• จีนได้ระงับการส่งออกแร่หายาก ซึ่งเป็นวัสดุสำคัญสำหรับอุตสาหกรรมเทคโนโลยี การบิน และการป้องกันประเทศ การตัดสินใจนี้ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานทั่วโลก โดยเฉพาะบริษัทในสหรัฐอเมริกา ที่อาจประสบกับการขาดแคลนวัตถุดิบสำคัญ

    ✅ จีนระงับการส่งออกแร่หายากและแม่เหล็ก
    - การส่งออกถูกจำกัดตั้งแต่ต้นเดือนเมษายน 2025
    - จีนกำลังร่างกรอบกฎหมายใหม่ในการออกใบอนุญาตส่งออก
    - มาตรการนี้มีผลกระทบต่อบริษัทในหลายอุตสาหกรรม

    ✅ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมเทคโนโลยีและการป้องกันประเทศ
    - แร่หายากใช้ในการผลิตมอเตอร์ไฟฟ้า โดรน หุ่นยนต์ และขีปนาวุธ
    - การขาดแคลนส่งผลต่ออุตสาหกรรมอเมริกัน โดยเฉพาะผู้รับเหมาด้านกลาโหม

    ✅ การตอบสนองของบริษัทต่างประเทศ
    - บางบริษัทเตรียมรับมือกับปัญหานี้โดยสะสมสต็อกแร่ไว้ล่วงหน้า
    - การผลิตแร่หายากนอกประเทศจีน เช่น ในสหรัฐฯ ญี่ปุ่น และเยอรมนี ยังไม่สามารถรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นได้

    ✅ จีนครองตลาดแร่หายากของโลก
    - จีนผลิตแร่หายากหนัก 99% ของปริมาณทั้งหมดในปี 2023
    - กระบวนการสกัดมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูง

    ⚠️ ข้อมูลเสริมที่ควรระวัง
    ℹ️ ผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานทั่วโลก
    - การขาดแคลนแร่หายากอาจทำให้ต้นทุนผลิตภัณฑ์เพิ่มสูงขึ้น
    - บริษัทที่พึ่งพาวัสดุจากจีนต้องหาทางเลือกใหม่ เช่น หันไปใช้วัสดุทดแทน

    ℹ️ ข้อกังวลด้านภูมิรัฐศาสตร์
    - การระงับส่งออกครั้งนี้อาจเป็นยุทธศาสตร์ตอบโต้ทางการค้ากับสหรัฐฯ
    - อาจเกิดความตึงเครียดระหว่างประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคแร่หายาก

    ℹ️ อนาคตของอุตสาหกรรมแร่หายาก
    - อาจมีการพัฒนาเทคโนโลยีการรีไซเคิลแม่เหล็กหายากมากขึ้น
    - ประเทศอื่นอาจเร่งพัฒนากำลังการผลิตเพื่อกระจายความเสี่ยง

    https://www.techspot.com/news/107534-china-halts-exports-rare-earth-exports-sparking-fears.html
    จีนได้ระงับการส่งออกแร่หายาก ซึ่งเป็นวัสดุสำคัญสำหรับอุตสาหกรรมเทคโนโลยี การบิน และการป้องกันประเทศ การตัดสินใจนี้ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานทั่วโลก โดยเฉพาะบริษัทในสหรัฐอเมริกา ที่อาจประสบกับการขาดแคลนวัตถุดิบสำคัญ ✅ จีนระงับการส่งออกแร่หายากและแม่เหล็ก - การส่งออกถูกจำกัดตั้งแต่ต้นเดือนเมษายน 2025 - จีนกำลังร่างกรอบกฎหมายใหม่ในการออกใบอนุญาตส่งออก - มาตรการนี้มีผลกระทบต่อบริษัทในหลายอุตสาหกรรม ✅ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมเทคโนโลยีและการป้องกันประเทศ - แร่หายากใช้ในการผลิตมอเตอร์ไฟฟ้า โดรน หุ่นยนต์ และขีปนาวุธ - การขาดแคลนส่งผลต่ออุตสาหกรรมอเมริกัน โดยเฉพาะผู้รับเหมาด้านกลาโหม ✅ การตอบสนองของบริษัทต่างประเทศ - บางบริษัทเตรียมรับมือกับปัญหานี้โดยสะสมสต็อกแร่ไว้ล่วงหน้า - การผลิตแร่หายากนอกประเทศจีน เช่น ในสหรัฐฯ ญี่ปุ่น และเยอรมนี ยังไม่สามารถรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นได้ ✅ จีนครองตลาดแร่หายากของโลก - จีนผลิตแร่หายากหนัก 99% ของปริมาณทั้งหมดในปี 2023 - กระบวนการสกัดมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูง ⚠️ ข้อมูลเสริมที่ควรระวัง ℹ️ ผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานทั่วโลก - การขาดแคลนแร่หายากอาจทำให้ต้นทุนผลิตภัณฑ์เพิ่มสูงขึ้น - บริษัทที่พึ่งพาวัสดุจากจีนต้องหาทางเลือกใหม่ เช่น หันไปใช้วัสดุทดแทน ℹ️ ข้อกังวลด้านภูมิรัฐศาสตร์ - การระงับส่งออกครั้งนี้อาจเป็นยุทธศาสตร์ตอบโต้ทางการค้ากับสหรัฐฯ - อาจเกิดความตึงเครียดระหว่างประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคแร่หายาก ℹ️ อนาคตของอุตสาหกรรมแร่หายาก - อาจมีการพัฒนาเทคโนโลยีการรีไซเคิลแม่เหล็กหายากมากขึ้น - ประเทศอื่นอาจเร่งพัฒนากำลังการผลิตเพื่อกระจายความเสี่ยง https://www.techspot.com/news/107534-china-halts-exports-rare-earth-exports-sparking-fears.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    China halts rare earth exports, sparking fears of shortages in critical industries
    The suspension comes as Beijing drafts a new regulatory framework for issuing export licenses, a process expected to restrict access to these vital materials for specific companies,...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 49 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดภาพ พิธีลงนามสัญญาจ้างควบคุมงานก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (แห่งใหม่) เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม 2564 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ได้จัดให้มีพิธีลงนามในสัญญาจ้างควบคุมงานก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (แห่งใหม่) พร้อมสิ่งก่อสร้างประกอบ โดยมีนายประจักษ์ บุญยัง ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ลงนามในสัญญา กับ กิจการร่วมค้า PKW ซึ่งเป็นผู้ชนะการยื่นข้อเสนองานจ้างควบคุมงาน ในวงเงิน 74.65 ล้านบาท ณ ห้องดำริอิศรานุวรรต สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ดำเนินการจัดทำร่างขอบเขตของงานจ้างควบคุมงานโครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานแห่งใหม่ โดยกำหนดระยะเวลาดำเนินการและการจ่ายเงินค่าจ้างเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นระยะเวลาควบคุมงานก่อสร้างจนแล้วเสร็จ (3 ปี) และระยะที่ 2 เป็นระยะเวลาควบคุมงานสำหรับงานรับประกันความชำรุดบกพร่องของผู้รับจ้างก่อสร้าง (2 ปี) ทำให้มีระยะเวลาผูกพันตามสัญญาจ้างเป็นระยะเวลาทั้งหมด 5 ปี และได้ดำเนินการจัดหาผู้ให้บริการควบคุมงานก่อสร้างตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 โดยวิธีคัดเลือกผู้ให้บริการควบคุมงานจ้างก่อสร้าง3 บริษัท ควบคุมงาน ตึก สตง. เอกชนที่ได้รับงานควบคุมงานก่อสร้างอาคาร สตง.วงเงิน 74.65 ล้านบาท 1. บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2554 ทุนจดทะเบียนล่าสุด 8,000,000 บาท ตั้งอยู่เลขที่ 63/123 ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี แจ้งประกอบธุรกิจการก่อสร้างอาคารที่ไม่ใช่ที่พักอาศัย ปรากฏชื่อ นาย ปฏิวัติ ศิริไทย นาง พรรณนภา ศิริไทย นาย นัฏพร กฤษฎานุภาพ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจ ณ วันที่ 29 เมษายน 2567 นาย ปฏิวัติ ศิริไทย ถือหุ้นใหญ่สุด หุ้นที่เหลืออยู่ในชื่อ นาง พรรณภา ศิริไทย นาย นัฏพร กฤษฎานุภาพ 2.บริษัท ว.และสหายคอนซัลแตนตส์ จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2526 ทุนจดทะเบียนล่าสุด 4,000,000 บาท ตั้งอยู่เลขที่ 55 ซอยรามคำแหง 18 (แม้นเขียน 3) ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ จังหวัดกรุงเทพมหานคร แจ้งประกอบธุรกิจกิจกรรมงานวิศวกรรมและการให้คำปรึกษาทางด้านเทคนิค ที่เกี่ยวข้อง ปรากฏชื่อ นาย โชควิชิต ลักษณากร นาย พลเดช เทอดพิทักษ์วานิช นาง ปราณีต แสงอลังการ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจ ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2567 นาย โชควิชิต ลักษณากร ถือหุ้นใหญ่สุด หุ้นที่เหลืออยู่ในชื่อ นาง พิมลดา ลักษณากร นาย วิชัย ลักษณากร นาย วิทู รักษ์วนิชพงศ์3. บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้นท์ จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2548 ทุนจดทะเบียนล่าสุด 2,000,000 บาท ตั้งอยู่เลขที่ 76/2 ถนนรามคำแหง แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานคร แจ้งประกอบธุรกิจการก่อสร้างอาคารที่ไม่ใช่ที่พักอาศัย ปรากฏชื่อ นาย กฤตภัฏ ปล่องกระโทก นาย ศิริศักดิ์ วดีศิริศักดิ์ นาย มนตรี สุดรักษ์ นาย ณัฐวุฒิ เลิศศรีดำรงค์กุล เป็นกรรมการผู้มีอำนาจ ณ วันที่ 30 เมษายน 2567 นาย กฤตภัฏ ปล่องกระโทก ถือหุ้นใหญ่สุด หุ้นที่เหลืออยู่ในชื่อ นาย ศิริศักดิ์ วดีศิริศักดิ์ นาย มนตรี สุดรักษ์ นาย ณัฐวุฒิ เลิศศรีดำรงค์กุล นางสาว พนิดดา พิทักษ์เกียรติยศหลังจากมีการขยายสัญญา ครม.ชุดปัจจุบันนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน และโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง.. จนเกิดเหตุกาณ์แผ่นดินไหว ตึกถล่มดังกล่าว .ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการSTRONGประเทศไทย
    เปิดภาพ พิธีลงนามสัญญาจ้างควบคุมงานก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (แห่งใหม่) เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม 2564 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ได้จัดให้มีพิธีลงนามในสัญญาจ้างควบคุมงานก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (แห่งใหม่) พร้อมสิ่งก่อสร้างประกอบ โดยมีนายประจักษ์ บุญยัง ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ลงนามในสัญญา กับ กิจการร่วมค้า PKW ซึ่งเป็นผู้ชนะการยื่นข้อเสนองานจ้างควบคุมงาน ในวงเงิน 74.65 ล้านบาท ณ ห้องดำริอิศรานุวรรต สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ดำเนินการจัดทำร่างขอบเขตของงานจ้างควบคุมงานโครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการสำนักงานแห่งใหม่ โดยกำหนดระยะเวลาดำเนินการและการจ่ายเงินค่าจ้างเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นระยะเวลาควบคุมงานก่อสร้างจนแล้วเสร็จ (3 ปี) และระยะที่ 2 เป็นระยะเวลาควบคุมงานสำหรับงานรับประกันความชำรุดบกพร่องของผู้รับจ้างก่อสร้าง (2 ปี) ทำให้มีระยะเวลาผูกพันตามสัญญาจ้างเป็นระยะเวลาทั้งหมด 5 ปี และได้ดำเนินการจัดหาผู้ให้บริการควบคุมงานก่อสร้างตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 โดยวิธีคัดเลือกผู้ให้บริการควบคุมงานจ้างก่อสร้าง3 บริษัท ควบคุมงาน ตึก สตง. เอกชนที่ได้รับงานควบคุมงานก่อสร้างอาคาร สตง.วงเงิน 74.65 ล้านบาท 1. บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2554 ทุนจดทะเบียนล่าสุด 8,000,000 บาท ตั้งอยู่เลขที่ 63/123 ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี แจ้งประกอบธุรกิจการก่อสร้างอาคารที่ไม่ใช่ที่พักอาศัย ปรากฏชื่อ นาย ปฏิวัติ ศิริไทย นาง พรรณนภา ศิริไทย นาย นัฏพร กฤษฎานุภาพ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจ ณ วันที่ 29 เมษายน 2567 นาย ปฏิวัติ ศิริไทย ถือหุ้นใหญ่สุด หุ้นที่เหลืออยู่ในชื่อ นาง พรรณภา ศิริไทย นาย นัฏพร กฤษฎานุภาพ 2.บริษัท ว.และสหายคอนซัลแตนตส์ จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2526 ทุนจดทะเบียนล่าสุด 4,000,000 บาท ตั้งอยู่เลขที่ 55 ซอยรามคำแหง 18 (แม้นเขียน 3) ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ จังหวัดกรุงเทพมหานคร แจ้งประกอบธุรกิจกิจกรรมงานวิศวกรรมและการให้คำปรึกษาทางด้านเทคนิค ที่เกี่ยวข้อง ปรากฏชื่อ นาย โชควิชิต ลักษณากร นาย พลเดช เทอดพิทักษ์วานิช นาง ปราณีต แสงอลังการ เป็นกรรมการผู้มีอำนาจ ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2567 นาย โชควิชิต ลักษณากร ถือหุ้นใหญ่สุด หุ้นที่เหลืออยู่ในชื่อ นาง พิมลดา ลักษณากร นาย วิชัย ลักษณากร นาย วิทู รักษ์วนิชพงศ์3. บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้นท์ จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2548 ทุนจดทะเบียนล่าสุด 2,000,000 บาท ตั้งอยู่เลขที่ 76/2 ถนนรามคำแหง แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานคร แจ้งประกอบธุรกิจการก่อสร้างอาคารที่ไม่ใช่ที่พักอาศัย ปรากฏชื่อ นาย กฤตภัฏ ปล่องกระโทก นาย ศิริศักดิ์ วดีศิริศักดิ์ นาย มนตรี สุดรักษ์ นาย ณัฐวุฒิ เลิศศรีดำรงค์กุล เป็นกรรมการผู้มีอำนาจ ณ วันที่ 30 เมษายน 2567 นาย กฤตภัฏ ปล่องกระโทก ถือหุ้นใหญ่สุด หุ้นที่เหลืออยู่ในชื่อ นาย ศิริศักดิ์ วดีศิริศักดิ์ นาย มนตรี สุดรักษ์ นาย ณัฐวุฒิ เลิศศรีดำรงค์กุล นางสาว พนิดดา พิทักษ์เกียรติยศหลังจากมีการขยายสัญญา ครม.ชุดปัจจุบันนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน และโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง.. จนเกิดเหตุกาณ์แผ่นดินไหว ตึกถล่มดังกล่าว .ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการSTRONGประเทศไทย
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 81 มุมมอง 0 รีวิว
  • กมธ.ศาลฯ เชิญ สตง.แจงเหตุตึกถล่ม ด้าน รองผู้ว่า สตง.โอดถนนสุดสายวิ่งมาที่ สตง.แมลงวันบินผ่านก็ด่าได้ ยันดำเนินการทุกอย่างยึดหลักกฎหมาย ไม่พบช่องฮั้ว ยอมรับไม่รู้ว่ามีบริษัทจีนเพราะอิตาเลี่ยนไทยออกหน้าตลอด เผยสร้างล่าช้าเพราะโควิด-ปรับแบบ ผู้รับเหมามีปัญหาเรื่องทุน 15 ม.ค.68 คณะกรรมการตรวจรับฯ จึงมีมติให้เลิกสัญญา อยู่ระหว่างดำเนินการ แต่เกิดเหตุก่อน

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034319

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    กมธ.ศาลฯ เชิญ สตง.แจงเหตุตึกถล่ม ด้าน รองผู้ว่า สตง.โอดถนนสุดสายวิ่งมาที่ สตง.แมลงวันบินผ่านก็ด่าได้ ยันดำเนินการทุกอย่างยึดหลักกฎหมาย ไม่พบช่องฮั้ว ยอมรับไม่รู้ว่ามีบริษัทจีนเพราะอิตาเลี่ยนไทยออกหน้าตลอด เผยสร้างล่าช้าเพราะโควิด-ปรับแบบ ผู้รับเหมามีปัญหาเรื่องทุน 15 ม.ค.68 คณะกรรมการตรวจรับฯ จึงมีมติให้เลิกสัญญา อยู่ระหว่างดำเนินการ แต่เกิดเหตุก่อน อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034319 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 637 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย)” คู่สัญญาก่อสร้างตึก สตง.ออกแถลงการณ์ยันจ่ายค่าจ้างครบถ้วนตามงวดงานและเงื่อนไขสัญญา ไม่เคยติดค้าง ซัด บริษัทก้าวพีเคฯ รับเงินแล้วไม่นำไปจ่ายให้กลุ่มผู้รับเหมา เป็นการผิดสัญญาว่าจ้างฯ และเป็นเหตุแห่งการเลิกสัญญาด้วย

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034022
    “ไอทีดี-ซีอาร์อีซีนัมเบอร์เทน (ไทย)” คู่สัญญาก่อสร้างตึก สตง.ออกแถลงการณ์ยันจ่ายค่าจ้างครบถ้วนตามงวดงานและเงื่อนไขสัญญา ไม่เคยติดค้าง ซัด บริษัทก้าวพีเคฯ รับเงินแล้วไม่นำไปจ่ายให้กลุ่มผู้รับเหมา เป็นการผิดสัญญาว่าจ้างฯ และเป็นเหตุแห่งการเลิกสัญญาด้วย อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034022
    Like
    Haha
    Yay
    9
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 498 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ช่างเบิร์ด" ผู้รับเหมาถูกบริษัทเบี้ยวค่าจ้างทำระบบไฟตึก สตง. เดินทางพบ "ดีเอสไอ" ให้ข้อมูลการรับงาน - เตรียมให้ปากคำ สน.บางซื่อ เพิ่มเติม 9 เม.ย.นี้

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000033491

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    "ช่างเบิร์ด" ผู้รับเหมาถูกบริษัทเบี้ยวค่าจ้างทำระบบไฟตึก สตง. เดินทางพบ "ดีเอสไอ" ให้ข้อมูลการรับงาน - เตรียมให้ปากคำ สน.บางซื่อ เพิ่มเติม 9 เม.ย.นี้ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000033491 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 498 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผลสอบตึกถล่มส่อเค้า
    ผู้รับเหมา-โดนลดชั้น
    ผู้ผลิตเหล็ก-โดนเพิกถอน
    ไอ่สะตง-รอดพ้น
    #คิงส์โพธิ์แดง
    ผลสอบตึกถล่มส่อเค้า ผู้รับเหมา-โดนลดชั้น ผู้ผลิตเหล็ก-โดนเพิกถอน ไอ่สะตง-รอดพ้น #คิงส์โพธิ์แดง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..เราอยู่ในภาวะสงครามแล้วนะ และคนไทยเราไม่รู้ตัว.

    ..กฎหมายสภาพอากาศ ผ่านในสภาไทยแล้วนะ

    ..นี้คือ #สงครามเคมีของการควบคุมสภาพอากาศ
    ..แผ่นดินไหวถึงไทย ตลอดตึก สตง.ถล่ม ไม่ใช่แค่บิดเบือนสงครามHAARPนี้ว่าเกิดจากธรรมชาติแต่แท้จริงมันคือสัตว์ที่อยู่ในโลกประเภทหนึ่งทำ แรปทีเลียนชั่ว มนุษย์ชั่วเข้าร่วมทำร่วมกับชาติมหาอำนาจโลกควบคุมในนามชื่อเดอะแก๊งdeep state นี้ก็ว่าซึ่งมาสร้างบรรยากาศบันเทิงต่อโลกรับบทเป็นฝ่ายไม่ดีฝ่ายมืดก่อการและควบคุมมันก็ว่าอีกล่ะ.

    ..พวกมันพ่นสารเคมีใส่เราเหมือนแมลง สารเคมีในอากาศ สารเคมีในอากาศ และสารเคมีในอากาศที่ปนเปื้อนในอากาศ

    ไม่ใช่การควบแน่น ไม่ใช่เมฆ สิ่งที่คุณเห็นบนท้องฟ้าคือการโจมตีด้วยละอองลอยในอากาศของกองทหารที่ประสานงานกันอย่างประสานงานกัน ซึ่งเป็นสงครามเคมีที่ปลอมตัวมาในรูปแบบของ "การควบคุมสภาพอากาศ" รูปแบบที่สลับไปมา หมอกควันที่ขยายตัว นี่คือวิศวกรรมธรณีวิทยา และในปี 2025 สารเคมีเหล่านี้จะขยายขนาดจนไม่สามารถละเลยได้

    อะลูมิเนียม แบเรียม สตรอนเทียม ลิเธียม สารเคมีเหล่านี้ถูกทิ้งใส่เราทุกวัน ไม่ว่าจะเป็นจากเครื่องบินที่ไม่มีเครื่องหมาย ใต้เส้นทางการบินของกองทหาร และสื่อก็ปฏิเสธมาตลอด เป้าหมายคืออะไร? การครอบงำด้วยสเปกตรัมเต็มรูปแบบ อากาศ ดิน อาหาร ร่างกายของคุณ ทุกสิ่งทุกอย่างอิ่มตัวด้วยโลหะที่นำไฟฟ้าได้

    นี่ไม่ใช่การทำให้โลกเย็นลง แต่เป็นการสร้างบรรยากาศที่ไวต่อความถี่และสามารถตั้งโปรแกรมได้ ท้องฟ้ากลายเป็นแผงควบคุม ประชากรกลายเป็นเครื่องรับสัญญาณ คุณไม่ได้แค่หายใจเอาสารพิษเข้าไปเท่านั้น แต่คุณยังดูดซับอิทธิพลจากระยะไกลอีกด้วย

    การทดสอบอิสระในปี 2025 แสดงให้เห็นว่าระดับอะลูมิเนียมในน้ำฝนสูงขึ้นถึง 70 เท่าของปกติ ต้นไม้ตาย ผึ้งหายไป ผู้คนรายงานว่าสมองมึนงงอย่างกะทันหัน อ่อนล้า อารมณ์แปรปรวน ซึ่งเพิ่มขึ้นทันทีหลังจากฉีดพ่นสารอย่างหนัก เป็นเรื่องบังเอิญหรือไม่? ไม่มีทางเป็นไปได้

    ทำไมเส้นทางจึงก่อตัวเป็นตารางและเกลียว ทำไมพายุ "ประหลาด" จึงพัดถล่มพื้นที่หนึ่งในขณะที่พื้นที่อื่นๆ ถูกฝังอยู่ภายใต้ภัยแล้งที่ไม่เป็นธรรมชาติ ไม่ใช่เรื่องธรรมชาติ ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่มันคือสงครามสภาพอากาศที่ควบคุมได้ HAARP EISCAT SuperDARN สิ่งเหล่านี้เป็นอาวุธจริงที่กระตุ้นไอโอโนสเฟียร์และควบคุมกระแสลมกรดและเส้นทางพายุ

    นี่ไม่ใช่ทฤษฎี มันคือปฏิบัติการทางทหารที่ยังคงดำเนินอยู่ ผู้รับเหมากำลังฉีดพ่นอนุภาคที่มีตัวนำ เครื่องทำความร้อนไอโอโนสเฟียร์ปล่อยพลังงานขึ้นสู่ท้องฟ้า ดาวเทียมและหอส่งสัญญาณ 5G ทำหน้าที่ควบคุม คุณกลายเป็นส่วนหนึ่งของกริดอาวุธ ระบบประสาท คลื่นสมอง ความคิดของคุณ เปิดเผยทุกอย่าง

    คุณคือสนามรบ

    ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา เมืองในชนบทในยูทาห์ โอเรกอน เพนซิลเวเนีย รายงานเสียงลึกลับ สัตว์ตายเกลื่อน และไฟดับ การทดสอบภาคสนาม อาวุธเงียบ ไม่มีการรายงาน ไม่มีความรับผิดชอบ

    และพวกเขากำลังเพิ่มลิเธียม ซึ่งเป็นยาจิตเวช เพื่อทำให้สงบ ระงับ เพื่อควบคุม เมื่อรวมกับความถี่ มันจะลอกเอาความตั้งใจ ความโกรธ และความสามารถในการต่อต้านของคุณออกไป

    26 มีนาคม 2025 นี่ไม่ใช่โลกดิสโทเปียในอนาคต แต่เป็นตอนนี้

    สิ่งที่คุณเห็น ไม่ใช่เมฆ สงคราม
    สิ่งที่คุณรู้สึก ไม่ใช่ธรรมชาติ ถูกสร้างขึ้น
    สิ่งที่คุณหายใจ ไม่ใช่อากาศ การยอมจำนนทางเคมี

    ตื่นขึ้น หรือไม่ก็ถูกลบ

    ..เราอยู่ในภาวะสงครามแล้วนะ และคนไทยเราไม่รู้ตัว. ..กฎหมายสภาพอากาศ ผ่านในสภาไทยแล้วนะ ..นี้คือ #สงครามเคมีของการควบคุมสภาพอากาศ ..แผ่นดินไหวถึงไทย ตลอดตึก สตง.ถล่ม ไม่ใช่แค่บิดเบือนสงครามHAARPนี้ว่าเกิดจากธรรมชาติแต่แท้จริงมันคือสัตว์ที่อยู่ในโลกประเภทหนึ่งทำ แรปทีเลียนชั่ว มนุษย์ชั่วเข้าร่วมทำร่วมกับชาติมหาอำนาจโลกควบคุมในนามชื่อเดอะแก๊งdeep state นี้ก็ว่าซึ่งมาสร้างบรรยากาศบันเทิงต่อโลกรับบทเป็นฝ่ายไม่ดีฝ่ายมืดก่อการและควบคุมมันก็ว่าอีกล่ะ. ..พวกมันพ่นสารเคมีใส่เราเหมือนแมลง สารเคมีในอากาศ สารเคมีในอากาศ และสารเคมีในอากาศที่ปนเปื้อนในอากาศ ไม่ใช่การควบแน่น ไม่ใช่เมฆ สิ่งที่คุณเห็นบนท้องฟ้าคือการโจมตีด้วยละอองลอยในอากาศของกองทหารที่ประสานงานกันอย่างประสานงานกัน ซึ่งเป็นสงครามเคมีที่ปลอมตัวมาในรูปแบบของ "การควบคุมสภาพอากาศ" รูปแบบที่สลับไปมา หมอกควันที่ขยายตัว นี่คือวิศวกรรมธรณีวิทยา และในปี 2025 สารเคมีเหล่านี้จะขยายขนาดจนไม่สามารถละเลยได้ อะลูมิเนียม แบเรียม สตรอนเทียม ลิเธียม สารเคมีเหล่านี้ถูกทิ้งใส่เราทุกวัน ไม่ว่าจะเป็นจากเครื่องบินที่ไม่มีเครื่องหมาย ใต้เส้นทางการบินของกองทหาร และสื่อก็ปฏิเสธมาตลอด เป้าหมายคืออะไร? การครอบงำด้วยสเปกตรัมเต็มรูปแบบ อากาศ ดิน อาหาร ร่างกายของคุณ ทุกสิ่งทุกอย่างอิ่มตัวด้วยโลหะที่นำไฟฟ้าได้ นี่ไม่ใช่การทำให้โลกเย็นลง แต่เป็นการสร้างบรรยากาศที่ไวต่อความถี่และสามารถตั้งโปรแกรมได้ ท้องฟ้ากลายเป็นแผงควบคุม ประชากรกลายเป็นเครื่องรับสัญญาณ คุณไม่ได้แค่หายใจเอาสารพิษเข้าไปเท่านั้น แต่คุณยังดูดซับอิทธิพลจากระยะไกลอีกด้วย การทดสอบอิสระในปี 2025 แสดงให้เห็นว่าระดับอะลูมิเนียมในน้ำฝนสูงขึ้นถึง 70 เท่าของปกติ ต้นไม้ตาย ผึ้งหายไป ผู้คนรายงานว่าสมองมึนงงอย่างกะทันหัน อ่อนล้า อารมณ์แปรปรวน ซึ่งเพิ่มขึ้นทันทีหลังจากฉีดพ่นสารอย่างหนัก เป็นเรื่องบังเอิญหรือไม่? ไม่มีทางเป็นไปได้ ทำไมเส้นทางจึงก่อตัวเป็นตารางและเกลียว ทำไมพายุ "ประหลาด" จึงพัดถล่มพื้นที่หนึ่งในขณะที่พื้นที่อื่นๆ ถูกฝังอยู่ภายใต้ภัยแล้งที่ไม่เป็นธรรมชาติ ไม่ใช่เรื่องธรรมชาติ ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่มันคือสงครามสภาพอากาศที่ควบคุมได้ HAARP EISCAT SuperDARN สิ่งเหล่านี้เป็นอาวุธจริงที่กระตุ้นไอโอโนสเฟียร์และควบคุมกระแสลมกรดและเส้นทางพายุ นี่ไม่ใช่ทฤษฎี มันคือปฏิบัติการทางทหารที่ยังคงดำเนินอยู่ ผู้รับเหมากำลังฉีดพ่นอนุภาคที่มีตัวนำ เครื่องทำความร้อนไอโอโนสเฟียร์ปล่อยพลังงานขึ้นสู่ท้องฟ้า ดาวเทียมและหอส่งสัญญาณ 5G ทำหน้าที่ควบคุม คุณกลายเป็นส่วนหนึ่งของกริดอาวุธ ระบบประสาท คลื่นสมอง ความคิดของคุณ เปิดเผยทุกอย่าง คุณคือสนามรบ ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา เมืองในชนบทในยูทาห์ โอเรกอน เพนซิลเวเนีย รายงานเสียงลึกลับ สัตว์ตายเกลื่อน และไฟดับ การทดสอบภาคสนาม อาวุธเงียบ ไม่มีการรายงาน ไม่มีความรับผิดชอบ และพวกเขากำลังเพิ่มลิเธียม ซึ่งเป็นยาจิตเวช เพื่อทำให้สงบ ระงับ เพื่อควบคุม เมื่อรวมกับความถี่ มันจะลอกเอาความตั้งใจ ความโกรธ และความสามารถในการต่อต้านของคุณออกไป 26 มีนาคม 2025 นี่ไม่ใช่โลกดิสโทเปียในอนาคต แต่เป็นตอนนี้ สิ่งที่คุณเห็น ไม่ใช่เมฆ สงคราม สิ่งที่คุณรู้สึก ไม่ใช่ธรรมชาติ ถูกสร้างขึ้น สิ่งที่คุณหายใจ ไม่ใช่อากาศ การยอมจำนนทางเคมี ตื่นขึ้น หรือไม่ก็ถูกลบ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 162 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปัญหาใต้ตึก สตง.เพียบ ค้างค่าแรงผู้รับเหมา เคลียร์ยังไม่ลงตัว
    .
    ซากปรักหักพังของอาคารสำนักงานตรวจเงินผแผ่นดินแห่งใหม่ที่พังลงมาที่ยากต่อการรื้อถอนแล้ว ปรากฎว่าปัญหาแวดล้อมอื่นๆ นั้นกลับเป็นเรื่องยากต่อการแก้ไขยิ่งกว่า โดยเฉพาะเริ่มมีการเรียกร้องให้มีการจ่ายเงินให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างอาคารดังกล่าวตามสัญญา
    .
    ทั้งนี้ มีการเจรจาระหว่างตัวแทนบริษัท 9PK จำกัด กับตัวแทนกิจการร่วมค้าบริษัท ไชน่าเรลเวย์ นัมเบอร์ 10 และบริษัท อิตาเลียนไทยฯ พร้อมตัวแทนผู้รับเหมาช่วงถูกเบี้ยวค่าแรง โดยพบว่าสาเหตุหนึ่งมาจากการที่ต้องรอสตง.ตรวจงานและแก้ไขสัญญาบางส่วนก่อน
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000033059
    ปัญหาใต้ตึก สตง.เพียบ ค้างค่าแรงผู้รับเหมา เคลียร์ยังไม่ลงตัว . ซากปรักหักพังของอาคารสำนักงานตรวจเงินผแผ่นดินแห่งใหม่ที่พังลงมาที่ยากต่อการรื้อถอนแล้ว ปรากฎว่าปัญหาแวดล้อมอื่นๆ นั้นกลับเป็นเรื่องยากต่อการแก้ไขยิ่งกว่า โดยเฉพาะเริ่มมีการเรียกร้องให้มีการจ่ายเงินให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างอาคารดังกล่าวตามสัญญา . ทั้งนี้ มีการเจรจาระหว่างตัวแทนบริษัท 9PK จำกัด กับตัวแทนกิจการร่วมค้าบริษัท ไชน่าเรลเวย์ นัมเบอร์ 10 และบริษัท อิตาเลียนไทยฯ พร้อมตัวแทนผู้รับเหมาช่วงถูกเบี้ยวค่าแรง โดยพบว่าสาเหตุหนึ่งมาจากการที่ต้องรอสตง.ตรวจงานและแก้ไขสัญญาบางส่วนก่อน . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000033059
    Like
    Love
    Sad
    12
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 904 มุมมอง 0 รีวิว
  • กรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่น ร่อนหนังสือถึง อปท. ขอความอนุเคราะห์ลบบัญชีผู้รับเหมาทิ้งงานในระบบ อ้างผิดพรบ. PDPAแต่ส่อขัด พรบ.ข้อมูลข่าวสารเปิดเผยให้ประชาชนทราบ..
    กรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่น ร่อนหนังสือถึง อปท. ขอความอนุเคราะห์ลบบัญชีผู้รับเหมาทิ้งงานในระบบ อ้างผิดพรบ. PDPAแต่ส่อขัด พรบ.ข้อมูลข่าวสารเปิดเผยให้ประชาชนทราบ..
    Angry
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • งดประจาน "ผู้รับเหมาทิ้งงานภาครัฐ" อ้างกฎหมาย PDPA คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ส่อเป็นช่องทางให้มิจฉาชีพนําไปใช้ในทางผิดกฎหมาย "อนุฯกลั่นกรองผู้ทิ้งงาน บช." แจ้งทั่วประเทศ เฉพาะ"หน่วยงานท้องถิ่น" ไล่ลบชื่อผู้ประกอบการ/ผู้รับเหมา ที่ถูกแจ้งเวียนหลังยังพบ ท้องถิ่นขึ้นหรา รายละเอียดนิติบุคคล เลขทะเบียนนิติบุคคล ชื่อกรรมการผู้จัดการ ชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ที่อยู่ และเลขบัตรประชาชน

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000032431
    งดประจาน "ผู้รับเหมาทิ้งงานภาครัฐ" อ้างกฎหมาย PDPA คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ส่อเป็นช่องทางให้มิจฉาชีพนําไปใช้ในทางผิดกฎหมาย "อนุฯกลั่นกรองผู้ทิ้งงาน บช." แจ้งทั่วประเทศ เฉพาะ"หน่วยงานท้องถิ่น" ไล่ลบชื่อผู้ประกอบการ/ผู้รับเหมา ที่ถูกแจ้งเวียนหลังยังพบ ท้องถิ่นขึ้นหรา รายละเอียดนิติบุคคล เลขทะเบียนนิติบุคคล ชื่อกรรมการผู้จัดการ ชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ที่อยู่ และเลขบัตรประชาชน อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000032431
    Like
    Haha
    Angry
    Sad
    8
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 721 มุมมอง 0 รีวิว
  • พะเยา – ทั้ง กอ.รมน.-ตำรวจ ตามตรวจตึกใหม่ สตง.พะเยา ร้างตั้งแต่สร้างไม่เสร็จ..ด้านรักษาราชการแทน ผอ.ยันไม่มีการทิ้งร้าง-ผู้รับเหมาไม่เกี่ยวบริษัทจีน แต่สร้างช้าจนต้องขยายเวลาเรียกค่าปรับ 0 บาทตามมาตรการรัฐบาลยุคโควิดระบาดเกือบปี ก่อนเลิกจ้าง-เร่งหาผู้รับเหมาใหม่

    วันนี้(4 เม.ย.) พ.อ.อุทัย เพียรการ หัวหน้าชุดรวบรวมและตรวจสอบข่าวสาร ที่ 309 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดพะเยา (กอ.รมน.)นำคณะ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสืบสวน สภ.เมืองพะเยา ลงพื้นที่ตรวจสอบหาข้อเท็จจริง อาคารสำนักงาน สตง.พะเยา บริเวณบ้านสันต้นผึ้ง ต.แม่ปืม อ.เมืองพะเยา ที่ถูกทิ้งร้างระหว่างก่อสร้าง

    พบโครงสร้างฐานรากตึกสูง 3 ชั้น จำนวน 2 ตึก แยกเป็นตึกสำนึกงาน, ตึกที่พักบุคลากร ซึ่งมีการเดินระบบประปาและท่อไฟฟ้า เรียบร้อยแล้วปล่อยร้าง ซึ่งทาง สตง.แจงว่าได้เลิกจ้างบริษัทรับเหมาดังกล่าว เนื่องจากทำงานล่าช้า และดำเนินการคำนวณค่าปรับคำนวณค่าเสียหายเพื่อคิดจากผู้รับจ้างและจะคำนวณราคากลางที่จะดำเนินการก่อสร้างต่อไป

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/local/detail/9680000032296

    #MGROnline #พะเยา #สตง.
    พะเยา – ทั้ง กอ.รมน.-ตำรวจ ตามตรวจตึกใหม่ สตง.พะเยา ร้างตั้งแต่สร้างไม่เสร็จ..ด้านรักษาราชการแทน ผอ.ยันไม่มีการทิ้งร้าง-ผู้รับเหมาไม่เกี่ยวบริษัทจีน แต่สร้างช้าจนต้องขยายเวลาเรียกค่าปรับ 0 บาทตามมาตรการรัฐบาลยุคโควิดระบาดเกือบปี ก่อนเลิกจ้าง-เร่งหาผู้รับเหมาใหม่ • วันนี้(4 เม.ย.) พ.อ.อุทัย เพียรการ หัวหน้าชุดรวบรวมและตรวจสอบข่าวสาร ที่ 309 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดพะเยา (กอ.รมน.)นำคณะ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสืบสวน สภ.เมืองพะเยา ลงพื้นที่ตรวจสอบหาข้อเท็จจริง อาคารสำนักงาน สตง.พะเยา บริเวณบ้านสันต้นผึ้ง ต.แม่ปืม อ.เมืองพะเยา ที่ถูกทิ้งร้างระหว่างก่อสร้าง • พบโครงสร้างฐานรากตึกสูง 3 ชั้น จำนวน 2 ตึก แยกเป็นตึกสำนึกงาน, ตึกที่พักบุคลากร ซึ่งมีการเดินระบบประปาและท่อไฟฟ้า เรียบร้อยแล้วปล่อยร้าง ซึ่งทาง สตง.แจงว่าได้เลิกจ้างบริษัทรับเหมาดังกล่าว เนื่องจากทำงานล่าช้า และดำเนินการคำนวณค่าปรับคำนวณค่าเสียหายเพื่อคิดจากผู้รับจ้างและจะคำนวณราคากลางที่จะดำเนินการก่อสร้างต่อไป • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/local/detail/9680000032296 • #MGROnline #พะเยา #สตง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 258 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'ผอ.สตง.พะเยา'แจงปมร้อน โครงการสร้างตึก'งบ 70 ล้าน' โดนผู้รับเหมาทิ้งงาน ปล่อยร้าง
    https://www.thai-tai.tv/news/18022/
    'ผอ.สตง.พะเยา'แจงปมร้อน โครงการสร้างตึก'งบ 70 ล้าน' โดนผู้รับเหมาทิ้งงาน ปล่อยร้าง https://www.thai-tai.tv/news/18022/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 79 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไฟไหม้ท่อก๊าซ ชานเมืองมาเลเซีย

    วันที่ 1 เม.ย. ที่ประเทศมาเลเซีย เป็นช่วงเวลาที่ชาวมุสลิมทั่วประเทศกำลังเฉลิมฉลองเทศกาลฮารีรายออีดิลฟิตรี แต่สำหรับชาวบ้านในย่านที่อยู่อาศัยชานเมืองอย่างปูตราไฮท์ส (Putra Heighs) ทางตอนใต้ของเมืองซูบังจายา รัฐสลังงอร์ ห่างจากกรุงกัวลาลัมเปอร์ 28 กิโลเมตร กลับต้องหวาดผวา เมื่อเวลา 08.10 น.ตามเวลาท้องถิ่น ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ของบริษัท ปิโตรนาส ก๊าซ เบอร์ฮัด ระเบิดและเกิดเพลิงลุกไหม้ขนาดใหญ่ขึ้น สูงกว่า 30 เมตร บริเวณถนนปูตราฮาร์โมนี่ ทำให้ชาวบ้านต่างพากันอพยพหนีตาย มีผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งแผลไฟไหม้ หายใจลำบาก การดับเพลิงใช้วิธีปิดวาล์วท่อก๊าซ 4 จุด ความยาว 32 กิโลเมตร เพื่อระงับการส่งก๊าซ ปล่อยให้ก๊าซที่ตกค้างค่อยๆ ลดลง และควบคุมเพลิงเอาไว้ได้เมื่อเวลา 15.45 น.

    หลังเพลิงสงบ พบหลุมขนาดใหญ่ประมาณ 70-80 ฟุต ลึก 32 ฟุต บ้านเรือนเสียหาย 235 หลัง ยานพาหนะ 399 คัน และทรัพย์สินเสียหายในรัศมี 500 เมตรจากจุดเกิดเหตุ มีผู้บาดเจ็บรวม 111 ราย อาการสาหัส 13 ราย ปานกลาง 55 ราย บาดเจ็บเล็กน้อย 43 ราย ยังไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต อีกทั้งมีผู้ประสบภัยอาศัยที่ศูนย์พักพิงชั่วคราวในมัสยิดต่างๆ รวม 485 คน และสภาเทศบาลเมืองซูบังจายา 44 คน นายอันวาร์ อิบราฮิม นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ประกาศให้เงินช่วยเหลือครัวเรือนละ 5,000 ริงกิต (38,300 บาท) แก่บ้านเรือนที่เสียหายทั้งหลัง และ 2,500 ริงกิต (19,200 บาท) แก่บ้านเรือนที่เสียหายบางส่วน

    ไวรัลบนโซเชียลมีเดียคาดว่าเกิดจากงานขุดดินเพื่อติดตั้งท่อส่งน้ำเสีย โครงการพัฒนาพื้นที่ใกล้กับจุดเกิดเหตุ แต่บริษัทอินดะห์ วอเตอร์ คอนซอร์เตียม (IWK) บริษัทจัดการน้ำเสียของมาเลเซียปฎิเสธว่าไม่เกี่ยวข้อง เป็นความรับผิดชอบของผู้รับเหมาและผู้พัฒนาพื้นที่ สำหรับระบบท่อส่งก๊าซระยะทางกว่า 2,623 กิโลเมตร เริ่มต้นที่เมืองเกอร์เตะห์ รัฐตรังกานู เชื่อมต่อกับท่อก๊าซอีกเส้นหนึ่งที่เมืองเซกามัต รัฐยะโฮร์ ทอดยาวระหว่างรัฐเคดะห์ทางภาคเหนือ ถึงรัฐยะโฮร์ทางภาคใต้ และประเทศสิงคโปร์

    สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันมีระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ความยาวรวม 4,255 กิโลเมตร โดยมีท่อบนบก ความยาว 2,119 กิโลเมตร เคยเกิดโศกนาฎกรรมท่อส่งก๊าซระเบิดที่ถนนหลวงแพ่ง ลาดกระบัง-ฉะเชิงเทรา ข้างสถานีตำรวจภูธรเปร็ง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ เมื่อวันที่ 22 ต.ค.2563 มีผู้เสียชีวิต 3 ราย บาดเจ็บ 52 ราย บ้านเรือนเสียหาย 9 หลัง รถจักรยานยนต์เสียหายกว่า 20 คัน ปตท. มอบเงินช่วยเหลือครอบครัวผู้เสียชีวิต รายละ 5 ล้านบาท บาดเจ็บสาหัส 5 แสนบาท รวมกว่า 26 ล้านบาท

    #Newskit
    ไฟไหม้ท่อก๊าซ ชานเมืองมาเลเซีย วันที่ 1 เม.ย. ที่ประเทศมาเลเซีย เป็นช่วงเวลาที่ชาวมุสลิมทั่วประเทศกำลังเฉลิมฉลองเทศกาลฮารีรายออีดิลฟิตรี แต่สำหรับชาวบ้านในย่านที่อยู่อาศัยชานเมืองอย่างปูตราไฮท์ส (Putra Heighs) ทางตอนใต้ของเมืองซูบังจายา รัฐสลังงอร์ ห่างจากกรุงกัวลาลัมเปอร์ 28 กิโลเมตร กลับต้องหวาดผวา เมื่อเวลา 08.10 น.ตามเวลาท้องถิ่น ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ของบริษัท ปิโตรนาส ก๊าซ เบอร์ฮัด ระเบิดและเกิดเพลิงลุกไหม้ขนาดใหญ่ขึ้น สูงกว่า 30 เมตร บริเวณถนนปูตราฮาร์โมนี่ ทำให้ชาวบ้านต่างพากันอพยพหนีตาย มีผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งแผลไฟไหม้ หายใจลำบาก การดับเพลิงใช้วิธีปิดวาล์วท่อก๊าซ 4 จุด ความยาว 32 กิโลเมตร เพื่อระงับการส่งก๊าซ ปล่อยให้ก๊าซที่ตกค้างค่อยๆ ลดลง และควบคุมเพลิงเอาไว้ได้เมื่อเวลา 15.45 น. หลังเพลิงสงบ พบหลุมขนาดใหญ่ประมาณ 70-80 ฟุต ลึก 32 ฟุต บ้านเรือนเสียหาย 235 หลัง ยานพาหนะ 399 คัน และทรัพย์สินเสียหายในรัศมี 500 เมตรจากจุดเกิดเหตุ มีผู้บาดเจ็บรวม 111 ราย อาการสาหัส 13 ราย ปานกลาง 55 ราย บาดเจ็บเล็กน้อย 43 ราย ยังไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต อีกทั้งมีผู้ประสบภัยอาศัยที่ศูนย์พักพิงชั่วคราวในมัสยิดต่างๆ รวม 485 คน และสภาเทศบาลเมืองซูบังจายา 44 คน นายอันวาร์ อิบราฮิม นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ประกาศให้เงินช่วยเหลือครัวเรือนละ 5,000 ริงกิต (38,300 บาท) แก่บ้านเรือนที่เสียหายทั้งหลัง และ 2,500 ริงกิต (19,200 บาท) แก่บ้านเรือนที่เสียหายบางส่วน ไวรัลบนโซเชียลมีเดียคาดว่าเกิดจากงานขุดดินเพื่อติดตั้งท่อส่งน้ำเสีย โครงการพัฒนาพื้นที่ใกล้กับจุดเกิดเหตุ แต่บริษัทอินดะห์ วอเตอร์ คอนซอร์เตียม (IWK) บริษัทจัดการน้ำเสียของมาเลเซียปฎิเสธว่าไม่เกี่ยวข้อง เป็นความรับผิดชอบของผู้รับเหมาและผู้พัฒนาพื้นที่ สำหรับระบบท่อส่งก๊าซระยะทางกว่า 2,623 กิโลเมตร เริ่มต้นที่เมืองเกอร์เตะห์ รัฐตรังกานู เชื่อมต่อกับท่อก๊าซอีกเส้นหนึ่งที่เมืองเซกามัต รัฐยะโฮร์ ทอดยาวระหว่างรัฐเคดะห์ทางภาคเหนือ ถึงรัฐยะโฮร์ทางภาคใต้ และประเทศสิงคโปร์ สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันมีระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ความยาวรวม 4,255 กิโลเมตร โดยมีท่อบนบก ความยาว 2,119 กิโลเมตร เคยเกิดโศกนาฎกรรมท่อส่งก๊าซระเบิดที่ถนนหลวงแพ่ง ลาดกระบัง-ฉะเชิงเทรา ข้างสถานีตำรวจภูธรเปร็ง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ เมื่อวันที่ 22 ต.ค.2563 มีผู้เสียชีวิต 3 ราย บาดเจ็บ 52 ราย บ้านเรือนเสียหาย 9 หลัง รถจักรยานยนต์เสียหายกว่า 20 คัน ปตท. มอบเงินช่วยเหลือครอบครัวผู้เสียชีวิต รายละ 5 ล้านบาท บาดเจ็บสาหัส 5 แสนบาท รวมกว่า 26 ล้านบาท #Newskit
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 345 มุมมอง 0 รีวิว
  • เมื่อเสียงสมน้ำหน้า เคล้าก่นด่า ดังกว่า... ตึก สตง. ถล่ม! วิกฤตศรัทธาหน่วยตรวจ ลืมสำรวจตัวเอง? ไม่ใช่แค่ตึกที่พัง แต่ความเชื่อมั่น ในกระบวนการของภาครัฐเอง ก็สั่นสะเทือนไปทั่วประเทศ 😓

    🏢 เหตุการณ์ถล่ม ของตึกเดียวในประเทศไทย จากแผ่นดินไหว จุดชนวนคำถามถึงความโปร่งใส ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ และทำให้หน่วยงาน “ผู้ตรวจ” กลายเป็น “ผู้ถูกตรวจสอบ” เสียเอง

    🔎 เมื่อคำถามไม่ได้มีแค่ “ทำไมตึกถล่ม” แต่เป็น “ใครจะรับผิดชอบ?” 28 มีนาคม 2568 เวลา 14.37 น. กรุงเทพฯ สะเทือนจากแรงแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ศูนย์กลางที่เมียนมา 🌏 ในขณะที่อาคารสูงทั่วกรุงเทพฯ แกว่งไกวเล็กน้อยเพียงชั่วครู่ แต่กลับมีตึกหนึ่งที่ “พังลงทั้งหลัง” 😱 ตึกแห่งนั้นคือ อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

    เสียงระเบิดของโครงสร้างถล่มลงมา เสียงผู้รอดชีวิตร้องขอความช่วยเหลือ... และเสียง “ประชาชน” ที่เริ่มตั้งคำถามดังยิ่งกว่าเสียงไหน ๆ

    ทำไมตึกเดียวในไทยถึงถล่มทั้งหลัง?

    สตง. ไม่ตรวจสอบโครงการของตนเองหรือ?

    หรือระบบรัฐไทยล้มเหลวในระดับโครงสร้าง... ทั้งจริง ๆ และเชิงเปรียบเทียบ?

    📘 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หรือ Office of the Auditor General of Thailand คือหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 🇹🇭 มีภารกิจสำคัญในการตรวจสอบ การใช้เงินของภาครัฐให้ถูกต้อง โปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน

    📌 ภารกิจหลักของ สตง.
    1. ตรวจสอบงบประมาณหน่วยงานรัฐ (Financial Audit)
    2. ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance Audit)
    3. ตรวจสอบประสิทธิภาพการดำเนินงาน (Performance Audit)

    นอกจากบทบาทในการตรวจสอบ สตง. ยังเสนอแนะการบริหาร และใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมจัดทำรายงานประจำปีต่อรัฐสภา และประชาชนผ่านเว็บไซต์ www.audit.go.th เพื่อให้เกิด “ธรรมาภิบาล” ที่แท้จริง

    สตง. ทำหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบความโปร่งใสของรัฐ” แต่เมื่อสำนักงานของตัวเองถล่ม... ใครจะตรวจสอบ “ผู้ตรวจสอบ”?

    🧱 โครงการตึกใหม่ สตง. ต้นทุน 2,560 ล้านบาท แลกกับภาพลักษณ์องค์กร

    🏗️ ข้อมูลโครงการ
    สร้างที่:ถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

    ขนาดอาคาร 30 ชั้น บนพื้นที่ 11 ไร่

    งบประมาณรวม 2,560 ล้านบาท

    ผู้รับเหมาคือ กิจการร่วมค้า ITD-CREC เป็นบริษัทร่วมลงทุนระหว่างบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด

    บริษัทควบคุมงานคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู (PKW) ที่ร่วมทุนระหว่างบริษัทพี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และ สหาย คอนซัลแตนตส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด

    การก่อสร้างเริ่มตั้งแต่ปี 2563 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2569 โดยตั้งเป้าเป็นอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รองรับการขยายตัวขององค์กรในอนาคต 🌱

    แต่ในวันที่ 28 มีนาคม 2568 หลังจากสร้างมาได้เพียง 30%... ตึกก็ถล่มทั้งหลัง 😰

    💣 สาเหตุ? อุบัติเหตุ? หรือสะท้อนปัญหาลึกของระบบ?

    📍 แรงแผ่นดินไหว หรือโครงสร้างอ่อนแอ? แม้แผ่นดินไหวขนาด 8.2 จะถือว่ารุนแรง แต่บริเวณกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจตุจักร ได้รับแรงสั่นสะเทือนประมาณ 5.1 เท่านั้น ซึ่งถือว่า ไม่แรงพอที่จะทำให้อาคารพังราบทั้งหลัง ตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง

    แล้วอะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้อาคารพัง?

    วัสดุก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน? 🧱

    โครงสร้างไม่รองรับแรงสั่น?

    ขั้นตอนตรวจสอบขาดความรัดกุม?

    จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่า เหล็กเส้นที่ใช้ในอาคารส่วนใหญ่ มาจากบริษัทต่างชาติ ที่ถูกสั่งปิดโรงงานในปลายปี 2567 เนื่องจากไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย ‼️

    🧪 ตรวจสอบวัสดุจริง กับข้อเท็จจริงที่น่าหวั่นใจ กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ สวทช. และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ได้เข้าตรวจสอบเหล็กเส้น จากสถานที่เกิดเหตุ พบว่า เหล็ก 5 จาก 6 ประเภท มาจากโรงงานเดียวกัน โรงงานนี้เคยมีประวัติการระเบิด และเครนหล่น อีกทั้งยังเคยถูกสั่งปิดชั่วคราว จากเหตุผลด้านความปลอดภัย

    ❗ คำถามคือ เหล็กจากแหล่งที่ไม่มีคุณภาพเหล่านี้ ผ่านการอนุมัติเข้าโครงการระดับพันล้าน ได้อย่างไร?

    🧠 เมื่อ “ผู้ตรวจ” ลืม “ตรวจสอบตัวเอง”? กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐไทย แม้จะมีกฎหมายและระเบียบที่รัดกุม แต่ในทางปฏิบัติ กลับพบว่า…

    การประมูลมักให้น้ำหนักกับ “ราคาถูก” มากกว่าคุณภาพ ผู้รับเหมาจึงใช้วัสดุราคาต่ำกว่ามาตรฐาน การกำกับดูแลไม่ทั่วถึง เพราะผู้ควบคุมโครงการ ก็อยู่ภายใต้งบจำกัด

    น่าเจ็บปวดที่เหตุการณ์นี้เกิดกับ “สตง.” ผู้ที่ควรจะเป็นต้นแบบของความโปร่งใส

    ⚖️ การเมืองในองค์กรอิสระ: อิสระจริง หรือเลือกกันเอง? โครงสร้าง คตง. และการสรรหา คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มาจากการสรรหาโดย ส.ว. ปัจจุบันผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ได้รับการแต่งตั้งโดย ส.ว. ชุดพิเศษ การแต่งตั้งกรรมการหลายคน มีข้อครหาว่าไม่โปร่งใส และถูกฟ้องต่อศาลปกครอง

    ⛔ จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนเริ่มตั้งคำถามถึง “อิสรภาพ” ขององค์กรที่ควรเป็นอิสระจากการเมือง

    📣 กระแสโซเชียล & ประชาชน “เสียงสมน้ำหน้า” ดังยิ่งกว่าความเศร้า ในขณะที่ครอบครัวผู้เสียชีวิต ยังรอการกู้ร่างในซากตึก โลกออนไลน์กลับเต็มไปด้วยเสียงแดกดัน เช่น

    “ผู้ตรวจ ลืมตรวจตึกตัวเอง”

    “สมน้ำหน้าที่พังเพราะไม่โปร่งใส”

    “เงินภาษีคนไทยพังลงต่อหน้า”

    คำพูดเหล่านี้อาจดูโหดร้าย แต่ก็สะท้อนความรู้สึกของคนจำนวนมาก ที่รู้สึกว่า “แม้แต่หน่วยงานตรวจสอบ ก็ยังไม่รอดจากระบบที่พัง”

    📉 วิกฤตศรัทธา & บทเรียนราคาแพง สิ่งที่สูญเสียไม่ใช่แค่งบประมาณ หรือชีวิต… แต่คือ ความเชื่อมั่นต่อระบบรัฐ

    🚨 บทเรียนสำคัญที่รัฐต้องรับให้ได้ การคัดเลือกผู้รับเหมา ควรมีระบบที่ยึด “คุณภาพ” เป็นหลัก ต้องมีการตรวจสอบหลายชั้น โดยอิสระจริง ๆ ปฏิรูประบบจัดซื้อจัดจ้าง ให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพิ่มบทลงโทษกรณีวัสดุหรือผู้รับเหมาไม่ได้มาตรฐาน

    📌 จากตึกถล่ม สู่การตรวจสอบศรัทธาประชาชน เหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม อาจเป็นจุดเปลี่ยนที่เจ็บปวดของประเทศไทย 🕯️ แต่ในขณะเดียวกัน... นี่อาจเป็นโอกาสในการทบทวนระบบราชการ และการบริหารงบประมาณของรัฐอย่างแท้จริง

    อย่าให้เสียง “สมน้ำหน้า” ดังกลบเสียงของผู้เสียชีวิต อย่าให้ตึกที่พัง เป็นเพียงข่าวแค่ไม่กี่วัน แต่ให้มันเป็นบทเรียนที่สร้าง “การเปลี่ยนแปลง”

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 021119 เม.ย. 2568

    📢#ตึกสตงถล่ม #ผู้ตรวจถูกตรวจ #แผ่นดินไหว2568 #ข่าวด่วน #เหล็กไม่ได้มาตรฐาน #สตงคือใคร #ความโปร่งใสภาครัฐ #อาคารถล่มกรุงเทพ #ITDCREC #ข่าวไทย
    เมื่อเสียงสมน้ำหน้า เคล้าก่นด่า ดังกว่า... ตึก สตง. ถล่ม! วิกฤตศรัทธาหน่วยตรวจ ลืมสำรวจตัวเอง? ไม่ใช่แค่ตึกที่พัง แต่ความเชื่อมั่น ในกระบวนการของภาครัฐเอง ก็สั่นสะเทือนไปทั่วประเทศ 😓 🏢 เหตุการณ์ถล่ม ของตึกเดียวในประเทศไทย จากแผ่นดินไหว จุดชนวนคำถามถึงความโปร่งใส ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ และทำให้หน่วยงาน “ผู้ตรวจ” กลายเป็น “ผู้ถูกตรวจสอบ” เสียเอง 🔎 เมื่อคำถามไม่ได้มีแค่ “ทำไมตึกถล่ม” แต่เป็น “ใครจะรับผิดชอบ?” 28 มีนาคม 2568 เวลา 14.37 น. กรุงเทพฯ สะเทือนจากแรงแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ศูนย์กลางที่เมียนมา 🌏 ในขณะที่อาคารสูงทั่วกรุงเทพฯ แกว่งไกวเล็กน้อยเพียงชั่วครู่ แต่กลับมีตึกหนึ่งที่ “พังลงทั้งหลัง” 😱 ตึกแห่งนั้นคือ อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เสียงระเบิดของโครงสร้างถล่มลงมา เสียงผู้รอดชีวิตร้องขอความช่วยเหลือ... และเสียง “ประชาชน” ที่เริ่มตั้งคำถามดังยิ่งกว่าเสียงไหน ๆ ทำไมตึกเดียวในไทยถึงถล่มทั้งหลัง? สตง. ไม่ตรวจสอบโครงการของตนเองหรือ? หรือระบบรัฐไทยล้มเหลวในระดับโครงสร้าง... ทั้งจริง ๆ และเชิงเปรียบเทียบ? 📘 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หรือ Office of the Auditor General of Thailand คือหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 🇹🇭 มีภารกิจสำคัญในการตรวจสอบ การใช้เงินของภาครัฐให้ถูกต้อง โปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน 📌 ภารกิจหลักของ สตง. 1. ตรวจสอบงบประมาณหน่วยงานรัฐ (Financial Audit) 2. ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance Audit) 3. ตรวจสอบประสิทธิภาพการดำเนินงาน (Performance Audit) นอกจากบทบาทในการตรวจสอบ สตง. ยังเสนอแนะการบริหาร และใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมจัดทำรายงานประจำปีต่อรัฐสภา และประชาชนผ่านเว็บไซต์ www.audit.go.th เพื่อให้เกิด “ธรรมาภิบาล” ที่แท้จริง สตง. ทำหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบความโปร่งใสของรัฐ” แต่เมื่อสำนักงานของตัวเองถล่ม... ใครจะตรวจสอบ “ผู้ตรวจสอบ”? 🧱 โครงการตึกใหม่ สตง. ต้นทุน 2,560 ล้านบาท แลกกับภาพลักษณ์องค์กร 🏗️ ข้อมูลโครงการ สร้างที่:ถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ขนาดอาคาร 30 ชั้น บนพื้นที่ 11 ไร่ งบประมาณรวม 2,560 ล้านบาท ผู้รับเหมาคือ กิจการร่วมค้า ITD-CREC เป็นบริษัทร่วมลงทุนระหว่างบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทควบคุมงานคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู (PKW) ที่ร่วมทุนระหว่างบริษัทพี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และ สหาย คอนซัลแตนตส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด การก่อสร้างเริ่มตั้งแต่ปี 2563 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2569 โดยตั้งเป้าเป็นอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รองรับการขยายตัวขององค์กรในอนาคต 🌱 แต่ในวันที่ 28 มีนาคม 2568 หลังจากสร้างมาได้เพียง 30%... ตึกก็ถล่มทั้งหลัง 😰 💣 สาเหตุ? อุบัติเหตุ? หรือสะท้อนปัญหาลึกของระบบ? 📍 แรงแผ่นดินไหว หรือโครงสร้างอ่อนแอ? แม้แผ่นดินไหวขนาด 8.2 จะถือว่ารุนแรง แต่บริเวณกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจตุจักร ได้รับแรงสั่นสะเทือนประมาณ 5.1 เท่านั้น ซึ่งถือว่า ไม่แรงพอที่จะทำให้อาคารพังราบทั้งหลัง ตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง แล้วอะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้อาคารพัง? วัสดุก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน? 🧱 โครงสร้างไม่รองรับแรงสั่น? ขั้นตอนตรวจสอบขาดความรัดกุม? จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่า เหล็กเส้นที่ใช้ในอาคารส่วนใหญ่ มาจากบริษัทต่างชาติ ที่ถูกสั่งปิดโรงงานในปลายปี 2567 เนื่องจากไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย ‼️ 🧪 ตรวจสอบวัสดุจริง กับข้อเท็จจริงที่น่าหวั่นใจ กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ สวทช. และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ได้เข้าตรวจสอบเหล็กเส้น จากสถานที่เกิดเหตุ พบว่า เหล็ก 5 จาก 6 ประเภท มาจากโรงงานเดียวกัน โรงงานนี้เคยมีประวัติการระเบิด และเครนหล่น อีกทั้งยังเคยถูกสั่งปิดชั่วคราว จากเหตุผลด้านความปลอดภัย ❗ คำถามคือ เหล็กจากแหล่งที่ไม่มีคุณภาพเหล่านี้ ผ่านการอนุมัติเข้าโครงการระดับพันล้าน ได้อย่างไร? 🧠 เมื่อ “ผู้ตรวจ” ลืม “ตรวจสอบตัวเอง”? กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐไทย แม้จะมีกฎหมายและระเบียบที่รัดกุม แต่ในทางปฏิบัติ กลับพบว่า… การประมูลมักให้น้ำหนักกับ “ราคาถูก” มากกว่าคุณภาพ ผู้รับเหมาจึงใช้วัสดุราคาต่ำกว่ามาตรฐาน การกำกับดูแลไม่ทั่วถึง เพราะผู้ควบคุมโครงการ ก็อยู่ภายใต้งบจำกัด น่าเจ็บปวดที่เหตุการณ์นี้เกิดกับ “สตง.” ผู้ที่ควรจะเป็นต้นแบบของความโปร่งใส ⚖️ การเมืองในองค์กรอิสระ: อิสระจริง หรือเลือกกันเอง? โครงสร้าง คตง. และการสรรหา คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มาจากการสรรหาโดย ส.ว. ปัจจุบันผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ได้รับการแต่งตั้งโดย ส.ว. ชุดพิเศษ การแต่งตั้งกรรมการหลายคน มีข้อครหาว่าไม่โปร่งใส และถูกฟ้องต่อศาลปกครอง ⛔ จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนเริ่มตั้งคำถามถึง “อิสรภาพ” ขององค์กรที่ควรเป็นอิสระจากการเมือง 📣 กระแสโซเชียล & ประชาชน “เสียงสมน้ำหน้า” ดังยิ่งกว่าความเศร้า ในขณะที่ครอบครัวผู้เสียชีวิต ยังรอการกู้ร่างในซากตึก โลกออนไลน์กลับเต็มไปด้วยเสียงแดกดัน เช่น “ผู้ตรวจ ลืมตรวจตึกตัวเอง” “สมน้ำหน้าที่พังเพราะไม่โปร่งใส” “เงินภาษีคนไทยพังลงต่อหน้า” คำพูดเหล่านี้อาจดูโหดร้าย แต่ก็สะท้อนความรู้สึกของคนจำนวนมาก ที่รู้สึกว่า “แม้แต่หน่วยงานตรวจสอบ ก็ยังไม่รอดจากระบบที่พัง” 📉 วิกฤตศรัทธา & บทเรียนราคาแพง สิ่งที่สูญเสียไม่ใช่แค่งบประมาณ หรือชีวิต… แต่คือ ความเชื่อมั่นต่อระบบรัฐ 🚨 บทเรียนสำคัญที่รัฐต้องรับให้ได้ การคัดเลือกผู้รับเหมา ควรมีระบบที่ยึด “คุณภาพ” เป็นหลัก ต้องมีการตรวจสอบหลายชั้น โดยอิสระจริง ๆ ปฏิรูประบบจัดซื้อจัดจ้าง ให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพิ่มบทลงโทษกรณีวัสดุหรือผู้รับเหมาไม่ได้มาตรฐาน 📌 จากตึกถล่ม สู่การตรวจสอบศรัทธาประชาชน เหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม อาจเป็นจุดเปลี่ยนที่เจ็บปวดของประเทศไทย 🕯️ แต่ในขณะเดียวกัน... นี่อาจเป็นโอกาสในการทบทวนระบบราชการ และการบริหารงบประมาณของรัฐอย่างแท้จริง อย่าให้เสียง “สมน้ำหน้า” ดังกลบเสียงของผู้เสียชีวิต อย่าให้ตึกที่พัง เป็นเพียงข่าวแค่ไม่กี่วัน แต่ให้มันเป็นบทเรียนที่สร้าง “การเปลี่ยนแปลง” ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 021119 เม.ย. 2568 📢#ตึกสตงถล่ม #ผู้ตรวจถูกตรวจ #แผ่นดินไหว2568 #ข่าวด่วน #เหล็กไม่ได้มาตรฐาน #สตงคือใคร #ความโปร่งใสภาครัฐ #อาคารถล่มกรุงเทพ #ITDCREC #ข่าวไทย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 599 มุมมอง 0 รีวิว
  • สื่อต่างประเทศรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ซึ่งเป็นตึกเพียงแห่งเดียวในกรุงเทพฯ ที่พังถล่มลงมาตามแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว กำลังโหมกระพือความเดือดดาลบนสื่อสังคมออนไลน์และก่อคำถามในสื่อมวลชนไทย เกี่ยวกับคุณภาพการก่อสร้างและกระบวนการที่ได้มาซึ่งสัญญาว่าจ้างต่างๆจากรัฐบาล อย่างไรก็ตามจนถึงตอนนี้ บริษัทผู้รับเหมาจีน ยังคงปิดปากเงียบไม่ออกมาชี้แจงใดๆ
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000030838
    สื่อต่างประเทศรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.) ซึ่งเป็นตึกเพียงแห่งเดียวในกรุงเทพฯ ที่พังถล่มลงมาตามแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว กำลังโหมกระพือความเดือดดาลบนสื่อสังคมออนไลน์และก่อคำถามในสื่อมวลชนไทย เกี่ยวกับคุณภาพการก่อสร้างและกระบวนการที่ได้มาซึ่งสัญญาว่าจ้างต่างๆจากรัฐบาล อย่างไรก็ตามจนถึงตอนนี้ บริษัทผู้รับเหมาจีน ยังคงปิดปากเงียบไม่ออกมาชี้แจงใดๆ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000030838
    Like
    11
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1292 มุมมอง 0 รีวิว
  • หลังจากสื่อบางแห่งนำเสนอข่าวโดยพสดหัวข่าว ให้ทำการตรวจสอบโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้รับเหมาจีนที่รับงานก่อสร้างตึก สตง.

    ล่าสุดเพจ "โครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงช่วงโคกกรวด-นครราชสีมา สัญญาที่ 3-5"

    ออกมาชี้แจงไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และจะดำเนินคดีต่อสื่อที่สร้างความเข้าใจผิดต่อประชาชน

    .

    เรียนแจ้งทุกท่านเพื่อให้รับทราบและทำความเข้าใจตรงกัน!!

    ทางโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง สัญญาที่ 3-5 ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆกับบริษัทฯ ที่รับเหมาก่อสร้างอาคาร สตง. ที่เกิดเหตุถล่มดังกล่าว และไม่ใช่บริษัทในเครือผู้รับเหมาก่อสร้างตัวอาคาร สตง. ไม่ว่าข่าวสารจะตีแผ่ไปในทิศทางไหน ทางโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง สัญญาที่ 3-5 ขอยืนยันว่า "บริษัทไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆกับเหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม และไม่ใช่บริษัทในเครืองดังกล่าว" สำหรับสื่อที่นำภาพถ่ายที่ภายในโครงการไปตีแผ่หรือเชื่อมโยงให้เกิดความเข้าใจผิด ทางโครงการฯ ขอแจ้งให้ท่านทราบว่า "ท่านจะต้องรับผิดชอบในส่วนที่ทำให้ภาพลักษณ์ของบริษัทและโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง สัญญาที่ 3-5 เสียหาย" ตามประมวลกฎหมาย มาตรา ๓๒๘(๒) ฐานหมิ่นประมาทได้กระทำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทำให้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทำโดยการกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท

    จึงเรียนมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน

    **หากพบเห็นผู้ใดตีแผ่ข้อมูลอันเป็นเท็จและทำให้บริษัทฯ หรือ โครงการฯ ได้รับความเสียงหายในทางที่ไม่ดี บริษัทฯ ขอดำเนินการทางกฎหมายให้ถึงที่สุด**

    https://www.facebook.com/share/p/193YEk94Bq/
    หลังจากสื่อบางแห่งนำเสนอข่าวโดยพสดหัวข่าว ให้ทำการตรวจสอบโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้รับเหมาจีนที่รับงานก่อสร้างตึก สตง. ล่าสุดเพจ "โครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงช่วงโคกกรวด-นครราชสีมา สัญญาที่ 3-5" ออกมาชี้แจงไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และจะดำเนินคดีต่อสื่อที่สร้างความเข้าใจผิดต่อประชาชน . เรียนแจ้งทุกท่านเพื่อให้รับทราบและทำความเข้าใจตรงกัน!! ทางโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง สัญญาที่ 3-5 ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆกับบริษัทฯ ที่รับเหมาก่อสร้างอาคาร สตง. ที่เกิดเหตุถล่มดังกล่าว และไม่ใช่บริษัทในเครือผู้รับเหมาก่อสร้างตัวอาคาร สตง. ไม่ว่าข่าวสารจะตีแผ่ไปในทิศทางไหน ทางโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง สัญญาที่ 3-5 ขอยืนยันว่า "บริษัทไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆกับเหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม และไม่ใช่บริษัทในเครืองดังกล่าว" สำหรับสื่อที่นำภาพถ่ายที่ภายในโครงการไปตีแผ่หรือเชื่อมโยงให้เกิดความเข้าใจผิด ทางโครงการฯ ขอแจ้งให้ท่านทราบว่า "ท่านจะต้องรับผิดชอบในส่วนที่ทำให้ภาพลักษณ์ของบริษัทและโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง สัญญาที่ 3-5 เสียหาย" ตามประมวลกฎหมาย มาตรา ๓๒๘(๒) ฐานหมิ่นประมาทได้กระทำโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทำให้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทำโดยการกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทำการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท จึงเรียนมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน **หากพบเห็นผู้ใดตีแผ่ข้อมูลอันเป็นเท็จและทำให้บริษัทฯ หรือ โครงการฯ ได้รับความเสียงหายในทางที่ไม่ดี บริษัทฯ ขอดำเนินการทางกฎหมายให้ถึงที่สุด** https://www.facebook.com/share/p/193YEk94Bq/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 333 มุมมอง 0 รีวิว
  • “สุริยะ”แจ้ง กทพ.เตรียมเปิดใช้ทางขึ้น-ลง ด่านดินแดง พรุ่งนี้เวลาตี 5 ด้านผู้รับเหมา-เจ้าของอาคาร เร่งประสาน กทม. เพื่อเคลียร์ชิ้นส่วนเครนที่เหลือ รื้อย้ายช่วงดึก ไม่ให้กระทบจราจร ยันโครงข่ายทางถนน “คมนาคม”ไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวยังรองรับการเดินทางตามปกติ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030327
    “สุริยะ”แจ้ง กทพ.เตรียมเปิดใช้ทางขึ้น-ลง ด่านดินแดง พรุ่งนี้เวลาตี 5 ด้านผู้รับเหมา-เจ้าของอาคาร เร่งประสาน กทม. เพื่อเคลียร์ชิ้นส่วนเครนที่เหลือ รื้อย้ายช่วงดึก ไม่ให้กระทบจราจร ยันโครงข่ายทางถนน “คมนาคม”ไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวยังรองรับการเดินทางตามปกติ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030327
    Like
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 664 มุมมอง 0 รีวิว
  • จับ 4 ชาวจีนขนเอกสารสร้างตึก สตง.หลบหนี ฐานฝ่าฝืน พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อ้างจะไปเคลมประกัน ซึ่งเอกสารที่ตรวจยึดมีทั้งเอกสารเกี่ยวกับงานก่อสร้าง วิศวกรรม และสัญญาผู้รับเหมา

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030281
    จับ 4 ชาวจีนขนเอกสารสร้างตึก สตง.หลบหนี ฐานฝ่าฝืน พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อ้างจะไปเคลมประกัน ซึ่งเอกสารที่ตรวจยึดมีทั้งเอกสารเกี่ยวกับงานก่อสร้าง วิศวกรรม และสัญญาผู้รับเหมา อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000030281
    Like
    Angry
    Haha
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 633 มุมมอง 0 รีวิว
  • CEO ออริจิ้น ลุยเอง พาสำรวจโครงสร้างทางเชื่อมสะพานโครงการ พาร์ค ออริจิ้น ทองหล่อ ย้ำ แข็งแรง ยันโครงสร้างไม่ได้เสียหายถึงขั้นวิบัติ

    นายพีระพงศ์ จรูญเอก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) หรือ ORI ซึ่งเป็นสามัญวิศวกรด้วย นำทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม ผู้ออกแบบ และผู้รับเหมา เข้าตรวจสอบสะพานทางเชื่อมอาคารโครงการ พาร์ค ออริจิ้น ทองหล่อ ที่เสียหายจากแผ่นดินไหวด้วยตนเอง

    เบื้องต้นได้ข้อสรุปว่า โครงสร้างอาคารแต่ละส่วนยังคงแข็งแรงและใช้งานได้ตามปกติ ซึ่งเป็นไปตามการประเมินเบื้องต้นตามที่ได้แถลงการณ์ก่อนหน้า รวมทั้งสะพานทางเชื่อมอาคารที่ออกแบบให้สามารถเคลื่อนที่จากอาคารได้เมื่อเกิดแผ่นดินไหว ว่าโครงสร้างไม่ได้เสียหายถึงขั้นวิบัติแต่อย่างใด มีเพียงความเสียหายด้านงานสถาปัตยกรรมที่จะรีบดำเนินการวางแผนซ่อมแซมโดยเร่งด่วน

    อย่างไรก็ตามออริจิ้นได้มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือลูกค้าไว้เพิ่มเติมเพื่ออำนวยความสะดวกและเข้าช่วยเหลือลูกค้าทุกโครงการให้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพอย่างเต็มกำลังทุกโครงการแล้ว และทีมวิศวกรตรวจสอบความปลอดภัยด้านโครงสร้างจะเข้าตรวจสอบครบทั้ง 87 โครงการภายในวันนี้

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000030021

    #MGROnline #ORI #พาร์คออริจิ้นทองหล่อ #ออริจิ้น #ตึกถล่ม #คอนโดหรู
    CEO ออริจิ้น ลุยเอง พาสำรวจโครงสร้างทางเชื่อมสะพานโครงการ พาร์ค ออริจิ้น ทองหล่อ ย้ำ แข็งแรง ยันโครงสร้างไม่ได้เสียหายถึงขั้นวิบัติ • นายพีระพงศ์ จรูญเอก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) หรือ ORI ซึ่งเป็นสามัญวิศวกรด้วย นำทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม ผู้ออกแบบ และผู้รับเหมา เข้าตรวจสอบสะพานทางเชื่อมอาคารโครงการ พาร์ค ออริจิ้น ทองหล่อ ที่เสียหายจากแผ่นดินไหวด้วยตนเอง • เบื้องต้นได้ข้อสรุปว่า โครงสร้างอาคารแต่ละส่วนยังคงแข็งแรงและใช้งานได้ตามปกติ ซึ่งเป็นไปตามการประเมินเบื้องต้นตามที่ได้แถลงการณ์ก่อนหน้า รวมทั้งสะพานทางเชื่อมอาคารที่ออกแบบให้สามารถเคลื่อนที่จากอาคารได้เมื่อเกิดแผ่นดินไหว ว่าโครงสร้างไม่ได้เสียหายถึงขั้นวิบัติแต่อย่างใด มีเพียงความเสียหายด้านงานสถาปัตยกรรมที่จะรีบดำเนินการวางแผนซ่อมแซมโดยเร่งด่วน • อย่างไรก็ตามออริจิ้นได้มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือลูกค้าไว้เพิ่มเติมเพื่ออำนวยความสะดวกและเข้าช่วยเหลือลูกค้าทุกโครงการให้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพอย่างเต็มกำลังทุกโครงการแล้ว และทีมวิศวกรตรวจสอบความปลอดภัยด้านโครงสร้างจะเข้าตรวจสอบครบทั้ง 87 โครงการภายในวันนี้ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000030021 • #MGROnline #ORI #พาร์คออริจิ้นทองหล่อ #ออริจิ้น #ตึกถล่ม #คอนโดหรู
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 327 มุมมอง 0 รีวิว
  • "เปิดโฉมผู้รับเหมา หลังตึก สตง.ถล่ม! เจาะลึกโครงสร้างหุ้น 'ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10' ไทย-จีน ถือหุ้นสัดส่วนสูงสุดตามกฎหมาย พบกรรมการคนไทยร่วมถือหุ้นหลายบริษัท ด้านงบก่อสร้างพุ่ง 40% ใน 7 ปี ย้อนเกล็ด แม้ใช้ 'ข้อตกลงคุณธรรม'" แต่ความโปร่งใสแท้จริงอยู่ที่ไหน

    ข้อมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้าระบุว่า บริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งร่วมก่อสร้างอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินแห่งใหม่ หรือ สตง. ที่ถล่มลงมาจากเหตุการณ์แผนดินไหววานนี้ ( 28 มีนาคม) โดยจดทะเบียนเมื่อ 10 ส.ค. 2561 ซึ่งมีทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้างทั้งอาคารสำนักงาน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้าใต้ดิน โดยมี นายชวนหลิง จาง และ นายโสภณ มีชัย เป็นกรรมการ

    ขณะที่ผู้ถือหุ้นใหญ่สุดคือ ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 เอ็นจิเนียริ่ง กรุ๊ป จากประเทศจีน ถือหุ้นบริษัทในสัดส่วน 49% ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงสุดที่กฎหมายไทยอนุญาตให้ต่างชาติถือ ส่วนผู้ถือหุ้นไทยได้แก่

    1.นายโสภณ มีชัย (กรรมการ) ถือหุ้น 40.80% หรือ 407,997 หุ้น
    2.นายประจวบ ศิริเขตร ถือหุ้นย 10.20% หรือ 102,000 หุ้น
    3.นายมานัส ศรีอนันท์ ถือหุ้นเพียง 3 หุ้น

    นอกจากนี้ยังตรวจสอบพบ นายโสภณ และ นายประจวบ ยังถือหุ้นในบริษัทอื่นอีก 5-6 แห่งขณะที่นายมานัสลงทุนในบริษัทอื่นๆอีกกว่า 11 บริษัท

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000029980

    #MGROnline #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    "เปิดโฉมผู้รับเหมา หลังตึก สตง.ถล่ม! เจาะลึกโครงสร้างหุ้น 'ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10' ไทย-จีน ถือหุ้นสัดส่วนสูงสุดตามกฎหมาย พบกรรมการคนไทยร่วมถือหุ้นหลายบริษัท ด้านงบก่อสร้างพุ่ง 40% ใน 7 ปี ย้อนเกล็ด แม้ใช้ 'ข้อตกลงคุณธรรม'" แต่ความโปร่งใสแท้จริงอยู่ที่ไหน • ข้อมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้าระบุว่า บริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งร่วมก่อสร้างอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินแห่งใหม่ หรือ สตง. ที่ถล่มลงมาจากเหตุการณ์แผนดินไหววานนี้ ( 28 มีนาคม) โดยจดทะเบียนเมื่อ 10 ส.ค. 2561 ซึ่งมีทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้างทั้งอาคารสำนักงาน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้าใต้ดิน โดยมี นายชวนหลิง จาง และ นายโสภณ มีชัย เป็นกรรมการ • ขณะที่ผู้ถือหุ้นใหญ่สุดคือ ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 เอ็นจิเนียริ่ง กรุ๊ป จากประเทศจีน ถือหุ้นบริษัทในสัดส่วน 49% ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงสุดที่กฎหมายไทยอนุญาตให้ต่างชาติถือ ส่วนผู้ถือหุ้นไทยได้แก่ • 1.นายโสภณ มีชัย (กรรมการ) ถือหุ้น 40.80% หรือ 407,997 หุ้น 2.นายประจวบ ศิริเขตร ถือหุ้นย 10.20% หรือ 102,000 หุ้น 3.นายมานัส ศรีอนันท์ ถือหุ้นเพียง 3 หุ้น • นอกจากนี้ยังตรวจสอบพบ นายโสภณ และ นายประจวบ ยังถือหุ้นในบริษัทอื่นอีก 5-6 แห่งขณะที่นายมานัสลงทุนในบริษัทอื่นๆอีกกว่า 11 บริษัท • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/stockmarket/detail/9680000029980 • #MGROnline #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 416 มุมมอง 0 รีวิว
  • ยุติค้นหา ตึกใหม่ สตง. ถล่ม! ยืนยันตาย 7 ศพ สูญหาย 47 คน เปิดเบื้องหลังบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ชิมลางสร้างตึกสูงในไทย แห่งแรกในต่างแดน ที่จบไม่สวย

    📌 เหตุการณ์สั่นสะเทือนวงการก่อสร้างไทย-จีน ที่สะท้อนความเสี่ยงระดับชาติ

    🏗️ แผ่นดินไหวแรงสะเทือนถึงใจ ตึกใหม่ สตง. ถล่มกลางกรุง! ในช่วงบ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้น... อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในย่านจตุจักร กรุงเทพฯ พังถล่มลงมาอย่างรุนแรง หลังเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งแรงสั่นสะเทือนส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ

    เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่เพียงแต่สะเทือนชีวิตผู้คน มีผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 7 ศพ สูญหาย 47 คน และมีผู้ติดอยู่ใต้ซากอาคาร 30 คน แต่ยังเป็น จุดจบของความหวังทางยุทธศาสตร์ ที่จะให้บริษัทจีนเข้ามาชิมลาง สร้างอาคารสูงพิเศษในไทย เป็นครั้งแรกในต่างแดน 🇹🇭🇨🇳

    📌 เมื่อช่วงบ่ายของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งมีศูนย์กลางลึกใต้ดินกว่า 90 กม. แม้จะห่างจากกรุงเทพฯ หลายร้อยกิโลเมตร แต่แรงสั่นสะเทือน สามารถรับรู้ได้ถึงกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 🌀

    จุดพังถล่มคือ อาคารสำนักงาน สตง. แห่งใหม่ บริเวณถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และเพิ่งสร้างโครงสร้างเสร็จไปได้เพียง 30% ของแผนงาน

    แม้อาคารจะยังไม่เปิดใช้งาน แต่ในขณะนั้นมีวิศวกร ช่างเทคนิค และคนงานกว่า 100 ชีวิต อยู่ภายใน เนื่องจากกำลังเร่งติดตั้งระบบภายใน เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ และระบบอาคารอัจฉริยะต่างๆ

    ⛑️ ทันทีหลังจากเหตุการณ์ถล่ม เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัยหลายทีม ได้เข้าพื้นที่อย่างเร่งด่วน พร้อมอุปกรณ์ค้นหา และกู้ภัยทันสมัย เช่น กล้องจับความร้อน, โดรน, เครื่องตรวจจับเสียง ฯลฯ

    📉 ภาพรวมความเสียหาย และภารกิจค้นหาผู้รอดชีวิต
    🚨 สรุปสถานการณ์ ณ วันที่ 29 มีนาคม เวลา 05.00 น.
    - เสียชีวิตแล้ว 7 ศพ นำออกมาได้แล้ว 5 ศพ
    - ผู้รอดชีวิต 9 คน บาดเจ็บหลากหลายระดับ
    - ผู้ติดใต้ซาก 30 คน มีสัญญาณชีพ 15 คน
    - ผู้สูญหาย 47 คน
    - ยืนยันตัวตนแล้ว 85 คน

    การค้นหาแบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่ A, B, C, D
    📍โซน A พบผู้มีสัญญาณชีพ 10 ราย
    📍โซน B พบผู้มีสัญญาณชีพ 2 ราย
    📍โซน D พบผู้มีสัญญาณชีพ 3 ราย

    การค้นหาต้องหยุดชั่วคราว เพื่อประเมินแผนใหม่ เนื่องจากโครงสร้างบางจุดยังไม่เสถียร เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ค้นหาเองด้วย

    💬 “เรากำลังแข่งกับเวลา และแข่งกับซากปูนที่อาจถล่มซ้ำอีกทุกวินาที” หนึ่งในทีมกู้ภัยกล่าว

    🏢 โครงการก่อสร้างอาคาร สตง. เป้าหมายสู่อนาคตรัฐ อาคารสำนักงานแห่งใหม่นี้ ถูกวางเป้าหมายให้เป็น ศูนย์กลางการเงิน และการควบคุมงบประมาณของรัฐ โดยมีโครงสร้าง 30 ชั้น ความสูงรวม 137 เมตร รวมพื้นที่ก่อสร้างกว่า 96,000 ตารางเมตร

    👉 อาคารนี้ประกอบด้วย อาคารสำนักงานหลัก อาคารประชุม และอาคารจอดรถอัตโนมัติ

    โครงการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2563 ด้วยงบประมาณ 2,136 ล้านบาท โดยผู้รับเหมาก่อสร้างหลัก คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี และควบคุมงานโดยกลุ่มวิศวกร PKW โดยมีการลงนาม Integrity Pact กับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อความโปร่งใสในการจัดจ้าง

    🏗️ "ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10" บริษัทยักษ์จากจีนผู้หวังปักหมุดในไทย “China Railway No.10 Engineering Group” หรือ CRCC เป็นบริษัทลูกของกลุ่มรัฐวิสาหกิจจีน ที่มีชื่อเสียงด้านโครงสร้างพื้นฐาน

    โครงการ สตง. คือ โครงการอาคารสูงพิเศษแห่งแรกในต่างแดน ของบริษัทนี้ นำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากจีนเข้ามาใช้เต็มที่ เช่น
    - ระบบ “แกนกลางรับแรง + พื้นไร้คาน”
    - เทคนิคแบบสไลด์คอนกรีต (Slip Form)
    - ระบบนั่งร้านปีนไต่อัตโนมัติ
    - ระบบติดตั้งไฟฟ้า แบบไม่ให้ท่อชนกันแม้แต่นิดเดียว

    👷 ทั้งหมดนี้แสดงถึงความพร้อมด้านวิศวกรรม และความหวังจะก้าวเข้าตลาดอาเซียนอย่างยิ่งใหญ่ แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น กลับกลายเป็นวิกฤตแห่งความเชื่อมั่น...

    🔍 ความเสียหายเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่ตึกถล่ม แต่คือภาพลักษณ์ล่มสลาย ผลกระทบหลัก 3 ด้าน
    - ชีวิตคนงาน การสูญเสียชีวิต7 ศพ และผู้ติดอยู่ใต้ซากหลายสิบคน คือความสูญเสียที่ไม่มีเม็ดเงินใดทดแทนได้

    - ความเชื่อมั่นในบริษัทจีน โครงการนี้เคยเป็นความหวังว่าจะเป็น “โชว์เคสระดับอาเซียน” กลายเป็น “บทเรียนราคาแพง”

    - ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน โครงการยุทธศาสตร์ไทย-จีนในอนาคตอาจถูกชะลอ ตรวจสอบมากขึ้น และถูกตั้งคำถามมากขึ้น

    🧑‍💼 การตอบสนองของหน่วยงานรัฐ เดินหน้าแก้ไข เร่งค้นหาความจริง
    – นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม. ลงพื้นที่พร้อมทีมวิศวกรกว่า 100 คน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารทั่วกรุงเทพฯ ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว

    – นายสุทธิพงษ์ บุญนิธิ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ในฐานะโฆษกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เร่งตรวจสอบคุณภาพโครงการ และประเมินความเสียหาย พร้อมยืนยัน จะเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะอย่างโปร่งใส

    – นายสุริยชัย รวิวรรณ ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กทม. รายงานสถานการณ์ค้นหาอย่างต่อเนื่อง พร้อมแบ่งโซนและใช้เทคโนโลยี ช่วยระบุตำแหน่งผู้ติดใต้ซาก

    ✅ จุดจบที่ไม่ควรเกิด กับความหวังที่ดับไปกลางซากอาคาร โศกนาฏกรรมครั้งนี้ เป็นจุดเตือนที่สะเทือนใจว่า การลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ไม่อาจวัดด้วยเทคโนโลยี หรือเงินทุนเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัย มาตรฐาน ความปลอดภัย และความโปร่งใสระดับสูงสุด

    หากสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป... แม้จะเป็นโครงการที่ดูดีแค่ไหน ก็พร้อมจะพังถล่มลงมาในพริบตา 🕯️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 291100 มี.ค. 2568

    🔖#ตึกสตงถล่ม #CRCCไทย #ไชน่าเรลเวย์10 #ข่าวด่วน #แผ่นดินไหว #อาคารสูงพิเศษ #ก่อสร้างไทยจีน #ข่าวโศกนาฏกรรม #ตึกถล่ม #ไทยจีน
    ยุติค้นหา ตึกใหม่ สตง. ถล่ม! ยืนยันตาย 7 ศพ สูญหาย 47 คน เปิดเบื้องหลังบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ชิมลางสร้างตึกสูงในไทย แห่งแรกในต่างแดน ที่จบไม่สวย 📌 เหตุการณ์สั่นสะเทือนวงการก่อสร้างไทย-จีน ที่สะท้อนความเสี่ยงระดับชาติ 🏗️ แผ่นดินไหวแรงสะเทือนถึงใจ ตึกใหม่ สตง. ถล่มกลางกรุง! ในช่วงบ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้น... อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในย่านจตุจักร กรุงเทพฯ พังถล่มลงมาอย่างรุนแรง หลังเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งแรงสั่นสะเทือนส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่เพียงแต่สะเทือนชีวิตผู้คน มีผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 7 ศพ สูญหาย 47 คน และมีผู้ติดอยู่ใต้ซากอาคาร 30 คน แต่ยังเป็น จุดจบของความหวังทางยุทธศาสตร์ ที่จะให้บริษัทจีนเข้ามาชิมลาง สร้างอาคารสูงพิเศษในไทย เป็นครั้งแรกในต่างแดน 🇹🇭🇨🇳 📌 เมื่อช่วงบ่ายของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งมีศูนย์กลางลึกใต้ดินกว่า 90 กม. แม้จะห่างจากกรุงเทพฯ หลายร้อยกิโลเมตร แต่แรงสั่นสะเทือน สามารถรับรู้ได้ถึงกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 🌀 จุดพังถล่มคือ อาคารสำนักงาน สตง. แห่งใหม่ บริเวณถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และเพิ่งสร้างโครงสร้างเสร็จไปได้เพียง 30% ของแผนงาน แม้อาคารจะยังไม่เปิดใช้งาน แต่ในขณะนั้นมีวิศวกร ช่างเทคนิค และคนงานกว่า 100 ชีวิต อยู่ภายใน เนื่องจากกำลังเร่งติดตั้งระบบภายใน เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ และระบบอาคารอัจฉริยะต่างๆ ⛑️ ทันทีหลังจากเหตุการณ์ถล่ม เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัยหลายทีม ได้เข้าพื้นที่อย่างเร่งด่วน พร้อมอุปกรณ์ค้นหา และกู้ภัยทันสมัย เช่น กล้องจับความร้อน, โดรน, เครื่องตรวจจับเสียง ฯลฯ 📉 ภาพรวมความเสียหาย และภารกิจค้นหาผู้รอดชีวิต 🚨 สรุปสถานการณ์ ณ วันที่ 29 มีนาคม เวลา 05.00 น. - เสียชีวิตแล้ว 7 ศพ นำออกมาได้แล้ว 5 ศพ - ผู้รอดชีวิต 9 คน บาดเจ็บหลากหลายระดับ - ผู้ติดใต้ซาก 30 คน มีสัญญาณชีพ 15 คน - ผู้สูญหาย 47 คน - ยืนยันตัวตนแล้ว 85 คน การค้นหาแบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่ A, B, C, D 📍โซน A พบผู้มีสัญญาณชีพ 10 ราย 📍โซน B พบผู้มีสัญญาณชีพ 2 ราย 📍โซน D พบผู้มีสัญญาณชีพ 3 ราย การค้นหาต้องหยุดชั่วคราว เพื่อประเมินแผนใหม่ เนื่องจากโครงสร้างบางจุดยังไม่เสถียร เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ค้นหาเองด้วย 💬 “เรากำลังแข่งกับเวลา และแข่งกับซากปูนที่อาจถล่มซ้ำอีกทุกวินาที” หนึ่งในทีมกู้ภัยกล่าว 🏢 โครงการก่อสร้างอาคาร สตง. เป้าหมายสู่อนาคตรัฐ อาคารสำนักงานแห่งใหม่นี้ ถูกวางเป้าหมายให้เป็น ศูนย์กลางการเงิน และการควบคุมงบประมาณของรัฐ โดยมีโครงสร้าง 30 ชั้น ความสูงรวม 137 เมตร รวมพื้นที่ก่อสร้างกว่า 96,000 ตารางเมตร 👉 อาคารนี้ประกอบด้วย อาคารสำนักงานหลัก อาคารประชุม และอาคารจอดรถอัตโนมัติ โครงการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2563 ด้วยงบประมาณ 2,136 ล้านบาท โดยผู้รับเหมาก่อสร้างหลัก คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี และควบคุมงานโดยกลุ่มวิศวกร PKW โดยมีการลงนาม Integrity Pact กับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อความโปร่งใสในการจัดจ้าง 🏗️ "ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10" บริษัทยักษ์จากจีนผู้หวังปักหมุดในไทย “China Railway No.10 Engineering Group” หรือ CRCC เป็นบริษัทลูกของกลุ่มรัฐวิสาหกิจจีน ที่มีชื่อเสียงด้านโครงสร้างพื้นฐาน โครงการ สตง. คือ โครงการอาคารสูงพิเศษแห่งแรกในต่างแดน ของบริษัทนี้ นำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากจีนเข้ามาใช้เต็มที่ เช่น - ระบบ “แกนกลางรับแรง + พื้นไร้คาน” - เทคนิคแบบสไลด์คอนกรีต (Slip Form) - ระบบนั่งร้านปีนไต่อัตโนมัติ - ระบบติดตั้งไฟฟ้า แบบไม่ให้ท่อชนกันแม้แต่นิดเดียว 👷 ทั้งหมดนี้แสดงถึงความพร้อมด้านวิศวกรรม และความหวังจะก้าวเข้าตลาดอาเซียนอย่างยิ่งใหญ่ แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น กลับกลายเป็นวิกฤตแห่งความเชื่อมั่น... 🔍 ความเสียหายเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่ตึกถล่ม แต่คือภาพลักษณ์ล่มสลาย ผลกระทบหลัก 3 ด้าน - ชีวิตคนงาน การสูญเสียชีวิต7 ศพ และผู้ติดอยู่ใต้ซากหลายสิบคน คือความสูญเสียที่ไม่มีเม็ดเงินใดทดแทนได้ - ความเชื่อมั่นในบริษัทจีน โครงการนี้เคยเป็นความหวังว่าจะเป็น “โชว์เคสระดับอาเซียน” กลายเป็น “บทเรียนราคาแพง” - ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน โครงการยุทธศาสตร์ไทย-จีนในอนาคตอาจถูกชะลอ ตรวจสอบมากขึ้น และถูกตั้งคำถามมากขึ้น 🧑‍💼 การตอบสนองของหน่วยงานรัฐ เดินหน้าแก้ไข เร่งค้นหาความจริง – นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม. ลงพื้นที่พร้อมทีมวิศวกรกว่า 100 คน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารทั่วกรุงเทพฯ ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว – นายสุทธิพงษ์ บุญนิธิ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ในฐานะโฆษกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เร่งตรวจสอบคุณภาพโครงการ และประเมินความเสียหาย พร้อมยืนยัน จะเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะอย่างโปร่งใส – นายสุริยชัย รวิวรรณ ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กทม. รายงานสถานการณ์ค้นหาอย่างต่อเนื่อง พร้อมแบ่งโซนและใช้เทคโนโลยี ช่วยระบุตำแหน่งผู้ติดใต้ซาก ✅ จุดจบที่ไม่ควรเกิด กับความหวังที่ดับไปกลางซากอาคาร โศกนาฏกรรมครั้งนี้ เป็นจุดเตือนที่สะเทือนใจว่า การลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ไม่อาจวัดด้วยเทคโนโลยี หรือเงินทุนเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัย มาตรฐาน ความปลอดภัย และความโปร่งใสระดับสูงสุด หากสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป... แม้จะเป็นโครงการที่ดูดีแค่ไหน ก็พร้อมจะพังถล่มลงมาในพริบตา 🕯️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 291100 มี.ค. 2568 🔖#ตึกสตงถล่ม #CRCCไทย #ไชน่าเรลเวย์10 #ข่าวด่วน #แผ่นดินไหว #อาคารสูงพิเศษ #ก่อสร้างไทยจีน #ข่าวโศกนาฏกรรม #ตึกถล่ม #ไทยจีน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 796 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดสัญญาก่อสร้าง "อาคาร สตง.แห่งใหม่ ย่านจตุจักร" สูง 30 ชั้น มูลค่า 2,136 ล้าน ก่อนถล่มจากฤทธิ์แผ่นดินไหว พบ บ.ร่วมค้า "ไอทีดี - ไชน่า เรลเวย์" ได้งาน มีบริษัทคุมงาน 3 บริษัท หลัง ครม.ชุดนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน เผยโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง

    วันนี้ (28 มี.ค.2568) มีรายงานจากสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. เปิดเผยถึงกรณีพื้นที่อาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.)ที่กำลังก่อสร้างถล่มหลังเหตุแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการ สตง.(แห่งใหม่) ความสูง 30 ชั้น มูลค่างานก่อสร้าง 2,136 ล้านบาท

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000029708

    #MGROnline #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake
    #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา
    เปิดสัญญาก่อสร้าง "อาคาร สตง.แห่งใหม่ ย่านจตุจักร" สูง 30 ชั้น มูลค่า 2,136 ล้าน ก่อนถล่มจากฤทธิ์แผ่นดินไหว พบ บ.ร่วมค้า "ไอทีดี - ไชน่า เรลเวย์" ได้งาน มีบริษัทคุมงาน 3 บริษัท หลัง ครม.ชุดนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน เผยโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง • วันนี้ (28 มี.ค.2568) มีรายงานจากสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. เปิดเผยถึงกรณีพื้นที่อาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน(สตง.)ที่กำลังก่อสร้างถล่มหลังเหตุแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการ สตง.(แห่งใหม่) ความสูง 30 ชั้น มูลค่างานก่อสร้าง 2,136 ล้านบาท • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/politics/detail/9680000029708 • #MGROnline #bkkearthquake #BangkokEarthquake #ThailandEarthquake #แผ่นดินไหว #ไทยแผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวไทย #กรุงเทพแผ่นดินไหว #กรุงเทพมหานคร #ประเทศไทย #เมียนมา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 379 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดสัญญาก่อสร้าง "อาคาร สตง.แห่งใหม่ ย่านจตุจักร" สูง 30 ชั้น มูลค่า 2,136 ล้าน ก่อนถล่มจากฤทธิ์แผ่นดินไหว พบ บ.ร่วมค้า "ไอทีดี - ไชน่า เรลเวย์" ได้งาน มีบริษัทคุมงาน 3 บริษัท หลัง ครม.ชุดนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน เผยโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000029708
    เปิดสัญญาก่อสร้าง "อาคาร สตง.แห่งใหม่ ย่านจตุจักร" สูง 30 ชั้น มูลค่า 2,136 ล้าน ก่อนถล่มจากฤทธิ์แผ่นดินไหว พบ บ.ร่วมค้า "ไอทีดี - ไชน่า เรลเวย์" ได้งาน มีบริษัทคุมงาน 3 บริษัท หลัง ครม.ชุดนี้เพิ่งอนุมัติเพิ่มวงเงินค่าควบคุมงานก่อสร้างอาคาร เป็นวงเงิน 84.3 ล้าน มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง จำเป็นขยายระยะเวลาก่อสร้าง 155 วัน จาก 1,080 วัน เป็น 1,235 วัน เผยโครงการอยู่ใน “ข้อตกลงคุณธรรม” รัฐ-ผู้รับเหมา-ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000029708
    Like
    Haha
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 645 มุมมอง 0 รีวิว
  • ”สภาหมื่นล้าน“ เตรียมรีโนเวทครั้งใหญ่ เร่งเคาะผู้รับเหมาสร้างลานจอดรถเฟส 2 พร้อมปรับภูมิทัศน์ ขนร้านอาหารชั้น-ร้านสะดวกซื้อ บริการสส.-ขรก. ทุ่ม 150 ล้านปิดตำนานสระมรกต เปลี่ยนเป็นห้องสมุด-ห้องรับรอง-ห้องพักตามอัธยาศัย

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000027139
    ”สภาหมื่นล้าน“ เตรียมรีโนเวทครั้งใหญ่ เร่งเคาะผู้รับเหมาสร้างลานจอดรถเฟส 2 พร้อมปรับภูมิทัศน์ ขนร้านอาหารชั้น-ร้านสะดวกซื้อ บริการสส.-ขรก. ทุ่ม 150 ล้านปิดตำนานสระมรกต เปลี่ยนเป็นห้องสมุด-ห้องรับรอง-ห้องพักตามอัธยาศัย อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000027139
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 900 มุมมอง 0 รีวิว
  • Newsstory : โครงการสมุดพก "สุริยะ" อวดประชาชน ข่มผู้รับเหมา แต่ไม่เคยทำจริง
    #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    #นิวส์สตอรี่ #สนธิ #สนธิลิ้มทองกุล
    #สุริยะ
    Newsstory : โครงการสมุดพก "สุริยะ" อวดประชาชน ข่มผู้รับเหมา แต่ไม่เคยทำจริง #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่ #สนธิ #สนธิลิ้มทองกุล #สุริยะ
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 531 มุมมอง 9 0 รีวิว
Pages Boosts