• 'ทัวร์เขมร' นับร้อยบุกปราสาทตาควาย สุรินทร์! จัดพิธีสวดมนต์-ทิ้งขยะเกลื่อน-แจกเงินทหารเขมร
    https://www.thai-tai.tv/news/20413/
    .
    #ปราสาทตาควาย #สุรินทร์ #ชายแดนไทยกัมพูชา #ทัวร์เขมร #พฤติกรรมนักท่องเที่ยว #ความสัมพันธ์ไทยกัมพูชา #ปัญหาสิ่งแวดล้อม #เฝ้าระวังชายแดน

    'ทัวร์เขมร' นับร้อยบุกปราสาทตาควาย สุรินทร์! จัดพิธีสวดมนต์-ทิ้งขยะเกลื่อน-แจกเงินทหารเขมร https://www.thai-tai.tv/news/20413/ . #ปราสาทตาควาย #สุรินทร์ #ชายแดนไทยกัมพูชา #ทัวร์เขมร #พฤติกรรมนักท่องเที่ยว #ความสัมพันธ์ไทยกัมพูชา #ปัญหาสิ่งแวดล้อม #เฝ้าระวังชายแดน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 50 มุมมอง 0 รีวิว
  • **อ่าวไทย** มีทั้งผลกระทบทางบวกและลบต่อ**ประเทศจีน** โดยขึ้นอยู่กับมุมมองทางเศรษฐกิจ การเมือง และยุทธศาสตร์ ดังนี้:

    ---

    ### **ผลกระทบทางบวก (ประโยชน์ต่อจีน):**
    1. **เส้นทางขนส่งทางทะเลที่สำคัญ:**
    - อ่าวไทยเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเดินเรือระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ซึ่งจีนพึ่งพาเพื่อการค้าและนำเข้าน้ำมันดิบจากตะวันออกกลาง/แอฟริกา (กว่า 80% ของน้ำมันดิบของจีนขนส่งทางทะเลผ่านช่องแคบมะละกา)
    - โครงการพัฒนาคลองกระ (Kra Canal) ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (แม้ยังไม่มีความชัดเจน) อาจช่วยลดระยะทางขนส่งและลด "กับดักช่องแคบมะละกา" ซึ่งเป็นจุดอ่อนยุทธศาสตร์ของจีนได้

    2. **ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ:**
    - จีนลงทุนมหาศาลในประเทศรอบอ่าวไทย (ไทย, กัมพูชา, เวียดนาม) ผ่านโครงการ Belt and Road Initiative (BRI) เช่น ท่าเรือน้ำลึกศรีราชา (ไทย) เขตเศรษฐกิจพิเศษเสียมราฐ (กัมพูชา)
    - อ่าวไทยเป็นแหล่งประมงและพลังงาน (ก๊าซธรรมชาติ) ที่สำคัญ ซึ่งจีนมีส่วนร่วมในการสำรวจและพัฒนา

    3. **ความมั่นคงในภูมิภาค:**
    - จีนร่วมมือกับกองทัพเรือไทย/กัมพูชา ผ่านการฝึกรบร่วมและการสนับสนุนด้านเทคนิค เพื่อรักษาเสถียรภาพในอ่าวไทย ซึ่งส่งผลดีต่อความปลอดภัยของเส้นทางเดินเรือ

    ---

    ### **ผลกระทบทางลบ (ความท้าทายต่อจีน):**
    1. **ข้อพิพาทในทะเลจีนใต้:**
    - แม้อ่าวไทยไม่ใช่พื้นที่พิพาทโดยตรง แต่ความตึงเครียดในทะเลจีนใต้ (โดยเฉพาะกับเวียดนาม) ส่งผลต่อความสัมพันธ์ในภูมิภาค ซึ่งอาจกระทบต่อเสถียรภาพของอ่าวไทย

    2. **อิทธิพลของสหรัฐฯ:**
    - ไทยเป็นพันธมิตรทางทหารกับสหรัฐฯ การมีฐานทัพเรืออู่ตะเภาและการฝึกคอบร้าโกลด์ (Cobra Gold) อาจทำให้จีนกังวลเรื่องการขยายอิทธิพลของสหรัฐฯ ในอ่าวไทย

    3. **ภัยคุกคามทางทะเล:**
    - การโจรกรรมทางทะเล การค้ามนุษย์ และการลักลอบทำประมงผิดกฎหมายในอ่าวไทยอาจกระทบต่อเรือสินค้าของจีน

    4. **ปัญหาสิ่งแวดล้อม:**
    - มลภาวะและการกัดเซาะชายฝั่งในอ่าวไทยอาจส่งผลต่อระบบนิเวศที่จีนมีส่วนได้ส่วนเสีย เนื่องจากจีนลงทุนในโครงการโครงสร้างพื้นฐานชายฝั่ง

    ---

    ### **สรุป:**
    อ่าวไทยมี**ผลดีต่อจีน**ในด้านเศรษฐกิจและการขนส่งทางทะเล แต่ก็มี**ความเสี่ยง**ด้านความมั่นคงและภูมิรัฐศาสตร์ โดยจีนพยายามสร้างสมดุลผ่าน:
    - การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
    - ความร่วมมือทางทหารกับประเทศอ่าวไทย
    - การส่งเสริม BRI เพื่อขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจ

    ทั้งนี้ ผลกระทบที่แท้จริงขึ้นอยู่กับ**นโยบายของจีน** และ**สถานการณ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้** โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับไทย เวียดนาม และกัมพูชา
    **อ่าวไทย** มีทั้งผลกระทบทางบวกและลบต่อ**ประเทศจีน** โดยขึ้นอยู่กับมุมมองทางเศรษฐกิจ การเมือง และยุทธศาสตร์ ดังนี้: --- ### **ผลกระทบทางบวก (ประโยชน์ต่อจีน):** 1. **เส้นทางขนส่งทางทะเลที่สำคัญ:** - อ่าวไทยเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเดินเรือระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ซึ่งจีนพึ่งพาเพื่อการค้าและนำเข้าน้ำมันดิบจากตะวันออกกลาง/แอฟริกา (กว่า 80% ของน้ำมันดิบของจีนขนส่งทางทะเลผ่านช่องแคบมะละกา) - โครงการพัฒนาคลองกระ (Kra Canal) ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (แม้ยังไม่มีความชัดเจน) อาจช่วยลดระยะทางขนส่งและลด "กับดักช่องแคบมะละกา" ซึ่งเป็นจุดอ่อนยุทธศาสตร์ของจีนได้ 2. **ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ:** - จีนลงทุนมหาศาลในประเทศรอบอ่าวไทย (ไทย, กัมพูชา, เวียดนาม) ผ่านโครงการ Belt and Road Initiative (BRI) เช่น ท่าเรือน้ำลึกศรีราชา (ไทย) เขตเศรษฐกิจพิเศษเสียมราฐ (กัมพูชา) - อ่าวไทยเป็นแหล่งประมงและพลังงาน (ก๊าซธรรมชาติ) ที่สำคัญ ซึ่งจีนมีส่วนร่วมในการสำรวจและพัฒนา 3. **ความมั่นคงในภูมิภาค:** - จีนร่วมมือกับกองทัพเรือไทย/กัมพูชา ผ่านการฝึกรบร่วมและการสนับสนุนด้านเทคนิค เพื่อรักษาเสถียรภาพในอ่าวไทย ซึ่งส่งผลดีต่อความปลอดภัยของเส้นทางเดินเรือ --- ### **ผลกระทบทางลบ (ความท้าทายต่อจีน):** 1. **ข้อพิพาทในทะเลจีนใต้:** - แม้อ่าวไทยไม่ใช่พื้นที่พิพาทโดยตรง แต่ความตึงเครียดในทะเลจีนใต้ (โดยเฉพาะกับเวียดนาม) ส่งผลต่อความสัมพันธ์ในภูมิภาค ซึ่งอาจกระทบต่อเสถียรภาพของอ่าวไทย 2. **อิทธิพลของสหรัฐฯ:** - ไทยเป็นพันธมิตรทางทหารกับสหรัฐฯ การมีฐานทัพเรืออู่ตะเภาและการฝึกคอบร้าโกลด์ (Cobra Gold) อาจทำให้จีนกังวลเรื่องการขยายอิทธิพลของสหรัฐฯ ในอ่าวไทย 3. **ภัยคุกคามทางทะเล:** - การโจรกรรมทางทะเล การค้ามนุษย์ และการลักลอบทำประมงผิดกฎหมายในอ่าวไทยอาจกระทบต่อเรือสินค้าของจีน 4. **ปัญหาสิ่งแวดล้อม:** - มลภาวะและการกัดเซาะชายฝั่งในอ่าวไทยอาจส่งผลต่อระบบนิเวศที่จีนมีส่วนได้ส่วนเสีย เนื่องจากจีนลงทุนในโครงการโครงสร้างพื้นฐานชายฝั่ง --- ### **สรุป:** อ่าวไทยมี**ผลดีต่อจีน**ในด้านเศรษฐกิจและการขนส่งทางทะเล แต่ก็มี**ความเสี่ยง**ด้านความมั่นคงและภูมิรัฐศาสตร์ โดยจีนพยายามสร้างสมดุลผ่าน: - ✅ การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน - ✅ ความร่วมมือทางทหารกับประเทศอ่าวไทย - ✅ การส่งเสริม BRI เพื่อขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ผลกระทบที่แท้จริงขึ้นอยู่กับ**นโยบายของจีน** และ**สถานการณ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้** โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับไทย เวียดนาม และกัมพูชา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 346 มุมมอง 0 รีวิว

  • Airstrikes สงคราม ทองคำ และคนลุ่มน้ำโขง (ตอนที่ 4)
    *****************
    เสียงเครื่องบินกระหึ่มสัญชาติรัสเซีย และจีน ทั้งรุ่น MiG-29 -Yak-130 - K-8, F-7 และเฮลิคอปเตอร์โจมตี Mi-35 Mi-17 เทคออฟขึ้นน่านฟ้าเมียนมา สร้างความหวาดวิตกกับพลเรือนในพื้นที่เสี่ยง ความถี่มิได้เป็นปกป้องอธิปไตยเหนือน่านฟ้า บางครั้งก็ถลำรุกน่านฟ้าของไทย และถูกต้อนกลับ
    เสียงอากาศยานของเมียนมาทำให้ประชาชน พลเรือนระส่ำระสาย บาดเจ็บล้มตายกัน ในพื้นที่พลเรือนและกลุ่มต่อต้าน ปี 2023-24 กระทรวงกลาโหมใช้งบประมาณเพื่อภารกิจ Aistrike กว่า 2.7 พันล้านดอลลาร์ อาวุธ ส่วนใหญ่มาจากรัสเซียและจีน
    กองทัพเผด็จการเมียนมาได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศประมาณ 30 ครั้งในรัฐฉาน รัฐกะเหรี่ยงนี และรัฐกะฉิ่นในช่วงหนึ่งเดือนที่ผ่านมา โดยทิ้งระเบิดเกือบ 100 ลูก ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 20 ราย ตามข้อมูลที่ Shan Herald Agency for News (SHAN) ได้รับ
    ระหว่างปลายปีที่ผ่าน ถึงวันที่ 30 มกราคม 2025 การโจมตีทางอากาศเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่พื้นที่พลเรือนเป็นหลัก สร้างความเสียหายและการสูญเสียอย่างหนัก โดยเฉพาะเขตเมืองนองคิโอ รัฐฉาน ซึ่งระเบิดตกใส่ร้านน้ำชา ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 8 ราย
    มีการประเมินว่านับตั้งแต่การรัฐประหารเมื่อเกือบสี่ปีที่แล้ว โดยบันทึกการโจมตีทางอากาศทั้งหมด 1,767 ครั้ง ซึ่งน่าตกใจว่าร้อยละ 47 ของการโจมตีเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่พื้นที่พลเรือน ทำให้วิกฤตด้านมนุษยธรรมในพื้นที่ขัดแย้งรุนแรงขึ้น
    พื้นที่ ที่เป็นเป้าหมายคือพื้นที่ที่มีผลประโยชน์เหมืองแร่ และแร่ธาตุสูง โดยเฉพาะใน รัฐฉาน (Shan State), รัฐกะเหรี่ยงนี-คะยา (Karenni/Kayah State), รัฐกะฉิ่น (Kachin State), รัฐระแหง (Rakhine State) และพื้นที่อื่นๆ เช่น ภูมิภาคสกาย (Sagaing Region) เป็นต้น
    *****************
    USGS (United States Geological Survey) ได้ ประมาณการไว้ว่า ยังคงเหลือทองคำอยู่ใต้ดินที่ยังไม่ได้ผลิตออกมาอีกประมาณ 50,000 ตัน คาดกันว่าปริมาณทองคำที่ขุดขึ้นมา และมีการใช้ประโยชน์กันแล้วกว่า 190,000 ตัน และโดยเฉลี่ยในปัจจุบันมีการผลิตออกจากเหมืองประมาณปีละ 2,500 ถึง 3,000 ตัน มีการทำเหมืองทองคำทั่วโลกอยู่ใน 82 ประเทศ
    สแกนใต้ดินแอฟริกาใต้ มีทรัพยากรแร่ทองคำมากที่สุดในโลก และเป็นผู้ผลิตทองคำรายใหญ่ที่สุดของโลก จนถึงปัจจุบันราว 31,000 ตัน รองลงมา คือ รัสเซีย ประมาณ 7,000 ตัน และ จีนเป็นอันดับ 3 ที่ผลิตประมาณ 6,328 ตัน ตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย แคนาดา และ เปรู
    ทว่าในปี 2564 จีนขึ้นแป้นครองแชมป์ประเทศที่ผลิตทองคำจากเหมืองทองคำในประเทศมากที่สุด คิดเป็น 11% ของการผลิต ทั่วโลก ซึ่งจากฐานข้อมูล Global Data’s mines and projects ที่ได้ติดตามการพัฒนาและปฏิบัติการของเหมืองแร่ และโครงการทั่วโลก โดยเก็บข้อมูลจากบริษัทยักษ์ใหญ่กว่า 4,000 บริษัท ได้สรุป 5 อันดับ เหมืองทองคำในจีนที่ผลิตทองคำได้มากที่สุดในปี 2563 ดังนี้
    1.Shaxi Copper Mine เป็นเหมืองใต้ดินในมณฑลอานฮุย (Anhui) ของกลุ่มบริษัท Togling Nonferrous Metal Group ซึ่งผลิตทองคำได้ประมาณ 730,000 ounces of gold ในปี 2563
    2.Jiaojia Gold Mine ของกลุ่มบริษัท Shandong Gold Group ในมณฑลซานตง (Shandong) ผลิตทองคำได้ประมาณ 230,000 ounces of gold ในปี 2563 และกำลังจะปิดตัวลงในปี 2566
    3.Dayingezhuang Gold Mine เป็นเหมืองทองคำในมณฑลซานตงเช่นกัน อยู่ภายใต้การบริหารของบริษัท Zhaojin Mining Industry และผลิตทองคำประมาณ 228,000 ounces of gold ในปี 2563
    4.Sanshandao Gold Mine เป็นเหมืองใต้ดินของกลุ่มบริษัท Shandong Gold Group ในมณฑลซานตง ผลิตทองคำได้ ประมาณ 218,000 ounces of gold ในปี 2563 และจะผลิตตามแผนงานไปจนถึงปี 2571
    5.Zaozigou Gold Mine เป็นเหมืองทองคำของบริษัท Zhaojin Mining Industy ในมณฑลกานซู (Gansu) ผลิตทองคำได้ ประมาณ 207,000 ounces of gold

    *****************
    รายงานจาก มูลนิธิสิทธิมนุษยชนไทใหญ่ และ สหภาพนักศึกษาไทใหญ่ เกี่ยวกับเหมืองแร่ทองคำขยายวงกว้างทำให้เกิดดินโคลนถล่มท่วมชุมชนทางตะวันออกท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน ระบุว่าบริษัทเหมืองแร่ได้เข้ามาในพื้นที่เมื่อปี 2550 ที่บริเวณต้นน้ำแม่น้ำคำ ตอนใต้ของบ้านนาโฮหลงในตำบลเมืองเลน ในปัจจุบันเหมืองทองคำแบบเปิดได้ขยายตัวไปกว่า 10 กิโลเมตรตลอดทั่วเทือกเขาดอยค้า ตามริมฝั่งน้ำด้านตะวันตกของแม่น้ำโขง การปล่อยน้ำจาจากการทำเหมืองแร่ทองแร่ทองคำที่ขาดการควบคุม รวมทั้งน้ำที่ไหลมาจากากอำบน้ำที่เจือด้วยสารไชยาไนด์ทำให้ลำน้ำน้ำอุดตัน และมักทำให้เกิดการกัดเซาะอย่างรุนแรงที่ริมฝั่งน้ำในช่วงฤดูฝน
    การขยายตัวของเหมืองทองคำในเมืองเลน ยังทำให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้นทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม และในปัจจุบัน มีบริษัท 12 แห่งที่เชื่อมโยงกับนายทหารพม่าระดับสูงได้รับประทานบัตรอายุ 11 ปี เพื่อการทำเหมืองแร่ทองคำ
    ในบรรดาประทานบัตร มีการให้ประทานบัตร 13 ฉบับแก่ (8 บริษัท) เมื่อกลางปี 2563 และอีก 7 ฉบับให้แก่ (5 บริษัท) ในปี 2564 ภายหลังการทำรัฐประหารเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ประทานบัตรแต่ละฉบับครอบคลุมพื้นที่ 50 ไร่บริษัทส่วนใหญ่ที่ได้รับประทานบัตรจด ทะเบียนในจังหวัดท่าขี้เหล็ก ยกเว้นเพียงเมย์ฟลาวเวอร์ไมนิ่ง เอนเตอร์ไพรส์(Maylower Mining Enterprises) ที่จัดตั้งขึ้นโดยนายจ่อวิน ซึ่งเป็นพันธมิตรกับกองทัพพม่า และตั้งอยู่ที่เมืองย่างกุ้ง
    การขุดทองที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในรัฐกะฉิ่น ประเทศเมียนมา ซึ่งเกิดขึ้นโดยขาดการควบคุมและก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่น
    *****************
    EarthRights.org รายงานว่า นับตั้งแต่การรัฐประหารในปี 2021 การขุดทองในรัฐกะฉิ่นเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ควบคุมโดยกองทัพกะฉิ่น (Kachin Independence Army: KIA) และกลุ่มติดอาวุธอื่นๆ เช่น กองทัพพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (MNDAA) การขุดทองนี้ส่วนใหญ่เป็นการขุดแบบไม่มีการควบคุม (unregulated) และใช้สารเคมี เช่น ปรอทและไซยาไนด์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดมลพิษในแม่น้ำและแหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำอิรวดี (Irrawaddy River) และแม่น้ำชินดวิน (Chindwin River) ซึ่งเป็นแหล่งน้ำสำคัญของชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเกิดจากการใช้สารเคมีในการสกัดทองทำให้ดินและน้ำปนเปื้อน ส่งผลกระทบต่อการเกษตรและสุขภาพของประชาชน นอกจากนั้นคือการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อขุดทองทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและเพิ่มความเสี่ยงต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ดินถล่ม
    ผลกระทบต่อชุมชน ชาวบ้านในพื้นที่ เช่น ในเมืองตานาย (Tanai) และเมืองชิปวี (Chipwi) เผชิญกับการสูญเสียที่ดินทำกินและแหล่งน้ำสะอาดการขุดทองดึงดูดแรงงานจากพื้นที่อื่น ทำให้เกิดความตึงเครียดในชุมชนและเพิ่มความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคเด็กและเยาวชนในพื้นที่ถูกดึงเข้าสู่อุตสาหกรรมการขุดทอง ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัยและการละเมิดสิทธิมนุษยชน
    และพื้นที่นี้ เหมืองทองในเมืองตานายถูกโจมตีทางอากาศโดยกองทัพเมียนมาในเดือนมกราคม 2025 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 20 ราย การโจมตีนี้ถูกมองว่าเป็นความพยายามของกองทัพในการขัดขวางแหล่งรายได้ของ KIA
    *****************
    ดร.สืบสกุล กิจนุกร นักวิชาการในพื้นที่เชียงราย พื้นที่ประสบภัยพิบัติทางแม่น้ำ จากประเทศเพื่อนบ้านที่ทำเหมืองทองคำ และแร่ธาตุเผยแพรข้อเสนอในเฟสบุ๊กส่วนตัวว่า ปัญหาสารโลหะหนักปนเปื้อนในน้ำกกและสายซึ่งเป็นปัญหามลพิษข้ามพรมแดนแล้ว เป็นสถานการณ์ความซับซ้อนของปัญหามลพิษข้ามแดนที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาจากรัฐส่วนกลางที่จะแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ได้คล้ายกับปัญหาฝุ่นควันข้ามแดน
    พร้อมกับอ้างอิงงานศึกษาว่าบทบาทของอาเซียนในการแก้ไขปัญหาสารโลหะหนักในแม่น้ำระหว่างประเทศดังเช่นแม่น้ำโขง Ding (2019) ที่วิพากษ์แนวคิด traditional state-centric governance เกี่ยวกับปัญหาสารโลหะหนักที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศแม่น้ำโขงตอนล่าง อันประกอบด้วย ไทย ลาว เวียนดนาม และกัมพูชา การแก้ไขภายใต้อาเซียนและ MRC (Mekong River Commission มีข้อจำกัดในแง่ที่ 1) รายงานมิได้ครอบคลุมรายละเอียดของปัญหามลพิษ 2) รายงานมิได้สนับสนุนการสื่อสารกันระหว่างองคกรที่แตกต่างกัน เช่น สถาบันการวิจัย 3) ขาดกลไกเชิงกฎหมายระดับภูมิภาคและการบังคับใช้กฎหมายในควบคุมมลพิษในน้ำข้ามพรมแดน 4) รายงานไม่ได้รับความสนใจจากสาธารณชน
    สรุปคือกลกลไกระหว่างประเทศแบบที่ สทนช.เสนอให้ MRC ทำ น่าจะไม่สามารถแก้ไขปัญหามลพิษข้ามแดนในบริบทอาเซียนได้ เมื่อพิจารณาความซับซ้อนของปัญหาในต้นน้ำกกและสาย จำเป็นต้องแกะปมตั้งแต่ บริษัทจีน กองกำลังติดอาวุธ ชาติพันธ์ และประเทศจีน ชุมชนในตลอดลำน้ำกกและสาย สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจ ปละภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วย
    เสียงคำรามของเครื่องบินพร้อมลูกระเบิดภารกิจ Airstrikes ก่อสงครามแย่งชิงขุมทรัพย์ทองคำสีเลือด และคนลุ่มน้ำโขงกำลังเผชิญภัยวิกฤติจากสารพิษ ที่เจือปนในแม่น้ำ รวมถึงการสลายความเป็นมนุษย์ในดินแดนขุมเมืองแห่งลุ่มแม่น้ำแห่งชีวิตสายนี้
    *****************
    อ้างอิง :
    • สำนักข่าว Shan Herald Agency for News, Burma News International, Human Rights Watch, The Irrawaddy Radio Free Asia Al Jazeera, Amnesty International, Justice For Myanmar, และ Wikipedia
    • World Gold Council https://www.gold.org/
    • EarthRights International
    Airstrikes สงคราม ทองคำ และคนลุ่มน้ำโขง (ตอนที่ 4) ***************** เสียงเครื่องบินกระหึ่มสัญชาติรัสเซีย และจีน ทั้งรุ่น MiG-29 -Yak-130 - K-8, F-7 และเฮลิคอปเตอร์โจมตี Mi-35 Mi-17 เทคออฟขึ้นน่านฟ้าเมียนมา สร้างความหวาดวิตกกับพลเรือนในพื้นที่เสี่ยง ความถี่มิได้เป็นปกป้องอธิปไตยเหนือน่านฟ้า บางครั้งก็ถลำรุกน่านฟ้าของไทย และถูกต้อนกลับ เสียงอากาศยานของเมียนมาทำให้ประชาชน พลเรือนระส่ำระสาย บาดเจ็บล้มตายกัน ในพื้นที่พลเรือนและกลุ่มต่อต้าน ปี 2023-24 กระทรวงกลาโหมใช้งบประมาณเพื่อภารกิจ Aistrike กว่า 2.7 พันล้านดอลลาร์ อาวุธ ส่วนใหญ่มาจากรัสเซียและจีน กองทัพเผด็จการเมียนมาได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศประมาณ 30 ครั้งในรัฐฉาน รัฐกะเหรี่ยงนี และรัฐกะฉิ่นในช่วงหนึ่งเดือนที่ผ่านมา โดยทิ้งระเบิดเกือบ 100 ลูก ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 20 ราย ตามข้อมูลที่ Shan Herald Agency for News (SHAN) ได้รับ ระหว่างปลายปีที่ผ่าน ถึงวันที่ 30 มกราคม 2025 การโจมตีทางอากาศเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่พื้นที่พลเรือนเป็นหลัก สร้างความเสียหายและการสูญเสียอย่างหนัก โดยเฉพาะเขตเมืองนองคิโอ รัฐฉาน ซึ่งระเบิดตกใส่ร้านน้ำชา ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 8 ราย มีการประเมินว่านับตั้งแต่การรัฐประหารเมื่อเกือบสี่ปีที่แล้ว โดยบันทึกการโจมตีทางอากาศทั้งหมด 1,767 ครั้ง ซึ่งน่าตกใจว่าร้อยละ 47 ของการโจมตีเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่พื้นที่พลเรือน ทำให้วิกฤตด้านมนุษยธรรมในพื้นที่ขัดแย้งรุนแรงขึ้น พื้นที่ ที่เป็นเป้าหมายคือพื้นที่ที่มีผลประโยชน์เหมืองแร่ และแร่ธาตุสูง โดยเฉพาะใน รัฐฉาน (Shan State), รัฐกะเหรี่ยงนี-คะยา (Karenni/Kayah State), รัฐกะฉิ่น (Kachin State), รัฐระแหง (Rakhine State) และพื้นที่อื่นๆ เช่น ภูมิภาคสกาย (Sagaing Region) เป็นต้น ***************** USGS (United States Geological Survey) ได้ ประมาณการไว้ว่า ยังคงเหลือทองคำอยู่ใต้ดินที่ยังไม่ได้ผลิตออกมาอีกประมาณ 50,000 ตัน คาดกันว่าปริมาณทองคำที่ขุดขึ้นมา และมีการใช้ประโยชน์กันแล้วกว่า 190,000 ตัน และโดยเฉลี่ยในปัจจุบันมีการผลิตออกจากเหมืองประมาณปีละ 2,500 ถึง 3,000 ตัน มีการทำเหมืองทองคำทั่วโลกอยู่ใน 82 ประเทศ สแกนใต้ดินแอฟริกาใต้ มีทรัพยากรแร่ทองคำมากที่สุดในโลก และเป็นผู้ผลิตทองคำรายใหญ่ที่สุดของโลก จนถึงปัจจุบันราว 31,000 ตัน รองลงมา คือ รัสเซีย ประมาณ 7,000 ตัน และ จีนเป็นอันดับ 3 ที่ผลิตประมาณ 6,328 ตัน ตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย แคนาดา และ เปรู ทว่าในปี 2564 จีนขึ้นแป้นครองแชมป์ประเทศที่ผลิตทองคำจากเหมืองทองคำในประเทศมากที่สุด คิดเป็น 11% ของการผลิต ทั่วโลก ซึ่งจากฐานข้อมูล Global Data’s mines and projects ที่ได้ติดตามการพัฒนาและปฏิบัติการของเหมืองแร่ และโครงการทั่วโลก โดยเก็บข้อมูลจากบริษัทยักษ์ใหญ่กว่า 4,000 บริษัท ได้สรุป 5 อันดับ เหมืองทองคำในจีนที่ผลิตทองคำได้มากที่สุดในปี 2563 ดังนี้ 1.Shaxi Copper Mine เป็นเหมืองใต้ดินในมณฑลอานฮุย (Anhui) ของกลุ่มบริษัท Togling Nonferrous Metal Group ซึ่งผลิตทองคำได้ประมาณ 730,000 ounces of gold ในปี 2563 2.Jiaojia Gold Mine ของกลุ่มบริษัท Shandong Gold Group ในมณฑลซานตง (Shandong) ผลิตทองคำได้ประมาณ 230,000 ounces of gold ในปี 2563 และกำลังจะปิดตัวลงในปี 2566 3.Dayingezhuang Gold Mine เป็นเหมืองทองคำในมณฑลซานตงเช่นกัน อยู่ภายใต้การบริหารของบริษัท Zhaojin Mining Industry และผลิตทองคำประมาณ 228,000 ounces of gold ในปี 2563 4.Sanshandao Gold Mine เป็นเหมืองใต้ดินของกลุ่มบริษัท Shandong Gold Group ในมณฑลซานตง ผลิตทองคำได้ ประมาณ 218,000 ounces of gold ในปี 2563 และจะผลิตตามแผนงานไปจนถึงปี 2571 5.Zaozigou Gold Mine เป็นเหมืองทองคำของบริษัท Zhaojin Mining Industy ในมณฑลกานซู (Gansu) ผลิตทองคำได้ ประมาณ 207,000 ounces of gold ***************** รายงานจาก มูลนิธิสิทธิมนุษยชนไทใหญ่ และ สหภาพนักศึกษาไทใหญ่ เกี่ยวกับเหมืองแร่ทองคำขยายวงกว้างทำให้เกิดดินโคลนถล่มท่วมชุมชนทางตะวันออกท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน ระบุว่าบริษัทเหมืองแร่ได้เข้ามาในพื้นที่เมื่อปี 2550 ที่บริเวณต้นน้ำแม่น้ำคำ ตอนใต้ของบ้านนาโฮหลงในตำบลเมืองเลน ในปัจจุบันเหมืองทองคำแบบเปิดได้ขยายตัวไปกว่า 10 กิโลเมตรตลอดทั่วเทือกเขาดอยค้า ตามริมฝั่งน้ำด้านตะวันตกของแม่น้ำโขง การปล่อยน้ำจาจากการทำเหมืองแร่ทองแร่ทองคำที่ขาดการควบคุม รวมทั้งน้ำที่ไหลมาจากากอำบน้ำที่เจือด้วยสารไชยาไนด์ทำให้ลำน้ำน้ำอุดตัน และมักทำให้เกิดการกัดเซาะอย่างรุนแรงที่ริมฝั่งน้ำในช่วงฤดูฝน การขยายตัวของเหมืองทองคำในเมืองเลน ยังทำให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้นทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม และในปัจจุบัน มีบริษัท 12 แห่งที่เชื่อมโยงกับนายทหารพม่าระดับสูงได้รับประทานบัตรอายุ 11 ปี เพื่อการทำเหมืองแร่ทองคำ ในบรรดาประทานบัตร มีการให้ประทานบัตร 13 ฉบับแก่ (8 บริษัท) เมื่อกลางปี 2563 และอีก 7 ฉบับให้แก่ (5 บริษัท) ในปี 2564 ภายหลังการทำรัฐประหารเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ประทานบัตรแต่ละฉบับครอบคลุมพื้นที่ 50 ไร่บริษัทส่วนใหญ่ที่ได้รับประทานบัตรจด ทะเบียนในจังหวัดท่าขี้เหล็ก ยกเว้นเพียงเมย์ฟลาวเวอร์ไมนิ่ง เอนเตอร์ไพรส์(Maylower Mining Enterprises) ที่จัดตั้งขึ้นโดยนายจ่อวิน ซึ่งเป็นพันธมิตรกับกองทัพพม่า และตั้งอยู่ที่เมืองย่างกุ้ง การขุดทองที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในรัฐกะฉิ่น ประเทศเมียนมา ซึ่งเกิดขึ้นโดยขาดการควบคุมและก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่น ***************** EarthRights.org รายงานว่า นับตั้งแต่การรัฐประหารในปี 2021 การขุดทองในรัฐกะฉิ่นเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ควบคุมโดยกองทัพกะฉิ่น (Kachin Independence Army: KIA) และกลุ่มติดอาวุธอื่นๆ เช่น กองทัพพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (MNDAA) การขุดทองนี้ส่วนใหญ่เป็นการขุดแบบไม่มีการควบคุม (unregulated) และใช้สารเคมี เช่น ปรอทและไซยาไนด์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดมลพิษในแม่น้ำและแหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำอิรวดี (Irrawaddy River) และแม่น้ำชินดวิน (Chindwin River) ซึ่งเป็นแหล่งน้ำสำคัญของชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเกิดจากการใช้สารเคมีในการสกัดทองทำให้ดินและน้ำปนเปื้อน ส่งผลกระทบต่อการเกษตรและสุขภาพของประชาชน นอกจากนั้นคือการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อขุดทองทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและเพิ่มความเสี่ยงต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ดินถล่ม ผลกระทบต่อชุมชน ชาวบ้านในพื้นที่ เช่น ในเมืองตานาย (Tanai) และเมืองชิปวี (Chipwi) เผชิญกับการสูญเสียที่ดินทำกินและแหล่งน้ำสะอาดการขุดทองดึงดูดแรงงานจากพื้นที่อื่น ทำให้เกิดความตึงเครียดในชุมชนและเพิ่มความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคเด็กและเยาวชนในพื้นที่ถูกดึงเข้าสู่อุตสาหกรรมการขุดทอง ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัยและการละเมิดสิทธิมนุษยชน และพื้นที่นี้ เหมืองทองในเมืองตานายถูกโจมตีทางอากาศโดยกองทัพเมียนมาในเดือนมกราคม 2025 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 20 ราย การโจมตีนี้ถูกมองว่าเป็นความพยายามของกองทัพในการขัดขวางแหล่งรายได้ของ KIA ***************** ดร.สืบสกุล กิจนุกร นักวิชาการในพื้นที่เชียงราย พื้นที่ประสบภัยพิบัติทางแม่น้ำ จากประเทศเพื่อนบ้านที่ทำเหมืองทองคำ และแร่ธาตุเผยแพรข้อเสนอในเฟสบุ๊กส่วนตัวว่า ปัญหาสารโลหะหนักปนเปื้อนในน้ำกกและสายซึ่งเป็นปัญหามลพิษข้ามพรมแดนแล้ว เป็นสถานการณ์ความซับซ้อนของปัญหามลพิษข้ามแดนที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาจากรัฐส่วนกลางที่จะแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ได้คล้ายกับปัญหาฝุ่นควันข้ามแดน พร้อมกับอ้างอิงงานศึกษาว่าบทบาทของอาเซียนในการแก้ไขปัญหาสารโลหะหนักในแม่น้ำระหว่างประเทศดังเช่นแม่น้ำโขง Ding (2019) ที่วิพากษ์แนวคิด traditional state-centric governance เกี่ยวกับปัญหาสารโลหะหนักที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศแม่น้ำโขงตอนล่าง อันประกอบด้วย ไทย ลาว เวียนดนาม และกัมพูชา การแก้ไขภายใต้อาเซียนและ MRC (Mekong River Commission มีข้อจำกัดในแง่ที่ 1) รายงานมิได้ครอบคลุมรายละเอียดของปัญหามลพิษ 2) รายงานมิได้สนับสนุนการสื่อสารกันระหว่างองคกรที่แตกต่างกัน เช่น สถาบันการวิจัย 3) ขาดกลไกเชิงกฎหมายระดับภูมิภาคและการบังคับใช้กฎหมายในควบคุมมลพิษในน้ำข้ามพรมแดน 4) รายงานไม่ได้รับความสนใจจากสาธารณชน สรุปคือกลกลไกระหว่างประเทศแบบที่ สทนช.เสนอให้ MRC ทำ น่าจะไม่สามารถแก้ไขปัญหามลพิษข้ามแดนในบริบทอาเซียนได้ เมื่อพิจารณาความซับซ้อนของปัญหาในต้นน้ำกกและสาย จำเป็นต้องแกะปมตั้งแต่ บริษัทจีน กองกำลังติดอาวุธ ชาติพันธ์ และประเทศจีน ชุมชนในตลอดลำน้ำกกและสาย สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจ ปละภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วย เสียงคำรามของเครื่องบินพร้อมลูกระเบิดภารกิจ Airstrikes ก่อสงครามแย่งชิงขุมทรัพย์ทองคำสีเลือด และคนลุ่มน้ำโขงกำลังเผชิญภัยวิกฤติจากสารพิษ ที่เจือปนในแม่น้ำ รวมถึงการสลายความเป็นมนุษย์ในดินแดนขุมเมืองแห่งลุ่มแม่น้ำแห่งชีวิตสายนี้ ***************** อ้างอิง : • สำนักข่าว Shan Herald Agency for News, Burma News International, Human Rights Watch, The Irrawaddy Radio Free Asia Al Jazeera, Amnesty International, Justice For Myanmar, และ Wikipedia • World Gold Council https://www.gold.org/ • EarthRights International
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1312 มุมมอง 0 รีวิว
  • Generation Beta เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มคนที่เกิดหลังจาก Generation Alpha ซึ่งโดยทั่วไปหมายถึงเด็กที่เกิดตั้งแต่ประมาณปี 2025 เป็นต้นไป

    ลักษณะของ Generation Beta (คาดการณ์)

    1. เกิดในยุคเทคโนโลยีล้ำหน้า – เติบโตมาพร้อมกับ AI, Automation, และ Metaverse


    2. ใช้ชีวิตแบบดิจิทัลเป็นหลัก – การเรียน การทำงาน และความบันเทิงจะเชื่อมต่อกับโลกเสมือนจริงมากขึ้น


    3. ได้รับอิทธิพลจากสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม – โตมาในโลกที่เผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ


    4. มีแนวคิดเกี่ยวกับความหลากหลายและความเท่าเทียมมากขึ้น – สังคมเปิดกว้างด้านวัฒนธรรมและเพศสภาพ


    5. พฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียจะเปลี่ยนไป – อาจใช้งานแพลตฟอร์มที่มีความเป็นส่วนตัวมากขึ้น หรือแพลตฟอร์มที่เชื่อมต่อกับ AI



    เนื่องจาก Generation Beta ยังไม่เกิดขึ้นจริง คำนี้จึงเป็นเพียงแนวคิดที่นักวิเคราะห์ใช้คาดการณ์อนาคตของกลุ่มคนรุ่นใหม่

    Generation Beta เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มคนที่เกิดหลังจาก Generation Alpha ซึ่งโดยทั่วไปหมายถึงเด็กที่เกิดตั้งแต่ประมาณปี 2025 เป็นต้นไป ลักษณะของ Generation Beta (คาดการณ์) 1. เกิดในยุคเทคโนโลยีล้ำหน้า – เติบโตมาพร้อมกับ AI, Automation, และ Metaverse 2. ใช้ชีวิตแบบดิจิทัลเป็นหลัก – การเรียน การทำงาน และความบันเทิงจะเชื่อมต่อกับโลกเสมือนจริงมากขึ้น 3. ได้รับอิทธิพลจากสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม – โตมาในโลกที่เผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4. มีแนวคิดเกี่ยวกับความหลากหลายและความเท่าเทียมมากขึ้น – สังคมเปิดกว้างด้านวัฒนธรรมและเพศสภาพ 5. พฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียจะเปลี่ยนไป – อาจใช้งานแพลตฟอร์มที่มีความเป็นส่วนตัวมากขึ้น หรือแพลตฟอร์มที่เชื่อมต่อกับ AI เนื่องจาก Generation Beta ยังไม่เกิดขึ้นจริง คำนี้จึงเป็นเพียงแนวคิดที่นักวิเคราะห์ใช้คาดการณ์อนาคตของกลุ่มคนรุ่นใหม่
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 701 มุมมอง 0 รีวิว
  • NFT (Non-Fungible Token) ยังคงมีอยู่ในปี 2025 และยังเป็นที่สนใจในหลายวงการ เช่น ศิลปะ ดนตรี เกม และการลงทุน อย่างไรก็ตาม ความนิยมและมูลค่าของ NFT อาจเปลี่ยนแปลงไปตามตลาดและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น

    ปัจจัยที่ทำให้ NFT ยังคงมีความสำคัญ:
    1. **ความเป็นเจ้าของดิจิทัล**: NFT ช่วยยืนยันความเป็นเจ้าของสินทรัพย์ดิจิทัลได้อย่างชัดเจน
    2. **การใช้งานในเกมและ Metaverse**: NFT ยังถูกใช้เป็นไอเทมในเกมและโลกเสมือนจริง
    3. **ศิลปะและคอลเลกชัน**: ศิลปินยังคงใช้ NFT เป็นช่องทางสร้างรายได้และแสดงผลงาน

    แต่ก็มีข้อควรพิจารณา:
    1. **ความผันผวนของตลาด**: มูลค่า NFT อาจขึ้นลงตามความต้องการ
    2. **ปัญหาสิ่งแวดล้อม**: การใช้พลังงานของบล็อกเชนยังเป็นประเด็นที่ถูกถกเถียง
    3. **กฎหมายและกฎระเบียบ**: การควบคุม NFT อาจเข้มงวดขึ้นในอนาคต

    สรุปคือ NFT ยังคงมีบทบาท แต่รูปแบบและการใช้งานอาจปรับตัวตามเทคโนโลยีและความต้องการของตลาด
    NFT (Non-Fungible Token) ยังคงมีอยู่ในปี 2025 และยังเป็นที่สนใจในหลายวงการ เช่น ศิลปะ ดนตรี เกม และการลงทุน อย่างไรก็ตาม ความนิยมและมูลค่าของ NFT อาจเปลี่ยนแปลงไปตามตลาดและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น ปัจจัยที่ทำให้ NFT ยังคงมีความสำคัญ: 1. **ความเป็นเจ้าของดิจิทัล**: NFT ช่วยยืนยันความเป็นเจ้าของสินทรัพย์ดิจิทัลได้อย่างชัดเจน 2. **การใช้งานในเกมและ Metaverse**: NFT ยังถูกใช้เป็นไอเทมในเกมและโลกเสมือนจริง 3. **ศิลปะและคอลเลกชัน**: ศิลปินยังคงใช้ NFT เป็นช่องทางสร้างรายได้และแสดงผลงาน แต่ก็มีข้อควรพิจารณา: 1. **ความผันผวนของตลาด**: มูลค่า NFT อาจขึ้นลงตามความต้องการ 2. **ปัญหาสิ่งแวดล้อม**: การใช้พลังงานของบล็อกเชนยังเป็นประเด็นที่ถูกถกเถียง 3. **กฎหมายและกฎระเบียบ**: การควบคุม NFT อาจเข้มงวดขึ้นในอนาคต สรุปคือ NFT ยังคงมีบทบาท แต่รูปแบบและการใช้งานอาจปรับตัวตามเทคโนโลยีและความต้องการของตลาด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 302 มุมมอง 0 รีวิว
  • นิด้าโพลเปิดผลสำรวจ คนไทยเหนื่อยหน่ายกับอะไรบ้างในปี 2567 พบเกินครึ่งเป็นเรื่องปัญหาเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อรายได้ รองลงมาเป็นภัยไซเบอร์ และความวุ่นวายทางการเมืองทั้งในและนอกสภา
    .
    วันนี้ (22 ธ.ค.) ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลการสำรวจของประชาชน เรื่อง “เหนื่อยหน่ายกับอะไรบ้าง ในปี 2567 ที่ผ่านมา” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 16-18 ธ.ค. 2567 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปทั่วประเทศ รวม 1,310 หน่วยตัวอย่าง
    .
    เมื่อถามประชาชนถึงความสุขในปี 2567 ที่ผ่านมา พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 39.92 ระบุว่า ค่อนข้างมีความสุข เพราะ มีความสุขทั้งกับตัวเองและครอบครัว ชีวิตการทำงานราบรื่น ไม่มีอุปสรรค
    .
    รองลงมา ร้อยละ 32.52 ระบุว่า ไม่ค่อยมีความสุข เพราะมีปัญหาทางการเงินที่เกิดจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น และรู้สึกเบื่อหน่ายกับความวุ่นวายของสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่มีความแน่นอน
    .
    ร้อยละ 18.17 ระบุว่า มีความสุขมาก เพราะการใช้ชีวิตเป็นไปอย่างราบรื่น สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีเรื่องใดที่ต้องกังวล
    .
    และร้อยละ 9.39 ระบุว่าไม่มีความสุขเลย เพราะ เศรษฐกิจที่ย่ำแย่ส่งผลให้เกิดปัญหาหนี้สินสะสม การใช้ชีวิตเป็นไปอย่างยากลำบากและไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้

    ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงสิ่งที่ประชาชนเหนื่อยหน่ายในปี 2567 ที่ผ่านมา พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 52.14 ระบุว่า ปัญหาเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อรายได้และชีวิตความเป็นอยู่ รองลงมา ร้อยละ 28.09 ระบุว่า ปัญหาภัยไซเบอร์ เช่น แก๊งคอลเซ็นเตอร์ การแฮกข้อมูล เป็นต้น
    .
    ร้อยละ 27.86 ระบุว่า ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองทั้งในและนอกสภา ร้อยละ 21.60 ระบุว่า ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดร้อยละ 14.89 ระบุว่า ปัญหาราคาพลังงาน ร้อยละ 13.59 ระบุว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภัยทางธรรมชาติ ร้อยละ 13.44 ระบุว่า ปัญหาสุขภาพ โรคระบาด
    .
    ร้อยละ 12.98 ระบุว่า ปัญหาอาชญากรรม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 12.90 ระบุว่า ปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตร ร้อยละ 12.75 ระบุว่า ไม่เหนื่อยหน่ายกับอะไรเลย ร้อยละ 11.45 ระบุว่า ปัญหาความขัดแย้งในสังคม ร้อยละ 9.85 ระบุว่า ปัญหาการคอร์รัปชันในทุกระดับ
    .
    ร้อยละ 9.69 ระบุว่า ปัญหาการจราจร ร้อยละ 5.57 ระบุว่า ปัญหาความไม่เป็นธรรมในกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 4.81 ระบุว่า ปัญหาการแต่งตั้งโยกย้ายที่ไม่เป็นธรรมในระบบราชการ และร้อยละ 2.06 ระบุว่า ปัญหาสงคราม ความขัดแย้งในต่างประเทศ
    นิด้าโพลเปิดผลสำรวจ คนไทยเหนื่อยหน่ายกับอะไรบ้างในปี 2567 พบเกินครึ่งเป็นเรื่องปัญหาเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อรายได้ รองลงมาเป็นภัยไซเบอร์ และความวุ่นวายทางการเมืองทั้งในและนอกสภา . วันนี้ (22 ธ.ค.) ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลการสำรวจของประชาชน เรื่อง “เหนื่อยหน่ายกับอะไรบ้าง ในปี 2567 ที่ผ่านมา” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 16-18 ธ.ค. 2567 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปทั่วประเทศ รวม 1,310 หน่วยตัวอย่าง . เมื่อถามประชาชนถึงความสุขในปี 2567 ที่ผ่านมา พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 39.92 ระบุว่า ค่อนข้างมีความสุข เพราะ มีความสุขทั้งกับตัวเองและครอบครัว ชีวิตการทำงานราบรื่น ไม่มีอุปสรรค . รองลงมา ร้อยละ 32.52 ระบุว่า ไม่ค่อยมีความสุข เพราะมีปัญหาทางการเงินที่เกิดจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น และรู้สึกเบื่อหน่ายกับความวุ่นวายของสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่มีความแน่นอน . ร้อยละ 18.17 ระบุว่า มีความสุขมาก เพราะการใช้ชีวิตเป็นไปอย่างราบรื่น สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีเรื่องใดที่ต้องกังวล . และร้อยละ 9.39 ระบุว่าไม่มีความสุขเลย เพราะ เศรษฐกิจที่ย่ำแย่ส่งผลให้เกิดปัญหาหนี้สินสะสม การใช้ชีวิตเป็นไปอย่างยากลำบากและไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้ ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงสิ่งที่ประชาชนเหนื่อยหน่ายในปี 2567 ที่ผ่านมา พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 52.14 ระบุว่า ปัญหาเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อรายได้และชีวิตความเป็นอยู่ รองลงมา ร้อยละ 28.09 ระบุว่า ปัญหาภัยไซเบอร์ เช่น แก๊งคอลเซ็นเตอร์ การแฮกข้อมูล เป็นต้น . ร้อยละ 27.86 ระบุว่า ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองทั้งในและนอกสภา ร้อยละ 21.60 ระบุว่า ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดร้อยละ 14.89 ระบุว่า ปัญหาราคาพลังงาน ร้อยละ 13.59 ระบุว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภัยทางธรรมชาติ ร้อยละ 13.44 ระบุว่า ปัญหาสุขภาพ โรคระบาด . ร้อยละ 12.98 ระบุว่า ปัญหาอาชญากรรม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 12.90 ระบุว่า ปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตร ร้อยละ 12.75 ระบุว่า ไม่เหนื่อยหน่ายกับอะไรเลย ร้อยละ 11.45 ระบุว่า ปัญหาความขัดแย้งในสังคม ร้อยละ 9.85 ระบุว่า ปัญหาการคอร์รัปชันในทุกระดับ . ร้อยละ 9.69 ระบุว่า ปัญหาการจราจร ร้อยละ 5.57 ระบุว่า ปัญหาความไม่เป็นธรรมในกระบวนการยุติธรรม ร้อยละ 4.81 ระบุว่า ปัญหาการแต่งตั้งโยกย้ายที่ไม่เป็นธรรมในระบบราชการ และร้อยละ 2.06 ระบุว่า ปัญหาสงคราม ความขัดแย้งในต่างประเทศ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 351 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดกองปัญหาเรื้อรัง 10 ปี @กบินทร์บุรี ว่าด้วยการลอบทิ้งกากยิปซัม ...“เขาเอาคนในชุมชนมาเป็นยามที่นี่ (โรงงาน) และให้ยามไปบอกชาวบ้านว่าเป็นการก่อสร้างโรงงานปุ๋ย แล้วก็ให้ชาวบ้านมารับปุ๋ยฟรี โดยที่เอาบัตรประชาชนมายื่น” ชาวบ้านรายหนึ่งเล่าย้อนเหตุการณ์เมื่อ 10 ปีก่อน.นั่นคือช่วงประมาณปี พ.ศ. 2557 โรงงานที่พูดถึงเป็นของบริษัท จีเอ็มไบโอเทค จำกัด เป็นโรงงานผลิตสารปรับปรุงดิน ได้เข้าเริ่มดำเนินกิจการที่ ต.หาดนางแก้ว อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี .ในขณะนั้นมีการประกาศให้ชาวบ้านในพื้นที่เข้ามาขนกากยิปซัมจากโรงงาน ไปใช้สำหรับทำปุ๋ยในการเกษตร ซึ่งมีผู้หลงเชื่อจำนวนไม่น้อยกระทั่งต่อมาจึงเริ่มมีข้อมูลว่า แท้จริงแล้วทางโรงงานได้ลักลอบนำกองยิปซัมมาทิ้งไว้ที่บริเวณ ม.5 ต.ลาดตะเคียน นั้น แต่เมื่อมีการร้องเรียนจากชาวบ้าน จึงได้มีการบอกให้ชาวบ้านสามารถมารับกากยิปซัมไปได้ โดยให้เหตุผลว่ากากยิปซัมเป็นปุ๋ย สามารถฆ่าเชื้อและแบคทีเรียในดิน.เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้มีชาวบ้าน ม.5 และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวนร่วม 100 คน ที่นำรถไปขนกากยิปซัมจากโรงงานจีเอ็มไบโอเทคฯ เพื่อไปใช้เป็นปุ๋ยในที่ดินของตน ตามที่โรงงานกล่าวอ้าง .“เราเอาไปใส่ที่ไร่มันเรา ไปกระจายออกลำบากมากมันหนัก พอเสร็จปุ๊ปเราปลูกผลผลิต คือปลูกมันเรานี่แหละ มันไม่งาม ต้นมันเราก็เหลือง สุดท้ายก็เน่า” ชาวบ้านถึงเหตุการณ์หลังจากนำกากยิปซัมเข้ามาใช้ทำปุ๋ยในไร่มันปะหลังของตน ดังนั้นจึงไม่มีใครต้องการปุ๋ยจากโรงงานแห่งนี้อีก.แต่กองกากยิปซัมดังกล่าวยังคงกองอยู่ในพื้นที่ยาวนานเป็นเวลาถึง 10 ปีแล้ว โดยมีจำนวนมาก กองสูงเกินกว่ารถสิบล้อ. “เหม็น..!! เวียนหัว แสบคอ ลมพัดแรงๆ เหม็นจนนอนไม่ได้ กลิ่นเหม็นเน่าๆ แสบคันตามผิวหนัง พอเกาก็จะเป็นผื่น” คือคำบรรยายของคนพื้นที่เมื่อถูกถามถึงผลกระทบที่ได้รับตลอด 10 ปีที่ผ่านมา จากการมีกากยิปซัมจำนวนมหาศาลมากองทิ้งไว้ห่างจากบ้านของตนเพียง 100 – 200 เมตร.ไม่เพียงแค่มนุษย์เท่านั้นที่ต้องเผชิญกับผลกระทบจากกองยิปซัมที่โรงงานจีเอ็มไบโอเทคฯ ทิ้งไว้ แม้กระทั่งวัวควายที่ชาวบ้านเลี้ยงไว้ยังได้รับผลกระทบด้วย.ชาวบ้านเล่าว่า ในยามที่ฝนตกชะยิปซัมลงไปในพื้นที่ใกล้เคียง วัวควายเดินไปเหยียบถึงกับเล็บเท้าหลุด.จากข้อมูลที่ทางมูลนิธิบูรณะนิเวศรวบรวมมา พบว่า ยิปซัมอาจแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) ยิปซัมที่เกิดตามธรรมชาติจากการตกตะกอนของทะเลเก่า 2) ยิปซัมที่เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการของอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ย กากของเสียจากกระบวนการผลิตกรดมะนาว เป็นต้น .ยิปซัม แม้จะประโยชน์ทางการเกษตร ช่วยแก้ปัญหาดินเค็มได้ แต่ก็มีข้อควรระวังอยู่มาก การใช้ยิปซัมมากเกินไปในการเกษตรอาจทำให้เกิดความไม่สมดุลของดินและปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจทำให้มีค่าความเป็นกรดสูง เกิดสภาวะดินเปรี้ยว ดินไม่เหมาะสมกับการทำการเกษตร.ที่สำคัญคือ ควรต้องมีการตรวจสอบปริมาณการปนเปื้อนของสารอันตรายเช่น ปริมาณโลหะหนักก่อนนำไปใช้.นอกจากนี้ ยิปซัมในรูปแบบผงยังเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ และบุคคลอาจมีอาการแพ้หรือมีความไวทางผิวหนังต่อยิปซัม การสัมผัสทางผิวหนังกับผลิตภัณฑ์ยิปซัมเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดโรคผิวหนังอักเสบหรือปัญหาผิวหนังอื่นๆ.ยิปซัมมีปริมาณซัลเฟตสูง การรวมของเสียที่มีปริมาณซัลเฟตสูงกับของเสียที่ย่อยสลายได้จะก่อให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่มีพิษสูงและมีกลิ่นเหม็นด้วย เหตุนี้ยิปซัมจึงถูกห้ามไม่ให้นำไปฝังกลบและต้องกำจัดด้วยวิธีที่เหมาะสม ตามประการกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว.การกองกากยิปซัมทิ้งไว้นานเป็นเวลา 10 ปี ของบริษัท จีเอ็มไบโอเทค จำกัด เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกระบวนการกำจัดของเสียของกระทรวงอุตสาหกรรม และยังสร้างความเดือดร้อนรำคราญแก่ชาวบ้านละแวกใกล้เคียง การใช้วิธียืมมือชาวบ้านหลอกทิ้งกากอุตสาหกรรมที่ผู้ประกอบการเป็นคนผลิตขึ้น เป็นวิธีที่ไร้ความรับผิดชอบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม .อีกแง่หนึ่ง เหตุการณ์ครั้งนี้สะท้อนถึงการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้ามาแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา ชาวบ้านที่เดือดร้อนกลุ่มนี้ เดินทางไปร้องเรียนกับหลายหน่วยงาน เช่น ศูนย์ดำรงธรรม สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี แต่ปัจจุบันยังต้องเผชิญกับความเดือดร้อนจากเรื่องดังกล่าวอยู่ และไม่มีวี่แววจะดีขึ้นเลย......เรื่องและภาพถ่ายโดย เจ้าหน้าที่มูลนิธิบูรณะนิเวศ
    เปิดกองปัญหาเรื้อรัง 10 ปี @กบินทร์บุรี ว่าด้วยการลอบทิ้งกากยิปซัม ...“เขาเอาคนในชุมชนมาเป็นยามที่นี่ (โรงงาน) และให้ยามไปบอกชาวบ้านว่าเป็นการก่อสร้างโรงงานปุ๋ย แล้วก็ให้ชาวบ้านมารับปุ๋ยฟรี โดยที่เอาบัตรประชาชนมายื่น” ชาวบ้านรายหนึ่งเล่าย้อนเหตุการณ์เมื่อ 10 ปีก่อน.นั่นคือช่วงประมาณปี พ.ศ. 2557 โรงงานที่พูดถึงเป็นของบริษัท จีเอ็มไบโอเทค จำกัด เป็นโรงงานผลิตสารปรับปรุงดิน ได้เข้าเริ่มดำเนินกิจการที่ ต.หาดนางแก้ว อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี .ในขณะนั้นมีการประกาศให้ชาวบ้านในพื้นที่เข้ามาขนกากยิปซัมจากโรงงาน ไปใช้สำหรับทำปุ๋ยในการเกษตร ซึ่งมีผู้หลงเชื่อจำนวนไม่น้อยกระทั่งต่อมาจึงเริ่มมีข้อมูลว่า แท้จริงแล้วทางโรงงานได้ลักลอบนำกองยิปซัมมาทิ้งไว้ที่บริเวณ ม.5 ต.ลาดตะเคียน นั้น แต่เมื่อมีการร้องเรียนจากชาวบ้าน จึงได้มีการบอกให้ชาวบ้านสามารถมารับกากยิปซัมไปได้ โดยให้เหตุผลว่ากากยิปซัมเป็นปุ๋ย สามารถฆ่าเชื้อและแบคทีเรียในดิน.เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้มีชาวบ้าน ม.5 และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวนร่วม 100 คน ที่นำรถไปขนกากยิปซัมจากโรงงานจีเอ็มไบโอเทคฯ เพื่อไปใช้เป็นปุ๋ยในที่ดินของตน ตามที่โรงงานกล่าวอ้าง .“เราเอาไปใส่ที่ไร่มันเรา ไปกระจายออกลำบากมากมันหนัก พอเสร็จปุ๊ปเราปลูกผลผลิต คือปลูกมันเรานี่แหละ มันไม่งาม ต้นมันเราก็เหลือง สุดท้ายก็เน่า” ชาวบ้านถึงเหตุการณ์หลังจากนำกากยิปซัมเข้ามาใช้ทำปุ๋ยในไร่มันปะหลังของตน ดังนั้นจึงไม่มีใครต้องการปุ๋ยจากโรงงานแห่งนี้อีก.แต่กองกากยิปซัมดังกล่าวยังคงกองอยู่ในพื้นที่ยาวนานเป็นเวลาถึง 10 ปีแล้ว โดยมีจำนวนมาก กองสูงเกินกว่ารถสิบล้อ. “เหม็น..!! เวียนหัว แสบคอ ลมพัดแรงๆ เหม็นจนนอนไม่ได้ กลิ่นเหม็นเน่าๆ แสบคันตามผิวหนัง พอเกาก็จะเป็นผื่น” คือคำบรรยายของคนพื้นที่เมื่อถูกถามถึงผลกระทบที่ได้รับตลอด 10 ปีที่ผ่านมา จากการมีกากยิปซัมจำนวนมหาศาลมากองทิ้งไว้ห่างจากบ้านของตนเพียง 100 – 200 เมตร.ไม่เพียงแค่มนุษย์เท่านั้นที่ต้องเผชิญกับผลกระทบจากกองยิปซัมที่โรงงานจีเอ็มไบโอเทคฯ ทิ้งไว้ แม้กระทั่งวัวควายที่ชาวบ้านเลี้ยงไว้ยังได้รับผลกระทบด้วย.ชาวบ้านเล่าว่า ในยามที่ฝนตกชะยิปซัมลงไปในพื้นที่ใกล้เคียง วัวควายเดินไปเหยียบถึงกับเล็บเท้าหลุด.จากข้อมูลที่ทางมูลนิธิบูรณะนิเวศรวบรวมมา พบว่า ยิปซัมอาจแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) ยิปซัมที่เกิดตามธรรมชาติจากการตกตะกอนของทะเลเก่า 2) ยิปซัมที่เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการของอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ย กากของเสียจากกระบวนการผลิตกรดมะนาว เป็นต้น .ยิปซัม แม้จะประโยชน์ทางการเกษตร ช่วยแก้ปัญหาดินเค็มได้ แต่ก็มีข้อควรระวังอยู่มาก การใช้ยิปซัมมากเกินไปในการเกษตรอาจทำให้เกิดความไม่สมดุลของดินและปัญหาสิ่งแวดล้อม อาจทำให้มีค่าความเป็นกรดสูง เกิดสภาวะดินเปรี้ยว ดินไม่เหมาะสมกับการทำการเกษตร.ที่สำคัญคือ ควรต้องมีการตรวจสอบปริมาณการปนเปื้อนของสารอันตรายเช่น ปริมาณโลหะหนักก่อนนำไปใช้.นอกจากนี้ ยิปซัมในรูปแบบผงยังเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ และบุคคลอาจมีอาการแพ้หรือมีความไวทางผิวหนังต่อยิปซัม การสัมผัสทางผิวหนังกับผลิตภัณฑ์ยิปซัมเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดโรคผิวหนังอักเสบหรือปัญหาผิวหนังอื่นๆ.ยิปซัมมีปริมาณซัลเฟตสูง การรวมของเสียที่มีปริมาณซัลเฟตสูงกับของเสียที่ย่อยสลายได้จะก่อให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่มีพิษสูงและมีกลิ่นเหม็นด้วย เหตุนี้ยิปซัมจึงถูกห้ามไม่ให้นำไปฝังกลบและต้องกำจัดด้วยวิธีที่เหมาะสม ตามประการกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว.การกองกากยิปซัมทิ้งไว้นานเป็นเวลา 10 ปี ของบริษัท จีเอ็มไบโอเทค จำกัด เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกระบวนการกำจัดของเสียของกระทรวงอุตสาหกรรม และยังสร้างความเดือดร้อนรำคราญแก่ชาวบ้านละแวกใกล้เคียง การใช้วิธียืมมือชาวบ้านหลอกทิ้งกากอุตสาหกรรมที่ผู้ประกอบการเป็นคนผลิตขึ้น เป็นวิธีที่ไร้ความรับผิดชอบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม .อีกแง่หนึ่ง เหตุการณ์ครั้งนี้สะท้อนถึงการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้ามาแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา ชาวบ้านที่เดือดร้อนกลุ่มนี้ เดินทางไปร้องเรียนกับหลายหน่วยงาน เช่น ศูนย์ดำรงธรรม สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี แต่ปัจจุบันยังต้องเผชิญกับความเดือดร้อนจากเรื่องดังกล่าวอยู่ และไม่มีวี่แววจะดีขึ้นเลย......เรื่องและภาพถ่ายโดย เจ้าหน้าที่มูลนิธิบูรณะนิเวศ
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 756 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## นักเศรษฐศาสตร์ฮาร์วาร์ด เปิดเผยความลับที่น่าตกตะลึงเกี่ยวกับ ประเทศจีน ในปี 2025 ##
    ..
    ..
    1. เศรษฐกิจของจีนในอนาคต

    การเติบโตทางเศรษฐกิจ : จีนคาดว่าจะเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลกภายในปี 2025 โดยมีการเติบโตอย่างรวดเร็วในหลายภาคส่วน

    เทคโนโลยีและนวัตกรรม : การลงทุนในเทคโนโลยีและการพัฒนา AI จะเป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ
    .
    2. บทบาทในเวทีโลก

    การขยายอิทธิพล : จีนกำลังขยายอิทธิพลทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมืองในเวทีโลก ผ่านการลงทุนและความร่วมมือระหว่างประเทศ

    ความท้าทายทางการทูต : การเผชิญหน้ากับสหรัฐฯ และพันธมิตรจะยังคงเป็นประเด็นที่ต้องจับตามอง
    .
    3. ความท้าทายภายในประเทศ

    ความไม่เท่าเทียม : ความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศยังคงเป็นปัญหาที่รัฐบาลจีนต้องจัดการ

    สิ่งแวดล้อม : ปัญหาสิ่งแวดล้อมและมลพิษยังคงเป็นความท้าทายที่จีนต้องเร่งแก้ไข

    4. นโยบายและการปฏิรูป

    การปฏิรูปเศรษฐกิจ : จีนจะต้องมีการปฏิรูปเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาการเติบโตและความยั่งยืน

    นโยบายภายในประเทศ : รัฐบาลจีนต้องมีนโยบายที่ชัดเจนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศ
    .
    https://www.youtube.com/watch?v=9O6a62Qqzwg
    ## นักเศรษฐศาสตร์ฮาร์วาร์ด เปิดเผยความลับที่น่าตกตะลึงเกี่ยวกับ ประเทศจีน ในปี 2025 ## .. .. 1. เศรษฐกิจของจีนในอนาคต การเติบโตทางเศรษฐกิจ : จีนคาดว่าจะเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลกภายในปี 2025 โดยมีการเติบโตอย่างรวดเร็วในหลายภาคส่วน เทคโนโลยีและนวัตกรรม : การลงทุนในเทคโนโลยีและการพัฒนา AI จะเป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ . 2. บทบาทในเวทีโลก การขยายอิทธิพล : จีนกำลังขยายอิทธิพลทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมืองในเวทีโลก ผ่านการลงทุนและความร่วมมือระหว่างประเทศ ความท้าทายทางการทูต : การเผชิญหน้ากับสหรัฐฯ และพันธมิตรจะยังคงเป็นประเด็นที่ต้องจับตามอง . 3. ความท้าทายภายในประเทศ ความไม่เท่าเทียม : ความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศยังคงเป็นปัญหาที่รัฐบาลจีนต้องจัดการ สิ่งแวดล้อม : ปัญหาสิ่งแวดล้อมและมลพิษยังคงเป็นความท้าทายที่จีนต้องเร่งแก้ไข 4. นโยบายและการปฏิรูป การปฏิรูปเศรษฐกิจ : จีนจะต้องมีการปฏิรูปเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาการเติบโตและความยั่งยืน นโยบายภายในประเทศ : รัฐบาลจีนต้องมีนโยบายที่ชัดเจนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศ . https://www.youtube.com/watch?v=9O6a62Qqzwg
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 580 มุมมอง 0 รีวิว
  • Ray Dalio ผู้จัดการกองทุนเฮดจ์ฟันด์ผู้ทรงอิทธิพลของโลก หวั่นเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาเสี่ยงเจอวิกฤตหนัก 5 ประการ ปัญหาหนี้ที่เพิ่มขึ้นรุมเร้าและการเมืองภายในแตกแยก ขณะที่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐกับจีนทวีความรุนแรงเป็นสงครามการค้าตั้งกำแพงภาษี ท่ามกลางภัยธรรมชาติรุนแรงสร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินยิ่งกว่าสงคราม

    ในการประชุมสุดยอดเอเชียของ Milken Institute ที่สิงคโปร์ เรย์ ดาลิโอ ผู้จัดการกองทุนเฮดจ์ฟันด์ระดับมหาเศรษฐี ได้ระบุถึงแรงขับเคลื่อนสำคัญ 5 ประการที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน โดยระบุถึงลักษณะเป็นวัฏจักรและเชื่อมโยงกัน ตามรายงานของลี อิง ชาน นักข่าว CNBC

    ในการพูดก่อนที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ จะตัดสินใจเรื่องอัตราดอกเบี้ยที่ทุกคนรอคอยมานาน ดาลิโอได้เน้นย้ำถึงความกังวลเกี่ยวกับวิธีการที่สหรัฐฯ จะจัดการหนี้ที่เพิ่มขึ้น โดยที่อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอยู่ที่ระดับสูงสุดในรอบกว่า 2 ทศวรรษ ปัจจุบันรัฐบาลสหรัฐฯ ใช้จ่ายเงิน 1.049 ล้านล้านดอลลาร์ในการชำระหนี้ ซึ่งเพิ่มขึ้น 30% เมื่อเทียบเป็นรายปี ดาลิโอตั้งคำถามว่าหนี้ที่เพิ่มขึ้นนี้จะส่งผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินของสหรัฐฯ และบทบาทของสินทรัพย์ของสหรัฐฯ ในฐานะแหล่งเก็บความมั่งคั่งที่เชื่อถือได้อย่างไร

    ตามรายงานของ CNBC ดาลิโอยังได้ดึงความสนใจไปที่สิ่งที่เขาเรียกว่า "ความไม่สงบภายใน" ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะความแตกแยกทางการเมืองที่ขยายตัวก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีในปี 2024 เขาเตือนว่าความแตกต่างที่ไม่อาจปรองดองได้ระหว่างฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายทางการเมือง ซึ่งทวีความรุนแรงขึ้นจากความไม่เท่าเทียมกันของความมั่งคั่ง อาจขัดขวางการถ่ายโอนอำนาจอย่างสันติ แม้ว่ารองประธานาธิบดีกมลา แฮร์ริสจะถูกมองว่าเป็นผู้นำ แต่ดาลิโอแนะนำว่าความไม่มั่นคงทางการเมืองอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจของประเทศมากกว่านโยบายของผู้สมัครคนใด ๆ

    บนเวทีระหว่างประเทศ ดาลิโออ้างถึงความตึงเครียดที่ทวีความรุนแรงขึ้นระหว่างสหรัฐฯ และจีนว่าเป็นแหล่งความกังวลที่สำคัญ ดาลิโอกล่าวว่าปัญหาเช่นสถานะทางการเมืองของไต้หวันและภาษีศุลกากรทางเศรษฐกิจได้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างมหาอำนาจทั้งสองตึงเครียด ในขณะที่ดาลิโอตั้งข้อสังเกตว่าความกลัวต่อการทำลายล้างซึ่งกันและกันอาจป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งโดยตรง เขากล่าวว่าความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์เหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความวุ่นวายทั่วโลก

    ดาลิโอเน้นย้ำถึงผลกระทบที่เพิ่มมากขึ้นของปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยระบุว่า "ภัยธรรมชาติ" เช่น ภัยแล้ง น้ำท่วม และโรคระบาด มักก่อให้เกิดการหยุดชะงักทางสังคมมากกว่าสงคราม CNBC เน้นย้ำถึงคำเตือนของเขาว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจสร้างต้นทุนทางเศรษฐกิจที่สูงกว่าในไม่ช้านี้ โดยคาดว่า GDP ทั่วโลกจะหดตัวลง 12% ต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส

    สุดท้าย Dalio เน้นย้ำถึงพลังการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เขาแนะนำว่าผู้ที่สามารถใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพจะได้รับประโยชน์อย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เตือนด้วยว่าเทคโนโลยีอาจทำให้ความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น การประเมินโดยรวมของ Dalio นั้นระมัดระวัง โดยคำพูดสุดท้ายของเขาบ่งชี้ว่าเศรษฐกิจโลกเผชิญกับความเสี่ยงด้านลบมากกว่าโอกาสด้านบวก

    ที่มา : https://www.cryptoglobe.com/latest/2024/09/billionaire-ray-dalio-warns-of-soaring-u-s-debt-geopolitical-tensions-and-tech-wars-between-nations/

    #Thaitimes
    Ray Dalio ผู้จัดการกองทุนเฮดจ์ฟันด์ผู้ทรงอิทธิพลของโลก หวั่นเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาเสี่ยงเจอวิกฤตหนัก 5 ประการ ปัญหาหนี้ที่เพิ่มขึ้นรุมเร้าและการเมืองภายในแตกแยก ขณะที่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐกับจีนทวีความรุนแรงเป็นสงครามการค้าตั้งกำแพงภาษี ท่ามกลางภัยธรรมชาติรุนแรงสร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินยิ่งกว่าสงคราม ในการประชุมสุดยอดเอเชียของ Milken Institute ที่สิงคโปร์ เรย์ ดาลิโอ ผู้จัดการกองทุนเฮดจ์ฟันด์ระดับมหาเศรษฐี ได้ระบุถึงแรงขับเคลื่อนสำคัญ 5 ประการที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน โดยระบุถึงลักษณะเป็นวัฏจักรและเชื่อมโยงกัน ตามรายงานของลี อิง ชาน นักข่าว CNBC ในการพูดก่อนที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ จะตัดสินใจเรื่องอัตราดอกเบี้ยที่ทุกคนรอคอยมานาน ดาลิโอได้เน้นย้ำถึงความกังวลเกี่ยวกับวิธีการที่สหรัฐฯ จะจัดการหนี้ที่เพิ่มขึ้น โดยที่อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอยู่ที่ระดับสูงสุดในรอบกว่า 2 ทศวรรษ ปัจจุบันรัฐบาลสหรัฐฯ ใช้จ่ายเงิน 1.049 ล้านล้านดอลลาร์ในการชำระหนี้ ซึ่งเพิ่มขึ้น 30% เมื่อเทียบเป็นรายปี ดาลิโอตั้งคำถามว่าหนี้ที่เพิ่มขึ้นนี้จะส่งผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินของสหรัฐฯ และบทบาทของสินทรัพย์ของสหรัฐฯ ในฐานะแหล่งเก็บความมั่งคั่งที่เชื่อถือได้อย่างไร ตามรายงานของ CNBC ดาลิโอยังได้ดึงความสนใจไปที่สิ่งที่เขาเรียกว่า "ความไม่สงบภายใน" ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะความแตกแยกทางการเมืองที่ขยายตัวก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีในปี 2024 เขาเตือนว่าความแตกต่างที่ไม่อาจปรองดองได้ระหว่างฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายทางการเมือง ซึ่งทวีความรุนแรงขึ้นจากความไม่เท่าเทียมกันของความมั่งคั่ง อาจขัดขวางการถ่ายโอนอำนาจอย่างสันติ แม้ว่ารองประธานาธิบดีกมลา แฮร์ริสจะถูกมองว่าเป็นผู้นำ แต่ดาลิโอแนะนำว่าความไม่มั่นคงทางการเมืองอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจของประเทศมากกว่านโยบายของผู้สมัครคนใด ๆ บนเวทีระหว่างประเทศ ดาลิโออ้างถึงความตึงเครียดที่ทวีความรุนแรงขึ้นระหว่างสหรัฐฯ และจีนว่าเป็นแหล่งความกังวลที่สำคัญ ดาลิโอกล่าวว่าปัญหาเช่นสถานะทางการเมืองของไต้หวันและภาษีศุลกากรทางเศรษฐกิจได้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างมหาอำนาจทั้งสองตึงเครียด ในขณะที่ดาลิโอตั้งข้อสังเกตว่าความกลัวต่อการทำลายล้างซึ่งกันและกันอาจป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งโดยตรง เขากล่าวว่าความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์เหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความวุ่นวายทั่วโลก ดาลิโอเน้นย้ำถึงผลกระทบที่เพิ่มมากขึ้นของปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยระบุว่า "ภัยธรรมชาติ" เช่น ภัยแล้ง น้ำท่วม และโรคระบาด มักก่อให้เกิดการหยุดชะงักทางสังคมมากกว่าสงคราม CNBC เน้นย้ำถึงคำเตือนของเขาว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจสร้างต้นทุนทางเศรษฐกิจที่สูงกว่าในไม่ช้านี้ โดยคาดว่า GDP ทั่วโลกจะหดตัวลง 12% ต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส สุดท้าย Dalio เน้นย้ำถึงพลังการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เขาแนะนำว่าผู้ที่สามารถใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพจะได้รับประโยชน์อย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เตือนด้วยว่าเทคโนโลยีอาจทำให้ความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้น การประเมินโดยรวมของ Dalio นั้นระมัดระวัง โดยคำพูดสุดท้ายของเขาบ่งชี้ว่าเศรษฐกิจโลกเผชิญกับความเสี่ยงด้านลบมากกว่าโอกาสด้านบวก ที่มา : https://www.cryptoglobe.com/latest/2024/09/billionaire-ray-dalio-warns-of-soaring-u-s-debt-geopolitical-tensions-and-tech-wars-between-nations/ #Thaitimes
    WWW.CRYPTOGLOBE.COM
    Ray Dalio Reveals the Top Five Forces Influencing the Global Economy
    Ray Dalio foresees a dangerous convergence of forces that could reshape the global order.
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1841 มุมมอง 0 รีวิว