• ตอนเรียน มธ.หลงเชื่อข้อมูลผิดๆ ไม่ชอบ ร.๑๐ จนไม่เข้ารับปริญญา ทั้งๆที่ได้ #เกียรตินิยม รู้สึกเสียใจและเสียดายจนถึงทุกวันนี้...
    และ เพราะอะไรถึงกลับมารัก ร.๑๐ อย่างสุดหัวใจ 🙏💛
    ดร.ศุภณัฐ อภิญญาณ หรือ 'ดร.นิว' นักวิจัยภายใต้สถาบันวิจัย MAST Center และ คณะวิศวกรรมชีวการแพทย์ University of Arkansas ประเทศสหรัฐอเมริกา

    ได้โพสเฟซบุ๊ค ดังนี้
    .
    ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียน มธ. รหัส 53 และเคยได้รับข้อมูลผิด ๆ จนไม่ชอบในหลวง ร.10 มาก ๆ ถึงขั้นไม่เข้ารับพระราชทานปริญญาทั้ง ๆ ที่ผมจบเกียรตินิยม ผมไม่ได้เข้ารับของจริง ถ้าไม่เชื่อก็ไปเช็กได้เลยครับ ผมจึงยังคงเสียใจและเสียดายมาจนถึงทุกวันนี้ แต่พอได้ศึกษาข้อมูลที่ถูกต้องด้วยตนเองในช่วงเรียนปริญญาเอกที่สิงคโปร์ จากที่ไม่ชอบก็กลายเป็นรักและเห็นใจพระองค์ท่านมาก ๆ
    .
    พบว่าสิ่งที่เคยได้ยินจากสามนิ้วล้มเจ้าในยุคนั้นล้วนเป็นความเท็จและไม่มีประโยชน์ เห็นได้ชัดเจนมาก ๆ ว่าการบิดเบือนให้ร้ายในหลวง ร.10 เป็นส่วนหนึ่งของขบวนการสร้างความแตกแยกในหมู่ประชาชน เพื่อเซาะกร่อนบ่อนทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจ โดยมักบิดเบือนให้ร้ายสร้างมโนภาพต่าง ๆ ให้ในหลวง ร.10 กลายเป็นคนไม่ดี เป็นยักษ์ เป็นมาร เป็นจอมวายร้าย
    .
    แต่ทว่าในความเป็นจริง แม้ในหลวง ร.10 จะเป็นคนเคร่งครัดมากในระเบียบวินัยแบบทหาร แต่พระองค์ท่านก็เป็นคนที่มีเมตตาสูงมาก ขนาดชีวิตสัตว์ตัวเล็กตัวน้อย ท่านยังให้ความเมตตาแบบสุด ๆ ผมเคยได้ยินเรื่องหนึ่งที่เชื่อถือได้อย่างแน่ชัด เวลามีสัตว์หลงเข้ามาในลานฝึก ทหารที่ฝึกกับพระองค์ท่านจะต้องหยิบมันไปปล่อยอย่างเหมาะสม ใครจะไปนึกว่าในหลวง ร.10 จะทรงน่ารักขนาดนี้
    .
    ผมยังจำได้ดี ตอนผมจบปริญญาเอกปี 2561 ในวัย 26 ปี ในปีนั้นเพื่อนชาวสิงคโปร์ของผมชื่อ ‘ยองเจีย’ วัย 25 ปี เคยแสดงความคิดเห็นให้ผมฟังว่า "สถาบันพระมหากษัตริย์คือจุดแข็งที่สำคัญที่สุดของประเทศไทย ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษอันหาได้ยากยิ่ง ลองคิดดูนะ กว่าประเทศอื่นจะรวมผู้คนให้สามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันได้ ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ แต่ประเทศไทยสามารถทำได้แค่ในชั่วพริบตา เพราะมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจของผู้คน ดังนั้นถ้าหากมีใครต้องการทำลายประเทศไทย หรือแทรกแซงประเทศไทยเพื่อผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง จึงไม่แปลกที่เขาต้องทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์"
    .
    ผมโชคดีที่ตาสว่างกว่า ไม่เช่นนั้นตอนนี้ผมอาจติดคุกหรือไม่ก็ได้ดิบได้ดีในพรรคการเมืองหนึ่ง พรรคที่มีรากเหง้ามาจากสามนิ้วล้มเจ้าใน มธ. ชอบอ้างอย่างปลอมเปลือกว่าอยากให้สถาบันพระมหากษัตริย์มั่นคงสถาพร แต่ในความเป็นจริงแม้แต่ถวายพระพรก็ยังไม่มีเลย สุดท้ายเมื่อผมออกจาก Echo Chamber ของการลือตาม ๆ กันอย่างเสียสติ ไม่ต่างจากนกแก้วนกขุนทอง ไม่หลงเชื่อการโฆษณาชวนเชื่อบิดเบือนให้ร้ายพระองค์ท่านอีกต่อไป ผมจึงตาสว่างยิ่งกว่าตาสว่างและรักพระองค์ท่านสุดหัวใจ

    ดร.นิว ศุภณัฐ

    การที่บุคคล เห็นโทษ โดยความเป็นโทษ แล้วทำ คืนตามธรรม ถึงความสำรวมระวังต่อไป นี้เป็นความเจริญในอริยวินัย ของผู้นั้น
    #ตถาคตภาษิต
    ตอนเรียน มธ.หลงเชื่อข้อมูลผิดๆ ไม่ชอบ ร.๑๐ จนไม่เข้ารับปริญญา ทั้งๆที่ได้ #เกียรตินิยม รู้สึกเสียใจและเสียดายจนถึงทุกวันนี้... และ เพราะอะไรถึงกลับมารัก ร.๑๐ อย่างสุดหัวใจ 🙏💛 ดร.ศุภณัฐ อภิญญาณ หรือ 'ดร.นิว' นักวิจัยภายใต้สถาบันวิจัย MAST Center และ คณะวิศวกรรมชีวการแพทย์ University of Arkansas ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้โพสเฟซบุ๊ค ดังนี้ . ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียน มธ. รหัส 53 และเคยได้รับข้อมูลผิด ๆ จนไม่ชอบในหลวง ร.10 มาก ๆ ถึงขั้นไม่เข้ารับพระราชทานปริญญาทั้ง ๆ ที่ผมจบเกียรตินิยม ผมไม่ได้เข้ารับของจริง ถ้าไม่เชื่อก็ไปเช็กได้เลยครับ ผมจึงยังคงเสียใจและเสียดายมาจนถึงทุกวันนี้ แต่พอได้ศึกษาข้อมูลที่ถูกต้องด้วยตนเองในช่วงเรียนปริญญาเอกที่สิงคโปร์ จากที่ไม่ชอบก็กลายเป็นรักและเห็นใจพระองค์ท่านมาก ๆ . พบว่าสิ่งที่เคยได้ยินจากสามนิ้วล้มเจ้าในยุคนั้นล้วนเป็นความเท็จและไม่มีประโยชน์ เห็นได้ชัดเจนมาก ๆ ว่าการบิดเบือนให้ร้ายในหลวง ร.10 เป็นส่วนหนึ่งของขบวนการสร้างความแตกแยกในหมู่ประชาชน เพื่อเซาะกร่อนบ่อนทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจ โดยมักบิดเบือนให้ร้ายสร้างมโนภาพต่าง ๆ ให้ในหลวง ร.10 กลายเป็นคนไม่ดี เป็นยักษ์ เป็นมาร เป็นจอมวายร้าย . แต่ทว่าในความเป็นจริง แม้ในหลวง ร.10 จะเป็นคนเคร่งครัดมากในระเบียบวินัยแบบทหาร แต่พระองค์ท่านก็เป็นคนที่มีเมตตาสูงมาก ขนาดชีวิตสัตว์ตัวเล็กตัวน้อย ท่านยังให้ความเมตตาแบบสุด ๆ ผมเคยได้ยินเรื่องหนึ่งที่เชื่อถือได้อย่างแน่ชัด เวลามีสัตว์หลงเข้ามาในลานฝึก ทหารที่ฝึกกับพระองค์ท่านจะต้องหยิบมันไปปล่อยอย่างเหมาะสม ใครจะไปนึกว่าในหลวง ร.10 จะทรงน่ารักขนาดนี้ . ผมยังจำได้ดี ตอนผมจบปริญญาเอกปี 2561 ในวัย 26 ปี ในปีนั้นเพื่อนชาวสิงคโปร์ของผมชื่อ ‘ยองเจีย’ วัย 25 ปี เคยแสดงความคิดเห็นให้ผมฟังว่า "สถาบันพระมหากษัตริย์คือจุดแข็งที่สำคัญที่สุดของประเทศไทย ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษอันหาได้ยากยิ่ง ลองคิดดูนะ กว่าประเทศอื่นจะรวมผู้คนให้สามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันได้ ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ แต่ประเทศไทยสามารถทำได้แค่ในชั่วพริบตา เพราะมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจของผู้คน ดังนั้นถ้าหากมีใครต้องการทำลายประเทศไทย หรือแทรกแซงประเทศไทยเพื่อผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง จึงไม่แปลกที่เขาต้องทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์" . ผมโชคดีที่ตาสว่างกว่า ไม่เช่นนั้นตอนนี้ผมอาจติดคุกหรือไม่ก็ได้ดิบได้ดีในพรรคการเมืองหนึ่ง พรรคที่มีรากเหง้ามาจากสามนิ้วล้มเจ้าใน มธ. ชอบอ้างอย่างปลอมเปลือกว่าอยากให้สถาบันพระมหากษัตริย์มั่นคงสถาพร แต่ในความเป็นจริงแม้แต่ถวายพระพรก็ยังไม่มีเลย สุดท้ายเมื่อผมออกจาก Echo Chamber ของการลือตาม ๆ กันอย่างเสียสติ ไม่ต่างจากนกแก้วนกขุนทอง ไม่หลงเชื่อการโฆษณาชวนเชื่อบิดเบือนให้ร้ายพระองค์ท่านอีกต่อไป ผมจึงตาสว่างยิ่งกว่าตาสว่างและรักพระองค์ท่านสุดหัวใจ ดร.นิว ศุภณัฐ การที่บุคคล เห็นโทษ โดยความเป็นโทษ แล้วทำ คืนตามธรรม ถึงความสำรวมระวังต่อไป นี้เป็นความเจริญในอริยวินัย ของผู้นั้น #ตถาคตภาษิต
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 61 มุมมอง 0 รีวิว
  • ระบบการ ศึกษาของไทยที่มีปัญหา
    ช่วงนี้ผมเป็นห่วงเห็นพ่อแม่หลายคนให้เด็กติว กันหนักมาก
    บางคนอยู่ ม. 1 แต่ว่าเรียนพิเศษคณิตศาสตร์จนจบ เนื้อหาม.3แล้ว
    บางคนอยู่ ม.1 ก็เริ่มเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ แล้ว
    บางคนอยู่ ม.3 แต่เรียน ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ เนื้อหาของ ม.ปลาย จบแล้ว…..
    ถามว่าทำไปเพื่ออะไร?
    แน่นอนว่าเด็กกลุ่มนี้อยากเป็นหมอ และอยากเข้ามหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศ ไม่แน่ใจว่าด้วยเหตุผลใดก็ตามเด็กคิดเองหรือพ่อแม่บังคับ หรือกระตุ้นด้วยวิธีการต่างๆ พ่อแม่ก็จะดันเต็มที่ ปลายทางคืออยากให้เข้าคณะแพทย์คณะที่ดีที่สุดของประเทศไทยซึ่งแน่นอนว่าคือจุฬากับมหิดล และความฝันในการเรียน ม.ปลายของเด็กกลุ่มนี้ก็ต้องเป็นโรงเรียนชั้นนำเช่นกัน
    คะแนนสอบต่างๆก็ต้องคาดหวังเต็ม 100 หรืออันดับ 1
    ทำให้เด็กกลุ่มนี้ต้องติวกันหนักมาก เลิกเรียนกลับมา ติวต่อแน่นอน , เสาร์ - อาทิตย์ ติวทั้งวัน เช้าถึงเย็น
    แล้วเด็กกลุ่มนี้จะใช้ชีวิตในวัยเด็กจนถึงวัยรุ่นยังไง?
    น้องเรียนอย่างเดียว ไม่มีกิจกรรมอื่นๆเลยหรือ กีฬา , ดนตรี หรืองานอดิเรกอื่นๆ มีมั้ย
    ผมคิดว่าน่าเป็นห่วงมากๆ เพราะการจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีได้ ต้องหล่อหลอมจากประสบการณ์รอบด้าน ไม่ใช่เรียนหนักเพียงอย่างเดียว
    แน่นอนผมเชื่อว่าปลายทางของเด็กกลุ่มนี้ ถ้าเรียนแบบนี้ไปเรื่อยๆ เขาได้เป็นหมอสมใจแน่ๆ
    เผลอๆได้เกียรตินิยมอีก แต่… เค้าจะจบมาแบบไม่เคยทำอะไรอย่างอื่นเลย ประสบการณ์การใช้ชีวิตในวัยเด็กของเขา การได้ลองผิดลองถูก การได้ลองทำกิจกรรมอื่นๆที่ไม่ใช่การเรียน เค้าเสียตรงนี้ไปโดยที่ย้อนกลับมาไม่ได้แล้ว
    ผมชวนคิดอีกแบบ ถ้าเด็กอยากเป็นหมอ เหมือนกัน เราสอนวิธีการเรียนอีกแบบดีมั้ย?
    คะแนนไม่ต้องเต็ม 100 ก็ได้ เอาแค่พอผ่านเกณฑ์เป็นหมอได้ หรือเข้ามหาวิทยาลัยอันดับ 1 ไม่ได้ ก็ไปอันดับรองๆ หรือถ้ายังไม่ได้อีกก็ภาคเอกชนไปเลย เน้นเข้าเรียนในสถาบันที่เหมาะสมกับตัวเด็กที่สุด มีติวบ้างนิดหน่อย เพราะระบบการศึกษาของไทยที่ผมว่ามีปัญหา ทำให้เด็กๆต้องไปหาความรู้ตามที่เรียนพิเศษกันเยอะ (ไว้จะเล่าประเด็นนี้ให้ฟังวันหลัง) เอาแค่เท่าที่จำเป็นจริงๆ
    แต่สิ่งสำคัญที่สุดในการเรียนคือต้องมีความรับผิดชอบ ส่งการบ้านหรือทำงานตามกำหนดทุกชิ้นหรือไม่ มีการช่วยเหลือครูและเพื่อนในห้องบ้างไหม และเราต้องส่งเสริมให้เด็กรู้จักการวางแผนการเรียนที่ดีอย่างมีระบบ รู้ว่าติวแค่ไหนพอ ไม่มากไป ไม่น้อยไป
    และส่งเสริมให้เด็กได้ทำกิจกรรมอื่นๆนอกเหนือจากการเรียนบ้าง ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ลองทำกิจกรรมให้หลากหลาย ฝึกให้มีความรับผิดชอบ เรียนรู้การทำงานเป็นทีม ระหว่างเรียน มีสอบตกบ้าง หรือมีความผิดพลาดบ้าง ให้เขาได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง พ่อแม่ก็ไม่ต้องกดดันลูก แค่เข้าใจและให้กำลังใจ ไม่ต้องเปรียบเทียบกับคนอื่น
    ผมว่าปลายทางของเด็กกลุ่มหลังนี้ก็จบหมอได้เหมือนกัน แต่อาจจะไม่ได้เกียรตินิยม หรืออาจจะไม่ได้เรียนสถานบันการศึกษาอันดับ 1 ของประเทศ

    แต่ที่สำคัญคือเค้าได้ใช้ชีวิตวัยเด็กคุ้มค่าเลย ได้มีการทำกิจกรรมที่หลากหลายนอกเหนือจากการเรียนอย่างเดียว และได้ค้นหาตัวตนไปด้วย แน่นอน….โตขึ้นเค้าก็จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพมากๆ

    ผมอยากให้นึกภาพถึงเด็กที่เรียนเก่งมากๆ จบการศึกษาสูง แต่ทำอะไรไม่เป็น……กับคนที่เรียนจบเหมือนกันคะแนนอาจจะไม่ได้เต็มร้อย แต่ทำงานเก่งมาก เข้ากับสังคมได้ดี

    หมอคนที่เรียนเก่งมาก กับคนที่เรียนปกติ พอไปทำงานจริงๆแล้ว คนไข้ไม่เคยถามหรอกครับว่าหมอได้เกรดอะไรมา คนไข้ดูแค่ว่าหมอท่านนั้นรักษาหายมั้ย พูดจาแนะนำหรืออัธยาศัยดีมั้ย เท่านี้ครับ และลูกเราก็จะเป็นหมออย่างมีความสุข
    ระบบการ ศึกษาของไทยที่มีปัญหา ช่วงนี้ผมเป็นห่วงเห็นพ่อแม่หลายคนให้เด็กติว กันหนักมาก บางคนอยู่ ม. 1 แต่ว่าเรียนพิเศษคณิตศาสตร์จนจบ เนื้อหาม.3แล้ว บางคนอยู่ ม.1 ก็เริ่มเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ แล้ว บางคนอยู่ ม.3 แต่เรียน ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ เนื้อหาของ ม.ปลาย จบแล้ว….. ถามว่าทำไปเพื่ออะไร? แน่นอนว่าเด็กกลุ่มนี้อยากเป็นหมอ และอยากเข้ามหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศ ไม่แน่ใจว่าด้วยเหตุผลใดก็ตามเด็กคิดเองหรือพ่อแม่บังคับ หรือกระตุ้นด้วยวิธีการต่างๆ พ่อแม่ก็จะดันเต็มที่ ปลายทางคืออยากให้เข้าคณะแพทย์คณะที่ดีที่สุดของประเทศไทยซึ่งแน่นอนว่าคือจุฬากับมหิดล และความฝันในการเรียน ม.ปลายของเด็กกลุ่มนี้ก็ต้องเป็นโรงเรียนชั้นนำเช่นกัน คะแนนสอบต่างๆก็ต้องคาดหวังเต็ม 100 หรืออันดับ 1 ทำให้เด็กกลุ่มนี้ต้องติวกันหนักมาก เลิกเรียนกลับมา ติวต่อแน่นอน , เสาร์ - อาทิตย์ ติวทั้งวัน เช้าถึงเย็น แล้วเด็กกลุ่มนี้จะใช้ชีวิตในวัยเด็กจนถึงวัยรุ่นยังไง? น้องเรียนอย่างเดียว ไม่มีกิจกรรมอื่นๆเลยหรือ กีฬา , ดนตรี หรืองานอดิเรกอื่นๆ มีมั้ย ผมคิดว่าน่าเป็นห่วงมากๆ เพราะการจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีได้ ต้องหล่อหลอมจากประสบการณ์รอบด้าน ไม่ใช่เรียนหนักเพียงอย่างเดียว แน่นอนผมเชื่อว่าปลายทางของเด็กกลุ่มนี้ ถ้าเรียนแบบนี้ไปเรื่อยๆ เขาได้เป็นหมอสมใจแน่ๆ เผลอๆได้เกียรตินิยมอีก แต่… เค้าจะจบมาแบบไม่เคยทำอะไรอย่างอื่นเลย ประสบการณ์การใช้ชีวิตในวัยเด็กของเขา การได้ลองผิดลองถูก การได้ลองทำกิจกรรมอื่นๆที่ไม่ใช่การเรียน เค้าเสียตรงนี้ไปโดยที่ย้อนกลับมาไม่ได้แล้ว ผมชวนคิดอีกแบบ ถ้าเด็กอยากเป็นหมอ เหมือนกัน เราสอนวิธีการเรียนอีกแบบดีมั้ย? คะแนนไม่ต้องเต็ม 100 ก็ได้ เอาแค่พอผ่านเกณฑ์เป็นหมอได้ หรือเข้ามหาวิทยาลัยอันดับ 1 ไม่ได้ ก็ไปอันดับรองๆ หรือถ้ายังไม่ได้อีกก็ภาคเอกชนไปเลย เน้นเข้าเรียนในสถาบันที่เหมาะสมกับตัวเด็กที่สุด มีติวบ้างนิดหน่อย เพราะระบบการศึกษาของไทยที่ผมว่ามีปัญหา ทำให้เด็กๆต้องไปหาความรู้ตามที่เรียนพิเศษกันเยอะ (ไว้จะเล่าประเด็นนี้ให้ฟังวันหลัง) เอาแค่เท่าที่จำเป็นจริงๆ แต่สิ่งสำคัญที่สุดในการเรียนคือต้องมีความรับผิดชอบ ส่งการบ้านหรือทำงานตามกำหนดทุกชิ้นหรือไม่ มีการช่วยเหลือครูและเพื่อนในห้องบ้างไหม และเราต้องส่งเสริมให้เด็กรู้จักการวางแผนการเรียนที่ดีอย่างมีระบบ รู้ว่าติวแค่ไหนพอ ไม่มากไป ไม่น้อยไป และส่งเสริมให้เด็กได้ทำกิจกรรมอื่นๆนอกเหนือจากการเรียนบ้าง ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ลองทำกิจกรรมให้หลากหลาย ฝึกให้มีความรับผิดชอบ เรียนรู้การทำงานเป็นทีม ระหว่างเรียน มีสอบตกบ้าง หรือมีความผิดพลาดบ้าง ให้เขาได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง พ่อแม่ก็ไม่ต้องกดดันลูก แค่เข้าใจและให้กำลังใจ ไม่ต้องเปรียบเทียบกับคนอื่น ผมว่าปลายทางของเด็กกลุ่มหลังนี้ก็จบหมอได้เหมือนกัน แต่อาจจะไม่ได้เกียรตินิยม หรืออาจจะไม่ได้เรียนสถานบันการศึกษาอันดับ 1 ของประเทศ แต่ที่สำคัญคือเค้าได้ใช้ชีวิตวัยเด็กคุ้มค่าเลย ได้มีการทำกิจกรรมที่หลากหลายนอกเหนือจากการเรียนอย่างเดียว และได้ค้นหาตัวตนไปด้วย แน่นอน….โตขึ้นเค้าก็จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพมากๆ ผมอยากให้นึกภาพถึงเด็กที่เรียนเก่งมากๆ จบการศึกษาสูง แต่ทำอะไรไม่เป็น……กับคนที่เรียนจบเหมือนกันคะแนนอาจจะไม่ได้เต็มร้อย แต่ทำงานเก่งมาก เข้ากับสังคมได้ดี หมอคนที่เรียนเก่งมาก กับคนที่เรียนปกติ พอไปทำงานจริงๆแล้ว คนไข้ไม่เคยถามหรอกครับว่าหมอได้เกรดอะไรมา คนไข้ดูแค่ว่าหมอท่านนั้นรักษาหายมั้ย พูดจาแนะนำหรืออัธยาศัยดีมั้ย เท่านี้ครับ และลูกเราก็จะเป็นหมออย่างมีความสุข
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 527 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันนี้ปรับแพ็คเกจงานเว็บไซต์ รายละเอียดเดี๋ยวจะอธิบายคร่าวๆ
    แก้ปัญหา Bug , Error จุดละ 500 บาท 1 วัน
    เพิ่มฟังก์ชั่นการทำงานเว็บไซต์โค้ดขนาดกลาง ฟังก์ชั่นละ 1500 บาท 3 วัน
    เพิ่มฟังก์ชั่นการทำงานเว็บไซต์โค้ดขนาดใหญ่ ฟังก์ชั่นละ 3000 บาท 5 วัน
    สร้างเว็บไซต์มีส่วนการทำงาน 1-2 ส่วน 3000 บาท 3 วัน
    สร้างเว็บไซต์มีส่วนการทำงาน 3-5 ส่วน 4500 บาท 5 วัน
    สร้างเว็บไซต์เต็ม ส่วนการทำงาน 5-9 ส่วน 6000 บาท 7 วัน
    สร้างเว็บไซต์เต็ม ส่วนการทำงาน 10 ส่วนขึ้นไป 12000 บาท 14 วัน หรือ 20 ส่วนเริ่มต้นที่ 20000 บาท
    ประสบการณ์การทำงานในงานฟรีแลนซ์ เขียนโค้ดขนาดใหญ่ในส่วนการทำงานที่มีการประเมินราคาอย่างถูกต้องและเหมาะสม และเคยนำโครงงานเก่าที่เป็นเว็บไซต์ร้านอาหารมาพัฒนาต่อยอดให้มีข้อมูลและรายละเอียดที่มากกว่านี้ ลูกเล่นมากกว่านี้ ด้วยภาษา PHP, JS เฟรมเวิร์ก NodeJS, React, NextJS, Laravel, CodeIgniter ฐานข้อมูล MongoDB, MySQL และออกแบบปรับแต่ง UX/UI ด้วย HTML5, CSS, Bootstrap, Tailwind, Markdown
    จบการศึกษาในสาขาวิศวกรรมสารสนเทศ เกียรตินิยมอันดับ 1 และต้องการจะทำอะไรให้สมกับที่ร่ำเรียนจนจบมาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ไม่ชอบงานตามความต้องการของผู้ใหญ่สมัยนี้ ต้องการทำงานตามเจตนารมย์ของตัวเองก็พอแล้วครับ
    วันนี้ปรับแพ็คเกจงานเว็บไซต์ รายละเอียดเดี๋ยวจะอธิบายคร่าวๆ แก้ปัญหา Bug , Error จุดละ 500 บาท 1 วัน เพิ่มฟังก์ชั่นการทำงานเว็บไซต์โค้ดขนาดกลาง ฟังก์ชั่นละ 1500 บาท 3 วัน เพิ่มฟังก์ชั่นการทำงานเว็บไซต์โค้ดขนาดใหญ่ ฟังก์ชั่นละ 3000 บาท 5 วัน สร้างเว็บไซต์มีส่วนการทำงาน 1-2 ส่วน 3000 บาท 3 วัน สร้างเว็บไซต์มีส่วนการทำงาน 3-5 ส่วน 4500 บาท 5 วัน สร้างเว็บไซต์เต็ม ส่วนการทำงาน 5-9 ส่วน 6000 บาท 7 วัน สร้างเว็บไซต์เต็ม ส่วนการทำงาน 10 ส่วนขึ้นไป 12000 บาท 14 วัน หรือ 20 ส่วนเริ่มต้นที่ 20000 บาท ประสบการณ์การทำงานในงานฟรีแลนซ์ เขียนโค้ดขนาดใหญ่ในส่วนการทำงานที่มีการประเมินราคาอย่างถูกต้องและเหมาะสม และเคยนำโครงงานเก่าที่เป็นเว็บไซต์ร้านอาหารมาพัฒนาต่อยอดให้มีข้อมูลและรายละเอียดที่มากกว่านี้ ลูกเล่นมากกว่านี้ ด้วยภาษา PHP, JS เฟรมเวิร์ก NodeJS, React, NextJS, Laravel, CodeIgniter ฐานข้อมูล MongoDB, MySQL และออกแบบปรับแต่ง UX/UI ด้วย HTML5, CSS, Bootstrap, Tailwind, Markdown จบการศึกษาในสาขาวิศวกรรมสารสนเทศ เกียรตินิยมอันดับ 1 และต้องการจะทำอะไรให้สมกับที่ร่ำเรียนจนจบมาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ไม่ชอบงานตามความต้องการของผู้ใหญ่สมัยนี้ ต้องการทำงานตามเจตนารมย์ของตัวเองก็พอแล้วครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 284 มุมมอง 0 รีวิว
  • เพิ่งเสร็จงานที่ช่วงแรกผมคิดว่ามันยาก พอทำจริงๆมันก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิดเลยแฮะ ไม่มีอะไรยากไปกว่าตัวเราจะทำเรื่องยากๆเล่นของยากๆไม่ได้ ผมเล่นของยากบ่อย เลยรู้สึกยิ่งเล่นยิ่งเพลินจริงๆ และเล่นของยากด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ แต่จะปลูกหลายชนิด ไม่ผูกขาดชนิดเดียว คือผมควรจะใช้ชีวิตให้สมราคาเกียรตินิยมอันดับ 1 ที่เป็นรองเหรียญทองเพียงคนเดียวเท่านั้นที่เข้าพิธีรับปริญญา ส่วนเกียรตินิยมระดับเดียวกับผมที่ได้มากกว่าผมหรือน้อยกว่าผมหลายคนก็ไม่ค่อยจะมารับปริญญา ผมเหมือนเป็นรองเหรียญทองเท่านั้นแหละ แต่ผมจะพยายามใช้ชีวิตและสร้างเนื้อสร้างตัวให้สมราคากับที่ได้เกียรตินิยมอันดับ 1 วิศวกรรมสารสนเทศก็แล้วกันนะครับ เป็นนายตัวเองก็ค่อยๆขยับไปทีละนิดๆดีกว่าไม่ขยับอะไรเลย ขยับ วางแผน ขยับ จนใกล้ถึง จุดหมายที่ผมคาดไว้ครับ
    เพิ่งเสร็จงานที่ช่วงแรกผมคิดว่ามันยาก พอทำจริงๆมันก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิดเลยแฮะ ไม่มีอะไรยากไปกว่าตัวเราจะทำเรื่องยากๆเล่นของยากๆไม่ได้ ผมเล่นของยากบ่อย เลยรู้สึกยิ่งเล่นยิ่งเพลินจริงๆ และเล่นของยากด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ แต่จะปลูกหลายชนิด ไม่ผูกขาดชนิดเดียว คือผมควรจะใช้ชีวิตให้สมราคาเกียรตินิยมอันดับ 1 ที่เป็นรองเหรียญทองเพียงคนเดียวเท่านั้นที่เข้าพิธีรับปริญญา ส่วนเกียรตินิยมระดับเดียวกับผมที่ได้มากกว่าผมหรือน้อยกว่าผมหลายคนก็ไม่ค่อยจะมารับปริญญา ผมเหมือนเป็นรองเหรียญทองเท่านั้นแหละ แต่ผมจะพยายามใช้ชีวิตและสร้างเนื้อสร้างตัวให้สมราคากับที่ได้เกียรตินิยมอันดับ 1 วิศวกรรมสารสนเทศก็แล้วกันนะครับ เป็นนายตัวเองก็ค่อยๆขยับไปทีละนิดๆดีกว่าไม่ขยับอะไรเลย ขยับ วางแผน ขยับ จนใกล้ถึง จุดหมายที่ผมคาดไว้ครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 773 มุมมอง 0 รีวิว
  • 13/10/67

    คิดถึงพ่อ

    ในหลวง ร.9

    คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชียChoawalit Chotwattanaphong พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วันChoawalit Chotwattanaphong


    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
    มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
    บรมนาถบพิตร
    พระภัทรมหาราช

    พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503
    พระมหากษัตริย์ไทย
    ครองราชย์
    9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
    (70 ปี 126 วัน)
    ราชาภิเษก
    5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
    ก่อนหน้า
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    ถัดไป
    พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
    ดูรายพระนามและรายชื่อ
    นายกรัฐมนตรี
    ดูรายชื่อ
    พระราชสมภพ
    5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
    สวรรคต
    13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา)
    โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
    ถวายพระเพลิง
    26 ตุลาคม พ.ศ. 2560
    พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
    บรรจุพระอัฐิ
    พระวิมานทองกลาง
    บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
    พระอัครมเหสี
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493)
    พระราชบุตร
    รายละเอียด
    ดูรายพระนาม
    วัดประจำรัชกาล
    วัดบวรนิเวศวิหาร
    ราชวงศ์
    จักรี
    ราชสกุล
    มหิดล
    พระราชบิดา
    สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
    พระราชมารดา
    สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
    ศาสนา
    พุทธเถรวาท
    ลายพระอภิไธย

    พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31
    พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า


    พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3]
    ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9]
    พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14]


    พระชนม์ชีพช่วงต้น
    พระราชสมภพ
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
    พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne)
    สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

    รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481
    เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล
    อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17]
    พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18]
    พระนามของพระองค์มีความหมายว่า
    ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
    อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19]
    เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา
    การศึกษา
    พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    13/10/67 คิดถึงพ่อ ในหลวง ร.9 คลิปที่หลายๆคนไม่เคยเห็น ในหลวงเสด็จด้วยรถไฟใต้ดิน ชอบตอนที่ได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ท่าน...ตอนใกล้ๆจบ #แบ่งปันกันนะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 53 ตามประวัติศาสตร์ไทย ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ด้วยพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร จนสวรรคต เป็นประมุขแห่งรัฐที่ครองราชย์ยาวนานมากที่สุดตลอดกาลในประเทศไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปเอเชีย[1] พระองค์ยังเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในโลกในขณะทรงพระชนม์ นับตั้งแต่การสวรรคตของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2532 กระทั่งสวรรคตใน พ.ศ. 2559[2] อีกทั้งเป็นพระมหากษัตริย์ที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดตลอดกาลอันดับที่ 3 ของโลก ด้วยระยะเวลาในราชสมบัติทั้งสิ้น 70 ปี 126 วัน[1] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระภัทรมหาราช พระบรมฉายาลักษณ์ พ.ศ. 2503 พระมหากษัตริย์ไทย ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี 126 วัน) ราชาภิเษก 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ก่อนหน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ถัดไป พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ดูรายพระนามและรายชื่อ นายกรัฐมนตรี ดูรายชื่อ พระราชสมภพ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ สวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ถวายพระเพลิง 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง บรรจุพระอัฐิ พระวิมานทองกลาง บนพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระอัครมเหสี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมรส 2493) พระราชบุตร รายละเอียด ดูรายพระนาม วัดประจำรัชกาล วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวงศ์ จักรี ราชสกุล มหิดล พระราชบิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชมารดา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ศาสนา พุทธเถรวาท ลายพระอภิไธย พระสุรเสียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ระยะเวลา: 1 minute and 31 seconds1:31 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และกบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปีที่ทรงครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 26 คน โดยเริ่มต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา[3] ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่เคารพพระองค์[4][5][6] อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ และผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา[6] คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ[7][8] กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อ พ.ศ. 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้[9] พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[10] ด้านสินทรัพย์ของพระองค์ นิตยสาร ฟอบส์ จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2556[11] เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ดูหมายเหตุด้านล่าง)[12] สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ใช้ทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระองค์ผู้เดียว[13] พระองค์ยังทรงอุทิศพระราชทรัพย์ในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ[14] พระชนม์ชีพช่วงต้น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ ที่โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ปัจจุบัน โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ นพศก จ.ศ. 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา" (อังกฤษ: Baby Songkla)[15] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 8 (ซ้าย) และเจ้าฟ้าชายภูมิพล (ขวา) เสด็จพระราชดำเนินไปชมรถไฟจำลองที่สวนสราญรมย์ ที่กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2481 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"[16][17] พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[16] ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด[16][18] พระนามของพระองค์มีความหมายว่า ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน" อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อำนาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "อำนาจที่ไม่อาจเทียบได้"[19] เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชายี-ซูร์-โลซา น (Chailly-sur-Lausanne)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1554 มุมมอง 91 0 รีวิว
  • #ต้นอ้อเป็นหนึ่งรีเทิร์น
    จากวีรสตรี สู่การเป็นกาลกิณี ต้นอ้อ เป็นหนึ่ง จากอดีตตัวตึงพรรคสีส้ม สู่ลุคจิตอาสา
    เกาะหนุ่มกรรชัย จนเป็นที่รู้จักทั่วประเทศ กับภารกิจล้มลัตติ๊เชี่อมจิตเชื่อมใจ
    แต่กลับพบวีรกรรมสุดแสบ ทั้งการใช้วุฒิการศึกษาที่ไม่มีอยู่จริง ปริญญาตึกแถว แถมอ้างว่าดีกรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
    อย่างไม่มีความละอาย โดยวีรกรรมนี้ได้รับการยืนยันจากปลดกระทรวงศึกษาธิการ ชัดเจน ฟันธง
    และยังต่ออีกยาวๆด้วยการทำอาชีพที่แสนซับซ้อน ทั้งจำหน่ายวุฒิ ที่ปัจจุบันก็ยังอยู่ในกระบวนการทางกฏหมาย เป็นคดีอาญา ทั้งเรื่องฉ้อโกง แต่ก็ต้องยอมรับในความเป็นนักขาย ทั้งตำแหน่ง แม้กระทั่งที่จอดรถ ในสภา ขอให้บอก ต้นอ้อจัดการได้หมด ถ้าเงินถึงอ้อก็พึ่งได้
    -แต่ความไม่ธรรมดา ทั้งที่คดียังอยู่คาศาล ต้นอ้อกลับได้รับเชิญ จากมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร ไปเป็นวิทยากรบรรยาย เรื่อง “จะสร้างจิตอาสาได้อย่างไร” โอ้ว มาย ก๊อดดด เป็นที่กังขา ถึงการพิจารณาจากสภามหาวิทยาลัยของรัฐ ที่ใช้มาตรฐานใดในการพิจารณา คัดคนเข้าไปให้ความรู้กับนักศึกษา เป็นภาพที่ปรากฏต่อสายตาประชาชน ชาวไทย ที่ต้องอึ้งกันไปทั้งแผ่นดิน
    และนี่ ไม่ใช่ครั้งแรก ที่โลกมีความบิดเบี้ยว อาจมองภาพเพียงฉาบฉวย แค่หน้าตาที่ผ่านการใช้แอพ จากเหี่ยวๆเป็นเปรี้ยวปริ๊ดปร๊าด ก็ไม่เป็นที่แปลกใจ ขนาด นช.กลับมาถึงแผ่นดินไทย ลงจากตึกรพ.ตร.ชั้น 14 บินไปเชียงใหม่ ยังมีทั้งนักการเมือง ข้าราชการ ไปร่วมต้อนรับ ทั้งๆที่ในเวลานั้น ยังคงมีสถานการณ์เป็น นช.เต็มตัว
    หน้าตา ชื่อเสียง อำนาจ กลายเป็นสิ่งหอมหวนของกลุ่มคนที่ไร้ศักดิ์ศรี จนบางคนถึงขั้นคลานเข่าเข้ากราบนักโทษก็ยังมีให้เห็น
    นับประสาอะไร กับคนอย่างต้นอ้อ ที่มีวีรกรรม มีผู้เสียหายจำนวนมากที่ยังต้องรอรับความยุติธรรมจากระบบตุลาการ แต่กลับได้รับเชิญให้ไปบรรยายในมหาวิทยาลัยของรัฐ ที่เรียกว่าราชภัฏสถาบันที่ผลิตครู บ่มเพาะเยาวชนของชาติสู่การพัฒนาประเทศในรุ่นต่อๆไป บัลลัยไส้จริงๆ
    #คิงส์โพธิ์ดำ รายงาน
    #ต้นอ้อเป็นหนึ่งรีเทิร์น จากวีรสตรี สู่การเป็นกาลกิณี ต้นอ้อ เป็นหนึ่ง จากอดีตตัวตึงพรรคสีส้ม สู่ลุคจิตอาสา เกาะหนุ่มกรรชัย จนเป็นที่รู้จักทั่วประเทศ กับภารกิจล้มลัตติ๊เชี่อมจิตเชื่อมใจ แต่กลับพบวีรกรรมสุดแสบ ทั้งการใช้วุฒิการศึกษาที่ไม่มีอยู่จริง ปริญญาตึกแถว แถมอ้างว่าดีกรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง อย่างไม่มีความละอาย โดยวีรกรรมนี้ได้รับการยืนยันจากปลดกระทรวงศึกษาธิการ ชัดเจน ฟันธง และยังต่ออีกยาวๆด้วยการทำอาชีพที่แสนซับซ้อน ทั้งจำหน่ายวุฒิ ที่ปัจจุบันก็ยังอยู่ในกระบวนการทางกฏหมาย เป็นคดีอาญา ทั้งเรื่องฉ้อโกง แต่ก็ต้องยอมรับในความเป็นนักขาย ทั้งตำแหน่ง แม้กระทั่งที่จอดรถ ในสภา ขอให้บอก ต้นอ้อจัดการได้หมด ถ้าเงินถึงอ้อก็พึ่งได้ -แต่ความไม่ธรรมดา ทั้งที่คดียังอยู่คาศาล ต้นอ้อกลับได้รับเชิญ จากมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร ไปเป็นวิทยากรบรรยาย เรื่อง “จะสร้างจิตอาสาได้อย่างไร” โอ้ว มาย ก๊อดดด เป็นที่กังขา ถึงการพิจารณาจากสภามหาวิทยาลัยของรัฐ ที่ใช้มาตรฐานใดในการพิจารณา คัดคนเข้าไปให้ความรู้กับนักศึกษา เป็นภาพที่ปรากฏต่อสายตาประชาชน ชาวไทย ที่ต้องอึ้งกันไปทั้งแผ่นดิน และนี่ ไม่ใช่ครั้งแรก ที่โลกมีความบิดเบี้ยว อาจมองภาพเพียงฉาบฉวย แค่หน้าตาที่ผ่านการใช้แอพ จากเหี่ยวๆเป็นเปรี้ยวปริ๊ดปร๊าด ก็ไม่เป็นที่แปลกใจ ขนาด นช.กลับมาถึงแผ่นดินไทย ลงจากตึกรพ.ตร.ชั้น 14 บินไปเชียงใหม่ ยังมีทั้งนักการเมือง ข้าราชการ ไปร่วมต้อนรับ ทั้งๆที่ในเวลานั้น ยังคงมีสถานการณ์เป็น นช.เต็มตัว หน้าตา ชื่อเสียง อำนาจ กลายเป็นสิ่งหอมหวนของกลุ่มคนที่ไร้ศักดิ์ศรี จนบางคนถึงขั้นคลานเข่าเข้ากราบนักโทษก็ยังมีให้เห็น นับประสาอะไร กับคนอย่างต้นอ้อ ที่มีวีรกรรม มีผู้เสียหายจำนวนมากที่ยังต้องรอรับความยุติธรรมจากระบบตุลาการ แต่กลับได้รับเชิญให้ไปบรรยายในมหาวิทยาลัยของรัฐ ที่เรียกว่าราชภัฏสถาบันที่ผลิตครู บ่มเพาะเยาวชนของชาติสู่การพัฒนาประเทศในรุ่นต่อๆไป บัลลัยไส้จริงๆ #คิงส์โพธิ์ดำ รายงาน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 697 มุมมอง 0 รีวิว
  • สะพัด 'ชัยเกษม' นายกรัฐมนตรีคนที่ 31

    หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 5 ต่อ 4 วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีของนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ จากกรณีนําความกราบบังคมทูลเพื่อโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ทั้งที่นายพิชิตเคยถูกศาลฎีกาสั่งจําคุกเป็นเวลา 6 เดือน ในความผิดฐานละเมิดอํานาจศาล เป็นบุคคลที่กระทําการอันไม่ซื่อสัตย์สุจริต และมีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามรัฐธรรมนูญ

    นับเป็นการปิดฉากนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศไทย จากนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์สู่นักการเมือง หลังดำรงตำแหน่งได้เพียง 358 วัน นับตั้งแต่ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วันที่ 22 ส.ค. 2566 ที่ผ่านมา

    เมื่อพรรคเพื่อไทยและพรรคร่วมรัฐบาล ไม่ปล่อยให้บรรยากาศทางการเมืองตกอยู่ในภาวะสูญญากาศ การหารือระหว่างแกนนำพรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมรัฐบาล ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า ของนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี เกิดขึ้นเมื่อเย็นวันที่ 14 ส.ค. โดยมีรายงานว่า พรรคเพื่อไทย จะเสนอชื่อนายชัยเกษม นิติสิริ ซึ่งเป็นหนึ่งในแคนดิเดต เป็นนายกรัฐมนตรี

    ด้านนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎร มีคำสั่งให้นัดประชุมสภาผู้แทนราษฎร เป็นพิเศษ ในวันศุกร์ที่ 16 ส.ค. 2567 เวลา 10.00 น. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 159 ของรัฐธรรมนูญ โดยก่อนหน้านี้ประธานสภาผู้แทนราษฎร แจ้งต่อที่ประชุมเมื่อวันที่ 8 ส.ค. ว่า จำนวน สส.ในสภาปัจจุบันเท่าที่มีและปฏิบัติหน้าที่ได้ มีจำนวน 493 คน องค์ประชุมกึ่งหนึ่งคือ 247 คน หลังจากพรรคก้าวไกลถูกยุบและตัดสิทธิ์กรรมการบริหารพรรค

    ปัจจุบันเสียง สส.ฝ่ายรัฐบาล รวม 315 เสียง ประกอบด้วย พรรคเพื่อไทย 141 เสียง พรรคภูมิใจไทย 71 เสียง พรรคพลังประชารัฐ 40 เสียง พรรครวมไทยสร้างชาติ 36 เสียง พรรคชาติไทยพัฒนา 10 เสียง พรรคประชาชาติ 9 เสียง พรรคชาติพัฒนา 3 เสียง พรรคไทรวมพลัง 2 เสียง พรรคเสรีรวมไทย พรรคพลังสังคมใหม่ และพรรคท้องที่ไทย พรรคละ 1 เสียง หากเป็นไปในทิศทางเดียวกันย่อมได้เสียงสนับสนุนเกินกึ่งหนึ่งไม่ยาก เว้นเสียแต่การเมืองไทยอะไรก็เกิดขึ้นได้

    สำหรับนายชัยเกษม นิติสิริ อายุ 75 ปี จบการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท กฎหมายระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นอดีตประธาน ก.ล.ต. อดีตอัยการสูงสุด อดีต รมว.ยุติธรรม ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์และทิศทางการเมือง พรรคเพื่อไทย และประธานคณะกรรมการด้านประชาธิปไตย กระบวนการยุติธรรม และความเสมอภาคเท่าเทียม พรรคเพื่อไทย

    ก่อนหน้านี้นายชัยเกษมมีปัญหาเรื่องสุขภาพ ป่วยกะทันหันหลังจากลงพื้นที่หาเสียงช่วยผู้สมัคร ส.ส.น่าน พรรคเพื่อไทย ที่ จ.น่าน เมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2566 เมื่อตรวจซีทีสแกนพบว่ามีก้อนเลือดแห้งอยู่ในสมอง เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช แต่นายภูมิธรรม เวชยชัย รักษาการนายกรัฐมนตรี ระบุว่า สุขภาพกลับมาแข็งแรงแล้ว ที่ผ่านมาก็เข้ามาช่วยทำงานกับพรรคมาโดยตลอด

    #Newskit #ชัยเกษม #นายกรัฐมนตรี
    สะพัด 'ชัยเกษม' นายกรัฐมนตรีคนที่ 31 หลังจากที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 5 ต่อ 4 วินิจฉัยให้ความเป็นรัฐมนตรีของนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี สิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ จากกรณีนําความกราบบังคมทูลเพื่อโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ทั้งที่นายพิชิตเคยถูกศาลฎีกาสั่งจําคุกเป็นเวลา 6 เดือน ในความผิดฐานละเมิดอํานาจศาล เป็นบุคคลที่กระทําการอันไม่ซื่อสัตย์สุจริต และมีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามรัฐธรรมนูญ นับเป็นการปิดฉากนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 ของประเทศไทย จากนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์สู่นักการเมือง หลังดำรงตำแหน่งได้เพียง 358 วัน นับตั้งแต่ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วันที่ 22 ส.ค. 2566 ที่ผ่านมา เมื่อพรรคเพื่อไทยและพรรคร่วมรัฐบาล ไม่ปล่อยให้บรรยากาศทางการเมืองตกอยู่ในภาวะสูญญากาศ การหารือระหว่างแกนนำพรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมรัฐบาล ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า ของนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี เกิดขึ้นเมื่อเย็นวันที่ 14 ส.ค. โดยมีรายงานว่า พรรคเพื่อไทย จะเสนอชื่อนายชัยเกษม นิติสิริ ซึ่งเป็นหนึ่งในแคนดิเดต เป็นนายกรัฐมนตรี ด้านนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎร มีคำสั่งให้นัดประชุมสภาผู้แทนราษฎร เป็นพิเศษ ในวันศุกร์ที่ 16 ส.ค. 2567 เวลา 10.00 น. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 159 ของรัฐธรรมนูญ โดยก่อนหน้านี้ประธานสภาผู้แทนราษฎร แจ้งต่อที่ประชุมเมื่อวันที่ 8 ส.ค. ว่า จำนวน สส.ในสภาปัจจุบันเท่าที่มีและปฏิบัติหน้าที่ได้ มีจำนวน 493 คน องค์ประชุมกึ่งหนึ่งคือ 247 คน หลังจากพรรคก้าวไกลถูกยุบและตัดสิทธิ์กรรมการบริหารพรรค ปัจจุบันเสียง สส.ฝ่ายรัฐบาล รวม 315 เสียง ประกอบด้วย พรรคเพื่อไทย 141 เสียง พรรคภูมิใจไทย 71 เสียง พรรคพลังประชารัฐ 40 เสียง พรรครวมไทยสร้างชาติ 36 เสียง พรรคชาติไทยพัฒนา 10 เสียง พรรคประชาชาติ 9 เสียง พรรคชาติพัฒนา 3 เสียง พรรคไทรวมพลัง 2 เสียง พรรคเสรีรวมไทย พรรคพลังสังคมใหม่ และพรรคท้องที่ไทย พรรคละ 1 เสียง หากเป็นไปในทิศทางเดียวกันย่อมได้เสียงสนับสนุนเกินกึ่งหนึ่งไม่ยาก เว้นเสียแต่การเมืองไทยอะไรก็เกิดขึ้นได้ สำหรับนายชัยเกษม นิติสิริ อายุ 75 ปี จบการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท กฎหมายระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นอดีตประธาน ก.ล.ต. อดีตอัยการสูงสุด อดีต รมว.ยุติธรรม ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์และทิศทางการเมือง พรรคเพื่อไทย และประธานคณะกรรมการด้านประชาธิปไตย กระบวนการยุติธรรม และความเสมอภาคเท่าเทียม พรรคเพื่อไทย ก่อนหน้านี้นายชัยเกษมมีปัญหาเรื่องสุขภาพ ป่วยกะทันหันหลังจากลงพื้นที่หาเสียงช่วยผู้สมัคร ส.ส.น่าน พรรคเพื่อไทย ที่ จ.น่าน เมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2566 เมื่อตรวจซีทีสแกนพบว่ามีก้อนเลือดแห้งอยู่ในสมอง เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลศิริราช แต่นายภูมิธรรม เวชยชัย รักษาการนายกรัฐมนตรี ระบุว่า สุขภาพกลับมาแข็งแรงแล้ว ที่ผ่านมาก็เข้ามาช่วยทำงานกับพรรคมาโดยตลอด #Newskit #ชัยเกษม #นายกรัฐมนตรี
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1628 มุมมอง 0 รีวิว