ ท. !
    +--เมื่อภิกษุมี ๑.ศีล ถึงพร้อมด้วยศีล,
    สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    +--เมื่อ ๒.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ;
    +--เมื่อ ๓.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ;
    +--เมื่อ ๔.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่,
    ๕.#วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย
    แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสน

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้
    สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบ(ศีล)​แล้ว
    แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้(สัมมาสมาธิ)​นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    แม้เปลือก(ยถาภูตญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์;
    แม้กระพี้(นิพพิทาวิราคะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    แม้แก่น(วิมุตติญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ;
    ฉันใดก็ฉันนั้น.

    (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัย(ตรงข้าม)​ต่อข้อความนี้
    ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/19/24.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๑/๒๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=629
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 629 ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! +--เมื่อภิกษุมี ๑.ศีล ถึงพร้อมด้วยศีล, สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; +--เมื่อ ๒.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ; +--เมื่อ ๓.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ; +--เมื่อ ๔.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, ๕.#วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/22/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสน --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบ(ศีล)​แล้ว แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้(สัมมาสมาธิ)​นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้เปลือก(ยถาภูตญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์; แม้กระพี้(นิพพิทาวิราคะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้แก่น(วิมุตติญาณทัสสนะ)​ก็ถึงความบริบูรณ์ ; ฉันใดก็ฉันนั้น. (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัย(ตรงข้าม)​ต่อข้อความนี้ ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/19/24. http://etipitaka.com/read/thai/22/19/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๑/๒๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/21/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=629 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=629 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม : 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อีกนัยหนึ่ง)
    -(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุ มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีล, สัมมาสมาธิของเธอย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อสัมมาสมาธิมีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรม ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยสัมมาสมาธินั้น ; เมื่อยถาภูตญาณทัสสนะมีอยู่, นิพพิทาวิราคะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ; เมื่อนิพพิทาวิราคะมีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ย่อมเป็นธรรมถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย แก่ผู้ถึงพร้อมด้วยนิพพิทาวิราคะ. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนต้นไม้ สมบูรณ์ด้วยกิ่งและใบแล้ว แม้สะเก็ดเปลือกของต้นไม้นั้น ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้เปลือกก็ถึงความบริบูรณ์; แม้กระพี้ก็ถึงความบริบูรณ์ ; แม้แก่นก็ถึงความบริบูรณ์ ; ฉันใดก็ฉันนั้น. (ข้อความฝ่าย ปฏิปักขนัยต่อข้อความนี้ ก็ได้ตรัสไว้ในลักษณะที่ผู้ศึกษาพึงกำหนดได้เอง จึงไม่นำมาใส่ไว้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 69 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 628
    ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ

    --ภิกษุ ท. ! เมื่อ ๑.มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว,
    อวิปปฏิสาร*--๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=อวิปฺปฏิสาร
    --เมื่อ ๒.อวิปปฏิสาร มีอยู่,
    ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร
    ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๓.ความปราโมทย์ มีอยู่,
    ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์
    ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๔.ปีติ มีอยู่,
    ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ
    ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๕.ปัสสัทธิ มีอยู่,
    สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๖.สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข
    ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๗.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ
    ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๘.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ
    ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๙.นิพพิทา มีอยู่,
    วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา
    ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    --เมื่อ ๑๐.วิราคะ มีอยู่,
    วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ
    ก็เป็น #วิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/24/339/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ
    ...
    *--๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ.

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​#พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/291/210.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/291/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๓๘/๒๑๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=628
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิมุตติญาณทัสสนะ สัทธรรมลำดับที่ : 628 ชื่อบทธรรม :- วิมุตติญาณทัสสนะ(อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกนัยหนึ่ง)วิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! เมื่อ ๑.มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว, อวิปปฏิสาร*--๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=อวิปฺปฏิสาร --เมื่อ ๒.อวิปปฏิสาร มีอยู่, ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๓.ความปราโมทย์ มีอยู่, ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์ ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๔.ปีติ มีอยู่, ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๕.ปัสสัทธิ มีอยู่, สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๖.สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๗.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๘.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๙.นิพพิทา มีอยู่, วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; --เมื่อ ๑๐.วิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ ก็เป็น #วิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.- http://etipitaka.com/read/pali/24/339/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ ... *--๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ. #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก​#พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. 24/291/210. http://etipitaka.com/read/thai/24/291/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๓๘/๒๑๐. http://etipitaka.com/read/pali/24/338/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=628 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=628 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อีกนัยหนึ่ง)
    -(อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อ มีศีล ถึงพร้อมด้วยศีลแล้ว, อวิปปฏิสาร๑ ก็ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ อวิปปฏิสาร มีอยู่, ความปราโมทย์ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอวิปปฏิสาร ก็เป็นปราโมทย์ถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ความปราโมทย์ มีอยู่, ปีติของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยความปราโมทย์ ก็เป็นปีติถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ปีติ มีอยู่, ปัสสัทธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปีติ ก็เป็นปัสสัทธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ปัสสัทธิ มีอยู่, สุขของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัสสัทธิ ก็เป็นสุขถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สุข มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสุข ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; ๑. อวิปปฏิสาร หมายถึง ความที่ไม่มีอะไรเป็นเครื่องร้อนใจ รังเกียจ เกลียดชัง อยู่ในใจของตน จนเสียสมาธิ. เมื่อ ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทาของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ นิพพิทา มีอยู่, วิราคะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทา ก็เป็นวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ วิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวิราคะ ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 108 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ากระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 627
    ชื่อบทธรรม :-​ กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    --ภิกษุ ท. !
    -เมื่อ ๑.สติสัมปชัญญะ มีอยู่,
    หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว
    ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย*--๑;
    -เมื่อ ๒.หิริและโอตตัปปะ มีอยู่,
    อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ
    ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๓.อินทรียสังวร มีอยู่,
    สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร
    ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๔.สีล มีอยู่,
    สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล
    ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๕.สัมมาสมาธิ มีอยู่,
    ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ
    ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๖.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่,
    นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ
    ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ;
    -เมื่อ ๗.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่,
    วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ
    #ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ
    *--๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย
    แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่.

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/271/187.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97
    ศึกษาเพื่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=627
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43
    ลำดับสาธยายธรรม :- 43​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่ากระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ สัทธรรมลำดับที่ : 627 ชื่อบทธรรม :-​ กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627 เนื้อความทั้งหมด :- --กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ --ภิกษุ ท. ! -เมื่อ ๑.สติสัมปชัญญะ มีอยู่, หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย*--๑; -เมื่อ ๒.หิริและโอตตัปปะ มีอยู่, อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๓.อินทรียสังวร มีอยู่, สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๔.สีล มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๕.สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๖.ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; -เมื่อ ๗.นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ #ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.- http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=วิมุตฺติญาณทสฺสนํ *--๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่. #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. 23/271/187. http://etipitaka.com/read/thai/23/271/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฎฺฐก. อํ. ๒๓/๓๔๘/๑๘๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/348/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%97 ศึกษาเพื่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=627 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43&id=627 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=43 ลำดับสาธยายธรรม :- 43​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_43.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ
    -กระแสการปรุงแต่งแห่งการเกิดวิมุตติญาณทัสสนะ ภิกษุ ท. ! เมื่อ สติสัมปชัญญะ มีอยู่, หิริและโอตตัปปะของผู้มีสติสัมปชัญญะอันถึงพร้อมแล้ว ก็เป็นหิริโอตตัปปะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย๑; เมื่อ หิริและโอตตัปปะ มีอยู่, อินทรียสังวรของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยหิริและโอตตัปปะ ก็เป็นอินทรีย์สังวรถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ อินทรียสังวร มีอยู่, สีลของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอินทรียสังวร ก็เป็นสีลถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สีล มีอยู่, สัมมาสมาธิของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสีล ก็เป็นสัมมาสมาธิถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ สัมมาสมาธิ มีอยู่, ยถาภูตญาณทัสสนะของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ ก็เป็นยถาภูตญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; เมื่อ ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอยู่, นิพพิทา วิราคะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยยถาภูตญาณทัสสนะ ก็เป็นนิพพิทาวิราคะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย ; ๑. อุปนิสัย หมายถึง ที่ตั้งที่อาศัยสำหรับเข้าไปตั้งเข้าไปอาศัย แล้วสามารถทำหน้าที่ของตนได้เต็มที่. เมื่อ นิพพิทาวิราคะ มีอยู่, วิมุตติญาณทัสสนะ ของผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิพพิทาวิราคะ ก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะถึงพร้อมด้วยอุปนิสัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 142 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 994
    ชื่อบทธรรม :- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปุริสปุคฺคลํ
    ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ?
    --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : -
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ภิกฺขุ+อเสขาย+สมฺมาทิฏฺฐิยา
    +--ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ;
    +--ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ;
    --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล
    ว่าเป็น #สมณะผู้มีกุศลถึงพร้อมมีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.-
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปรมกุสลํ+อุตฺตมปฺปตฺติปตฺตํ+สมณํ+อโยชฺฌนฺติ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/269/366.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/269/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๕๑/๓๖๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=994
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ สัทธรรมลำดับที่ : 994 ชื่อบทธรรม :- ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปุริสปุคฺคลํ ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ? --ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : - http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ภิกฺขุ+อเสขาย+สมฺมาทิฏฺฐิยา +--ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ; +--ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ; --ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่านี้แล ว่าเป็น #สมณะผู้มีกุศลถึงพร้อมมีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.- http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=ปรมกุสลํ+อุตฺตมปฺปตฺติปตฺตํ+สมณํ+อโยชฺฌนฺติ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/269/366. http://etipitaka.com/read/thai/13/269/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๓๕๑/๓๖๖. http://etipitaka.com/read/pali/13/351/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%96 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=994 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=994 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ
    -(องค์คุณทั้งหกประการนี้ จำเป็นแก่ผู้เป็นธรรมกถึกทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับธรรมกถึกแห่งยุคนี้ ขอได้โปรดพิจารณาปรับปรุงตนเองให้มีคุณะรรมเหล่านี้ครบถ้วนเถิด). ธรรมอันเป็นที่สุดของสมณะปฏิบัติ ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เหล่าไหนเล่า ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดม ไม่แพ้ใคร ? ถปติ ! ภิกษุในกรณีนี้ : ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสังกัปปะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวาจา อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมากัมมันตะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาอาชีวะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวายามะ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสติ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาสมาธิ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาญาณ อันเป็นอเสขะ ; ประกอบด้วยสัมมาวิมุตติ อันเป็นอเสขะ ; ถปติ ! เราบัญญัติบุรุษบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้แล ว่าเป็นสมณะผู้มีกุศลถึงพร้อม มีกุศลอย่างยิ่ง ถึงธรรมที่ควรบรรลุอันอุดมไม่แพ้ใคร.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    สัทธรรมลำดับที่ : 992
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ
    การแสวงหากาม (กาเมสนา)
    การแสวงหาภพ (ภเวสนา)
    การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา).
    +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.
    อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ
    สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ...
    สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ .....
    สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ .....
    ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง.
    +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล
    บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค.

    [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้
    ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้
    ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี
    ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี.
    +--สำหรับคำว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น
    ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า
    เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ
    เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน
    หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน
    ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี.
    +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้
    หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส
    เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ.
    +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา)
    ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น
    สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน
    ได้แก่ : -
    +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา)
    ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน)
    ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา)
    ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ
    สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ;
    +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน
    คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา)
    ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.
    ]-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด สัทธรรมลำดับที่ : 992 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด --ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). +--ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=อภิญฺญา บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญ สัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ..... ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. +--ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. +--สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. +--สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึง พรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. +--สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : - +--วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วย กาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; +--อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือ รูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจะ มานะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี. ]- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/79 - 80/298 - 354. http://etipitaka.com/read/thai/19/79/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๑ - ๙๒/๒๙๘ - ๓๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/81/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=992 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด
    -(ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็นสัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบ หรือ มิจฉัตตะสิบ โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี. -๒๑/๓๐๓/๒๐๖. ในสูตรอื่น แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี -๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘, และ ทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี - ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ; ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก. ในสูตรอื่น แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบ หรือมัจฉัตตะสิบ เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้ แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี -๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.) อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่แน่นอนว่าป้องกันการแสวงหาผิด ภิกษุ ท. ! การแสวงหา (เอสนา) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่างอย่างไรเล่า ? สามอย่างคือ การแสวงหากาม (กาเมสนา) การแสวงหาภพ (ภเวสนา) การแสวงหาพรหมจรรย์ (พฺรหฺมจริเยสนา). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล การแสวงหา ๓ อย่าง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง (อภิญฺญา) ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้ บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. อริยอัฏฐังคิกมรรค ชนิดไหนกันเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม เจริญสัมมาทิฏฐิ .... สัมมาสังกัปปะ ... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ ....สัมมาอาชีวะ ..... สัมมาวายามะ ..... สัมมาสติ ..... สัมมาสมาธิ ชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปเพื่อการสลัดลง. ภิกษุ ท. ! เพื่อความรู้ยิ่ง ซึ่งการแสวงหา ๓ อย่างเหล่านี้แล บุคคลควรเจริญอริยอัฏฐังคิกมรรค. [คำว่า “เพื่อรู้ยิ่ง” ในสูตรนี้ ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้ด้วยคำว่า “เพื่อความรอบรู้ (ปริญฺญา)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อความสิ้นไปรอบ (ปริกฺขย)” ก็มี ด้วยคำว่า “เพื่อการละเสีย (ปหาน)” ก็มี. สำหรับคำว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ เป็นต้นนั้น ในกรณีนี้ ในสูตรอื่นตรัสว่า เจริญอริยอัฏฐังคิกมรรคชนิดที่ มีการนำออกซึ่ง ราคะ -โทสะ - โมหะ เป็นปริโยสาน ชนิดที่ มีการหยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะเป็นเบื้องหน้า มีอมตะเป็นปริโยสาน หรือชนิดที่ มีการลาด - เอียง - เงื้อมไปสู่นิพพาน ทำนองเดียวกับหลายหัวข้อหลังจากหัวข้อนี้ไปก็มี. สำหรับคำว่า พรหมจรรย์ ในกรณีนี้แห่งการแสวงหานี้ หมายถึงพรหมจรรย์ฝ่ายผิด ซึ่ง เป็นสีลัพพัตตปรามาส เพราะมาในเครือเดียวกันกับกามและภพ. สำหรับสิ่งที่ต้องกำหนดรู้แล้วละเสีย ซึ่งเรียกว่า เอสนา (การแสวงหา) ในสูตรนี้นั้น ในสูตรอื่นทรงแสดงไว้โดยชื่ออื่น สำหรับการกำหนดรู้แล้วละเสียเช่นเดียวกัน ได้แก่ : วิธา (ความรู้สึกยึดถือที่ทำให้เกิดการเปรียบเทียบว่า เลวกว่า เสมอกัน ดีกว่า) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อาสวะ (คือกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ภพ (คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ทุกขตา (คือทุกข์เพราะทุกข์ ทุกข์เพราะปรุงแต่ง ทุกข์เพราะแปรปรวน) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ขีละ (ตะปูตรึงจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; มละ (มลทินของจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิฆะ (สิ่งกระทบจิต คือ ราคะ โทสะ โมหะ) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; เวทนา (คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; ตัณหา (คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ๓ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอฆะ (กิเลสท่วมจิต คือกาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โยคะ (กิเลสรัดตรึงจิต คือ กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทาน (ความยึดมั่นด้วยกาม -ทิฏฐิ - สีลพรต -อัตตวาท) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; คันถะ (สิ่งร้อยรัดนามกาย คือ อภิชฌา -พยาบาท -สีลพรต - สัจจะเฉพาะตน) ๔ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อนุสัย (กิเลสเคยชินอยู่ในสันดาน คือ กามราคะ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา) ๗ อย่าง ดังนี้ก็มี ; กามคุณ (คือรูป - เสียง - กลิ่น - รส – โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; นิวรณ์ (กิเลสปิดกั้นจิต คือ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุปาทานขันธ์ (ขันธ์คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอุปาทานยึดครอง) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; โอรัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องต่ำ คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพัตตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี ; อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (กิเลสเครื่องร้อยรัดสัตว์เป็นไปในภพเบื้องบน คือรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา) ๕ อย่าง ดังนี้ก็มี.]-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 143 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์แห่งมรรคใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ-อสัตตบุรุษ
    สัทธรรมลำดับที่ : 991
    ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ;
    จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.
    ....
    --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ.
    --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย
    .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ....
    ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน

    --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ.
    --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้
    ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย
    .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ...
    ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย
    : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน

    (ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น
    สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป
    จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค
    ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ
    โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี.
    ---๒๑/๓๐๓/๒๐๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96
    ในสูตรอื่น
    แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ
    แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี
    ---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘,
    http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97
    และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี
    -​-- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ;
    http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99
    ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก
    อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก.
    ในสูตรอื่น
    แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ
    เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้
    แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น
    เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี
    -​-๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    )

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85
    ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​องค์แห่งมรรคใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ-อสัตตบุรุษ สัทธรรมลำดับที่ : 991 ชื่อบทธรรม : -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=991 เนื้อความทั้งหมด :- --องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ; จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ. .... --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษ. --ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) .... ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ. http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=อสปฺปุริเสน --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษ. --ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มี สัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ... ตนเองเป็นผู้มี สัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มี สัมมาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ.- http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=สปฺปุริเสน (ในสูตรอื่น ขยายองค์ประกอบที่ทำบุคคลให้เป็น สัตบุรุษและอสัตบุรุษมากออกไป จากองค์แปดแห่งสัมมามรรคหรือมิจฉามรรค ออกไปเป็นสัมมัตตะสิบหรือมิจฉัตตะสิบ โดยเนื้อความที่มีหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันจนครบทั้งสี่จำพวก ดังนี้ก็มี. ---๒๑/๓๐๓/๒๐๖. http://etipitaka.com/read/pali/21/303/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%96 ในสูตรอื่น แทนที่จะทรงจำแนกบุคคลเป็นอสัตบุรุษและสัตบุรุษ แต่ได้ทรงจำแนกบุคคลเป็นบาปชนและกัลยาณชน จัดเป็นคู่หนึ่ง ก็มี ---๒๑/๓๐๔ - ๓๐๕/๒๐๗ - ๒๐๘, http://etipitaka.com/read/pali/21/304/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%97 และทรงจำแนกเป็นชนผู้มีบาปธรรมและชนผู้มีกัลยาณธรรม เป็นอีกคู่หนึ่ง ก็มี -​-- ๒๑/๓๐๖ -๓๐๗/๒๐๙ – ๒๑๐ ; http://etipitaka.com/read/pali/21/306/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%99 ทั้งนี้เป็นไปโดยหลักเกณฑ์อันเดียวกันกับที่ทรงจำแนก อสัตบุรุษและสัตบุรุษจนครบทั้งสี่จำพวกเช่นเดียวกันอีก. ในสูตรอื่น แทนที่จะใช้องค์แปดแห่งมรรถหรือสัมมัตตะสิบหรือมัจฉัตตะสิบ เป็นเครื่องจำแนกบุคคลให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกันเช่นข้างบนนี้ แต่ได้ทรงใช้หลักแห่งกุศลกรรมบถสิบ อกุศลกรรมบถสิบ เป็นต้น เป็นเครื่องจำแนก จนครบทั้งสี่จำพวก โดยหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันก็มี -​-๒๑/๒๙๗ - ๓๐๑/๒๐๑- ๒๐๔. http://etipitaka.com/read/pali/21/297/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/209/205. http://etipitaka.com/read/thai/21/209/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๓๐๒/๒๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/21/302/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=623 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85&id=991 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=85 ลำดับสาธยายธรรม : 85 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_85.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ
    -องค์แห่งมรรค ใช้เป็นหลักจำแนกความเป็นสัตบุรุษ - อสัตตบุรุษ ภิกษุ ท. ! เราจักแสดง ซึ่งอสัตบุรุษและอสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ; จักแสดง ซึ่งสัตบุรุษและสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ. .... ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มี มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อสัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) .... ตนเองเป็นผู้มีมิจฉาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีมิจฉาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อสัตบุรุษที่ยิ่งกว่า อสัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัตบุรุษ. ภิกษุ ท. ! สัตบุรุษที่ยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ตนเองเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีสัมมาทิฏฐิด้วย .... (โดยนัยนี้เรื่อยไปจนถึง) ... ตนเองเป็นผู้มีสัมมาสมาธิด้วย ชักชวนผู้อื่นให้มีสัมมาสมาธิด้วย : ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สัตบุรุษที่ยิ่งกว่า สัตบุรุษ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 153 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 989
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=989
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา
    --อานนท์ ! อิทธิบาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อการได้ซึ่งอิทธิ การได้เฉพาะซึ่งอิทธิ.
    +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาท.
    --อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --อานนท์ ! ภิกษุ ในกรณีนี้
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    ๑.มีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจ ๑ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    ๒.มีสมาธิอาศัย วิริยะ เป็นปธานกิจ ๑ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    ๓.มีสมาธิอาศัย จิตตะ เป็นปธานกิจ ๑ ;
    ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง
    ๔.มีสมาธิอาศัย วิมังสา เป็นปธานกิจ ๑.
    (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับ การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการรักษา)
    +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า #อิทธิบาทภาวนา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=อิทฺธิปาทภาวนา

    --อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความเจริญแห่งอิทธิบาท)
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นแหละ, กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า #อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=อิทฺธิปาทภาวนาคามินี+ปฏิปทาติ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/296/1223 - 1225.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/296/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๖๗/๑๒๒๓ - ๑๒๒๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=989
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=989
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 989 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=989 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา --อานนท์ ! อิทธิบาท เป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อการได้ซึ่งอิทธิ การได้เฉพาะซึ่งอิทธิ. +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาท. --อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนา เป็นอย่างไรเล่า ? --อานนท์ ! ภิกษุ ในกรณีนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง ๑.มีสมาธิอาศัย ฉันทะ เป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง ๒.มีสมาธิอาศัย วิริยะ เป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง ๓.มีสมาธิอาศัย จิตตะ เป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง ๔.มีสมาธิอาศัย วิมังสา เป็นปธานกิจ ๑. (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับ การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการรักษา) +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า #อิทธิบาทภาวนา. http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=อิทฺธิปาทภาวนา --อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความเจริญแห่งอิทธิบาท) เป็นอย่างไรเล่า ? #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นแหละ, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า #อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา.- http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=อิทฺธิปาทภาวนาคามินี+ปฏิปทาติ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/296/1223 - 1225. http://etipitaka.com/read/thai/19/296/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๖๗/๑๒๒๓ - ๑๒๒๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/367/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=989 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=989 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา
    -อัฏฐังคิกมรรคเป็นอิทธิปาทภาวนาคามินีปฏิปทา อานนท์ ! อิทธิบาท เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! มรรคใด ปฏิปทาใด เป็นไปเพื่อการได้ซึ่งอิทธิ การได้เฉพาะซึ่งอิทธิ. อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาท. อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนา เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ ! ภิกษุ ในกรณีนี้ ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยฉันทะเป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วย ธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยวิริยะเป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาทอันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยจิตตะเป็นปธานกิจ ๑ ; ย่อมเจริญอิทธิบาท อันประกอบพร้อมด้วยธรรมเครื่องปรุงแต่ง มีสมาธิอาศัยวิมังสาเป็นปธานกิจ (กิจในที่นี้คือ กิจเกี่ยวกับ การระวัง, การละ, การทำให้เกิดมี และการ รักษา) ๑. อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาทภาวนา. อานนท์ ! อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความเจริญแห่งอิทธิบาท) เป็นอย่างไรเล่า ? อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นแหละ, กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. อานนท์ ! นี้เราเรียกว่า อิทธิบาทภาวนาคามินีปฏิปทา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 169 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 988
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=988
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง
    กรรมทั้งหลายทั้งใหม่และเก่า (นวปุราณกัมม)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=นวปุราณานิ
    กัมมนิโรธ และกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. ....
    --ภิกษุ ท. ! กรรมเก่า (ปุราณกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=ปุราณกมฺมํ

    --ภิกษุ ท. !
    จักษุ(ตา)​ .... โสตะ(หู)​ .... ฆานะ(จมูก)​ .... ชิวหา(ลิ้น)​ ....กายะ(กายสัมผัส)​ .... มนะ(ใจ)​
    อันเธอ ทั้งหลาย(ท.)​ พึงเห็นว่าเป็น
    ปุราณกัมม (กรรมเก่า)
    อภิสังขตะ (อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น)
    อภิสัญเจตยิตะ (อันปัจจัยทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น)
    เวทนียะ (มีความรู้สึกต่ออารมณ์ได้).
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กรรมเก่า.

    --ภิกษุ ท. ! กรรมใหม่ (นวกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=นวกมฺมํ
    ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลกระทำกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ ในกาลบัดนี้ อันใด,
    +--อันนี้ เรียกว่า กรรมใหม่.

    --ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธ (ความดับแห่งกรรม) เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ
    เพราะความดับแห่งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันใด,
    +--อันนี้เรียกว่า กัมมนิโรธ.
    --ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งกรรม)
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=กมฺมนิโรธคามินี+ปฏิปทา
    เป็นอย่างไรเล่า ? กัมมนิโรธคามินีปฏิปทานั้น คืออริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา.

    --ภิกษุ ท. ! ด้วยประการดังนี้แล (เป็นอันว่า)
    กรรมเก่า เราได้แสดงแล้ว แก่เธอ ทั้งหลาย(ท.)​,
    กรรมใหม่ เราก็แสดงแล้ว,
    กัมมนิโรธ เราก็แสดงแล้ว,
    #กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา เราก็แสดงแล้ว.

    --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว
    จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! นั่นโคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่างไม่ประมาท.
    พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นผู้ที่ต้องร้อนใจในภายหลังเลย.
    นี่แล เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/136/227 - 231.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/136/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๖/๒๒๗ - ๒๓๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=988
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=988
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 988 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=988 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง กรรมทั้งหลายทั้งใหม่และเก่า (นวปุราณกัมม) http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=นวปุราณานิ กัมมนิโรธ และกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. .... --ภิกษุ ท. ! กรรมเก่า (ปุราณกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=ปุราณกมฺมํ --ภิกษุ ท. ! จักษุ(ตา)​ .... โสตะ(หู)​ .... ฆานะ(จมูก)​ .... ชิวหา(ลิ้น)​ ....กายะ(กายสัมผัส)​ .... มนะ(ใจ)​ อันเธอ ทั้งหลาย(ท.)​ พึงเห็นว่าเป็น ปุราณกัมม (กรรมเก่า) อภิสังขตะ (อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น) อภิสัญเจตยิตะ (อันปัจจัยทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น) เวทนียะ (มีความรู้สึกต่ออารมณ์ได้). +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กรรมเก่า. --ภิกษุ ท. ! กรรมใหม่ (นวกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=นวกมฺมํ ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลกระทำกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ ในกาลบัดนี้ อันใด, +--อันนี้ เรียกว่า กรรมใหม่. --ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธ (ความดับแห่งกรรม) เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ เพราะความดับแห่งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันใด, +--อันนี้เรียกว่า กัมมนิโรธ. --ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งกรรม) http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=กมฺมนิโรธคามินี+ปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? กัมมนิโรธคามินีปฏิปทานั้น คืออริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. --ภิกษุ ท. ! ด้วยประการดังนี้แล (เป็นอันว่า) กรรมเก่า เราได้แสดงแล้ว แก่เธอ ทั้งหลาย(ท.)​, กรรมใหม่ เราก็แสดงแล้ว, กัมมนิโรธ เราก็แสดงแล้ว, #กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา เราก็แสดงแล้ว. --ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! นั่นโคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่างไม่ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นผู้ที่ต้องร้อนใจในภายหลังเลย. นี่แล เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/136/227 - 231. http://etipitaka.com/read/thai/18/136/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๖/๒๒๗ - ๒๓๑. http://etipitaka.com/read/pali/18/166/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=988 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=988 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา
    -อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเป็นกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง กรรมทั้งหลายทั้งใหม่และเก่า (นวปุราณกัมม) กัมมนิโรธ และกัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. .... ภิกษุ ท. ! กรรมเก่า (ปุราณกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! จักษุ .... โสตะ .... ฆานะ .... ชิวหา ....กายะ .... มนะ อันเธอ ท. พึงเห็นว่าเป็นปุราณกัมม (กรรมเก่า) อภิสังขตะ (อันปัจจัยปรุงแต่งขึ้น) อภิสัญเจตยิตะ (อันปัจจัยทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น) เวทนียะ (มีความรู้สึกต่ออารมณ์ได้). ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กรรมเก่า. ภิกษุ ท. ! กรรมใหม่ (นวกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลกระทำกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ ในกาลบัดนี้ อันใด, อันนี้ เรียกว่า กรรมใหม่. ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธ (ความดับแห่งกรรม) เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ เพราะความดับแห่งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันใด, อันนี้เรียกว่า กัมมนิโรธ. ภิกษุ ท. ! กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งกรรม) เป็นอย่างไรเล่า ? กัมมนิโรธคามินีปฏิปทานั้น คืออริยอัฏฐังคิกมรรคนี้นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! ด้วยประการดังนี้แล (เป็นอันว่า) กรรมเก่า เราได้แสดงแล้ว แก่เธอ ท., กรรมใหม่ เราก็แสดงแล้ว, กัมมนิโรธ เราก็แสดงแล้ว, กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา เราก็แสดงแล้ว. ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! นั่นโคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่างไม่ประมาท. พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นผู้ที่ต้องร้อนใจในภายหลังเลย. นี่แล เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 159 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับทั้งภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้
    สัทธรรมลำดับที่ : 987
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=987
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ
    ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (อมาตาปุตฺติกภย) ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง.
    สามอย่างคือ มีสมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ตั้งขึ้น ไหม้หมู่บ้าน ไหม้นิคม ไหม้นคร.
    ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้),
    บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้).
    +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่หนึ่ง.
    --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มหาเมฆตั้งขึ้น เกิดน้ำท่วมใหญ่ พัดพาไปทั้งหมู่บ้าน ทั้งนิคม ทั้งนคร.
    ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้),
    บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้).
    +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สอง.
    --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มีภัยคือการกำเริบ (กบฏ) มาจากป่า ประชาชนขึ้นยานมีล้อ หนีกระจัดกระจายไป.
    เมื่อภัยอย่างนี้เกิดขึ้น สมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้),
    บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้).
    +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่า เป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สาม.
    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตร ช่วยกันไม่ได้ ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง เหล่านี้.

    --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ
    กล่าวสมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันได้) แท้ๆ ๓ อย่างนี้
    ว่าเป็น อมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มาดาและบุตรช่วยกันไม่ได้) ไปเสีย.
    --ภิกษุ ท. ! ภัย ๓ อย่าง ที่มารดาและบุตรช่วยกันได้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    สามอย่าง คือ
    สมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ เป็นอย่างหนึ่ง,
    สมัยที่น้ำท่วมใหญ่ เป็นอย่างที่สอง,
    สมัยที่หนีโจรขบถ เป็นอย่างที่สาม;
    เหล่านี้บางคราวมารดาและบุตรก็ช่วยกันและกันได้
    แต่บุถุชนผู้ไม่มีการสดับมากล่าว ว่าเป็นภัยที่มารดาและบุตรก็ช่วยกันไม่ได้ไปเสียทั้งหมด.

    --ภิกษุ ท. ! ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (โดยแท้จริง) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่.
    สามอย่าง คือ
    ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภยํ),
    ภัยเกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ),
    ภัยเกิดจากความตาย (มรณภยํ).

    --ภิกษุ ท. ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากะบุตรผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า
    เราแก่เองเถิด บุตรของเราอย่าแก่เลย ;
    หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมารดาผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า
    เราแก่เองเถิด มารดาอย่าแก่เลย ดังนี้.
    มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราเจ็บไข้เองเถิด บุตรของเราอย่าเจ็บไข้เลย ;
    หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่าเราเจ็บไข้เองเถิด มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย
    ดังนี้.
    มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด บุตรของเราอย่าตายเลย ;
    หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด มารดาของเราอย่าตายเลย
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลเป็นภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง.

    --ภิกษุ ท. ! หนทางมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ ย่อมเป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย
    ซึ่งภัยทั้งที่เป็น #สมาตาปุตติกภัย และ #อมาตาปุตติกภัย อย่างละสามๆ เหล่านั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=อมาตาปุตฺติกานํ

    --ภิกษุ ท. ! หนทางหรือปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? นั่นคือ
    #อริยอัฏฐังคิกมรรคนั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ ท. ! นี้แหละหนทาง นี้แหละปฏิปทา เป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสียซึ่งภัย
    ทั้งที่เป็น สมาตาปุตติกภัยและอมาตาปุตติกภัยอย่างละสามๆ เหล่านั้น.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170-173/502.
    http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๘-๒๓๑/๕๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=987
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=987
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับทั้งภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้ สัทธรรมลำดับที่ : 987 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=987 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้ --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (อมาตาปุตฺติกภย) ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง. สามอย่างคือ มีสมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ตั้งขึ้น ไหม้หมู่บ้าน ไหม้นิคม ไหม้นคร. ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่หนึ่ง. --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มหาเมฆตั้งขึ้น เกิดน้ำท่วมใหญ่ พัดพาไปทั้งหมู่บ้าน ทั้งนิคม ทั้งนคร. ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สอง. --ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มีภัยคือการกำเริบ (กบฏ) มาจากป่า ประชาชนขึ้นยานมีล้อ หนีกระจัดกระจายไป. เมื่อภัยอย่างนี้เกิดขึ้น สมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). +--ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่า เป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สาม. --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตร ช่วยกันไม่ได้ ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง เหล่านี้. --ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันได้) แท้ๆ ๓ อย่างนี้ ว่าเป็น อมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มาดาและบุตรช่วยกันไม่ได้) ไปเสีย. --ภิกษุ ท. ! ภัย ๓ อย่าง ที่มารดาและบุตรช่วยกันได้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ สมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ เป็นอย่างหนึ่ง, สมัยที่น้ำท่วมใหญ่ เป็นอย่างที่สอง, สมัยที่หนีโจรขบถ เป็นอย่างที่สาม; เหล่านี้บางคราวมารดาและบุตรก็ช่วยกันและกันได้ แต่บุถุชนผู้ไม่มีการสดับมากล่าว ว่าเป็นภัยที่มารดาและบุตรก็ช่วยกันไม่ได้ไปเสียทั้งหมด. --ภิกษุ ท. ! ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (โดยแท้จริง) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง คือ ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภยํ), ภัยเกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ), ภัยเกิดจากความตาย (มรณภยํ). --ภิกษุ ท. ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากะบุตรผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด บุตรของเราอย่าแก่เลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมารดาผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด มารดาอย่าแก่เลย ดังนี้. มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราเจ็บไข้เองเถิด บุตรของเราอย่าเจ็บไข้เลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่าเราเจ็บไข้เองเถิด มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย ดังนี้. มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด บุตรของเราอย่าตายเลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด มารดาของเราอย่าตายเลย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลเป็นภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง. --ภิกษุ ท. ! หนทางมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ ย่อมเป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็น #สมาตาปุตติกภัย และ #อมาตาปุตติกภัย อย่างละสามๆ เหล่านั้น. http://etipitaka.com/read/pali/20/231/?keywords=อมาตาปุตฺติกานํ --ภิกษุ ท. ! หนทางหรือปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? นั่นคือ #อริยอัฏฐังคิกมรรคนั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ท. ! นี้แหละหนทาง นี้แหละปฏิปทา เป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสียซึ่งภัย ทั้งที่เป็น สมาตาปุตติกภัยและอมาตาปุตติกภัยอย่างละสามๆ เหล่านั้น.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. 20/170-173/502. http://etipitaka.com/read/thai/20/170/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๘-๒๓๑/๕๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/20/228/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%90%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=987 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=987 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้
    -(ข้อความทั้งหมดนี้ ในบาลีประสงค์จะให้แยกเป็นสูตรๆ เป็นเรื่องๆ ตามความแตกต่าง แห่งกิริยาอาการ เช่นการรู้ยิ่ง ก็สูตรหนึ่ง; และแยกตามชื่อของกิเลสที่ต้องละ กิเลส ชื่อหนึ่ง ก็สูตรหนึ่ง เช่นรู้ยิ่งซึ่งราคะเป็นต้น ก็สูตรหนึ่ง; รวมกันเป็น ๑๗๐ สูตร คือมีกิริยาอาการสิบ มีชื่อกิเลสที่ต้องละสิบเจ็ดชื่อ คูณกันเข้าเป็น ๑๗๐ ในที่นี้นำมาทำเป็นสูตรเดียว เพื่อง่ายแก่การศึกษาและประหยัดเวลา). อัฏฐังคิกมรรคช่วยระงับภัยที่แม่ลูกก็ช่วยกันไม่ได้ ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (อมาตาปุตฺติกภย) ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง. สามอย่างคือ มีสมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ตั้งขึ้น ไหม้หมู่บ้าน ไหม้นิคม ไหม้นคร. ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่หนึ่ง. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มหาเมฆตั้งขึ้น เกิดน้ำท่วมใหญ่ พัดพาไปทั้งหมู่บ้าน ทั้งนิคม ทั้งนคร. ในสมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่าเป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สอง. ภิกษุ ท. ! ข้ออื่นยังมีอีก คือมีสมัยที่มีภัยคือการกำเริบ (กบฏ) มาจากป่า ประชาชนขึ้นยานมีล้อ หนีกระจัดกระจายไป. เมื่อภัยอย่างนี้เกิดขึ้น สมัยนั้น มารดาไม่ได้บุตร (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้), บุตรก็ไม่ได้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้). ภิกษุ ท. ! บุถุชนไม่มีการสดับ ย่อมเรียกภัยนี้ว่า เป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สาม. ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ย่อมกล่าวภัยที่มารดาและบุตร ช่วยกันไม่ได้ ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง เหล่านี้. ภิกษุ ท. ! บุถุชนผู้ไม่มีการสดับ กล่าวสมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันได้) แท้ๆ ๓ อย่างนี้ ว่าเป็น อมาตาปุตติกภัย (ภัยที่มาดาและบุตรช่วยกันไม่ได้) ไปเสีย. ภิกษุ ท. ! ภัย ๓ อย่าง ที่มารดาและบุตรช่วยกันได้นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? สามอย่าง คือ สมัยที่ไฟไหม้ใหญ่ เป็นอย่างหนึ่ง, สมัยที่น้ำท่วมใหญ่ เป็นอย่างที่สอง, สมัยที่หนีโจรขบถ เป็นอย่างที่สาม; เหล่านี้บางคราวมารดาและบุตรก็ช่วยกันและกันได้ แต่บุถุชนผู้ไม่มีการสดับมากล่าว ว่าเป็นภัยที่มารดาและบุตรก็ช่วยกันไม่ได้ไปเสียทั้งหมด. ภิกษุ ท. ! ภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ (โดยแท้จริง) ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่. สามอย่าง คือ ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภยํ), ภัยเกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธิภยํ), ภัยเกิดจากความตาย (มรณภยํ). ภิกษุ ท. ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากะบุตรผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด บุตรของเราอย่าแก่เลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมารดาผู้แก่อยู่ อย่างนี้ว่า เราแก่เองเถิด มารดาอย่าแก่เลย ดังนี้. มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราเจ็บไข้เองเถิด บุตรของเราอย่าเจ็บไข้เลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่าเราเจ็บไข้เองเถิด มารดาของเราอย่าเจ็บไข้เลย ดังนี้. มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด บุตรของเราอย่าตายเลย ; หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า เราตายเองเถิด มารดาของเราอย่าตายเลย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แลเป็นภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง. ภิกษุ ท. ! หนทางมีอยู่ ปฏิปทามีอยู่ ย่อมเป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็นสมาตาปุตติกภัยและอมาตาปุตติกภัยอย่างละสามๆ เหล่านั้น. ภิกษุ ท. ! หนทางหรือปฏิปทานั้น เป็นอย่างไรเล่า ? นั่นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้แหละหนทาง นี้แหละปฏิปทา เป็นไปเพื่อเลิกละ ก้าวล่วงเสีย ซึ่งภัยทั้งที่เป็น สมาตาปุตติกภัยและอมาตาปุตติกภัยอย่างละสามๆ เหล่านั้น.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 238 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​​อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิดตถาคต
    สัทธรรมลำดับที่ : 986
    ชื่อบทธรรม :- อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ตถาคตและสุคตวินัย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด

    ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) #ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=อรหโต+สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสาติ

    ข. เกิดสุคตวินัย
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ?
    แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย.
    แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) #สุคตวินัย.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=สุคตวินยา
    --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘-๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92

    --อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ
    ---
    ๑.เพื่อการรู้ยิ่ง .... ๒.เพื่อการรู้รอบ .... ๓.เพื่อการสิ้นไปรอบ ....
    ๔.เพื่อการละ .... ๕.เพื่อความสิ้นไป ....๖.เพื่อความเสื่อมไป ....
    ๗.เพื่อความจางคลาย .... ๘.เพื่อความดับ .... ๙.เพื่อความสละทิ้ง ....
    ๑๐.เพื่อความสลัดคืน ....
    ---
    ๑.ซึ่งราคะ .... ๒.ซึ่งโทสะ .... ๓.ซึ่งโมหะ .... ๔.ซึ่งโกธะ ....
    ๕.อุปนาหะ .... ๖.มักขะ .... ๗.ปลาสะ .... ๘.อิสสา ..... ๙.มัจฉริยะ .... ๑๐.มายา ....
    ๑๑.สาเถยยะ .... ๑๒.ถัมภะ ..... ๑๓.สารัมภะ .... ๑๔.มานะ .... ๑๕.อติมานะ ....
    ๑๖.มทะ .... ๑๗.ปมาทะ .

    แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญ
    ---
    เพื่อการรู้ยิ่ง ...ฯลฯ ...(๑๐)
    ---
    ซึ่งราคะ ...ฯลฯ ...(๑๗)
    แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/360/?keywords=ราคสฺส

    (ข้อความทั้งหมดนี้ ในบาลีประสงค์จะให้แยกเป็นสูตรๆ เป็นเรื่องๆ
    ตามความแตกต่าง แห่งกิริยาอาการ เช่นการรู้ยิ่ง ก็สูตรหนึ่ง;
    และแยกตามชื่อของกิเลสที่ต้องละ กิเลสชื่อหนึ่ง ก็สูตรหนึ่ง
    เช่นรู้ยิ่งซึ่งราคะเป็นต้น ก็สูตรหนึ่ง;
    รวมกันเป็น ๑๗๐ สูตร
    คือมีกิริยาอาการสิบ มีชื่อกิเลสที่ต้องละสิบเจ็ดชื่อ
    คูณกันเข้าเป็น ๑๗๐x๑๐​x๑๗​ สูตร-อาการ-ชื่อ
    ในที่นี้นำมาทำเป็นสูตรเดียว เพื่อง่ายแก่การศึกษาและประหยัดเวลา
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/281, 284/201, 204.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/281/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๕๙, ๓๖๑/๒๐๑, ๒๐๔
    http://etipitaka.com/read/pali/23/359/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=986
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​​อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิดตถาคต สัทธรรมลำดับที่ : 986 ชื่อบทธรรม :- อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ตถาคตและสุคตวินัย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986 เนื้อความทั้งหมด :- --อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) #ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=อรหโต+สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสาติ ข. เกิดสุคตวินัย --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) #สุคตวินัย. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=สุคตวินยา --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘-๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92 --อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ --- ๑.เพื่อการรู้ยิ่ง .... ๒.เพื่อการรู้รอบ .... ๓.เพื่อการสิ้นไปรอบ .... ๔.เพื่อการละ .... ๕.เพื่อความสิ้นไป ....๖.เพื่อความเสื่อมไป .... ๗.เพื่อความจางคลาย .... ๘.เพื่อความดับ .... ๙.เพื่อความสละทิ้ง .... ๑๐.เพื่อความสลัดคืน .... --- ๑.ซึ่งราคะ .... ๒.ซึ่งโทสะ .... ๓.ซึ่งโมหะ .... ๔.ซึ่งโกธะ .... ๕.อุปนาหะ .... ๖.มักขะ .... ๗.ปลาสะ .... ๘.อิสสา ..... ๙.มัจฉริยะ .... ๑๐.มายา .... ๑๑.สาเถยยะ .... ๑๒.ถัมภะ ..... ๑๓.สารัมภะ .... ๑๔.มานะ .... ๑๕.อติมานะ .... ๑๖.มทะ .... ๑๗.ปมาทะ . แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญ --- เพื่อการรู้ยิ่ง ...ฯลฯ ...(๑๐) --- ซึ่งราคะ ...ฯลฯ ...(๑๗) แล.- http://etipitaka.com/read/pali/23/360/?keywords=ราคสฺส (ข้อความทั้งหมดนี้ ในบาลีประสงค์จะให้แยกเป็นสูตรๆ เป็นเรื่องๆ ตามความแตกต่าง แห่งกิริยาอาการ เช่นการรู้ยิ่ง ก็สูตรหนึ่ง; และแยกตามชื่อของกิเลสที่ต้องละ กิเลสชื่อหนึ่ง ก็สูตรหนึ่ง เช่นรู้ยิ่งซึ่งราคะเป็นต้น ก็สูตรหนึ่ง; รวมกันเป็น ๑๗๐ สูตร คือมีกิริยาอาการสิบ มีชื่อกิเลสที่ต้องละสิบเจ็ดชื่อ คูณกันเข้าเป็น ๑๗๐x๑๐​x๑๗​ สูตร-อาการ-ชื่อ ในที่นี้นำมาทำเป็นสูตรเดียว เพื่อง่ายแก่การศึกษาและประหยัดเวลา ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/281, 284/201, 204. http://etipitaka.com/read/thai/23/281/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๕๙, ๓๖๑/๒๐๑, ๒๐๔ http://etipitaka.com/read/pali/23/359/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=986 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด :
    -อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด : ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมา วายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. ข. เกิดสุคตวินัย ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘ - ๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕. อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ เพื่อการรู้ยิ่ง .... เพื่อการรู้รอบ .... เพื่อการสิ้นไปรอบ .... เพื่อการละ .... เพื่อความสิ้นไป ....เพื่อความเสื่อมไป .... เพื่อความจางคลาย .... เพื่อความดับ .... เพื่อความสละทิ้ง .... เพื่อความสลัดคืน .... ซึ่งราคะ .... ซึ่งโทสะ .... ซึ่งโมหะ .... ซึ่งโกธะ .... อุปนาหะ .... มักขะ .... ปลาสะ .... อิสสา ..... มัจฉริยะ .... มายา .... สาเถยยะ .... ถัมภะ ..... สารัมภะ .... มานะ .... อติมานะ .... มทะ .... ปมาทะ .แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญเพื่อการรู้ยิ่ง ฯลฯ ซึ่งราคะ ฯลฯ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 250 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 983
    ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน.
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย
    --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว,
    สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้
    เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ
    ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา
    มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
    ย่อม เป็น #สกทาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน
    มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา
    มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา
    ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว
    เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 983 ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็น #สกทาคามี http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234. http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 218 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 980
    ชื่อบทธรรม :-คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค
    --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ?
    และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?”
    --ภิกษุ ! #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แลคือพรหมจรรย์;
    กล่าวคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ภิกษุ !
    ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย)
    ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย)
    ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย)
    : นี้คือ #ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/7/29 - 30.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/7/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๙/๒๙ - ๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=980
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 980 ชื่อบทธรรม :-คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980 เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้ http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ? และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?” --ภิกษุ ! #อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แลคือพรหมจรรย์; กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ภิกษุ ! ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย) ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย) ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย) : นี้คือ #ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=พฺรหฺมจริยํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/7/29 - 30. http://etipitaka.com/read/thai/19/7/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๙/๒๙ - ๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/9/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=980 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=980 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค-อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์
    -(ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔). ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ, ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ; ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย. ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐) ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ. ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒) ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ). หมวด ค. ว่าด้วย คุณค่าของมรรค อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งตัวพรหมจรรย์ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘พรหมจรรย์ พรหมจรรย์’ ดังนี้ พรหมจรรย์ เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าข้า ? และที่สุดแห่งพหรมจรรย์ คืออะไรพระเจ้าข้า ?” ภิกษุ ! อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้แล คือพรหมจรรย์; กล่าวคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ! ความสิ้นแห่งราคะ (ราคกฺขโย) ความสิ้นแห่งโทสะ (โทสกฺขโย) ความสิ้นแห่งโมหะ (โมหกฺขโย) : นี้คือ ที่สุดแห่งพรหมจรรย์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 193 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ใน ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ
    สัทธรรมลำดับที่ : 979
    ชื่อบทธรรม :- ธรรม-อธรรม-อรรถ-อนรรถ ที่ควรทราบ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ธรรม(ความเป็นจริงแท้)​-อธรรม(ควา​มไม่จริงแท้)​
    --อรรถ(ความเป็นประโยชน์)​-อนรรถ(ความไม่เป็นประโยชน์)​ ที่ควรทราบ
    --ภิกษุ ท. !
    อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว
    บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ?
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=อธมฺโม+อนตฺโถ

    --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ?
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=ธมฺโม+อตฺโถ

    --ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า
    “ภิกษุ ท. !
    อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ.
    รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว
    บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ”
    ดังนี้.-

    (--
    ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔).
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ,
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ;
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และ
    ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย.

    --ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/273/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90
    ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และ
    ทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ.

    --ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒)
    http://etipitaka.com/read/pali/24/281/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%92
    ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ
    แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ
    แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ
    และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ
    --).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/192/113.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/192/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๘/๑๑๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=979
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ใน ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ สัทธรรมลำดับที่ : 979 ชื่อบทธรรม :- ธรรม-อธรรม-อรรถ-อนรรถ ที่ควรทราบ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979 เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรม(ความเป็นจริงแท้)​-อธรรม(ควา​มไม่จริงแท้)​ --อรรถ(ความเป็นประโยชน์)​-อนรรถ(ความไม่เป็นประโยชน์)​ ที่ควรทราบ --ภิกษุ ท. ! อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ. --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ? มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=อธมฺโม+อนตฺโถ --ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ? สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=ธมฺโม+อตฺโถ --ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ท. ! อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติ ตามที่เป็นธรรม, ตามที่เป็นอรรถ” ดังนี้.- (-- ในสูตรถัดไป (๒๔/๒๓๘/๑๑๔). http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อธรรม ด้วยมิจฉัตตะ, ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า ธรรม ด้วยสัมมัตตะ; ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อนรรถ ด้วยบาปอกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดจากมิจฉัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย, และ ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า อรรถ ด้วยกุศลธรรมต่างๆ ที่เกิดแต่สัมมัตตะแต่ละอย่างๆ เป็นปัจจัย. --ในสูตรอื่นอีก (๒๔/๒๗๓/๑๖๐) http://etipitaka.com/read/pali/24/273/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%90 ทรงแสดง อธรรม และ อนรรถ ด้วยอกุศลกัมมบถสิบ และ ทรงแสดง ธรรม และ อรรถ ด้วยกุศลกัมมบถสิบ. --ในอีกสูตรหนึ่ง (๒๔/๒๘๑/๑๖๒) http://etipitaka.com/read/pali/24/281/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%92 ทรงแสดง อธรรม ด้วยอกุศลกัมมบถ แสดง ธรรม ด้วยกุศลกัมมบถ แสดง อนรรถ ด้วยวิบากแห่งอกุศลกัมมบถ และแสดง อรรถ ด้วยวิบากแห่งกุศลกัมมบถ --). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/192/113. http://etipitaka.com/read/thai/24/192/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๓๘/๑๑๓. http://etipitaka.com/read/pali/24/238/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=979 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=979 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ
    -ธรรม - อธรรม - อรรถ - อนรรถ ที่ควรทราบ ภิกษุ ท. ! อธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรม เป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถ ก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติตามที่เป็นธรรมตามที่เป็นอรรถ. ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น อธรรม และเป็น อนรรถ ? มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อธรรม เรียกว่า อนรรถ. ภิกษุ ท. ! อะไรเป็น ธรรม อะไรเป็น อรรถ ? สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า ธรรม เรียกว่า อรรถ. ภิกษุ ท. ! เราอาศัยเหตุผลดังกล่าวมานี้แล้ว เราจึงกล่าวว่า “ภิกษุ ท. ! อธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อนรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. ธรรมเป็นสิ่งที่ควรทราบ, อรรถก็เป็นสิ่งที่ควรทราบ. รู้แจ้งทั้งอธรรมและอนรรถ, รู้แจ้งทั้งธรรมและอรรถแล้ว บุคคลพึงปฏิบัติตามที่เป็นธรรมตามที่เป็นอรรถ” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 189 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัมมัตตะในนามว่าอริยมรรค
    สัทธรรมลำดับที่ : 969
    ชื่อบทธรรม :- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และ
    ธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=อริย+อนริโย
    --ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
    (มิจฉาปัญญา)​มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    (มิจฉาสีลา)​มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    (มิจฉาสมาธิ)​มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ
    มิจฉาญาณะ
    มิจฉาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อนริยมรรค.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ
    (สัมมาปัญญา)​สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    (สัมมาสีลา)​สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    (สัมมาสมาธิ)​สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
    สัมมาญาณะ
    สัมมาวิมุตติ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อริยมรรค.-

    (ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง
    สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค.
    ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก
    คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า
    สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี,
    เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม,
    อริยมรรค - อนริยมรรค,
    กุศลธรรม - อกุศลธรรม,
    ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์,
    เป็นธรรม - เป็นอธรรม,
    ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ,
    เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ,
    เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา,
    ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส,
    มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร,
    มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน,
    เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ,
    เป็นธรรมของสัตบุรุษ -ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ,
    ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น,
    ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ,
    ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ,
    ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก,
    ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง,
    ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง,
    ดังนี้ก็มี.
    --- ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔
    http://etipitaka.com/read/pali/24/258/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%94 -​ http://etipitaka.com/read/pali/24/265/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/218/145 - 146.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/218/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๒/๑๔๕ - ๑๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=969
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
    ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน..
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัมมัตตะในนามว่าอริยมรรค สัทธรรมลำดับที่ : 969 ชื่อบทธรรม :- สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969 เนื้อความทั้งหมด :- --สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และ ธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง. http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=อริย+อนริโย --ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ (มิจฉาปัญญา)​มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ (มิจฉาสีลา)​มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ (มิจฉาสมาธิ)​มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อนริยมรรค. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ (สัมมาปัญญา)​สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ (สัมมาสีลา)​สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ (สัมมาสมาธิ)​สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #อริยมรรค.- (ในพระบาลีข้างบนนี้ ทรงแสดง สัมมัตตะสิบและมิจฉัตตะสิบ ว่าเป็นอริยมรรคและ อนริยมรรค. ในบาลีแห่งอื่นๆ แสดงเป็นคู่ ๆ แปลกออกไปอีก คือในสูตรอื่น ๆ ทรงเรียกชื่อของธรรมหมวดนี้ว่า สุกกมรรค - กัณหมรรค ก็มี, เป็นสาธุธรรม - อสาธุธรรม, อริยมรรค - อนริยมรรค, กุศลธรรม - อกุศลธรรม, ธรรมมีประโยชน์ - ธรรมไม่มีประโยชน์, เป็นธรรม - เป็นอธรรม, ไม่เป็นไปเพื่ออาสวะ - เป็นไปเพื่ออาสวะ, เป็นธรรมไม่มีโทษ - เป็นธรรมมีโทษ, เป็นธรรมไม่แผดเผา - เป็นธรรมแผดเผา, ไม่เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส - เป็นเครื่องสั่งสมกิเลส, มีสุขเป็นกำไร - มีทุกข์เป็นกำไร, มีสุขเป็นผลตอบแทน - มีทุกข์เป็นผลตอบแทน, เป็นธรรมทำความสงบ - ไม่เป็นธรรมทำความสงบ, เป็นธรรมของสัตบุรุษ -ไม่เป็นธรรมของสัตบุรุษ, ธรรมที่ควรทำให้เกิดขึ้น - ธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น, ธรรมที่ควรเสพ - ธรรมที่ไม่ควรเสพ, ธรรมที่ควรเจริญ - ธรรมที่ไม่ควรเจริญ, ธรรมที่ควรทำให้มาก - ธรรมที่ไม่ควรทำให้มาก, ธรรมที่ควรระลึกถึง - ธรรมที่ไม่ควรระลึกถึง, ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง - ธรรมที่ไม่ควรทำให้แจ้ง, ดังนี้ก็มี. --- ๒๔/๒๕๘ - ๒๖๕/๑๓๔ - ๑๕๔ http://etipitaka.com/read/pali/24/258/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%94 -​ http://etipitaka.com/read/pali/24/265/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%94 ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/218/145 - 146. http://etipitaka.com/read/thai/24/218/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๖๒/๑๔๕ - ๑๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/24/262/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=969 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=969 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83 ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน.. http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค
    -[สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่าสัมมาปฏิปทา ; ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑) ตรัสเรียกว่า สัมมาปฏิบัติ ก็มี. อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา ในสูตรบางแห่ง (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑) ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี. (ตรัสเรียกปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑).เป็นอันว่า ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ; ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง]. สัมมัตตะในนามว่า อริยมรรค ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งธรรมอันป็นอริยมรรค และธรรมอันเป็น อนริยมรรค แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลายจงฟัง. ภิกษุ ท. ! อนริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า อนริยมรรค. ภิกษุ ท. ! อริยมรรค เป็นอย่างไรเล่า ? คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า อริยมรรค.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 256 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    สัทธรรมลำดับที่ : 968
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ.
    เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    มิจฉาปฏิปทานี้คือ
    มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
    มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ
    มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #มิจฉาปฏิปทา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=มิจฺฉาปฏิปทา

    --ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ?
    สัมมาปฏิปทานี้คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สัมมาปฏิปทา.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/23/?keywords=สมฺมาปฏิปทา
    -
    [สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา ;
    ในสูตรอื่น
    (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    )
    ตรัสเรียกว่า #สัมมาปฏิบัติ ก็มี.อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา
    ในสูตรบางแห่ง
    (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑
    http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99
    )

    ตรัสเรียก #ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี.

    (ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี -
    ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑
    http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91
    ).
    เป็นอันว่า
    ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร
    ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ;
    ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง
    ]

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/65-67.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๕-๖๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=968
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา สัทธรรมลำดับที่ : 968 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น. --ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? มิจฉาปฏิปทานี้คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #มิจฉาปฏิปทา. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=มิจฺฉาปฏิปทา --ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? สัมมาปฏิปทานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #สัมมาปฏิปทา. http://etipitaka.com/read/pali/19/23/?keywords=สมฺมาปฏิปทา - [สูตรข้างบนนี้ ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา ; ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๘๙ - ๙๑ http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ) ตรัสเรียกว่า #สัมมาปฏิบัติ ก็มี.อนึ่ง สูตรข้างบนนั้นตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรค ว่า สัมมาปฏิทา ในสูตรบางแห่ง (นิทาน.สํ. ๑๖/๕/๑๙ - ๒๑ http://etipitaka.com/read/pali/16/5/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99 ) ตรัสเรียก #ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวาร ว่าเป็นสัมมาปฏิปทา ก็มี. (ตรัสเรียก ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ก็มี - ติก. อํ. ๒๐/๒๒๗/๔๐๑ http://etipitaka.com/read/pali/20/227/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%91 ). เป็นอันว่า ทั้งอริยอัฏฐังคิกมรรค และปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ต่างก็เป็นสัมมาปฏิปทาด้วยกัน ; ควรที่นักศึกษาจะสนใจอย่างยิ่ง ] #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/17/65-67. http://etipitaka.com/read/thai/19/17/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๒/๖๕-๖๗. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%95 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=968 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=968 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา
    -(ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์ พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม; แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน, และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย. เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้. อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่นจำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็น กัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง, ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น ซึ่งได้กล่าวไว้ในหมายเหตุท้ายหัวข้อนั้นๆ ที่หน้า ๑๔๑๙, ๑๔๒๑, ๑๔๕๘ แห่งหนังสือนี้ ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง, นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง). อัฏฐังคิกมรรค เป็นสัมมาปฏิปทา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง มิจฉาปฏิปทา และสัมมาปฏิปทา แก่พวกเธอ. เธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งข้อความนั้น. ภิกษุ ท. ! มิจฉาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? มิจฉาปฏิปทานี้คือ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสติ มิจฉาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า มิจฉาปฏิปทา. ภิกษุ ท. ! สัมมาปฏิปทา เป็นอย่างไรเล่า ? สัมมาปฏิปทานี้คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า สัมาปฏิปทา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 292 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    สัทธรรมลำดับที่ : 967
    ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :- )​
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?”
    --อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ)
    http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=อธิวจนํ
    แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง;
    เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.
    --อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน.
    +--สัมมาสังกัปปะ ....
    +--สัมมาวาจา ....
    +--สัมมากัมมันตะ ....
    +--สัมมาอาชีวะ ....
    +--สัมมาวายามะ ....
    +--สัมมาสติ ....
    +--สัมมาสมาธิ ....
    อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน.
    --อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า
    พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ;
    เรียกว่า #พรหมยาน บ้าง #ธรรมยาน บ้าง #อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.-
    http://etipitaka.com/read/pali/19/7/?keywords=สงฺคามวิชโย

    (ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์
    พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม;
    แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน,
    และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย.
    เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้.
    อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่น
    จำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี
    ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็นกัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และ
    ในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง,
    ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น
    ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง,
    นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง
    )

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/4-5/13-23.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖-๗/๑๓-๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=967
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ สัทธรรมลำดับที่ : 967 ชื่อบทธรรม :- อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :- )​ --“ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?” --อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ) http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=อธิวจนํ แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง. --อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. +--สัมมาสังกัปปะ .... +--สัมมาวาจา .... +--สัมมากัมมันตะ .... +--สัมมาอาชีวะ .... +--สัมมาวายามะ .... +--สัมมาสติ .... +--สัมมาสมาธิ .... อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. --อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ; เรียกว่า #พรหมยาน บ้าง #ธรรมยาน บ้าง #อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.- http://etipitaka.com/read/pali/19/7/?keywords=สงฺคามวิชโย (ผู้ศึกษาพึงทราบว่า คำว่า พรหมยาน เป็นคำสูงสุดในฝ่ายศาสนาพราหมณ์ พระอานนท์อยากจะมีคำเช่นนั้นในพระพุทธศาสนานี้บ้าง จึงทูลถาม; แต่พระองค์ตรัสตอบอย่างธัมมาธิษฐาน ระบุเอาอัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมยาน, และแถมยังมีคำว่า ธรรมยาน และอนุตตรสังคามวิชัย อีกด้วย. เราเห็นว่า คำว่า ธรรมยาน สำคัญกว่า จึงยกเอามาเป็นชื่อแห่งหัวข้อนี้. อนึ่ง อัฏฐังคิกมรรคนี้ จำแนกความหมายได้หลายอย่าง เช่น จำแนกเป็น วิเวกนิสฺสิตํ วิราคนิสฺสิตํ นิโรธนิสฺสิตํ โวสฺสคฺคปริณามี ดังในหัวข้อ ที่จัด อัฏฐังคิกมรรคเป็นกัลยาณมิตร เป็นต้น บ้าง, และ ในหัวข้อทรงจำแนกเป็น ราค - โทส - โมหวินย - ปริโยสานบ้าง, ในหัวข้อว่า “อัฏฐังคิกมรรคชนิดที่เจริญแล้ว ทำกิจแห่งอริยสัจสี่พร้อมกันไปในตัว” เป็นต้น ทรงจำแนกว่า อมโตคธ อมตปรายน อมตปริโยสาน บ้าง, นิพฺพานนินฺน นิพฺพานโปณ นิพฺพานปพฺภาร บ้าง ) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/4-5/13-23. http://etipitaka.com/read/thai/19/4/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๖-๗/๑๓-๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/19/6/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=967 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=967 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ
    -[ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมัตตะ. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า กุสลธัมม. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา. ในสูตรอื่น (๑๙/๒๐/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปัตติ. ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า มัชฌิมาปฏิปทา. ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สมถะและวิปัสสนา]. อัฏฐังคิกมรรคในฐานะแห่งธัมมยานอันประเสริฐ (พระอานนท์ได้เห็นชาณุสโสณีพราหมณ์ นั่งรถขาวเทียมด้วยม้าขาวเครื่องประดับประดาทุกส่วนขาว ถือพัดวาลวีชนีขาว จนกระทั่งประชาชนเห็นแล้วร้องว่า พรหมยาน ว่าลักษณะแห่งพรหมยาน, ดังนี้แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลถามว่า :-) “ข้าแต่พระองค์ผู้องค์ผู้เจริญ ! พระผู้มีพระภาค อาจจะบัญญัติพรหมยานขึ้น ในธรรมวินัยนี้ ได้หรือไม่หนอ ?” อาจซิ อานนท์ ! คำว่า พรหมยาน นั้น เป็นอธิวจนะ (คำแทนชื่อ) แห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง. อานนท์ ! สัมมาทิฏฐิ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. สัมมาสังกัปปะ .... สัมมาวาจา .... สัมมากัมมันตะ .... สัมมาอาชีวะ .... สัมมาวายามะ .... สัมมาสติ .... สัมมาสมาธิ .... อันบุคคลเจริญกระทำให้มากแล้ว เป็นธรรมมีการนำออกซึ่งราคะเป็นปริโยสาน มีการนำออกซึ่งโทสะเป็นปริโยสาน มีการออกซึ่งโมหะเป็นปริโยสาน. อานนท์ ! พึงทราบโดยปริยายนี้แล ว่าคำว่า พรหมยาน นั้นเป็น อธิวจนะแห่งอริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ; เรียกว่า พรหมยาน บ้าง ธรรมยาน บ้าง อนุตตรสังคามวิชัย บ้าง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 368 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    สัทธรรมลำดับที่ : 966
    ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง)
    --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค)
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ
    --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.-

    [
    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ
    http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม).
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91

    --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา
    http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94

    --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99
    ].

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) สัทธรรมลำดับที่ : 966 ชื่อบทธรรม :- ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 เนื้อความทั้งหมด :- --นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค--(มี ๗๕ เรื่อง) --หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ(ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=สามญฺญ --ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.- [ --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๐/๑๐๕) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมัญญะ(ความเป็นพรหม). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมญฺญํ http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%95 --ในสูตรอื่น (๑๙/๓๑/๑๑๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า พรหมจริยะ(พรหมจรรย์ และผลแห่งพรหมจรรย์). http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=พฺรหฺมจริยํ http://etipitaka.com/read/pali/19/31/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมัตตะ(โดยชอบธรรม)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๒/๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #กุสลธัมม(กุศลธรรม). http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๓/๖๗) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า สัมมาปฏิปทา(การปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/22/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97 --ในสูตรอื่น (๑๙/๒๘/๙๑) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สัมมาปฏิปัตติ(ข้อปฏิบัติอันถูกต้อง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/28/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%91 --ในสูตรอื่น (๑๙/๕๒๘/๑๖๖๔) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง)​. http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=มชฺฌิมา+ปฏิปทา http://etipitaka.com/read/pali/19/528/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%96%E0%B9%94 --ในสูตรอื่น (๑๔/๕๒๔/๘๒๙) ตรัสเรียกอัฏฐังคิกมรรคว่า #สมถะและวิปัสสนา(สมถะและวิปัสสนาคู่เคียงกันเป็นไป). http://etipitaka.com/read/pali/14/524/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%92%E0%B9%99 ]. #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/24/99 - 100. http://etipitaka.com/read/thai/19/24/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๐/๙๙ - ๑๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/19/30/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=966 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒๑
    -นิทเทศ ๒๑ ว่าด้วย สัมมาสมาธิ จบ นิเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค (มี ๗๕ เรื่อง) หมวด ก. ว่าด้วย ไวพจน์ อริยอัฏฐังคิกมัคคอธิวจนะ (ไวพจน์แห่งอัฏฐังคิกมรรค) ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่ง สามัญญะ .... ภิกษุ ท. ! สามัญญะ นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? สามัญญะนั้นคือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้ นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า สามัญญะ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 288 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 597
    ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ?
    สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ
    มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ
    มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ
    มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ;
    และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม

    --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ?
    +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก
    เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย.
    เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
    ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ;
    นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย.
    ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน
    การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม
    มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย.
    อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่
    อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย,
    และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
    เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล

    --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว
    ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89.
    http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41
    ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาสมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 597 ชื่อบทธรรม :- สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 เนื้อความทั้งหมด :- --สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณมจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณมจละ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณมจละ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณมจโล --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปุณฑรีกะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปุณฺฑรีโก --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคสมณปทุมะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=สมณปทุโม --ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? +--ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็นส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า #บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. http://etipitaka.com/read/pali/21/118/?keywords=สมณสุขุมาโล --ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก, ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/89/89. http://etipitaka.com/read/thai/21/89/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๑๗/๘๙. http://etipitaka.com/read/pali/21/117/?keywords=%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=597 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41&id=597 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=41 ลำดับสาธยายธรรม : 41 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_41.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
    -สมณะสี่ประเภท (อีกนัยหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! บุคคลสี่ประเภทนี้ มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. สี่ประเภทเหล่าไหนเล่า ? สี่ประเภทคือ สมณอจละ สมณปุณฑรีกะ สมณปทุมะ สมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณอจละ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณอจละ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปุณฑรีกะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; แต่เธอนั้นไม่ถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปุณฑรีกะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณปทุมะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ มีสัมมาสังกัปปะ มีสัมมาวาจา มีสัมมากัมมันตะ มีสัมมาอาชีวะ มีสัมมาวายามะ มีสัมมาสติ มีสัมมาสมาธิ มีสัมมาญาณะ มีสัมมาวิมุตติ ; และเธอนั้นถูกต้องซึ่งวิโมกข์แปด ด้วยนามกาย อยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคสมณปทุมะ. ภิกษุ ท. ! อย่างไรเล่า เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจยเภสัชชบริกขาร ส่วนมาก เพราะเขาอ้อนวอน ที่ไม่มีใครอ้อนวอนนั้นมีเป็น ส่วนน้อย. เพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ร่วมกันทั้งหลาย พากันประพฤติกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ต่อภิกษุนั้น เป็นที่น่าพอใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่เป็นที่น่าพอใจนั้นมีเป็นส่วนน้อย ; นำอะไร ๆ มาเป็นส่วนมากล้วนแต่น่าพอใจที่ไม่น่าพอใจมีเป็นส่วนน้อย. ทุกขเวทนาที่เกิดแต่โรคทางน้ำ ดี ทางเสมหะทางลม ทางสันนิบาต ทางฤดูแปรปรวน การบริหารไม่สม่ำเสมอ ออกกำลังมากเกินไป หรือเกิดจากวิบากแห่งกรรมก็ตาม มีไม่มากแก่ภิกษุนั้น, เธอเป็นผู้มีอาพาธน้อย. อนึ่ง ภิกษุ นั้นเป็นผู้ได้ฌานทั้งสี่ อันเป็นสุขวิหารในทิฏฐธรรมอาศัยจิตอันยิ่ง โดยง่าย โดยไม่ยาก โดยไม่ลำบากเลย, และเธอทำให้แจ้งได้ซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล เรียกว่า บุคคลสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ. ภิกษุ ท. ! ถ้าจะกล่าวกันโดยชอบ ว่าผู้ใดเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะทั้งหลายแล้ว ก็พึงกล่าวเรานี้แหละ ว่าเป็นสมณสุขุมาลในหมู่สมณะ ทั้งหลาย ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล บุคคลสี่ประเภท มีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก,ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 378 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    สัทธรรมลำดับที่ : 964
    ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    ...
    --[กรณีของปฐมฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น
    มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด;
    กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ;
    ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น.

    +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป;
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของทุติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง
    อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว
    ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของตติยฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา
    มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม
    อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า
    “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป.
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.

    [กรณีของจตุตถฌาน]
    --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก
    : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้,
    เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน,
    จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข
    มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา
    สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป;

    สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น,
    เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น.
    เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป,
    แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา.
    ...
    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ สัทธรรมลำดับที่ : 964 ชื่อบทธรรม : -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 เนื้อความทั้งหมด :- --สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ ... --[กรณีของปฐมฌาน] --โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้น มองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. +--ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=สจฺจสญฺญา สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] --โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. http://etipitaka.com/read/pali/9/227/?keywords=สจฺจสญฺญา สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. ... #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/254-255/279 - 282. http://etipitaka.com/read/thai/9/254/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๒๒๖-๒๒๗/๒๗๙ - ๒๘๒. http://etipitaka.com/read/pali/9/226/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=964 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่
    -สัจจสัญญาอันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปฌานสี่ [กรณีของปฐมฌาน] โปฏฐปาทะ ! เมื่อภิกษุนั้นมองเห็นนิวรณ์ทั้งห้าเหล่านี้ ที่ตนละได้แล้ว อยู่ ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์เกิด ปีติย่อมเกิด; กายของผู้มีใจปีติ ย่อมสงบรำงับ; ผู้มีกายสงบรำงับ ย่อมเสวยสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น. ภิกษุนั้น เพราะสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงบรรลุ ฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่. สัญญาในกามอันมีในกาลก่อนของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่งย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของทุติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้จึงบรรลุ ฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งในภายใน นำให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์อันเดียว ไม่มีวิตกวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่วิเวก ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้นย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขที่เกิดแต่สมาธิ ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของตติยฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย จึงบรรลุ ฌานที่สาม อันเป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่า “ผู้ได้บรรลุฌานนี้ เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข” ดังนี้ แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป. แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. [กรณีของจตุตถฌาน] โปฏฐปาทะ ! ข้ออื่นยังมีอีก : ภิกษุ เพราะละสุขและละทุกข์เสียได้, เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน, จึงบรรลุ ฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์ไม่สุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. สัจจสัญญาอันละเอียดในอุเปกขาสุข ที่มีในกาลก่อน ของเธอนั้น ย่อมดับไป; สัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ย่อมมีขึ้นในสมัยนั้น, เธอ ย่อมเป็นผู้มีสัจจสัญญาอันละเอียดในอทุกขมสุข ในสมัยนั้น. เพราะการศึกษาอย่างนี้ สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมเกิดขึ้น, สัญญาอย่างหนึ่ง ย่อมดับไป, แม้นี้ ก็เป็นการศึกษา. (ในกรณีแห่ง อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ และอากิญจัญญายตนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    สัทธรรมลำดับที่ : 963
    ชื่อบทธรรม : -ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท
    --ภิกษุ ท. ! บุคคลเป็นผู้ มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่
    จิตย่อมไม่เกลือกกลั้วในรูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ;
    เมื่อเขามีจิตไม่เกลือกกลั้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด;
    เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด;
    เมื่อมีจิตปีติ กายย่อมสงบ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=ปีติมนสฺส+ปสฺสทฺธกาโย
    ผู้มีกายสงบ ย่อมอยู่เป็นสุข;
    จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น;
    เมื่อจิตตั้งมั่นแล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ;
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=สมาหิเต+จิตฺเต+ธมฺมานํ+ปาตุภาวา
    เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ บุคคลนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับว่า
    เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า #บุคคลเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท.

    (ในกรณีแห่งผู้ มีปกติอยู่ด้วยความประมาท ก็ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม).-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/80/144.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๙๘/๑๔๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=963
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท สัทธรรมลำดับที่ : 963 ชื่อบทธรรม : -ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963 เนื้อความทั้งหมด :- --ลำดับพฤติจิตของผู้ที่จะเป็นอยู่ด้วยความไม่ประมาท --ภิกษุ ท. ! บุคคลเป็นผู้ มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อบุคคลสำรวม จักขุนทรีย์ อยู่ จิตย่อมไม่เกลือกกลั้วในรูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ; เมื่อเขามีจิตไม่เกลือกกลั้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด; เมื่อปราโมทย์แล้ว ปีติย่อมเกิด; เมื่อมีจิตปีติ กายย่อมสงบ; http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=ปีติมนสฺส+ปสฺสทฺธกาโย ผู้มีกายสงบ ย่อมอยู่เป็นสุข; จิตของผู้มีสุข ย่อมตั้งมั่น; เมื่อจิตตั้งมั่นแล้ว ธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ; http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=สมาหิเต+จิตฺเต+ธมฺมานํ+ปาตุภาวา เพราะธรรมทั้งหลายปรากฏ บุคคลนั้น ย่อมถึงซึ่งการนับว่า เป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท โดยแท้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! อย่างนี้แล ชื่อว่า #บุคคลเป็นผู้มีปกติอยู่ด้วยความไม่ประมาท. (ในกรณีแห่งผู้ มีปกติอยู่ด้วยความประมาท ก็ตรัสไว้โดยนัยตรงกันข้าม).- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค​#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/80/144. http://etipitaka.com/read/thai/18/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๙๘/๑๔๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/98/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=963 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=963 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 173 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts