• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว
    สัทธรรมลำดับที่ : 947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานุภาพแห่งสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้ .
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้เถิด.-

    (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ
    ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี.
    (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า )
    ---๑๗/๑๘/๒๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97

    ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด
    อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง
    คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ
    รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๙๙/๑๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97

    อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ
    อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว สัทธรรมลำดับที่ : 947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --อานุภาพแห่งสมาธิ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.- (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ) ---๑๗/๑๘/๒๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๙๙/๑๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97 อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙ http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99 ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654. http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อานุภาพแห่งสมาธิ
    -อานุภาพแห่งสมาธิ ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และนี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีมีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว