• มีเพื่อนเพจเคยขอให้เขียนถึงองครักษ์เสื้อแพรนอกเหนือจากที่มีในซีรีส์ ข้อมูลหาไม่ง่าย วันนี้เริ่มด้วยเรื่องเงินๆ ทองๆ ยาวหน่อยนะคะ แต่เชื่อว่าเพื่อนเพจหลายคนต้องเคยสงสัยเกี่ยวกับเรื่องค่าเงิน

    ความมีอยู่ว่า
    ...เกาชิ่งมาเรียกหาจินเซี่ยแล้วถาม: “ใต้เท้าลู่มีคำถาม วันนี้เช่าเรือทั้งหมดสองเหลี่ยง รวมค่าชาและขนมบนเรืออีก คิดเป็นประมาณสามเฉียนแล้วกัน ท่านใต้เท้าออกเงินไปให้ก่อน แต่ถามว่าเมื่อใดพวกเจ้าจึงจะใช้คืน?”....
    - จากเรื่อง <เบื้องล่างของเสื้อแพร> ผู้แต่ง หลานเส้อซือ
    (หมายเหตุ ละครเรื่องยอดองค์รักษ์เสื้อแพรดัดแปลงมาจากนิยายเรื่องนี้)

    ก่อนอื่นเทียบมูลค่าเงิน: 1 ตำลึงเงิน (เหลี่ยง) = 1,000 เฉียน (คือ เหวิน หรือ อีแปะ) = 1 ก้วน (พวงเหรียญเฉียน)

    ก่อนจะพูดถึงรายรับ เราดูค่าครองชีพกันหน่อย ราชวงศ์หมิงยาวนานเกือบ 300 ปี แต่ลู่ปิ่งและลู่อี้มีตัวตนจริงอยู่ในรัชสมัยขององค์หมิงสื้อจง (ค.ศ. 1521-1567) (Storyฯ เคยเขียนถึงมาหลายเดือนก่อน) ในยุคสมัยนั้น เนื้อหมูหนึ่งชั่งราคา 7-8 เฉียน เนื้อไก่หนึ่งชั่งราคา 3-4 เฉียน (เทียบเท่าน้ำหนักปัจจุบัน 595 กรัม) ดังนั้นราคาขนมและชาที่ยกข้อความมาจากในนิยายข้างต้นก็พอจะฟังดูสมเหตุสมผล

    คำถามต่อมาคือ องครักษ์เสื้อแพรมีรายรับเท่าไหร่เมื่อเทียบกับค่าครองชีพตามข้างต้น?

    มีตารางข้อมูลจาก “หมิงสื่อ /明史” หรือบันทึกประวัติศาสตร์ราชวงศ์หมิงมาให้ดู (ดูรูปประกอบ) เป็นอัตราเงินเดือนของขุนนางที่กำหนดไว้โดยปฐมกษัตริย์จูหยวนจาง จ่ายเป็นเดือน แต่กำหนดอัตราไว้เป็นรายปี วงให้ดูว่าเงินเดือนของใต้เท้าลู่อี้และพ่อของเขาคือ:
    ลู่ถิง (ในนิยายชื่อลู่ปิ่ง) เป็นผู้บัญชาการสูงสุดขององครักษ์เสื้อแพร ยศขุนนางขั้นที่สามเต็ม ได้เงินเดือนเป็นข้าวสาร 420 ตาน/ปี (เขียนหน่วยเป็นสือ ต่อมาเรียกเป็นตาน) ส่วนใต้เท้าลู่อี้ของเราในนิยายกล่าวไว้ว่าตอนที่แรกพบกับนางเอก เขาเป็นเพียงขุนนางขั้นที่เจ็ดล่าง ได้เงินเดือนเป็นข้าวสาร 84 ตาน/ปี หรือ 7 ตาน/เดือน

    ท่านอ่านไม่ผิดค่ะ เงินเดือนของข้าราชการสมัยนั้นปกติจ่ายเป็นข้าวสาร

    ข้าวสารหนึ่งตานสมัยนั้นหน้าตาเป็นกระบุงหาบ เทียบเท่าน้ำหนักปัจจุบันประมาณ 60 กก. เชื่อว่าขุนนางระดับสูงเวลารับเงินเดือนต้องใช้รถเข็นเลยทีเดียว

    แล้วถ้าคิดเป็นเงินล่ะ? อันนี้ผันแปรตามเงินเฟ้อ ข้าวสารหนึ่งตานในสมัยของใต้เท้าลู่นั้นราคา 0.584 ตำลึงเงิน ดังนั้นใต้เท้าลู่มีเงินเดือนเพียงประมาณ 4 ตำลึงเงิน/เดือน หรือ 4,000 เฉียนเท่านั้น! (ภาพการควักเงินหยวนเป่าออกมาวางให้เสี่ยวเอ้อตาโต หายแวบไปจากมโนของ Storyฯ ทันที)

    แล้วถ้าเปรียบเทียบวิชาชีพอื่น? สรุปโดยประมาณได้ดังนี้: ค่าจ้าง 600-1,700 เฉียน/เดือนขึ้นอยู่กับระดับงาน แผงขายอาหารในเมืองใหญ่ 1,300-1,600 เฉียน/เดือน ที่ดูจะรายได้ดีมากคือคนขับรถม้าที่ 3,000 เฉียน/เดือนเลยทีเดียว (หาไม่พบว่าเป็นเพราะอะไร) ส่วนเกษตรกรรายได้เฉลี่ย 750-1,200 เฉียน/เดือน

    แต่ขุนนางมี ‘สวัสดิการ’ อย่างอื่นด้วยคือผ้า เงินค่าน้ำชา ฟืน ชุดประจำตำแหน่ง จวนประจำตำแหน่ง เป็นต้น และยังไม่ต้องเสียภาษีเหมือนชาวนาหรือพ่อค้า แน่นอนว่าการต้องเลี้ยงบ่าวไพร่ทั้งเรือนก็มีค่าใช้จ่ายสูงอยู่ แต่เทียบกับวิชาชีพอื่นแล้ว หากได้เป็นขุนนางติดยศชีวิตความเป็นอยู่จะดีมาก

    สมัยนั้นตำแหน่งจอหงวนคือลำดับหกเต็ม Storyฯ จึงไม่แปลกใจว่าทำไมคนถึงขวนขวายเข้าเมืองหลวงสอบจอหงวนกัน ยศสูงกว่าใต้เท้าลู่อี้เสียอีก! (วันนี้คุยเรื่องเงินทอง ไม่คุยเรื่องอุดมการณ์ค่ะ)

    เขียนเพิ่มเติมหลังจากอัพเพจครั้งแรก:
    ในช่วงเวลาที่ไม่ปกติ เช่นแล้ง หรือเกิดสงคราม ข้าวในคลังมีน้อย หรือในฤดูที่ไม่มีการเก็บเกี่ยว มีการแก้ไขการจ่ายเงินเดือนข้าราชการ โดยกำหนดมูลค่าของข้าวเทียบเท่าของอย่างอื่น เช่น ผ้าผืน พริกไทย ใบชา เป็นต้น (อะไรก็ได้ที่มีมากในคลังหลวง) ต่อมาจึงมีแบ่งจ่ายเป็นตั๋วเงินด้วย ต่อมาในช่วงปลายราชวงศ์หมิงจึงเปลี่ยนมากำหนดให้จ่ายเป็นข้าว ตั๋วเงินและเงิน แต่ยังคงเทียบอัตราเงินเดือนเป็นข้าวสารอยู่

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจากและข้อมูลเรียบเรียงจาก:
    https://www.sohu.com/a/360665261_162238
    https://www.bilibili.com/read/cv9844919
    https://www.zmkm8.com/artdata-94382.html
    https://www.sohu.com/a/273067566_559864
    http://www.gushizhuan.com/gdws/284082.html

    #ใต้เท้าลู่ #องครักษ์เสื้อแพร #ยอดองครักษ์เสื้อแพร #ราชวงศ์หมิง #วัฒนธรรมจีนโบราณ #เงินจีนโบราณ #เงินเดือนข้าราชการจีน
    มีเพื่อนเพจเคยขอให้เขียนถึงองครักษ์เสื้อแพรนอกเหนือจากที่มีในซีรีส์ ข้อมูลหาไม่ง่าย วันนี้เริ่มด้วยเรื่องเงินๆ ทองๆ ยาวหน่อยนะคะ แต่เชื่อว่าเพื่อนเพจหลายคนต้องเคยสงสัยเกี่ยวกับเรื่องค่าเงิน ความมีอยู่ว่า ...เกาชิ่งมาเรียกหาจินเซี่ยแล้วถาม: “ใต้เท้าลู่มีคำถาม วันนี้เช่าเรือทั้งหมดสองเหลี่ยง รวมค่าชาและขนมบนเรืออีก คิดเป็นประมาณสามเฉียนแล้วกัน ท่านใต้เท้าออกเงินไปให้ก่อน แต่ถามว่าเมื่อใดพวกเจ้าจึงจะใช้คืน?”.... - จากเรื่อง <เบื้องล่างของเสื้อแพร> ผู้แต่ง หลานเส้อซือ (หมายเหตุ ละครเรื่องยอดองค์รักษ์เสื้อแพรดัดแปลงมาจากนิยายเรื่องนี้) ก่อนอื่นเทียบมูลค่าเงิน: 1 ตำลึงเงิน (เหลี่ยง) = 1,000 เฉียน (คือ เหวิน หรือ อีแปะ) = 1 ก้วน (พวงเหรียญเฉียน) ก่อนจะพูดถึงรายรับ เราดูค่าครองชีพกันหน่อย ราชวงศ์หมิงยาวนานเกือบ 300 ปี แต่ลู่ปิ่งและลู่อี้มีตัวตนจริงอยู่ในรัชสมัยขององค์หมิงสื้อจง (ค.ศ. 1521-1567) (Storyฯ เคยเขียนถึงมาหลายเดือนก่อน) ในยุคสมัยนั้น เนื้อหมูหนึ่งชั่งราคา 7-8 เฉียน เนื้อไก่หนึ่งชั่งราคา 3-4 เฉียน (เทียบเท่าน้ำหนักปัจจุบัน 595 กรัม) ดังนั้นราคาขนมและชาที่ยกข้อความมาจากในนิยายข้างต้นก็พอจะฟังดูสมเหตุสมผล คำถามต่อมาคือ องครักษ์เสื้อแพรมีรายรับเท่าไหร่เมื่อเทียบกับค่าครองชีพตามข้างต้น? มีตารางข้อมูลจาก “หมิงสื่อ /明史” หรือบันทึกประวัติศาสตร์ราชวงศ์หมิงมาให้ดู (ดูรูปประกอบ) เป็นอัตราเงินเดือนของขุนนางที่กำหนดไว้โดยปฐมกษัตริย์จูหยวนจาง จ่ายเป็นเดือน แต่กำหนดอัตราไว้เป็นรายปี วงให้ดูว่าเงินเดือนของใต้เท้าลู่อี้และพ่อของเขาคือ: ลู่ถิง (ในนิยายชื่อลู่ปิ่ง) เป็นผู้บัญชาการสูงสุดขององครักษ์เสื้อแพร ยศขุนนางขั้นที่สามเต็ม ได้เงินเดือนเป็นข้าวสาร 420 ตาน/ปี (เขียนหน่วยเป็นสือ ต่อมาเรียกเป็นตาน) ส่วนใต้เท้าลู่อี้ของเราในนิยายกล่าวไว้ว่าตอนที่แรกพบกับนางเอก เขาเป็นเพียงขุนนางขั้นที่เจ็ดล่าง ได้เงินเดือนเป็นข้าวสาร 84 ตาน/ปี หรือ 7 ตาน/เดือน ท่านอ่านไม่ผิดค่ะ เงินเดือนของข้าราชการสมัยนั้นปกติจ่ายเป็นข้าวสาร ข้าวสารหนึ่งตานสมัยนั้นหน้าตาเป็นกระบุงหาบ เทียบเท่าน้ำหนักปัจจุบันประมาณ 60 กก. เชื่อว่าขุนนางระดับสูงเวลารับเงินเดือนต้องใช้รถเข็นเลยทีเดียว แล้วถ้าคิดเป็นเงินล่ะ? อันนี้ผันแปรตามเงินเฟ้อ ข้าวสารหนึ่งตานในสมัยของใต้เท้าลู่นั้นราคา 0.584 ตำลึงเงิน ดังนั้นใต้เท้าลู่มีเงินเดือนเพียงประมาณ 4 ตำลึงเงิน/เดือน หรือ 4,000 เฉียนเท่านั้น! (ภาพการควักเงินหยวนเป่าออกมาวางให้เสี่ยวเอ้อตาโต หายแวบไปจากมโนของ Storyฯ ทันที) แล้วถ้าเปรียบเทียบวิชาชีพอื่น? สรุปโดยประมาณได้ดังนี้: ค่าจ้าง 600-1,700 เฉียน/เดือนขึ้นอยู่กับระดับงาน แผงขายอาหารในเมืองใหญ่ 1,300-1,600 เฉียน/เดือน ที่ดูจะรายได้ดีมากคือคนขับรถม้าที่ 3,000 เฉียน/เดือนเลยทีเดียว (หาไม่พบว่าเป็นเพราะอะไร) ส่วนเกษตรกรรายได้เฉลี่ย 750-1,200 เฉียน/เดือน แต่ขุนนางมี ‘สวัสดิการ’ อย่างอื่นด้วยคือผ้า เงินค่าน้ำชา ฟืน ชุดประจำตำแหน่ง จวนประจำตำแหน่ง เป็นต้น และยังไม่ต้องเสียภาษีเหมือนชาวนาหรือพ่อค้า แน่นอนว่าการต้องเลี้ยงบ่าวไพร่ทั้งเรือนก็มีค่าใช้จ่ายสูงอยู่ แต่เทียบกับวิชาชีพอื่นแล้ว หากได้เป็นขุนนางติดยศชีวิตความเป็นอยู่จะดีมาก สมัยนั้นตำแหน่งจอหงวนคือลำดับหกเต็ม Storyฯ จึงไม่แปลกใจว่าทำไมคนถึงขวนขวายเข้าเมืองหลวงสอบจอหงวนกัน ยศสูงกว่าใต้เท้าลู่อี้เสียอีก! (วันนี้คุยเรื่องเงินทอง ไม่คุยเรื่องอุดมการณ์ค่ะ) เขียนเพิ่มเติมหลังจากอัพเพจครั้งแรก: ในช่วงเวลาที่ไม่ปกติ เช่นแล้ง หรือเกิดสงคราม ข้าวในคลังมีน้อย หรือในฤดูที่ไม่มีการเก็บเกี่ยว มีการแก้ไขการจ่ายเงินเดือนข้าราชการ โดยกำหนดมูลค่าของข้าวเทียบเท่าของอย่างอื่น เช่น ผ้าผืน พริกไทย ใบชา เป็นต้น (อะไรก็ได้ที่มีมากในคลังหลวง) ต่อมาจึงมีแบ่งจ่ายเป็นตั๋วเงินด้วย ต่อมาในช่วงปลายราชวงศ์หมิงจึงเปลี่ยนมากำหนดให้จ่ายเป็นข้าว ตั๋วเงินและเงิน แต่ยังคงเทียบอัตราเงินเดือนเป็นข้าวสารอยู่ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ ช่วยกดไลค์กดแชร์กันด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจากและข้อมูลเรียบเรียงจาก: https://www.sohu.com/a/360665261_162238 https://www.bilibili.com/read/cv9844919 https://www.zmkm8.com/artdata-94382.html https://www.sohu.com/a/273067566_559864 http://www.gushizhuan.com/gdws/284082.html #ใต้เท้าลู่ #องครักษ์เสื้อแพร #ยอดองครักษ์เสื้อแพร #ราชวงศ์หมิง #วัฒนธรรมจีนโบราณ #เงินจีนโบราณ #เงินเดือนข้าราชการจีน
    《锦衣之下》即将上线 任嘉伦谭松韵“猫鼠游戏“甜酥来袭_悬疑
    此次曝光的海报中,锦衣卫经历陆绎(任嘉伦饰)一身大红炽金飞鱼服,手握绣春刀伫立,眼神凌厉气势十足;六扇门小捕快袁今夏(谭松韵饰)侧抱花猫,明眸善睐、笑容明媚极具少女感;严世蕃(韩栋饰)执扇侧立,神思沉稳…
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 434 มุมมอง 0 รีวิว
  • **การผูกขาดเมล็ดพันธุ์พืช (Seed Monopoly)**
    หมายถึงการที่บริษัทหรือกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ควบคุมการผลิต จำหน่าย และสิทธิบัตรเมล็ดพันธุ์พืชจนกลายเป็นผู้กุมอำนาจหลักในตลาด ส่งผลให้เกษตรกร ผู้บริโภค และระบบนิเวศเกษตรได้รับผลกระทบอย่างกว้างขวาง

    ---

    ### **สาเหตุของการผูกขาดเมล็ดพันธุ์**
    1. **สิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญา**
    - บริษัทขนาดใหญ่เช่น **Monsanto (Bayer), Syngenta, Corteva** ใช้กฎหมายสิทธิบัตรเพื่อผูกขาดเมล็ดพันธุ์จีเอ็มโอ (GMO) หรือพันธุ์พืชปรับปรุงใหม่ ทำให้เกษตรกรไม่สามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ปลูกต่อได้
    - เกษตรกรต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ใหม่ทุกปี เนื่องจากเมล็ดพันธุ์เหล่านี้ถูกออกแบบให้มีอายุสั้น (Terminator Seed Technology) หรือมีสัญญาผูกพันทางกฎหมายห้ามเก็บเมล็ดต่อ

    2. **การรวมกิจการ (Mergers & Acquisitions)**
    - การควบรวมบริษัทเมล็ดพันธุ์และสารเคมีการเกษตร เช่น การซื้อ Monsanto โดย Bayer ในปี 2018 ทำให้เกิดการรวมอำนาจทั้งด้านเมล็ดพันธุ์และปัจจัยการผลิตอื่น ๆ (ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง)

    3. **การควบคุมสายพันธุ์เชิงพาณิชย์**
    - บริษัทเน้นพัฒนาพันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงแต่ต้องใช้สารเคมีร่วมด้วย ส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดี่ยว (Monoculture) ซึ่งทำลายความหลากหลายทางชีวภาพ

    ---

    ### **ผลกระทบจากการผูกขาดเมล็ดพันธุ์**
    1. **เกษตรกรสูญเสียอำนาจต่อรอง**
    - เกษตรกรต้องพึ่งพาบริษัทในการซื้อเมล็ดพันธุ์ทุกปี สูญเสียอิสระในการจัดการทรัพยากรพันธุ์พืชท้องถิ่น
    - มีคดีฟ้องร้องเกษตรกรหลายกรณีจากการละเมิดสิทธิบัตร เช่น กรณี **Percy Schmeiser** ในแคนาดาที่ถูก Monsanto ฟ้องร้อง

    2. **สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ**
    - เมล็ดพันธุ์ท้องถิ่นและพันธุ์พื้นเมืองถูกแทนที่ด้วยพันธุ์เชิงพาณิชย์ ทำให้พืชดั้งเดิมเสี่ยงสูญพันธุ์

    3. **ความเสี่ยงต่อความมั่นคงอาหาร**
    - การพึ่งพาพันธุ์พืชเพียงไม่กี่ชนิดเพิ่มความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    4. **เพิ่มต้นทุนการผลิต**
    - เกษตรกรต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์เมล็ดพันธุ์และซื้อสารเคมีในราคาสูง

    ---

    ### **แนวทางแก้ไขและทางเลือก**
    1. **ส่งเสริมเมล็ดพันธุ์เปิด (Open Source Seeds)**
    - เมล็ดพันธุ์ที่อนุญาตให้เกษตรกรเก็บรักษาและแลกเปลี่ยนได้ฟรี เช่น โครงการ Open Source Seed Initiative (OSSI)

    2. **อนุรักษ์และฟื้นฟูเมล็ดพันธุ์ท้องถิ่น**
    - สนับสนุนธนาคารเมล็ดพันธุ์ชุมชน และเครือข่ายเกษตรกรเพื่อแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชดั้งเดิม

    3. **กฎหมายควบคุมการผูกขาด**
    - รัฐบาลต้องออกกฎหมายป้องกันการผูกขาดตลาดเมล็ดพันธุ์ และตรวจสอบการใช้อำนาจเหนือตลาดของบริษัทข้ามชาติ

    4. **สนับสนุนเกษตรอินทรีย์และวนเกษตร**
    - ลดการพึ่งพาเมล็ดพันธุ์เชิงพาณิชย์ด้วยระบบเกษตรที่เน้นความยั่งยืน

    5. **มาตรการระดับสากล**
    - อนุสัญญา ITPGRFA (International Treaty on Plant Genetic Resources for Food and Agriculture) ส่งเสริมการแบ่งปันทรัพยากรพันธุกรรมพืชอย่างเป็นธรรม

    ---

    ### **กรณีศึกษา**
    - **อินเดีย**: วิกฤตหนี้สินเกษตรกรปลูกฝ้าย Bt ของ Monsanto เนื่องจากราคาเมล็ดพันธุ์สูงและผลผลิตล้มเหลว
    - **เม็กซิโก**: การรุกรานของข้าวโพดจีเอ็มโอทำลายสายพันธุ์ข้าวโพดพื้นเมือง ส่งผลให้เกิดการเคลื่อนไหวต่อต้านบริษัทข้ามชาติ

    ---

    **สรุป**: การผูกขาดเมล็ดพันธุ์พืชเป็นปัญหาสำคัญที่กระทบทั้งระบบนิเวศ เศรษฐกิจ และสังคม ทางออกคือการสร้างระบบอาหารที่ยั่งยืนโดยให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง และปกป้องสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียม
    **การผูกขาดเมล็ดพันธุ์พืช (Seed Monopoly)** หมายถึงการที่บริษัทหรือกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ควบคุมการผลิต จำหน่าย และสิทธิบัตรเมล็ดพันธุ์พืชจนกลายเป็นผู้กุมอำนาจหลักในตลาด ส่งผลให้เกษตรกร ผู้บริโภค และระบบนิเวศเกษตรได้รับผลกระทบอย่างกว้างขวาง --- ### **สาเหตุของการผูกขาดเมล็ดพันธุ์** 1. **สิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญา** - บริษัทขนาดใหญ่เช่น **Monsanto (Bayer), Syngenta, Corteva** ใช้กฎหมายสิทธิบัตรเพื่อผูกขาดเมล็ดพันธุ์จีเอ็มโอ (GMO) หรือพันธุ์พืชปรับปรุงใหม่ ทำให้เกษตรกรไม่สามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ปลูกต่อได้ - เกษตรกรต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ใหม่ทุกปี เนื่องจากเมล็ดพันธุ์เหล่านี้ถูกออกแบบให้มีอายุสั้น (Terminator Seed Technology) หรือมีสัญญาผูกพันทางกฎหมายห้ามเก็บเมล็ดต่อ 2. **การรวมกิจการ (Mergers & Acquisitions)** - การควบรวมบริษัทเมล็ดพันธุ์และสารเคมีการเกษตร เช่น การซื้อ Monsanto โดย Bayer ในปี 2018 ทำให้เกิดการรวมอำนาจทั้งด้านเมล็ดพันธุ์และปัจจัยการผลิตอื่น ๆ (ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง) 3. **การควบคุมสายพันธุ์เชิงพาณิชย์** - บริษัทเน้นพัฒนาพันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงแต่ต้องใช้สารเคมีร่วมด้วย ส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดี่ยว (Monoculture) ซึ่งทำลายความหลากหลายทางชีวภาพ --- ### **ผลกระทบจากการผูกขาดเมล็ดพันธุ์** 1. **เกษตรกรสูญเสียอำนาจต่อรอง** - เกษตรกรต้องพึ่งพาบริษัทในการซื้อเมล็ดพันธุ์ทุกปี สูญเสียอิสระในการจัดการทรัพยากรพันธุ์พืชท้องถิ่น - มีคดีฟ้องร้องเกษตรกรหลายกรณีจากการละเมิดสิทธิบัตร เช่น กรณี **Percy Schmeiser** ในแคนาดาที่ถูก Monsanto ฟ้องร้อง 2. **สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ** - เมล็ดพันธุ์ท้องถิ่นและพันธุ์พื้นเมืองถูกแทนที่ด้วยพันธุ์เชิงพาณิชย์ ทำให้พืชดั้งเดิมเสี่ยงสูญพันธุ์ 3. **ความเสี่ยงต่อความมั่นคงอาหาร** - การพึ่งพาพันธุ์พืชเพียงไม่กี่ชนิดเพิ่มความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4. **เพิ่มต้นทุนการผลิต** - เกษตรกรต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์เมล็ดพันธุ์และซื้อสารเคมีในราคาสูง --- ### **แนวทางแก้ไขและทางเลือก** 1. **ส่งเสริมเมล็ดพันธุ์เปิด (Open Source Seeds)** - เมล็ดพันธุ์ที่อนุญาตให้เกษตรกรเก็บรักษาและแลกเปลี่ยนได้ฟรี เช่น โครงการ Open Source Seed Initiative (OSSI) 2. **อนุรักษ์และฟื้นฟูเมล็ดพันธุ์ท้องถิ่น** - สนับสนุนธนาคารเมล็ดพันธุ์ชุมชน และเครือข่ายเกษตรกรเพื่อแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชดั้งเดิม 3. **กฎหมายควบคุมการผูกขาด** - รัฐบาลต้องออกกฎหมายป้องกันการผูกขาดตลาดเมล็ดพันธุ์ และตรวจสอบการใช้อำนาจเหนือตลาดของบริษัทข้ามชาติ 4. **สนับสนุนเกษตรอินทรีย์และวนเกษตร** - ลดการพึ่งพาเมล็ดพันธุ์เชิงพาณิชย์ด้วยระบบเกษตรที่เน้นความยั่งยืน 5. **มาตรการระดับสากล** - อนุสัญญา ITPGRFA (International Treaty on Plant Genetic Resources for Food and Agriculture) ส่งเสริมการแบ่งปันทรัพยากรพันธุกรรมพืชอย่างเป็นธรรม --- ### **กรณีศึกษา** - **อินเดีย**: วิกฤตหนี้สินเกษตรกรปลูกฝ้าย Bt ของ Monsanto เนื่องจากราคาเมล็ดพันธุ์สูงและผลผลิตล้มเหลว - **เม็กซิโก**: การรุกรานของข้าวโพดจีเอ็มโอทำลายสายพันธุ์ข้าวโพดพื้นเมือง ส่งผลให้เกิดการเคลื่อนไหวต่อต้านบริษัทข้ามชาติ --- **สรุป**: การผูกขาดเมล็ดพันธุ์พืชเป็นปัญหาสำคัญที่กระทบทั้งระบบนิเวศ เศรษฐกิจ และสังคม ทางออกคือการสร้างระบบอาหารที่ยั่งยืนโดยให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง และปกป้องสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียม
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 845 มุมมอง 0 รีวิว
  • 8 พฤศจิกายน 2567-กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางถึงค่อนข้างแรงจากประเทศจีนปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศเย็นในตอนเช้า และอุณหภูมิจะลดลงอีกเล็กน้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่คลื่นกระแสลมฝ่ายตะวันตกจากประเทศเมียนมาเคลื่อนเข้าปกคลุมภาคเหนือตอนบน ประกอบกับมีลมตะวันออกเฉียงใต้ในระดับบนพัดปกคลุมประเทศไทยตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทำให้ภาคเหนือตอนบน ภาคกลางตอนล่าง และภาคตะวันออก มีฝน/ฝนฟ้าคะนองบางแห่ง ขอให้ประชาชนบริเวณประเทศไทยตอนบนดูแลรักษาสุขภาพเนื่องจากสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง ส่วนเกษตรกรควรเตรียมการป้องกันและระวังความเสียหายที่จะเกิดต่อผลผลิตทางการเกษตรไว้ด้วย

    #Thaitimes
    8 พฤศจิกายน 2567-กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางถึงค่อนข้างแรงจากประเทศจีนปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศเย็นในตอนเช้า และอุณหภูมิจะลดลงอีกเล็กน้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่คลื่นกระแสลมฝ่ายตะวันตกจากประเทศเมียนมาเคลื่อนเข้าปกคลุมภาคเหนือตอนบน ประกอบกับมีลมตะวันออกเฉียงใต้ในระดับบนพัดปกคลุมประเทศไทยตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทำให้ภาคเหนือตอนบน ภาคกลางตอนล่าง และภาคตะวันออก มีฝน/ฝนฟ้าคะนองบางแห่ง ขอให้ประชาชนบริเวณประเทศไทยตอนบนดูแลรักษาสุขภาพเนื่องจากสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง ส่วนเกษตรกรควรเตรียมการป้องกันและระวังความเสียหายที่จะเกิดต่อผลผลิตทางการเกษตรไว้ด้วย #Thaitimes
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 890 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปลูกไม้ป่าเพิ่ม #วนเกษตร #Agroforestry
    ปลูกไม้ป่าเพิ่ม #วนเกษตร #Agroforestry
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 685 มุมมอง 29 0 รีวิว
  • Nawa Living Condo : นวลิฟวิ่งคอนโด นวมินทร์75

    คอนโดติดรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (อนาคต) ใกล้ MRT สายสีส้ม และ BTS สายสีเหลือง เชื่อมต่อถนนเส้นหลักได้หลายสาย ใกล้ทางด่วนเกษตร-นวมินทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพ

    บนอีกหนึ่งทำเลคุณภาพ จำนวน 8 ชั้น 2 อาคาร ตั้งอยู่ท่ามกลางชุมชน แหล่งของกินของใช้อุดมสมบูรณ์ แวดล้อมด้วยโรงเรียน โรงพยาบาล และห้างสรรพสินค้าครบครันเดินทางสะดวก ติดรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (อนาคต) ใกล้ MRT สายสีส้ม และ BTS สายสีเหลือง

    **สิ่งอำนวยความสะดวก**

    - โถงต้อนรับ
    - ห้องจดหมาย
    - ที่จอดรถระบบ Bluetooth Access
    - ห้องอ่านหนังสือ
    - ห้องออกกำลังกาย
    - เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 24 ชม.
    - ลิฟต์โดยสาร
    - Access Control Card
    - CCTV

    **สถานที่ใกล้เคียง**

    - เดอะมอลล์ บางกะปิ
    - แมคโคร บางกะปิ
    - โลตัส บางกะปิ
    - ตลาดอินทรารักษ์
    - NIDA
    - สถานีตำรวจโยธินพัฒนา
    - 7-Eleven
    - รร.โสมาภา
    - รร.พระมารดานิจจานุเคราะห์
    - รร.อินเตอร์คิดส์ เสรีไทย
    - รพ.สิรินาถ บึงกุ่ม
    - รพ.นวเวช
    - รพ.เวชธานี
    - ท็อปส์มาร์เก็ต นวมินทร์
    - ฟู้ดแลนด์ นวมินทร์
    - มาร์เก็ตเพลส นวมินทร์
    - รพ.เวชธานี

    -------------------------------------------
    สนใจสอบถามข้อมูลที่
    โทร.081-822-6553
    รับซื้อ ฝากขายที่ดิน บ้าน คอนโด อสังหาริมทรัพย์
    ทุกชนิด “ฟรี” ค่าใช้จ่ายจนกว่าจะขายได้
    พร้อมทั้งทำเรื่องยื่นกู้สินเชื่อ
    จนถึงโอนกรรมสิทธิ์ ณ กรมที่ดิน

    Nawa Living Condo : นวลิฟวิ่งคอนโด นวมินทร์75 คอนโดติดรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (อนาคต) ใกล้ MRT สายสีส้ม และ BTS สายสีเหลือง เชื่อมต่อถนนเส้นหลักได้หลายสาย ใกล้ทางด่วนเกษตร-นวมินทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพ บนอีกหนึ่งทำเลคุณภาพ จำนวน 8 ชั้น 2 อาคาร ตั้งอยู่ท่ามกลางชุมชน แหล่งของกินของใช้อุดมสมบูรณ์ แวดล้อมด้วยโรงเรียน โรงพยาบาล และห้างสรรพสินค้าครบครันเดินทางสะดวก ติดรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (อนาคต) ใกล้ MRT สายสีส้ม และ BTS สายสีเหลือง **สิ่งอำนวยความสะดวก** - โถงต้อนรับ - ห้องจดหมาย - ที่จอดรถระบบ Bluetooth Access - ห้องอ่านหนังสือ - ห้องออกกำลังกาย - เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 24 ชม. - ลิฟต์โดยสาร - Access Control Card - CCTV **สถานที่ใกล้เคียง** - เดอะมอลล์ บางกะปิ - แมคโคร บางกะปิ - โลตัส บางกะปิ - ตลาดอินทรารักษ์ - NIDA - สถานีตำรวจโยธินพัฒนา - 7-Eleven - รร.โสมาภา - รร.พระมารดานิจจานุเคราะห์ - รร.อินเตอร์คิดส์ เสรีไทย - รพ.สิรินาถ บึงกุ่ม - รพ.นวเวช - รพ.เวชธานี - ท็อปส์มาร์เก็ต นวมินทร์ - ฟู้ดแลนด์ นวมินทร์ - มาร์เก็ตเพลส นวมินทร์ - รพ.เวชธานี ------------------------------------------- สนใจสอบถามข้อมูลที่ โทร.081-822-6553 รับซื้อ ฝากขายที่ดิน บ้าน คอนโด อสังหาริมทรัพย์ ทุกชนิด “ฟรี” ค่าใช้จ่ายจนกว่าจะขายได้ พร้อมทั้งทำเรื่องยื่นกู้สินเชื่อ จนถึงโอนกรรมสิทธิ์ ณ กรมที่ดิน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 898 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ลูกไม้ #วนเกษตร
    #ลูกไม้ #วนเกษตร
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 498 มุมมอง 46 0 รีวิว