• รายงานกิจกรรมวันปิยมหาราช
    วันที่ 23 ตุลาคม 2567 วันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
    การปฏิบัติ > พ.ต.อ.กะเกณฑ์ นิกรหัสชัย ผกก.สภ.เมืองพังงา มอบหมายให้ พ.ต.ท.ปฏิวัต ลิ้มฉุ้น รอง ผกก.ป.สภ.เมืองพังงา, พ.ต.ท.ไพรัช พงษ์ภมร สวป.ฯ, พ.ต.ต.โกวิทย์ เทพี สว.จร.ฯ เป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติ ข้าราชการตำรวจ สภ.เมืองพังงา ร่วมในพิธีวันปิยมหาราช อำนวยความสะดวกด้านการจราจร และจัดระเบียบการวางพวงมาลาของส่วนราชการ ในการจัดกิจกรรมน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้านวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(วันปิยมหาราช) ณ บริเวณอนุสาวรีย์รัชกาลที่ 5 หน้าที่ว่าการอำเภอเมืองพังงา
    รายงานกิจกรรมวันปิยมหาราช วันที่ 23 ตุลาคม 2567 วันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 การปฏิบัติ > พ.ต.อ.กะเกณฑ์ นิกรหัสชัย ผกก.สภ.เมืองพังงา มอบหมายให้ พ.ต.ท.ปฏิวัต ลิ้มฉุ้น รอง ผกก.ป.สภ.เมืองพังงา, พ.ต.ท.ไพรัช พงษ์ภมร สวป.ฯ, พ.ต.ต.โกวิทย์ เทพี สว.จร.ฯ เป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติ ข้าราชการตำรวจ สภ.เมืองพังงา ร่วมในพิธีวันปิยมหาราช อำนวยความสะดวกด้านการจราจร และจัดระเบียบการวางพวงมาลาของส่วนราชการ ในการจัดกิจกรรมน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้านวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(วันปิยมหาราช) ณ บริเวณอนุสาวรีย์รัชกาลที่ 5 หน้าที่ว่าการอำเภอเมืองพังงา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในหลวง-พระราชินี ทรงวางพวงมาลา เนื่องในวันปิยมหาราช พุทธศักราช 2567
    .
    วันนี้ (23 ต.ค.) เมื่อเวลา 17.19 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนิน โดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปทรงวางพวงมาลา ณ พระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระลานพระราชวังดุสิต เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วันปิยมหาราช พุทธศักราช 2567 ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง
    .
    ในโอกาสนี้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา โดยเสด็จในการนี้ด้วย
    .
    เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระลานพระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียน เครื่องราชสักการะทองทิศ และทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย ทรงกราบ และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะทองทิศ และทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย ทรงกราบ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ และทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย ทรงกราบ เสร็จแล้ว ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วันปิยมหาราช พุทธศักราช ๒๕๖๗ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง
    .
    #MGROnline #วันปิยมหาราช
    ในหลวง-พระราชินี ทรงวางพวงมาลา เนื่องในวันปิยมหาราช พุทธศักราช 2567 . วันนี้ (23 ต.ค.) เมื่อเวลา 17.19 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนิน โดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปทรงวางพวงมาลา ณ พระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระลานพระราชวังดุสิต เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วันปิยมหาราช พุทธศักราช 2567 ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง . ในโอกาสนี้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา โดยเสด็จในการนี้ด้วย . เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระลานพระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียน เครื่องราชสักการะทองทิศ และทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย ทรงกราบ และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงวางพวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และพวงมาลาส่วนพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะทองทิศ และทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย ทรงกราบ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ทรงวางพวงมาลาส่วนพระองค์ และทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย ทรงกราบ เสร็จแล้ว ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วันปิยมหาราช พุทธศักราช ๒๕๖๗ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบรมมหาราชวัง . #MGROnline #วันปิยมหาราช
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 192 มุมมอง 0 รีวิว
  • น่าน ประกอบพิธีวางพวงมาลา เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    https://youtu.be/ar_j1Hteq44
    น่าน ประกอบพิธีวางพวงมาลา เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว https://youtu.be/ar_j1Hteq44
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 37 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอน้อมระลึกพระมหากรุณาธิคุณ พระปิยะมหาราช

    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา ครองราชสมบัติมานานถึง 42 ปี พระราชกรณียกิจที่สำคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อาทิเช่น 1.การเลิกทาส เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง ที่ทำให้พระองค์ทรงได้รับพระสมัญญาว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช"
    ขอน้อมระลึกพระมหากรุณาธิคุณ พระปิยะมหาราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 รวมพระชนมายุได้ 58 พรรษา ครองราชสมบัติมานานถึง 42 ปี พระราชกรณียกิจที่สำคัญในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อาทิเช่น 1.การเลิกทาส เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง ที่ทำให้พระองค์ทรงได้รับพระสมัญญาว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 70 มุมมอง 0 รีวิว
  • น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ใน
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    เนื่องในวันปิยะมหาราช ๒๓ ตุลาคม
    ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตในรัชกาลที่ ๕
    เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓
    สิริรวมพระชนมายุได้ ๕๘ พรรษา
    ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่พระปรีชาสามารถ
    และเป็นที่รักยิ่งของพสกนิกรไทย
    สมกับพระราชสมัญญา "พระปิยมหาราช”
    พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน
    น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันปิยะมหาราช ๒๓ ตุลาคม ซึ่งเป็นวันคล้ายวันสวรรคตในรัชกาลที่ ๕ เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ สิริรวมพระชนมายุได้ ๕๘ พรรษา ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่พระปรีชาสามารถ และเป็นที่รักยิ่งของพสกนิกรไทย สมกับพระราชสมัญญา "พระปิยมหาราช” พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 188 มุมมอง 0 รีวิว
  • 23 ตุลาคม วันปิยมหาราช น้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5

    ////////////////////

    23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยพระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ต่อประเทศไทยหลายด้าน และสิ่งที่โดดเด่นคือ การประกาศ เลิกทาส เป็นการหยุดวงจรการเป็นทาส เพราะเมื่อสมัยก่อนหากพ่อแม่เป็นทาส ลูกที่เกิดมาก็ต้องเป็นทาสต่อไปเรื่อยๆ ทางราชการจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคมของทุกปีเป็นหนึ่งในวันระลึกถึงความสำคัญของเหตุการณ์ในชาติ โดยเรียกว่า “วันปิยมหาราช”
    พระราชประวัติ
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2396 เป็นโอรสองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระนางเจ้าฟ้ารำเพยภมราภิรมย์ (สมเด็จพระเทพศิรินทรา พระบรมราชินี)เมื่อพระชนมายุได้ 9 พรรษา ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรลังกาศ ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ พระองค์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการตั้งแต่ยังเป็นเด็ก ศึกษาวิชาต่างๆ เช่น ชีววิทยา วิชาดาบ วิศวกรรมศาสตร์ ภาษาอังกฤษและมานุษยวิทยา และเดินทางไปต่างประเทศและศึกษายุโรป และวิทยาศาสตร์การทหาร ในช่วงครองราชย์ 42 ปี พระองค์ทรงริเริ่มขบวนการปฏิรูปการพัฒนาตนเองและความเจริญรุ่งเรือง ทำให้การเมืองและการทหารของไทยเป็นตะวันตก และบรรลุความมั่งคั่ง ความก้าวหน้า สันติภาพและความพึงพอใจของประเทศ นักวิชาการหลายคนเชื่อว่าการกระทำของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทำให้ประเทศไทยสามารถรักษาเอกราชไว้ได้

    ประราชกรณียกิจสำคัญ

    การเลิกทาส : ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสที่แท้จริงขึ้น เรียกว่า “พระราชบัญญัติทาส ร.ศ.124” (พ.ศ.2448) เลิกเรื่องลูกทาส ในเรือนเบี้ยอย่างเด็ดขาด เด็กที่เกิดจากทาส ไม่เป็นทาสอีกต่อไป การซื้อขายทาสเป็นโทษทางอาญา ส่วนผู้ที่เป็นทาสอยู่แล้ว ให้นายเงินลดค่าตัวให้เดือนละ 4 บาท จนกว่าจะหมด

    การปฏิรูประเบียบบริหารราชการ : ได้ทรงปรับปรุงหน้าที่ของกรมต่าง ๆ ที่มีอยู่แต่เดิมให้เป็นระเบียบเรียบร้อยโดยรวมกรมต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมายเวลานั้นเข้าเป็นกระทรวง กระทรวงหนึ่ง ๆ ก็มีหน้าที่อย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างพอเหมาะสม

    การศึกษา : ทรงโปรดให้จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง แล้วมีหมายประกาศชักชวนพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการให้ส่งบุตรหลานเข้า เรียน โรงเรียนภาษาไทยนี้

    การคมนาคม ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนบำรุงเมือง ถนนที่ทรงสร้างใหม่ คือ ถนนเยาวราช ถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินนอก ถนนดินสอ ถนนบูรพา ถนนอุณากรรณ เป็นต้น

    การสุขาภิบาล ได้ทรงตั้งกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อดูแลจัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นหลายแห่ง เช่น ศิริราชพยาบาล โรงพยาบาลบางรัก โรงพยาบาลโรคจิต และโรงเลี้ยงเด็ก

    การวรรณคดี ทรงเป็นนักประพันธ์ ซึ่งมีความชำนาญทั้งทางร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น ไกลบ้าน ลิลิตนิทราชาคริต เงาะป่า พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นต้น

    ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายฯ
    สำนักงาน นันท์นภัส วงศ์ใหญ่
    ขอน้อมรำลึกถึง
    พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าและเพื่อเทิดพระเกียรติแด่พระองค์ท่านที่ทรงมีคุณูปการต่อประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง
    23 ตุลาคม วันปิยมหาราช น้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 //////////////////// 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยพระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ต่อประเทศไทยหลายด้าน และสิ่งที่โดดเด่นคือ การประกาศ เลิกทาส เป็นการหยุดวงจรการเป็นทาส เพราะเมื่อสมัยก่อนหากพ่อแม่เป็นทาส ลูกที่เกิดมาก็ต้องเป็นทาสต่อไปเรื่อยๆ ทางราชการจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคมของทุกปีเป็นหนึ่งในวันระลึกถึงความสำคัญของเหตุการณ์ในชาติ โดยเรียกว่า “วันปิยมหาราช” พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2396 เป็นโอรสองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระนางเจ้าฟ้ารำเพยภมราภิรมย์ (สมเด็จพระเทพศิรินทรา พระบรมราชินี)เมื่อพระชนมายุได้ 9 พรรษา ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรลังกาศ ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ พระองค์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการตั้งแต่ยังเป็นเด็ก ศึกษาวิชาต่างๆ เช่น ชีววิทยา วิชาดาบ วิศวกรรมศาสตร์ ภาษาอังกฤษและมานุษยวิทยา และเดินทางไปต่างประเทศและศึกษายุโรป และวิทยาศาสตร์การทหาร ในช่วงครองราชย์ 42 ปี พระองค์ทรงริเริ่มขบวนการปฏิรูปการพัฒนาตนเองและความเจริญรุ่งเรือง ทำให้การเมืองและการทหารของไทยเป็นตะวันตก และบรรลุความมั่งคั่ง ความก้าวหน้า สันติภาพและความพึงพอใจของประเทศ นักวิชาการหลายคนเชื่อว่าการกระทำของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทำให้ประเทศไทยสามารถรักษาเอกราชไว้ได้ ประราชกรณียกิจสำคัญ การเลิกทาส : ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสที่แท้จริงขึ้น เรียกว่า “พระราชบัญญัติทาส ร.ศ.124” (พ.ศ.2448) เลิกเรื่องลูกทาส ในเรือนเบี้ยอย่างเด็ดขาด เด็กที่เกิดจากทาส ไม่เป็นทาสอีกต่อไป การซื้อขายทาสเป็นโทษทางอาญา ส่วนผู้ที่เป็นทาสอยู่แล้ว ให้นายเงินลดค่าตัวให้เดือนละ 4 บาท จนกว่าจะหมด การปฏิรูประเบียบบริหารราชการ : ได้ทรงปรับปรุงหน้าที่ของกรมต่าง ๆ ที่มีอยู่แต่เดิมให้เป็นระเบียบเรียบร้อยโดยรวมกรมต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมายเวลานั้นเข้าเป็นกระทรวง กระทรวงหนึ่ง ๆ ก็มีหน้าที่อย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างพอเหมาะสม การศึกษา : ทรงโปรดให้จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง แล้วมีหมายประกาศชักชวนพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการให้ส่งบุตรหลานเข้า เรียน โรงเรียนภาษาไทยนี้ การคมนาคม ได้โปรดเกล้าฯ ให้ขยายถนนบำรุงเมือง ถนนที่ทรงสร้างใหม่ คือ ถนนเยาวราช ถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินนอก ถนนดินสอ ถนนบูรพา ถนนอุณากรรณ เป็นต้น การสุขาภิบาล ได้ทรงตั้งกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อดูแลจัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นหลายแห่ง เช่น ศิริราชพยาบาล โรงพยาบาลบางรัก โรงพยาบาลโรคจิต และโรงเลี้ยงเด็ก การวรรณคดี ทรงเป็นนักประพันธ์ ซึ่งมีความชำนาญทั้งทางร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น ไกลบ้าน ลิลิตนิทราชาคริต เงาะป่า พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นต้น ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายฯ สำนักงาน นันท์นภัส วงศ์ใหญ่ ขอน้อมรำลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าและเพื่อเทิดพระเกียรติแด่พระองค์ท่านที่ทรงมีคุณูปการต่อประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 139 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช
    🙏🏻น้อมเกล้ารำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ อันหาที่สุดมิได้
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    #Thaitimes
    ๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช 🙏🏻น้อมเกล้ารำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ อันหาที่สุดมิได้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว #Thaitimes
    Love
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 307 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕
    ๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช
    น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    Like
    Love
    2
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 56 มุมมอง 0 รีวิว
  • ๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช
    น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕

    ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
    ข้าพระพุทธเจ้า บริษัท ไทย เวิลด์ มีเดีย จำกัด
    ๒๓ ตุลาคม วันปิยมหาราช น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า บริษัท ไทย เวิลด์ มีเดีย จำกัด
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 125 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1]


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 474 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • วันนี้วันดีบวงสรวง
     วันคล้ายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพ่อปิยะมหาราช
    ณวัดท่าไชยสิริ 
    วันนี้วันดีบวงสรวง  วันคล้ายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพ่อปิยะมหาราช ณวัดท่าไชยสิริ 
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 156 มุมมอง 86 0 รีวิว
  • วันอังคาร ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นายกสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เสด็จไปมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ทรงเป็นประธานในงานวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีที่ ๑๓๑ และพิธีทอดผ้าป่าเพื่อนำปัจจัยโดยเสด็จพระกุศลสมทบทุนการศึกษาสมเด็จพระสังฆราชเจ้า (วาสนมหาเถร) ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ตามที่เจ้าพระคุณ สมเด็จพระสังฆราช ทรงตั้งไว้ในมหาวิทยาลัย สำหรับประทานแก่พระภิกษุสามเณรนักศึกษา

    การนี้ โปรดประทานรางวัลแก่ผู้มีอุปการคุณต่อมหาวิทยาลัย แก่บุคลากรดีเด่น ทุนการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร และของที่ระลึกแก่ผู้ร่วมโดยเสด็จพระกุศล

    โอกาสนี้ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระสังฆราช ประทานพระสัมโมทนียกถา ความตอนหนึ่งว่า

    “พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนามหามกุฏราชวิทยาลัยขึ้น เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมชนกนาถ โดยมีเจ้าพระคุณ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นปฐมบูรพาจารย์ ด้วยทุก ๆ พระองค์ล้วนทรงมุ่งหมายให้พระพุทธศาสนา สถาพรอยู่คู่โลกนี้ และเป็นหลักชัยของบ้านเมืองไทยอยู่ตราบกาลนาน

    การที่พระพุทธศาสนาจะดำรงคงมั่น จำเป็นต้องสร้างสรรค์พุทธบริษัทให้รู้ลึกและรู้รอบในวิชชา ตามกระบวนการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมที่ถูกต้อง หากการศึกษาพระปริยัติธรรมอ่อนแอผิดพลาดคลาดเคลื่อน หรือรวนเรไปตามอัตโนมติแล้ว ย่อมปฏิบัติผิดและสอนผิด ทำให้ไม่อาจเข้าถึงปฏิบัติธรรม และปฏิเวธธรรมได้

    ปริยัติธรรมอันควรศึกษาโดยรอบ ย่อมหมายถึง พระพุทธพจน์ หรือพระไตรปิฎก รวมทั้งอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา และคำอธิบายต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจในหลักคำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วย

    การศึกษาปริยัติธรรมอาจจำแนกได้เป็น ๓ ระดับ กล่าวคือ

    ๑. อลคัททูปริยัติ การศึกษาแบบจับงูพิษที่หางคือ ศึกษาเพื่อลาภสักการะ เพื่อคำสรรเสริญหรือเพื่อยกตนข่มผู้อื่นย่อมเป็นโทษ เหมือนการจับงูพิษที่หาง งูย่อมแว้งขบกัดเอาได้

    ๒. นิสสรณัตถปริยัติ การศึกษาเพื่อประโยชน์แก่การออกไปจากทุกข์ คือ เพื่ออบรมปัญญาเป็นการศึกษาของผู้ที่เห็นโทษภัยในวัฏสงสาร

    และ ๓. ภัณฑาคาริกปริยัติ การศึกษาแบบขุนคลัง คือเพื่อทรงพระศาสนาไว้ไม่ให้เสื่อมสูญเป็นการศึกษาของผู้จบกิจในการอบรมปัญญา เพื่อละกิเลสแล้วแต่ยังมีฉันทะในการศึกษา เพื่อถ่ายทอดพระธรรมคำสอนให้แก่ชนรุ่นหลัง

    ณ โอกาสอันเป็นมงคลนี้ จึงขอเตือนใจให้ทุกท่านอย่าได้คิดศึกษาแบบอลคัททูปริยัติ แต่ขอเป็นกำลังใจสนับสนุนให้ท่านจงเป็นผู้องอาจ และเข้มแข็งในอันที่จะศึกษาพระปริยัติธรรม เพื่อความออกจากทุกข์ และเพื่อรักษาพระสัทธรรม ไว้ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์สมตามเจตนารมณ์ของบูรพาจารย์ ขออย่าให้อคติทั้ง ๔ เข้ามาบดบัง และบิดเบือน จนกลายเป็นมิจฉาทิฐิไปได้เป็นอันขาด

    อาตมภาพขออนุโมทนากุศลจริยาที่ทุกท่านช่วยกันสนับสนุนกิจการของมหาวิทยาลัย และขอแสดงมุทิตาจิตต่อผู้ได้รับตำแหน่ง ทุน และรางวัลต่าง ๆ กับทั้งขออำนวยพรให้ทุกท่าน จงเจริญรุ่งเรืองในพระบวรพุทธศาสนา ยิ่ง ๆ ขึ้นสืบไปเทอญ“

    ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/x6nCcePgoJRmbCxT/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    วันอังคาร ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นายกสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เสด็จไปมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ทรงเป็นประธานในงานวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีที่ ๑๓๑ และพิธีทอดผ้าป่าเพื่อนำปัจจัยโดยเสด็จพระกุศลสมทบทุนการศึกษาสมเด็จพระสังฆราชเจ้า (วาสนมหาเถร) ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ตามที่เจ้าพระคุณ สมเด็จพระสังฆราช ทรงตั้งไว้ในมหาวิทยาลัย สำหรับประทานแก่พระภิกษุสามเณรนักศึกษา การนี้ โปรดประทานรางวัลแก่ผู้มีอุปการคุณต่อมหาวิทยาลัย แก่บุคลากรดีเด่น ทุนการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร และของที่ระลึกแก่ผู้ร่วมโดยเสด็จพระกุศล โอกาสนี้ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระสังฆราช ประทานพระสัมโมทนียกถา ความตอนหนึ่งว่า “พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนามหามกุฏราชวิทยาลัยขึ้น เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมชนกนาถ โดยมีเจ้าพระคุณ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นปฐมบูรพาจารย์ ด้วยทุก ๆ พระองค์ล้วนทรงมุ่งหมายให้พระพุทธศาสนา สถาพรอยู่คู่โลกนี้ และเป็นหลักชัยของบ้านเมืองไทยอยู่ตราบกาลนาน การที่พระพุทธศาสนาจะดำรงคงมั่น จำเป็นต้องสร้างสรรค์พุทธบริษัทให้รู้ลึกและรู้รอบในวิชชา ตามกระบวนการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมที่ถูกต้อง หากการศึกษาพระปริยัติธรรมอ่อนแอผิดพลาดคลาดเคลื่อน หรือรวนเรไปตามอัตโนมติแล้ว ย่อมปฏิบัติผิดและสอนผิด ทำให้ไม่อาจเข้าถึงปฏิบัติธรรม และปฏิเวธธรรมได้ ปริยัติธรรมอันควรศึกษาโดยรอบ ย่อมหมายถึง พระพุทธพจน์ หรือพระไตรปิฎก รวมทั้งอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา และคำอธิบายต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจในหลักคำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วย การศึกษาปริยัติธรรมอาจจำแนกได้เป็น ๓ ระดับ กล่าวคือ ๑. อลคัททูปริยัติ การศึกษาแบบจับงูพิษที่หางคือ ศึกษาเพื่อลาภสักการะ เพื่อคำสรรเสริญหรือเพื่อยกตนข่มผู้อื่นย่อมเป็นโทษ เหมือนการจับงูพิษที่หาง งูย่อมแว้งขบกัดเอาได้ ๒. นิสสรณัตถปริยัติ การศึกษาเพื่อประโยชน์แก่การออกไปจากทุกข์ คือ เพื่ออบรมปัญญาเป็นการศึกษาของผู้ที่เห็นโทษภัยในวัฏสงสาร และ ๓. ภัณฑาคาริกปริยัติ การศึกษาแบบขุนคลัง คือเพื่อทรงพระศาสนาไว้ไม่ให้เสื่อมสูญเป็นการศึกษาของผู้จบกิจในการอบรมปัญญา เพื่อละกิเลสแล้วแต่ยังมีฉันทะในการศึกษา เพื่อถ่ายทอดพระธรรมคำสอนให้แก่ชนรุ่นหลัง ณ โอกาสอันเป็นมงคลนี้ จึงขอเตือนใจให้ทุกท่านอย่าได้คิดศึกษาแบบอลคัททูปริยัติ แต่ขอเป็นกำลังใจสนับสนุนให้ท่านจงเป็นผู้องอาจ และเข้มแข็งในอันที่จะศึกษาพระปริยัติธรรม เพื่อความออกจากทุกข์ และเพื่อรักษาพระสัทธรรม ไว้ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์สมตามเจตนารมณ์ของบูรพาจารย์ ขออย่าให้อคติทั้ง ๔ เข้ามาบดบัง และบิดเบือน จนกลายเป็นมิจฉาทิฐิไปได้เป็นอันขาด อาตมภาพขออนุโมทนากุศลจริยาที่ทุกท่านช่วยกันสนับสนุนกิจการของมหาวิทยาลัย และขอแสดงมุทิตาจิตต่อผู้ได้รับตำแหน่ง ทุน และรางวัลต่าง ๆ กับทั้งขออำนวยพรให้ทุกท่าน จงเจริญรุ่งเรืองในพระบวรพุทธศาสนา ยิ่ง ๆ ขึ้นสืบไปเทอญ“ ที่มา : https://www.facebook.com/share/p/x6nCcePgoJRmbCxT/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Love
    10
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 694 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันรำลึกถึงรัชกาลที่ 5 ในหลวงรัชกาลที่ 9 และพระราชินีสิริกิติ์และพสกนิกรชาวไทยทั้วหล้าต่างร่วมถวายสดุดีให้กับพระองค์ ผู้ที่มีอุปการะคุณแก่ประเทศไทยอย่างมากล้น โดยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฉลองพระองค์ด้วยชุดไทยบรมพิมาน #รัชกาลที่5 #พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว #ในหลวงรัชกาลที่9 #สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ #เคลมชุดไทย #ชุดไทย #ชุดไทยพระราชนิยม #ควีนสิริกิติ์แฟชั่น #jookkyporamin #longervideos
    วันรำลึกถึงรัชกาลที่ 5 ในหลวงรัชกาลที่ 9 และพระราชินีสิริกิติ์และพสกนิกรชาวไทยทั้วหล้าต่างร่วมถวายสดุดีให้กับพระองค์ ผู้ที่มีอุปการะคุณแก่ประเทศไทยอย่างมากล้น โดยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฉลองพระองค์ด้วยชุดไทยบรมพิมาน #รัชกาลที่5 #พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว #ในหลวงรัชกาลที่9 #สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ #เคลมชุดไทย #ชุดไทย #ชุดไทยพระราชนิยม #ควีนสิริกิติ์แฟชั่น #jookkyporamin #longervideos
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 250 มุมมอง 45 0 รีวิว
  • สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์
    ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

    โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์
    และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส

    #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #วัดราชบพิธ #ศรีวัฒนธรรม #Thaitimesวัฒนธรรม #วัฒนธรรมไทย
    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์ และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #วัดราชบพิธ #ศรีวัฒนธรรม #Thaitimesวัฒนธรรม #วัฒนธรรมไทย
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1670 มุมมอง 633 0 รีวิว
  • สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์
    ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

    โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์
    และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส

    #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #งานบำเพ็ญกุศล
    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์ และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #งานบำเพ็ญกุศล
    Like
    Love
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1398 มุมมอง 477 0 รีวิว
  • สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์
    ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

    โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์
    และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส

    #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #วัดราชบพิธ
    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประธานทุนจุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ ซึ่งประกอบด้วย 16 ราชสกุล และสมาชิกสายสัมพันธ์กับมเหสีและเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดงานบำเพ็ญกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์ และพลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคล ทรงเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส #thaitimes #สมเด็จพระสังฆราช #วัดราชบพิธ
    Like
    Love
    11
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1461 มุมมอง 0 รีวิว