• อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    สัทธรรมลำดับที่ : 239
    ชื่อบทธรรม : - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ?
    สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?”
    --โลก ถูกตัณหาชักนำไป,
    --โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=ตณฺหาย+นียติ+โลโก
    สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ #ตัณหา.-

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/46/182-183.
    http://etipitaka.com/read/thai/15/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๕๔/๑๘๒-๑๘๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=239
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก สัทธรรมลำดับที่ : 239 ชื่อบทธรรม : - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239 เนื้อความทั้งหมด :- --เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ? สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?” --โลก ถูกตัณหาชักนำไป, --โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ. http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=ตณฺหาย+นียติ+โลโก สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ #ตัณหา.- #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. 15/46/182-183. http://etipitaka.com/read/thai/15/46/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สคา. สํ. ๑๕/๕๔/๑๘๒-๑๘๓. http://etipitaka.com/read/pali/15/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=239 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=239 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก
    -(ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี. - ๑๗/๑๙๒/๒๗๖). เจ้าเหนือหัวของสัตว์โลก “โลก ถูกอะไรชักนำไป ? โลก ถูกอะไรฉุดดึงไปรอบ ๆ ? สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่ง ๆเดียวกันนั้น คืออะไร ?” โลก ถูกตัณหาชักนำไป, โลก ถูกตัณหาฉุดดึงไปรอบๆ. สัตว์โลกทั้งหมด ตกอยู่ในอำนาจของสิ่งๆ เดียว สิ่งนั้น คือ ตัณหา.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 56 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาในลักษณะแห่งตัณหาที่เป็นเหตุกำเนิดในภพใหม่
    สัทธรรมลำดับที่ : 238
    ชื่อบทธรรม :- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    --ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ?
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายสมุทโย
    ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก
    ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน (นนฺทิราคสหคตา)​
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=นนฺทิราคสหคตา
    #ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ;
    ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #สักกายสมุทัย.-

    (ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า #สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายสมุทยนฺโต
    --- ๑๗/๑๙๒/๒๗๖
    http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96
    ).

    #ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่#สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151/286.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=238
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16
    ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาในลักษณะแห่งตัณหาที่เป็นเหตุกำเนิดในภพใหม่ สัทธรรมลำดับที่ : 238 ชื่อบทธรรม :- สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238 เนื้อความทั้งหมด :- --สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา --ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ? http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=สกฺกายสมุทโย ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน (นนฺทิราคสหคตา)​ http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=นนฺทิราคสหคตา #ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ; ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. +--ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า #สักกายสมุทัย.- (ในสูตรอื่น แทนที่จะตรัสว่า สักกายสมุทัย แต่ตรัสเรียกว่า #สักกายสมุทัยยันตะ ก็มี. http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=สกฺกายสมุทยนฺโต --- ๑๗/๑๙๒/๒๗๖ http://etipitaka.com/read/pali/17/192/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%96 ). #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่​ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/151/286. http://etipitaka.com/read/thai/17/151/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/194/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=238 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16&id=238 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=16 ลำดับสาธยายธรรม : 16 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_16.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา
    -สักกายสมุทัยไวพจน์แห่งตัณหา ภิกษุ ท. ! สักกายสมุทัย เป็นอย่างไรเล่า ? ตัณหานี้ใด อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก ประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน ทำให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ; ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา. ภิกษุ ท. ! นี้เรากล่าวว่า สักกายสมุทัย.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 81 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 216
    ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์,
    และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์”
    ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง
    ความเกิด เป็นทุกข์,
    ความแก่ เป็นทุกข์,
    ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์,
    ความตาย เป็นทุกข์,
    ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์,
    ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ;
    กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่,
    ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่,
    ที่คลายช้า มีอยู่,
    และที่คลายเร็ว มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้
    ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว
    ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ;
    หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า
    “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น
    ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 216 ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 เนื้อความทั้งหมด :- ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒
    -นิทเทศ ๒ ว่าด้วยทุกข์สรุปในปัญจุปาทานักขันธ์ จบ นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ (มี ๑๘ เรื่อง) หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ความเป็นต่างกันของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ผลของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 252 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาบุคคลผู้รอดไปได้ไม่ตายกลางทาง​
    สัทธรรมลำดับที่ : 562
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=562
    ชื่อบทธรรม :- ผู้รอดไปได้ไม่ตายกลางทาง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้รอดไปได้ไม่ตายกลางทาง
    --สุนักขัตตะ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีได้
    คือจะมีภิกษุบางรูปในกรณีนี้มีความเข้าใจของตนว่า
    “ตัณหานั้น สมณะกล่าวกันว่าเป็นลูกศร,
    โทษอันมีพิษของอวิชชา ย่อมงอกงามเพราะ​ ฉันทราคะและพยาบาท ;
    ลูกศรคือตัณหานั้นเราละได้แล้ว,
    โทษอันมีพิษของ​ อวิชชา เราก็นำออกไปหมดแล้ว,
    เราเป็นผู้น้อมไปแล้วใน​ นิพพาน​ โดยชอบ.”
    http://etipitaka.com/read/pali/14/69/?keywords=สมฺมานิพฺพานาธิมุตฺโต
    ดังนี้.
    +-เมื่อเธอน้อมไปแล้วใน​ นิพพาน​ โดยชอบ อยู่,
    +-เธอก็ไม่ตามประกอบซึ่งธรรมทั้งหลายอันไม่เป็นที่สบาย
    แก่ผู้น้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ ;
    คือไม่ตามประกอบซึ่งธรรมอันไม่เป็นที่สบาย ในการ
    เห็นรูปด้วยตาฟังเสียงด้วยหู ;
    ดมกลิ่นด้วยจมูก ;
    ลิ้มรสด้วยลิ้น ;
    ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ;
    รู้สึกธรรมารมณ์ด้วยใจ
    อันล้วนไม่เป็นที่สบาย.
    เมื่อเธอไม่ตามประกอบซึ่งธรรมอันไม่เป็นที่สบายเหล่านี้อยู่,
    ราคะย่อมไม่เสียบแทงจิตของเธอ.
    +-เธอมีจิตอันราคะไม่เสียบแทงแล้ว ย่อมไม่ถึงความตายหรือความทุกข์เจียนตาย.
    --สุนกขัตตะ !
    เปรียบเหมือนบุรุษถูกยิงด้วยลูกศรอันอาบไว้ด้วยยาพิษอย่างแรงกล้า.
    มิตรอำมาตย์ญาติสาโลหิตของเขาจัดหาหมอผ่าตัดมารักษา.
    หมอได้ใช้ศาสตราชำแหละปากแผลของเขา แล้ว ใช้เครื่องตรวจ
    ค้นหาลูกศร พบแล้วถอนลูกศรออก นำออกซึ่งโทษอันเป็นพิษจนรู้ว่าไม่มีเชื้อเหลือติดอยู่.
    หมอนั้นกล่าวแก่เขาอย่างนี้ว่า
    “บุรุษผู้เจริญ ! ลูกศรถูกถอนออกแล้ว,
    โทษอันเป็นพิษ เรานำออกจนไม่มีเชื้อเหลือติดอยู่แล้ว,
    ท่านหมดอันตรายแล้ว และท่านจะบริโภคอาหารได้ตามสบาย ;
    แต่ท่านอย่าไปกินอาหารชนิดที่ไม่สบายแก่แผลอันจะทำให้แผลอักเสบ
    และจงล้างแผลตามเวลา ทายาที่ปากแผลตามเวลา.
    เมื่อท่านล้างแผลตามเวลา ทายาที่ปากแผลตามเวลา
    อย่าให้หนองและเลือดเกรอะกรังปากแผล,
    และท่านอย่าเที่ยวตากลมและแดด, เมื่อเที่ยวตากลมและแดด
    ก็อย่าให้ฝุ่นละอองของโสโครกเข้าไปในปากแผล.
    บุรุษผู้เจริญ! ท่านจงเป็นผู้ระวังรักษาแผล มีเรื่องแผลเป็นเรื่องสำคัญเถอะนะ”
    ดังนี้.
    บุรุษนั้น มีความคิดว่า
    “หมอถอนลูกศรให้เราเสร็จแล้ว
    โทษอันเป็นพิษหมอก็นำออกจนไม่มีเชื้อเหลืออยู่แล้ว เราหมดอันตราย”
    เขาบริโภคโภชนะอันเป็นที่สบาย (และประพฤติตามหมอสั่งทุกประการ)
    เขานำโทษพิษอันไม่สะอาดออกไป ด้วยการกระทำอันถูกต้องเหล่านี้
    แผลจึงไม่มีเชื้อเหลืออยู่, และงอกขึ้นเต็มเพราะเหตุทั้งสองนั้น.
    เขามีแผลงอกเต็ม มีผิวหนังราบเรียบแล้ว ก็ไม่ถึงซึ่งความตาย หรือความทุกข์เจียนตาย,
    นี้ฉันใด ;
    --สุนักขัตตะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน คือข้อที่
    ภิกษุบางรูป สำคัญตนว่าน้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ
    แล้วไม่ตามประกอบในธรรมที่ไม่เป็นที่สบายแก่การน้อมไปในนิพพานโดยชอบ
    ราคะก็ไม่เสียบแทงจิตเธอ.
    เธอมีจิตอันราคะไม่เสียบแทงแล้ว ย่อมไม่ถึงความตาย หรือความทุกข์เจียนตาย.
    --สุนักขัตตะ ! อุปมานี้เรากระทำขึ้น เพื่อให้เข้าใจเนื้อความ นี้คือเนื้อความในอุปมานั้น ;
    +-คำว่า ‘แผล’ เป็นชื่อแห่ง &​อายตนะภายในหก.
    +-คำว่า ‘โทษอันเป็นพิษ’ เป็นชื่อแห่ง &​อวิชชา.
    +-คำว่า ‘ลูกศร’ เป็นชื่อแห่ง &​ตัณหา.
    +-คำว่า ‘เครื่องตรวจ’ เป็นชื่อแห่ง &​สติ.
    +-คำว่า ‘ศาสตรา’ เป็นชื่อของ &​อริยปัญญา.
    +-คำว่า ‘หมอผ่าตัด’ เป็นชื่อของ #ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.-
    http://etipitaka.com/read/pali/14/72/?keywords=ตถาคต

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ.ม. 14/53/77.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/53/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ.ม. ๑๔/๖๙/๗๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/69/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=562
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=562
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37
    ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาบุคคลผู้รอดไปได้ไม่ตายกลางทาง​ สัทธรรมลำดับที่ : 562 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=562 ชื่อบทธรรม :- ผู้รอดไปได้ไม่ตายกลางทาง เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้รอดไปได้ไม่ตายกลางทาง --สุนักขัตตะ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีได้ คือจะมีภิกษุบางรูปในกรณีนี้มีความเข้าใจของตนว่า “ตัณหานั้น สมณะกล่าวกันว่าเป็นลูกศร, โทษอันมีพิษของอวิชชา ย่อมงอกงามเพราะ​ ฉันทราคะและพยาบาท ; ลูกศรคือตัณหานั้นเราละได้แล้ว, โทษอันมีพิษของ​ อวิชชา เราก็นำออกไปหมดแล้ว, เราเป็นผู้น้อมไปแล้วใน​ นิพพาน​ โดยชอบ.” http://etipitaka.com/read/pali/14/69/?keywords=สมฺมานิพฺพานาธิมุตฺโต ดังนี้. +-เมื่อเธอน้อมไปแล้วใน​ นิพพาน​ โดยชอบ อยู่, +-เธอก็ไม่ตามประกอบซึ่งธรรมทั้งหลายอันไม่เป็นที่สบาย แก่ผู้น้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ ; คือไม่ตามประกอบซึ่งธรรมอันไม่เป็นที่สบาย ในการ เห็นรูปด้วยตาฟังเสียงด้วยหู ; ดมกลิ่นด้วยจมูก ; ลิ้มรสด้วยลิ้น ; ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ; รู้สึกธรรมารมณ์ด้วยใจ อันล้วนไม่เป็นที่สบาย. เมื่อเธอไม่ตามประกอบซึ่งธรรมอันไม่เป็นที่สบายเหล่านี้อยู่, ราคะย่อมไม่เสียบแทงจิตของเธอ. +-เธอมีจิตอันราคะไม่เสียบแทงแล้ว ย่อมไม่ถึงความตายหรือความทุกข์เจียนตาย. --สุนกขัตตะ ! เปรียบเหมือนบุรุษถูกยิงด้วยลูกศรอันอาบไว้ด้วยยาพิษอย่างแรงกล้า. มิตรอำมาตย์ญาติสาโลหิตของเขาจัดหาหมอผ่าตัดมารักษา. หมอได้ใช้ศาสตราชำแหละปากแผลของเขา แล้ว ใช้เครื่องตรวจ ค้นหาลูกศร พบแล้วถอนลูกศรออก นำออกซึ่งโทษอันเป็นพิษจนรู้ว่าไม่มีเชื้อเหลือติดอยู่. หมอนั้นกล่าวแก่เขาอย่างนี้ว่า “บุรุษผู้เจริญ ! ลูกศรถูกถอนออกแล้ว, โทษอันเป็นพิษ เรานำออกจนไม่มีเชื้อเหลือติดอยู่แล้ว, ท่านหมดอันตรายแล้ว และท่านจะบริโภคอาหารได้ตามสบาย ; แต่ท่านอย่าไปกินอาหารชนิดที่ไม่สบายแก่แผลอันจะทำให้แผลอักเสบ และจงล้างแผลตามเวลา ทายาที่ปากแผลตามเวลา. เมื่อท่านล้างแผลตามเวลา ทายาที่ปากแผลตามเวลา อย่าให้หนองและเลือดเกรอะกรังปากแผล, และท่านอย่าเที่ยวตากลมและแดด, เมื่อเที่ยวตากลมและแดด ก็อย่าให้ฝุ่นละอองของโสโครกเข้าไปในปากแผล. บุรุษผู้เจริญ! ท่านจงเป็นผู้ระวังรักษาแผล มีเรื่องแผลเป็นเรื่องสำคัญเถอะนะ” ดังนี้. บุรุษนั้น มีความคิดว่า “หมอถอนลูกศรให้เราเสร็จแล้ว โทษอันเป็นพิษหมอก็นำออกจนไม่มีเชื้อเหลืออยู่แล้ว เราหมดอันตราย” เขาบริโภคโภชนะอันเป็นที่สบาย (และประพฤติตามหมอสั่งทุกประการ) เขานำโทษพิษอันไม่สะอาดออกไป ด้วยการกระทำอันถูกต้องเหล่านี้ แผลจึงไม่มีเชื้อเหลืออยู่, และงอกขึ้นเต็มเพราะเหตุทั้งสองนั้น. เขามีแผลงอกเต็ม มีผิวหนังราบเรียบแล้ว ก็ไม่ถึงซึ่งความตาย หรือความทุกข์เจียนตาย, นี้ฉันใด ; --สุนักขัตตะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน คือข้อที่ ภิกษุบางรูป สำคัญตนว่าน้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ แล้วไม่ตามประกอบในธรรมที่ไม่เป็นที่สบายแก่การน้อมไปในนิพพานโดยชอบ ราคะก็ไม่เสียบแทงจิตเธอ. เธอมีจิตอันราคะไม่เสียบแทงแล้ว ย่อมไม่ถึงความตาย หรือความทุกข์เจียนตาย. --สุนักขัตตะ ! อุปมานี้เรากระทำขึ้น เพื่อให้เข้าใจเนื้อความ นี้คือเนื้อความในอุปมานั้น ; +-คำว่า ‘แผล’ เป็นชื่อแห่ง &​อายตนะภายในหก. +-คำว่า ‘โทษอันเป็นพิษ’ เป็นชื่อแห่ง &​อวิชชา. +-คำว่า ‘ลูกศร’ เป็นชื่อแห่ง &​ตัณหา. +-คำว่า ‘เครื่องตรวจ’ เป็นชื่อแห่ง &​สติ. +-คำว่า ‘ศาสตรา’ เป็นชื่อของ &​อริยปัญญา. +-คำว่า ‘หมอผ่าตัด’ เป็นชื่อของ #ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.- http://etipitaka.com/read/pali/14/72/?keywords=ตถาคต #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ.ม. 14/53/77. http://etipitaka.com/read/thai/14/53/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ.ม. ๑๔/๖๙/๗๗. http://etipitaka.com/read/pali/14/69/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=562 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=562 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37 ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้รอดไปได้ไม่ตายกลางทาง
    -ผู้รอดไปได้ไม่ตายกลางทาง สุนักขัตตะ ! ข้อนี้เป็นฐานะที่มีได้ คือจะมีภิกษุบางรูปในกรณีนี้มีความเข้าใจของตนว่า “ตัณหานั้น สมณะกล่าวกันว่าเป็นลูกศร, โทษอันมีพิษของอวิชชา ย่อมงอกงามเพราะฉันทราคะและพยาบาท ; ลูกศรคือตัณหานั้นเราละได้แล้ว, โทษอันมีพิษของอวิชชา เราก็นำออกไปหมดแล้ว, เราเป็นผู้น้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ.” ดังนี้. เมื่อเธอน้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ อยู่, เธอก็ไม่ตามประกอบซึ่งธรรมทั้งหลายอันไม่เป็นที่สบายแก่ผู้น้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ ; คือไม่ตามประกอบซึ่งธรรมอันไม่เป็นที่สบาย ในการเห็นรูปด้วยตาฟังเสียงด้วยหู ดมกลิ่นด้วยจมูก ลิ้มรสด้วยลิ้น ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย รู้สึกธรรมารมณ์ด้วยใจ อันล้วนไม่เป็นที่สบาย. เมื่อเธอไม่ตามประกอบซึ่งธรรมอันไม่เป็นที่สบายเหล่านี้อยู่, ราคะย่อมไม่เสียบแทงจิตของเธอ. เธอมีจิตอันราคะไม่เสียบแทงแล้ว ย่อมไม่ถึงความตายหรือความทุกข์เจียนตาย. สุนกขัตตะ ! เปรียบเหมือนบุรุษถูกยิงด้วยลูกศรอันอาบไว้ด้วยยาพิษอย่างแรงกล้า. มิตรอำมาตย์ญาติสาโลหิตของเขาจัดหาหมอผ่าตัดมารักษา. หมอ ได้ใช้ศาสตราชำแหละปากแผลของเขา แล้วใช้เครื่องตรวจค้นหาลูกศร พบแล้วถอนลูกศรออก นำออกซึ่งโทษอันเป็นพิษจนรู้ว่าไม่มีเชื้อเหลือติดอยู่. หมอนั้นกล่าวแก่เขาอย่างนี้ว่า “บุรุษผู้เจริญ ! ลูกศรถูกถอนออกแล้ว, โทษอันเป็นพิษ เรานำออกจนไม่มีเชื้อเหลือติดอยู่แล้ว, ท่านหมดอันตรายแล้ว และท่านจะบริโภคอาหารได้ตามสบาย ; แต่ท่านอย่าไปกินอาหารชนิดที่ไม่สบายแก่แผลอันจะทำให้แผลอักเสบ และจงล้างแผลตามเวลา ทายาที่ปากแผลตามเวลา. เมื่อท่านล้างแผลตามเวลา ทายาที่ปากแผลตามเวลา อย่าให้หนองและเลือดเกรอะกรังปากแผล, และท่านอย่าเที่ยวตากลมและแดด, เมื่อเที่ยวตากลมและแดด ก็อย่าให้ฝุ่นละอองของโสโครกเข้าไปในปากแผล. บุรุษผู้เจริญ! ท่านจงเป็นผู้ระวังรักษาแผล มีเรื่องแผลเป็นเรื่องสำคัญเถอะนะ” ดังนี้. บุรุษนั้น มีความคิดว่า “หมอถอนลูกศรให้เราเสร็จแล้ว โทษอันเป็นพิษหมอก็นำออกจนไม่มีเชื้อเหลืออยู่แล้ว เราหมดอันตราย” เขาบริโภคโภชนะอันเป็นที่สบาย (และประพฤติตามหมอสั่งทุกประการ) เขานำโทษพิษอันไม่สะอาดออกไป ด้วยการกระทำอันถูกต้องเหล่านี้ แผลจึงไม่มีเชื้อเหลืออยู่, และงอกขึ้นเต็มเพราะเหตุทั้งสองนั้น. เขามีแผลงอกเต็ม มีผิวหนังราบเรียบแล้ว ก็ไม่ถึงซึ่งความตาย หรือความทุกข์เจียนตาย, นี้ฉันใด ; สุนักขัตตะ ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน คือข้อที่ภิกษุบางรูป สำคัญตนว่าน้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ....แล้วไม่ตามประกอบในธรรมที่ไม่เป็นที่สบายแก่การน้อมไปในนิพพานโดยชอบ....ราคะก็ไม่เสียบแทงจิตเธอ. เธอมีจิตอันราคะไม่เสียบแทงแล้ว ย่อมไม่ถึงความตาย หรือความทุกข์เจียนตาย. สุนักขัตตะ ! อุปมานี้เรากระทำขึ้น เพื่อให้เข้าใจเนื้อความ นี้คือเนื้อความในอุปมานั้น ; คำว่า ‘แผล’ เป็นชื่อแห่งอายตนะภายในหก. คำว่า ‘โทษอันเป็นพิษ’ เป็นชื่อแห่ง อวิชชา. คำว่า ‘ลูกศร’ เป็นชื่อแห่ง ตัณหา. คำว่า ‘เครื่องตรวจ’ เป็นชื่อแห่ง สติ. คำว่า ‘ศาสตรา’ เป็นชื่อของ อริยปัญญา. คำว่า ‘หมอผ่าตัด’ เป็นชื่อของ ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 533 มุมมอง 0 รีวิว
  • ราคะตัณหา..มันก็ทับถมในจิตใจคนมาไหนแต่ไร...ใครละจะไม่หลงชอบมัน
    ราคะตัณหา..มันก็ทับถมในจิตใจคนมาไหนแต่ไร...ใครละจะไม่หลงชอบมัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 36 มุมมอง 0 รีวิว